The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yodacu62, 2021-07-04 22:52:22

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

02. SAR ขั้นพื้นฐาน ปี 2563

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

(Self - Assessment Report : SAR)
ปกี ารศกึ ษา 2563

ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

โรงเรยี นอสั สัมชัญอุบลราชธานี
เลขที่500 แขวง/ตำบล ในเมือง เขต/อำเภอเมอื งอบุ ลราชธานี

จังหวดั อบุ ลราชธานี

สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับน้ี เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในรอบปีการศึกษาของ
โรงเรียน ท่ีสะท้อนให้เห็นภาพความสำเร็จท่ีเกิดขึ้นตามบริบทของโรงเรียน ซึ่งมีองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ สว่ นท่ี 1
บทสรุปของผู้บริหาร ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและภาคผนวก โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ซ่ึงเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
ของโรงเรียน และเปน็ การเตรยี มความพรอ้ มในการประเมินคณุ ภาพภายนอกต่อไป

สารบญั หน้า

คำนำ 1
สารบัญ 1
ส่วนที่ 1 บทสรุปของผ้บู รหิ าร 1
9
ตอนที่ 1 ข้อมูลพน้ื ฐาน 9
ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง 13
สว่ นที่ 2 ข้อมลู พ้นื ฐาน 15
1. ข้อมลู พ้นื ฐาน 20
2. ข้อมลู พื้นฐานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา 21
3. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู้ รยี น 25
4. นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ี (Innovation/Best Practice) 25
5. รางวลั ท่สี ถานศกึ ษาไดร้ บั 25
6. ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ 26
7. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ทผี่ า่ นมา 26
8. หนว่ ยงานภายนอกทโี่ รงเรียนเข้าร่วมเป็นสมาชิก 67
ส่วนท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 68
1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน 70
2. สรุปผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 70
3. จุดเด่น 70
4. จดุ ควรพฒั นา 70
5. แนวทางการพัฒนา 72
6. ความต้องการชว่ ยเหลอื
7. ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา (ถา้ มี)
8. ภาคผนวก

1

ส่วนท่ี 1
บทสรุปของผู้บริหาร

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน

โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี รหัส 1134100014 เลขท่ี 500 ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง
อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34000 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
โ ท ร ศั พ ท์ 0 8 8 -1 1 8 4 2 1 1 โ ท ร ส า ร 045-313400 e-mai… -… website:http:/ / www.acu.ac.th
Facebook:https://www.facebook.com/ACU2508 ได้รับอนุญาตจัดตั้งเมื่อ เมื่อวันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ.
2500 เปิดการสอนระดับชั้นบริบาล ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวนนักเรียน 2,047 คน จำนวนบุคลากร
โรงเรยี น 184 คน

ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง
ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

1) มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ระดบั คุณภาพ ยอดเยยี่ ม
2) หลกั ฐานสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดับคุณภาพ

2.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี น ปกี ารศึกษา 2563 ทีม่ ีผลการเรยี น 3.00 ขนึ้ ไป
ตามเกณฑข์ องโรงเรยี น ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ เฉลย่ี สงู กว่า เกณฑเ์ ป้าหมายของโรงเรียน

2.2 ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มผี ลการประเมินระดับดขี ึ้นไป
ร้อยละ 99.74

2.3 ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน มีผลการประเมนิ ระดับดีขึน้ ไป
รอ้ ยละ 99.61

2.4 ผลการประเมินความสามารถในการส่ือสารภาษาไทยไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและเหมาะสม
กบั วัยมีผลการประเมนิ บรรลุเป้าหมายท่กี ำหนด รอ้ ยละ 96.33

2.5 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตร มผี ลการสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู ร
รอ้ ยละ 99.61

2.6 รางวลั ชนะเลิศ ระดบั ประเทศ การแข่งขันกีฬาเทนนิส ในการแข่งขนั เทนนสิ PTT ลอน
เทนนสิ พัฒนาฝีมือ ประจำปี 2563 เพือ่ คดั ตัว“นกั กีฬาเทนนิสเยาวชนทมี ชาตไิ ทย” จัดโดย สมาคมกีฬาเทนนิส
แห่งประเทศไทย

2.7 รางวัลชนะเลิศ ระดบั ประเทศ กิจกรรมสภานักเรียน ในการแข่งขันเพอ่ื คัดเลอื กบุคคลเข้ารบั
รางวลั “เยาวชนคนต้นแบบ ประจำปี 2563 ระดับ Platinum สาขาภาวะผู้นำ” จากเยาวชนทวั่ ประเทศ

2

จัดโดย สโมสรโรตาร่จี ตจุ ักร กรุงเทพมหานคร
2.8 รางวลั ชนะเลศิ ระดบั ประเทศ รางวัล DSN Youth Awards 2020 ประเภทกล่มุ สาขา

สื่อสารมวลชนรณรงคแ์ ละประชาสัมพันธ์ โดยสำนักงานกองทุนสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สำนักการเครือขา่ ยองค์กร งด
เหลา้ ในงานพัฒนาศักยภาพเครอื ข่ายเยาวชน SDN และพิธปี ระกาศรางวัล SDN Awards 2020 ณ สถาบนั ทโี อที
(TOT)

2.9 รางวลั ชนะเลิศ ระดับประเทศ รางวัล“สยามนครีสโตย” ตน้ แบบผู้นำจติ อาสาเพ่ือการแบง่ ปัน
ประจำปี ๒๕๖๓ สาขาเยาวชนจิตอาสาดเี ด่น ณ ศนู ย์การค้าไดอาน่าหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา

2.10 รางวลั ชนะเลศิ ระดับประเทศ รางวลั “Challenger Kids Thailand 2020 สาขาเด็กและ
เยาวชนจติ อาสา”

2.11 รางวลั ชนะเลิศ ระดบั ประเทศ การประกวด Prince & Priness Thailand 2020 ครงั้ ท่ี 9
2.12 รางวัลชนะเลศิ ระดบั ประเทศ การแข่งขันหุ่นยนต์ LOGO SUMO ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
จดั โดย บรษิ ัทโรบอทแอนด์อินโนเวตฟิ เลิรน์ นง่ิ จำกดั รว่ มกับ โรงเรียนสีชมพูศึกษา อำเภอสชี มพู จงั หวดั ขอนแกน่
2.13 รางวลั ชนะเลิศ ระดบั ภาค การแขง่ ขนั เทควันโดอีสาน ลคี แชมป์เปี้ยน ชพิ จัดโดย อสี าน ลีค
เทควันโดนครขอนแกน่ จงั หวัดขอนแกน่
2.14 รางวัลชนะเลศิ ระดบั ภาค การแขง่ ขันกฬี าว่ายน้ำ รายการแขง่ ขันเอกปัญญาสวมิ ม่ิงแชมป์
เป้ยี นส์ชพิ 2020 จัดโดย โรงเรยี นเอกปัญญาร่วมกบั สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั กาฬสนิ ธแิ์ ละสโมสรกีฬาวา่ ยน้ำ
ภาค 3
2.15 รางวลั ชนะเลิศ ระดบั จังหวดั การแขง่ ขันกีฬาเทควนั โด รายการแขง่ ขนั กีฬานกั เรียนนักศึกษา
แห่งชาติ คร้งั ที่ 42 ประจำปี 2564 รอบคัดเลือกตวั แทนเขตการแข่งขนั กีฬา ภาค 3 ณ สนามแข่งขนั
จงั หวัดอบุ ลราชธานี
2.16 รางวลั ชนะเลิศ ระดบั จังหวดั การแข่งขนั กฬี าวา่ ยนำ้ ในการแขง่ ขัน Rangsit University
Swimming Champions Ships ครัง้ ที่ 11 จดั โดย มหาวิทยาลยั รังสติ กรุงเทพมหานคร
2.17 รางวลั ชนะเลศิ ระดบั จงั หวดั การแขง่ ขันกีฬาฟุตบอล ในรายการแข่งขัน Ubon Family
Singha Junior 2020 จดั โดย Singha สนามราชนั ยฟ์ ตุ บอล อคาเดมี อุบลราชธานี
2.18 รางวลั ชนะเลศิ ระดับจงั หวัด กจิ กรรมสภานกั เรยี นในการแขง่ ขนั โครงการพัฒนานวัตกรรม
สร้างสรรคแ์ ละแกนนำเยาวชนนกั ตรวจสอบทุจริตคอรปั ชั่น(Corruption Literacy) จดั โดย กองทุนป้องกนั และ
ปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาต(ิ ป.ป.ช.)
2.19 รางวัลชนะเลศิ ระดับจงั หวดั รายการ To Be Number One I Dol ในโครงการ To Be
Number One จังหวดั อุบลราชธานี
2.20 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดบั ประเทศ การแขง่ ขันกฬี าเทนนิส ในการแข่งขนั เทนนิส
PTT ลอนเทนนิสพฒั นาฝีมอื ประจำปี 2563 เพ่ือคดั ตวั “นักกฬี าเทนนิสเยาวชนทีมชาติไทย” จัดโดย สมาคม
สมาคมกีฬาเทนนสิ แหง่ ประเทศไทย

3

2.21 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 ระดบั ประเทศ การแขง่ ขันหนุ่ ยนต์ LOGO SUMO ระดบั
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จดั โดย บรษิ ทั โรบอทแอนด์อินโนเวตฟิ เลิรน์ นิง่ จำกัด ร่วมกับ โรงเรยี นสีชมพศู กึ ษา อำเภอสี
ชมพู จังหวดั ขอนแกน่

2.22 รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 1 ระดบั ประเทศ การแขง่ ขันหุ่นยนต์ LOGO SUMO ระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จัดโดย บรษิ ทั โรบอทแอนด์อินโนเวตฟิ เลิร์นน่งิ จำกัด ร่วมกบั โรงเรียนสีชมพศู กึ ษา
อำเภอสชี มพู จังหวัดขอนแก่น

2.23 รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 1 ระดับประเทศ การแข่งขันห่นุ ยนต์ Maze Solver Junior
(อายุไมเ่ กนิ 14 ปี) จัดโดย บรษิ ทั โรบอทแอนด์อินโนเวตฟิ เลิรน์ น่งิ จำกัด ร่วมกับ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
จงั หวดั ขอนแกน่

2.24 รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 1 ระดบั ประเทศ การแขง่ ขันห่นุ ยนต์ Maze Solver Junior
(อายุไมเ่ กนิ 1 ป)ี จัดโดย บริษทั โรบอทแอนด์อนิ โนเวติฟเลิร์นน่ิงจำกดั ร่วมกบั มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
จังหวดั ขอนแกน่

2.25 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 ระดบั ภาค การแข่งขนั เทควันโดอีสาน ลคี แชมป์เปยี้ น ชพิ จัด
โดย อีสาน ลีคเทควนั โดนครขอนแกน่ จังหวัดขอนแกน่

2.26 รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 1 ระดับจังหวัด การแข่งขันกีฬาว่ายน้ำในการแข่งขนั Rangsit
University Swimming Champions Ships คร้งั ท่ี 11 จัดโดย มหาวทิ ยาลยั รังสติ กรุงเทพมหานคร

2.27 รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 2 ระดับประเทศ การแขง่ ขันหนุ่ ยนต์ tagout ระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนตน้ จัดโดย โรงเรียนสชี มพูศึกษา อำเภอสีชมพู จงั หวดั ขอนแกน่

2.28 รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 2 ระดับประเทศ การแขง่ ขันห่นุ ยนต์ Maze Solver Junior
(อายุไม่เกนิ 14 ปี) จดั โดย บรษิ ัทโรบอทแอนด์อินโนเวติฟเลิร์นนง่ิ จำกัด รว่ มกับ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
จังหวัดขอนแก่น

2.29 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 ระดับประเทศ การแขง่ ขันประกอบอาหารในโครงการ
International Chefs Day 2020“อาหารเพื่อสุขภาพทีด่ ตี ่ออนาคต” จัดโดย บริษัท เนสท์เล่ ประเทศไทย

3)โรงเรยี นมแี ผนจะพฒั นาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้ระดบั คุณภาพทีด่ ีข้ึนกว่าเดิม 1 ระดบั
3.1 พฒั นาความเปน็ เลิศทางวิชาการ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมีความสามารถ ความถนดั เฉพาะทางเปน็

ท่ีประจกั ษ์ สามารถแขง่ ขันในระดับชาตแิ ละนานาชาติ โรงเรียนมนี โยบายให้กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระ จัด
กจิ กรรมสง่ เสริมทกั ษะทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพื่อใหน้ กั เรียนไดค้ ้นพบทักษะและความสามารถ ความถนัดเฉพาะ
ทางของนกั เรียนโดยเฉพาะทักษะดา้ นดนตรี กีฬาโดยส่งเสริมใหม้ กี ารสง่ นักเรียนที่มีความสามารถไดม้ ีโอกาสเขา้
ร่วมแข่งขันในระดับนานาชาติ

3.2 พัฒนาครผู ู้สอนอย่างต่อเน่อื งเพื่อให้มคี วามรู้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้าน
วิชาการ มที กั ษะด้านการออกแบบหลกั สตู ร และจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือให้มปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด

4

3.3 พัฒนาอาคารสถานท่ี ส่อื อุปกรณ์ใหม้ ีความพร้อม สะดวก สะอาด และปลอดภยั ปรับปรุง
แหลง่ เรยี นรู้ ทศั นยี ภาพในโรงเรียนเพ่อื เอ้ืออำนวยต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

3.4 มงุ่ เน้นจัดกจิ กรรมเสริมหลกั สูตรด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ระเบยี บวินยั รกั ความเปน็ ไทย
ส่งเสริมประชาธิปไตย ตลอดจนระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น

4)นวตั กรรม/แบบอย่างทีด่ ี
4.1 การบรหิ ารข้อมลู สถานศึกษาด้วยโปรแกรม SWIS
4.2 การใช้ภาษาอังกฤษเป็นส่อื ในการจดั การเรยี นการสอน
4.3 การจดั การเรยี นการสอนโปรแกรมอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์วทิ ยาศาสตร์และ
ภาษาองั กฤษ(MSEP: Math Science and English Program)
4.4 การจดั การเรียนการสอนห้องเรยี น IPAD
4.5 การจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning
4.6 การจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ/STEM
4.7 การจัดการเรียนการสอนแบบวิจยั เป็นฐาน(นักเรียนทำงานวจิ ยั )
4.8 การเรียนการสอนแบบGroupDiscussion/นำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
4.9 การเรียนการสอนแบบแบบโครงงาน/โครงการ/ProblemBased
4.10 โครงการวิทยุ-โทรทัศน์เพอ่ื การศึกษา
4.11 ศูนยภ์ าษา EBP และ IEP
4.12 ห้องเรยี นพหปุ ัญญา
4.13 ห้องปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์ประถม
4.14 ห้องปฏบิ ัติการชีววทิ ยา-เคมี
4.15 หอ้ งปฏิบตั กิ ารฟิสกิ ส์-โลกดาราศาสตร์
4.16 ACU Online Classroom
4.17 ACU คลงั บทเรียนออนไลน์
4.18 หอ้ งประกอบอาหาร
4.19 หอ้ ง Lean Education
4.20 หอ้ งเรียนดนตรี

5)ความโดดเด่นของสถานศึกษา
5.1 นกั เรยี นเก่งภาษาอังกฤษ
โรงเรยี นไดจ้ ดั การเรยี นการสอนโดยใช้ภาษาองั กฤษเป็นสื่อ ในการเรียนการสอน 4

รายวชิ า ได้แก่ Math Science English และ Social โดยใช้ตำรากลางของมูลนิธเิ ซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย
ผู้เรียนได้เรยี นรู้กับเจ้าของภาษาโดยตรง รวมถึงมีการทดสอบวัดคุณภาพผู้เรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียล
แห่งประเทศไทยต่อเน่ืองทุกปีการศึกษาโดยใช้ข้อสอบมาตรฐาน(FSG/FSGST) ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3
ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

5

5.2 ระเบียบวนิ ัย จติ สาธารณะ
ดา้ นระเบียบวนิ ยั โรงเรียนไดจ้ ดั กจิ กรรมประชุมผปู้ กครอง โดยมกี ารประสานทำความ

เข้าใจและขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลนักเรียนให้ปฏิบัติตนตามระเบียบการเป็นนักเรียน กิจกรรม
ส่งเสริมระเบียบวินัย โดย การอบรมนักเรียนประจำเดือน ตรวจติดตามเครื่องแต่งกาย การเข้าแถวเคารพธงชาติ
รับฝากใช้โทรศัพท์มือถือในช่วงเวลาเรียน งานระดับช้ัน ตรวจติดตามกำกับกิจกรรมห้องเรียนสะอาด กิจกรรม
ประหยดั นำ้ ประหยดั ไฟ งานระบบดูแลนักเรยี น โดยมกี จิ กรรมคัดกรองนกั เรียน กจิ กรรมเยี่ยมบ้าน

ดา้ นจิตสาธารณะ โรงเรยี นได้ดำเนนิ การดังน้ี
1.งานสภานักเรียน โดยมีการจดั กิจกรรมเสรมิ สร้างความเปน็ ผ้นู ำ กิจ

กรรมอัสสัมชญั ปันน้ำใจ เช่น การออกไปจัดกิจกรรมนันทนาการ บริจาคส่ิงขิง ทำความสะอาดให้กบั สถานฟื้นฟคู น
พิการซ้ำซ้อน จัดสภานักเรียนรับ-ส่ง ลูกคนตาบอดท่ีมาเรียนในโรงเรียน เดินรณรงค์และเก็บขยะในช่วงหลังเลิก
เรียนเปน็ ประจำทกุ วัน

2.งานสัมพนั ธ์ชมุ ชน โดยมกี จิ กรรมสมั พันธช์ ุมชนเสรมิ สร้างสังคม จัด
นักเรยี นออกไปรว่ มกจิ กรรมในชุมชนตามโอกาสหรือเทศกาลตา่ งๆอย่างต่อเน่ือง

6)โรงเรยี นได้ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
6.1 เรยี นภาษาไทย เน้นเพือ่ การสอ่ื สารและใช้เปน็ เคร่ืองมือเพอ่ื เรยี นวิชาอื่น
- โรงเรยี นไดม้ กี ารพฒั นาผู้เรียนให้มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร ด้านการอา่ น

การเขียน การฟัง การดูและการพูดในท่ีชุมชน ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมส่งเสริม
บรรยากาศทางวิชาการของกลุ่มสาระฯ วันสัปดาห์นักบุญหลุยส์ วันภาษาไทย วันเฉลิมพระชนมพรรษา กิจกรรม
ฝึกนักเรียนเปน็ พิธกี รน้อยหนา้ เสาธงก่อนเคารพธงชาติ และกิจกรรมอน่ื ๆอีกมากมาย นอกจากน้ียังจัดใหผ้ ู้เรียนทุก
ระดับช้นั ได้ทำบนั ทกึ การอ่านและบันทึกประจำวนั เพ่ือสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมีทักษะดา้ นการอ่านและเขียน

-โรงเรยี นได้มีการพฒั นาผเู้ รยี นให้สามารถเขียนเรียงความชั้นสงู สง่ เสริม สนับสนนุ ให้
ผู้เรียนผู้เรียนมีความรู้และทักษะด้านการเขียนค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้แบบกลุ่มกับเพื่อนเรียนรู้
รว่ มกัน ท้ังกิจกรรมภายในโรงเรียนที่ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนได้มีพัฒนาการดา้ นการเขียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง เรมิ่ จากการเขยี น
บันทึกประจำวัน การเขียนเร่ืองจากภาพ การเขียนจินตนาการ ในกิจกรรมต่างๆท่ีทางโรงเรียนได้จัดข้ึนและ
กิจกรรมนอกสถานที่ผ่านกิจกรรมสัมผัสสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมสัมผัสอาชีพ แล้วผู้เรียนต้องนำมา
เขียนบรรยาย สรปุ กจิ กรรมต่างๆ ตั้งแตร่ ะดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-มธั ยมศึกษาปีที่ 6

6.2 เรียนภาษาองั กฤษ เน้นเพื่อการสอ่ื สาร
-โรงเรียนได้กำหนดในโครงสร้างหลักสูตรท้ังหลกั สูตรปกติและหลกั สตู รภาษาอังกฤษ ใน

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ เน้นการพัฒนาทกั ษะการฟงั พดู อ่าน เขยี นและการส่ือสาร เพ่ือใหน้ กั เรียนได้ฝึกฝน ไดใ้ ช้ภาษาได้
อย่างคล่องแคลว่ จากการเรียนการสอนโดยใช้หนงั สือเรียนภาษาองั กฤษของมลู นธิ คิ ณะเซนตค์ าเบรยี ลแหง่
ประเทศไทย 5 วชิ า ไดแ้ ก่ English Math Science Social Studies และ Values Education โดยมีการจัดคาบ
เรียนที่ระบใุ นตารางเรยี นและมีการจดั ครูเขา้ สอนครบทั้ง 5 รายวชิ าซ่ึงใช้ภาองั กฤษในการเรียนการสอน ทำให้

6

ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้กับครูชาวต่างชาตเิ จา้ ของภาษาโดยตรง และจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้ฝึกทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษในการส่ือสาร เช่น โครงการ English Camp สำหรับนักเรียนชน้ั ป.4-ม.6 โครงการ English Fun
Camp สำหรบั นกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1-3 เป็นตน้

-โรงเรียนเนน้ การเรียนการสอนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช
2551(ฉบบั ปรับปรุง 2560) เนน้ ภาษาจนี สง่ เสริมให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนรายวชิ าเพ่ิมเติมตามความถนัดด้าน
ภาษาจีน ส่งเสริมให้นักเรียนเขา้ รบั การทดสอบวดั คุณภาพภาษาจนี (HSK : Hanyu Shuiping Kaoshi) สอนโดย
ทีมครชู าวตา่ งชาติและครไู ทยผู้เชย่ี วชาญ สง่ เสริมประสบการณ์ตรงโดยการทัศนศึกษา ประเทศจนี เพ่ือเรยี นรู้
วฒั นธรรมและการใช้ภาษาจีนในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

6.3 เรยี นร้ดู ้วยวธิ กี าร Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ การเรียนรู้จาก
สถานการณ์จรงิ สถานการณ์จำลอง กจิ กรรมการเรยี นรูจ้ ากปญั หาและการลงมือปฏบิ ัติ สามารถเรียนรไู้ ด้ทกุ ทท่ี กุ
เวลาและเรียนรู้อยา่ งมคี วามสุข

- Project Based Learning ม.5 เพอ่ื ให้ผู้เรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความสนใจของ
ตนเองในรปู แบบของโครงงาน มกี ารประกวดโครงงานแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทท่ี 1 อาหาร ประเภทท่ี
2 สือ่ การสอน ประเภทที่ 3 นวตั กรรม/ส่ิงประดิษฐ์ ตามความถนัดและความสนใจของผเู้ รยี น เพอ่ื สง่ เสริมให้
ผ้เู รยี นสามารถกำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมเี หตผุ ลประกอบ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
ผลงานดว้ ยความภาคภูมใิ จ

- กิจกรรม STEM(ระดบั ชัน้ ม.1-3) เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนมีการเรียนรู้รว่ มกันเป็นกลมุ่
แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ เพื่อการเรียนร้รู ะหวา่ งกนั สามารถนำเสนอวิธคี ดิ วิธีแก้ปัญหาดว้ ยภาษาหรือวิธีการของ
ตนเอง ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความสามารถในการกำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสนิ ใจแก้ปัญหาโดยมเี หตผุ ล
ประกอบและเพ่ือให้ผ้เู รยี นมีความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยความภาคภมู ใิ จ

- โรงเรยี นสง่ เสริมกระบวนการคดิ วิเคราะห์ของผู้เรียนโดยจัดให้มหี ้องเรยี น SSP
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4/4 , ม.5/5 , ม.6/5 ) สร้างกิจกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละจัดทำโครงงานท่ี
เสนอ

6.4 เรยี นรู้ Digital และใช้ Digital เปน็ เครือ่ งมือการเรียนรู้
- โรงเรยี นไดพ้ ัฒนาผู้เรยี นให้ใช้เทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ ออกแบบ สรา้ งสรรคง์ าน

ส่อื สาร นำเสนอเผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงานได้ในระดบั นานาชาติ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทยได้
ดำเนินการให้นักเรียนในแตล่ ะระดบั ช้นั ได้ออกแบบสรา้ งสรรค์ผลงาน นำเสนอโครงงาน ถา่ ยวดี ีโอและทำการตัด
ตอ่ นำเสนอในห้องเรียนและอัพลง Facebook หรือ YouTube เพื่อเผยแพรผ่ ลงาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี เรียนเร่ืองอาหารและโภชนาการ สำหรบั นกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี 1-6 ใหน้ กั เรยี น
วางแผนการทำอาหารจากเร่ืองทเี่ รยี นโดยใหน้ กั เรยี นทำอาหารทบ่ี ้านแล้วถ่ายวดี โี อ ทำการตดั ต่อ อัพลง
Facebook หรอื YouTube เพ่ือเผยแพร่ผลงาน ซึ่งบุคคลอ่ืนสามารถเปิดดูได้ท่วั โลก

- ชมรม ACU Channel ผลติ รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์สัน้ เผยแพร่ใน YouTube
และเวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น

7

- ACU ห้องเรียนออนไลน์ และ ACU คลงั บทเรียนออนไลน์ เปน็ แหล่งความรู้ทผ่ี ู้เรยี น
ไดศ้ ึกษาค้นคว้าหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง

6.5 สง่ เสริมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ สร้างนวตั กรรม
- กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรม Project Based Learning ม.5 เป็นการ

สร้างสรรค์ผลงานตามความสนใจของนักเรียนในรูปแบบของโครงงาน มีการประกวดโครงงานแบ่งเป็น 3 ประเภท

ได้แก่ ประเภทท่ี 1 อาหาร ประเภทท่ี 2 สื่อการสอน ประเภทท่ี 3 นวัตกรรม/ส่ิงประดิษฐ์ ซ่ึงเน้นให้นักเรียนใช้

ทรพั ยากรในชุมชนตามความถนัดและความสนใจของนักเรียนเพื่อนำเอาทรัพยากรในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์

และใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์งาน ส่ือสาร นำเสนอ เผยแพร่ สามารถนำผลงานที่ มีไป

ประกวดภายนอก แลกเปล่ียนผลงานไดใ้ นระดบั นานาชาติ

6.6 จดั การเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย ที่เช่อื มโยงสูอ่ าชีพและการมีงานทำ
- โรงเรียนได้จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายเพ่อื ใหผ้ ้เู รียนเลือกเรยี นและฝึกวชิ าชพี

ตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน เช่น ชมรมSTEM ชมรมวรรณคดีหรรษา ชมรมอาชีพยุคดิจิตอล ชมรม
คอมพิวเตอรห์ รรษา ชมรมสนุกคิดนกั คณิตศาสตร์ ชมรม Easy DIY ชมรมย้อนเวลาหาอดีต ชมรม Sport stacking
ชมรม Movie Club ชมรม Robot ชมรมบาสเกตบอล ชมรมแอนนิเมชั่น ชมรมACU Chanel ชมรมอิเล็กทรอ
นิสส์หรรษา ชมรมคณิตคิดสนุก ชมรม A-math ชมรมเย็บปักถักร้อยชมรมดนตรีสากล ชมรมปักครอสติส ชมรม
เกมภาษาไทย ชมรมธนาคารโรงเรียน ชมรมอาหารนานาชาติ ชมรมกรีฑา ชมรมเปตอง ชมรมลีลาศ ชมรม
บาสเกตบอล ชมรมCulinary ชมรมภาพยนตร์และวรรณกรรมจนี ชมรมนาฏศลิ ป์ ชมรมมหาวิทยาลยั ในฝัน ชมรม
ACU Chanal และชมรมประดับผ้า เป็นต้น ทง้ั น้ีเพ่ือให้นักเรียนเกดิ การเรียนร้จู ากกิจกรรมท่ีหลากหลาย ใช้เวลาวา่ ง
ให้เป็นประโยชน์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์และเกิดทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตลอดจนเปน็ พืน้ ฐานในการนำไปต่อยอดการประกอบอาชีพได้ในอนาคต

6.7 พฒั นาครูตามความต้องการและสถานศึกษา(คปู องครู)
- พัฒนาครูผู้สอนใหม้ ีความรคู้ วามสามารถและเชี่ยวชาญเฉพาะทางดา้ นวชิ าการโดยการ

สง่ ไปอบรม สมั มนา ศึกษาดูงานท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ เชน่ ประเทศอินเดีย ประเทศองั กฤษ ประเทศ
ฝรัง่ เศส ประเทศจีนและประเทศไตห้ วนั เชญิ วทิ ยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาฝกึ อบรมให้กับบุคลากร
เพือ่ นำความรู้มาพัฒนางานในแต่ละด้านให้มีคณุ ภาพกบั ผู้เรียนสงู สุด

- พฒั นาครูให้สามารถใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสอ่ื สาร โดยการสนับสนุนใหไ้ ปศึกษา
ต่อทีต่ ่างประเทศและมีการจดั ให้มกี ารสอบวัดระดบั ความรดู้ ้านภาษาอังกฤษของบุคลากรในโรงเรียนทั้งหมด ปี
การศกึ ษาละ 1 ครงั้ และนำผลมาวเิ คราะห์เพื่อพฒั นาทางด้านภาษาองั กฤษ โดยมกี ารสอนซ่อมเสรมิ ภาษาอังกฤษ
ให้กบั บคุ ลากรทีย่ งั ไมผ่ ่านเกณฑ์โดยภราดา ดร.อาวธุ ศิลาเกษ และ ภราดา ดร.วิศษิ ฐ์ ศรีวิชยั รตั น์ เพอ่ื นำความรู้
มาพฒั นางานใหเ้ กดิ กบั ผู้เรียนไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

8

- พฒั นาครูใหม้ ีความร้คู วามสามารถในด้านการนำเทคโนยีมาใช้ในการจดั การเรียนการ
สอน เพื่อนำความรู้มาพฒั นาบทเรียนออนไลน์ ทำใหผ้ ้เู รียนมีทางเลือกเรยี นหลายช่องทางอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
เชน่ อบรมการผลติ สือ่ การสอนออนไลน์ โปรแกรมต่างๆ อาทิ Google Class room , Word Wall , Nearpod ,
Zoom และอบรมการใช้สอ่ื Aksorn On-Lrarn เพอื่ พฒั นาการเรียนการสอน โดย บ.อักษรเอด็ ดเู คชั่นจำกดั
(มหาชน)

6.8 จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ
- จัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นส่ือในการจัดการเรียนการสอน 5

รายวิชา ได้แก่ English Math Science Social Studies และ Values Education มีการจัดคาบเรียนในตาราง
เรียนและมีการจัดครูเข้าครบท้ัง 5 รายวิชาซ่ึงใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กับครู
ชาวต่างชาติเจ้าของภาษาโดยตรง โดยใช้แบบเรียน(ตำรากลาง) ตามที่คณะกรรมการฝ่ายการศึกษามูลนิธิคณะ
เซนตค์ าเบรยี ลแห่งประเทศไทย และฝ่ายวชิ าการของโรงเรยี นในเครอื มูลนิธฯิ ไดร้ ว่ มกนั พัฒนาและกำหนดไวแ้ ล้ว
ครไู ทยผสู้ อนตำรากลางมูลนิธคิ ณะเซนต์คาเบรยี ลแห่งประเทศไทย ได้รับการพฒั นาทางด้านภาษาอังกฤษทั้งใน
ประเทศหรือต่างประเทศ

ลงนาม....................................................(ผู้อำนวยการโรงเรยี น)
(ดร.อาวธุ ศิลาเกษ)

วนั ที่ 30 เดือน เมษายน พ.ศ. 2564

9

สว่ นท่ี 2 ข้อมลู พ้นื ฐาน

1. ข้อมูลพืน้ ฐาน
1.1 โรงเรียนอัสสมั ชัญอุบลราชธานี รหสั 1134100014 เลขท่ี 500 ถนนชยางกูร ตำบลในเมอื ง อำเภอ
เมือง จงั หวัดอุบลราชธานี รหสั ไปรษณยี ์ 34000 สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
โทรศพั ท์ 045-284444 โทรสาร 045-313400 e-mai…-…website:http://www.acu.ac.th
Facebook:https://www.facebook.com/ACU2508 ได้รบั อนุญาตจดั ต้ังเมื่อเม่ือวนั ท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ.
2500 เปดิ การสอนระดับชน้ั บริบาล ถึงระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวนนกั เรียน 2,047 คน จำนวน
บคุ ลากรในโรงเรียน 184 คน

ลกั ษณะผู้รบั ใบอนุญาต
 บุคคลธรรมดา
 นติ บิ ุคคล
 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด/บรษิ ทั
 มลู นธิ ใิ นพทุ ธศาสนา/การกศุ ลของวดั
 มลู นิธิในครสิ ต์ศาสนา
 มูลนธิ ิในศาสนาอสิ ลาม
 อ่นื ๆ (ระบุ).................................

ประเภทโรงเรยี น
 ประเภทโรงเรียนในระบบ
 สามัญศกึ ษา
 การกุศลของวดั
 การศกึ ษาพเิ ศษ
 การศกึ ษาสงเคราะห์
 ในพระราชปู ถัมภ์
 สามญั ปกติ
 อสิ ลามควบคสู่ ามัญ

การจัดการเรียนการสอน
 ปกติ (สามัญศึกษา)
 English Program ไดร้ ับอนุญาตเมื่อ.....................................................................

10

1.2 จำนวนห้องเรยี น/ผู้เรียนจำแนกตามระดับทีเ่ ปิดสอน

ชัน้ ห้อง 1 หอ้ ง 2 ห้อง 3 ห้อง 4 ห้อง 5 ห้อง 6 รวมทั้งหมด

ชน้ั บริบาล 22 23 30 ชาย หญงิ รวม
36 39 75
รวมช้ันบรบิ าล 22 23 30 36 39 75
68 44 112
ชน้ั อนบุ าล 1 26 26 29 31 70 74 144
74 79 153
ชั้นอนบุ าล 2 37 36 37 34 212 197 409
59 50 109
ชั้นอนบุ าล 3 38 36 39 40 74 60 134
51 58 109
รวมชัน้ อนบุ าล 101 98 105 105 184 168 352
50 60 110
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 34 29 14 32 53 41 94
44 48 92
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 34 35 36 29 147 149 296
82 67 149
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 35 35 39 86 69 155
87 67 154
รวมชน้ั ประถมศึกษาตอนตน้ 103 99 89 61 255 203 458
88 90 178
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 40 34 36 77 64 141
66 72 138
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 33 32 29 231 226 457
1065 982 2047
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ๓๓ ๓๐ ๒๙ 1029 943 1972

รวมช้ันประถมศึกษาตอนปลาย 106 96 94 ข้อมลู ณ วันท่ี 10 ธ.ค. 63

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 21 30 27 31 40

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 33 29 33 29 33

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 22 21 23 34 26 28

รวมช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 76 80 83 94 97 28

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 28 48 31 41 30

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 41 35 25 40

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 37 33 20 34

รวมชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 106 116 86 119 30

รวมนกั เรยี นท้ังหมด 514 512 487 379 127 28

ไมร่ วมนกั เรียนชั้นบริบาล 492 489 457 379 127 28

11

1.3 จำนวนครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
1.3.1 สรุปจำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามระดบั การศกึ ษา

ปกี ารศกึ ษา 2563

ประเภทบคุ ลากร จำนวน ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
จำนวน ร้อยละ
ทัง้ หมด จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
2 15.38
ผบู้ ริหารและผรู้ ่วม 13 0 0.00 6 46.16 5 38.46
0 0.00
บรหิ าร 0 0.00
0 0.00
ครผู ูส้ อน(ครูไทย) 102 0 0.00 83 81.37 19 18.63 0 0.00
17 85.00 3 15.00 2 15.38
ครูผสู้ อน(ครตู า่ งชาต)ิ 20 0 0.00 2 40.00 3 60.00
28 63.64 4 9.09
อัตราจ้าง/อ.พเิ ศษ 5 0 0.00 136 73.91 34 18.48

บคุ ลากรทางการศึกษา 44 12 27.27

รวมทั้งหมด 184 12 27.27

1.3.2 สรุปจำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามเพศ

ปีการศึกษา 2563

ประเภทบุคลากร จำนวน ชาย หญงิ

ทง้ั หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

ผ้บู รหิ ารและผูร้ ่วมบริหาร 13 4 30.77 9 69.23

ครูผู้สอน(ครูไทย) 102 26 25.49 76 74.51

ครูผู้สอน(ครตู า่ งชาต)ิ 20 15 75.00 5 25.00

อัตราจา้ ง/อ.พเิ ศษ 51 20.00 4 80.00

บคุ ลากรทางการศึกษา 44 12 27.27 32 72.73

รวมทงั้ หมด 184 58 31.52 126 68.48

สรุปอัตราสว่ น 1 : 19 จำนวนผเู้ รยี นตอ่ ห้อง 32 : 1
ระดับปฐมวัย
จำนวนผเู้ รียนต่อครู 1 : 19 จำนวนผเู้ รียนตอ่ ห้อง 31 : 1
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 1 : 19 จำนวนผู้เรียนตอ่ หอ้ ง 31 : 1
ระดับประถมศึกษา
จำนวนผู้เรียนต่อครู
ระดบั มัธยมศึกษา
จำนวนผู้เรยี นตอ่ ครู

12

1.3.3 สรุปจำนวนครูผู้สอน จำแนกตามวชิ าเอก/โท หรือความถนดั

ลำดบั ประเภทครผู สู้ อน จำนวนครู การจัดครเู ขา้ สอน

(คน) ตรงตามวชิ าเอก/ ร้อยละ ไมต่ รงตามวชิ าเอก/ รอ้ ยละ รวม

โทหรือความถนัด โท หรือความถนดั

1 ภาษาไทย 10 10 100.00 0 0.00 100.00

2 คณิตศาสตร์ 13 13 100.00 0 0.00 100.00

3 วิทยาศาสตร์ 18 18 100.00 0 0.00 100.00

4 สงั คมศึกษาฯ 11 11 100.00 0 0.00 100.00

5 พลศึกษาสขุ ศึกษา 5 5 100.00 0 0.00 100.00

6 ศลิ ปะ 5 5 100.00 0 0.00 100.00

7 การงานอาชพี และ 2 2 100.00 0 0.00 100.00

เทคโนโลยี

8 ภาษาต่างประเทศ

-ครไู ทย 16 16 100.00 0 0.00 100.00

-ครูตา่ งประเทศ 20 20 100.00 0 0.00 100.00

9 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 2 2 100.00 0 0.00 100.00

10 อนบุ าล 20 20 100.00 0 0.00 100.00

รวม 122 122 122 0 0.00 100.00

13

2. ข้อมลู พน้ื ฐานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ปรัชญา 1.จุดมุ่งหมายของชีวติ คือ การรูจ้ กั สจั ธรรมและการเข้าถึงธรรมอันสูงส่งอนั เปน็ บ่อ
วสิ ัยทศั น์ เกิดแหง่ ชวี ิต
พันธกิจ 2.มนษุ ย์ทุกคนต้องทำงาน ความวิรยิ ะ อตุ สาหะ เป็นหนทางนำไปสคู่ วามสำเร็จ
ดงั คติพจน์ทวี่ ่า “Labor Omnia Vincit”
เป้าหมาย ผเู้ รียนโรงเรยี นอสั สัมชญั อบุ ลราชธานี มีระเบียบวินยั และคุณภาพ
มาตรฐานสากล
1.ยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นใหม้ ีมาตรฐานสากล
2.พฒั นาผ้เู รยี นให้มีคุณภาพตามอตั ลักษณ์ของมูลนธิ คิ ณะเซนตค์ าเบรียลแหง่
ประเทศไทย
3.พฒั นาผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามเอกลักษณ์ของโรงเรยี น
4.พัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รยี น
5.พัฒนาครู บคุ ลากรและผู้บริหารให้มีศกั ยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี
6.พฒั นาระบบบริหารโรงเรยี นให้มปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล
7.สง่ เสริมและสนับสนนุ ใหช้ มุ ชน ผปู้ กครองและภาคเี ครือข่ายมีส่วนร่วมในการ
จัดการศึกษา
1.ผู้เรียนมีคุณภาพระดับมาตรฐาน สากล
2.จัดการเรยี นการสอนให้มีคุณภาพเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล
3.ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพตามอัตลกั ษณข์ องมลู นิธิคณะเซนต์คาเบรยี ลแห่งประเทศ
4.ผู้เรียนมคี ุณภาพตามเอกลักษณข์ องโรงเรยี น
5.ผ้เู รยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการ
6.ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะพงึ ประสงค์
7.ผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา มีคุณภาพ ปฏบิ ัติตามบทบาทหนา้ ท่ี
อย่างมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
8.โรงเรยี นมีระบบบริหารจดั การศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
9.โรงเรียนมหี ลกั สตู ร กระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งรอบดา้ น
10.โรงเรียนมกี ารจดั สภาพแวดล้อมและการบริการทส่ี ่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นพัฒนาเต็ม
ศักยภาพ
11.ชุมขน ผ้ปู กครอง และภาคีเครือข่ายมสี วนรว่ มในการสง่ เสริม สนบั สนุนการ
จัดการศึกษา

14

ยทุ ธศาสตร์หรอื กลยุทธ์ การพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา

เอกลกั ษณ์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นให้มมี าตรฐาน สากล
อตั ลกั ษณ์ ยุทธศาสตรร์ องท่ี 1.1 พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานสากล
ยทุ ธศาสตร์รองที่ 1.2 จัดการเรยี นการสอนเท่ยี บเคยี งมาตรฐานสากล

ยุทธศาสตร์ที่ 2 สง่ เสริมอัตลักษณ์ของมลู นิธิคณะเซนต์คาเบรยี ลแหง่ ประเทศ
ไทยใหโ้ ดดเด่น
ยุทธศาสตร์ที่ 3 สง่ เสริมเอกลักษณ์ของโรงเรียนให้มีความโดดเด่น
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยกระดับผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี วามรแู้ ละทักษะท่ีจำเป็นตามคุณลักษณะพงึ
ประสงคย์ ทุ ธศาสตร์ที่ 6 พฒั นา ครู บุคลากร และผบู้ ริหารให้มีความเชีย่ วชาญทาง
วชิ าชพี
ยทุ ธศาสตร์ที่ 7 เสรมิ สรา้ งระบบการบริหารจดั การบริหารโรงเรยี นสู่ความเป็นเลศิ

ยทุ ธศาสตรท์ ร่ี องที่ 7.1 เสริมสรา้ งระบบบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมา
ภิบาล

ยทุ ธศาสตร์ท่ีรองท่ี 7.2 พัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาที่มีความยืดหยุ่น
เหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรียน และท้องถิ่น

ยุทธศาสตรท์ ี่รองท่ี 7.3 จัด สรา้ ง พฒั นาสภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารให้มี
ความพร้อมและเอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 8 ส่งเสริมการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน ผู้ปกครอง และภาคเี ครือข่าย
ผู้เรยี นมีระเบียบวินัย เนน้ ภาษาองั กฤษและมีจิตสาธารณะ

ผู้เรยี นยดึ มนั่ ในศาสนา รับผิดชอบต่อสังคม พัฒนาตนทกุ มิติ มีความวิรยิ ะ
อตุ สาหะ

15

3. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผูเ้ รยี น

3.1 ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET)

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดับชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

วิชา จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉลย่ี ผลการ *** ***
นักเรยี น นักเรยี น เฉลี่ยระดบั ทดสอบ (O-NET) ผลตา่ ง ร้อยละ ***
ทง้ั หมด ทเ่ี ขา้ สอบ ประเทศ คะแนน ของ แปลผล
ปี 2563 2561 2562 2563 เฉลย่ี คะแนน พัฒนาการเทยี บ
(1) (2) (3) เฉล่ีย กบั ร้อยละ 3
(4)
(5) (6)

คณติ ศาสตร์ 92 74 29.99 43.10 39.43 35.07 -4.36 -11.06 ไมม่ ีพัฒนาการ

วิทยาศาสตร์ 92 74 38.78 49.60 40.03 41.70 1.67 4.17 มพี ฒั นาการ

ภาษาไทย 92 74 56.20 62.92 53.57 52.92 -0.65 -1.21 ไม่มพี ฒั นาการ

ภาษาอังกฤษ 92 74 43.55 60.36 51.08 58.90 7.82 15.31 มีพัฒนาการ

*** (4) = (3) – (2) กรณีท่มี ผี ลต่างคะแนนเฉลี่ย (4) ตดิ ลบ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ีย (5) ให้ใส่เคร่ืองหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป แปลผลว่า “มีพฒั นาการ”

มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มีพฒั นาการแตไ่ ม่ถึงรอ้ ยละ 3”

มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไมม่ ีพัฒนาการ”

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3

วชิ า จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉลี่ยผลการ *** *** ***
นกั เรยี น นกั เรยี น เฉลีย่ ระดบั ทดสอบ (O-NET) ผลตา่ ง ร้อยละ แปลผล
ท้ังหมด ทเี่ ข้า ประเทศ คะแนน ของ พฒั นาการ
สอบ ปี 2563 2561 2562 2563 เฉลี่ย คะแนน เทยี บกบั ร้อย
(1) (2) (3) เฉลีย่ ละ 3
(4)
(5) (6)
คณิตศาสตร์ 154 129 25.46 32.79 28.50 24.85 -3.65
วทิ ยาศาสตร์ 154 129 29.89 37.19 29.84 30.69 0.85 -12.81 ไมม่ ีพัฒนาการ
มีพัฒนาการแต่ไม่
ภาษาไทย 154 129 54.29 58.69 58.17 61.67 3.50 2.85
ภาษาองั กฤษ 154 129 34.38 36.17 42.72 45.83 3.11 ถึงรอ้ ยละ 3
6.02 มพี ฒั นาการ
7.28 มีพัฒนาการ

16

*** (4) = (3) – (2) กรณที ี่มผี ลตา่ งคะแนนเฉล่ีย (4) ติดลบ ใหใ้ ส่เครอื่ งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ให้ใส่เครอ่ื งหมายลบ

(2)
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ตงั้ แต่ 3.00 ข้ึนไป แปลผลวา่ “มีพัฒนาการ”

มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ีย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการแต่ไมถ่ งึ ร้อยละ 3”
มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ตดิ ลบ แปลผลวา่ “ไม่มีพัฒนาการ”

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

วิชา จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ ผลการ *** *** ***
นกั เรียน นักเรียน เฉลี่ยระดบั ทดสอบ (O-NET) ผลต่าง รอ้ ยละ แปลผล
ทัง้ หมด ทเี่ ขา้ ประเทศ คะแนน ของ พฒั นาการ
สอบ ปี 2563 2561 2562 2563 เฉลย่ี คะแนน เทียบกบั ร้อยละ
(1) (2) (3) เฉลีย่
(4) 3
(5) (6)
คณิตศาสตร์ 138 138 26.04 27.28 21.96 23.38 1.42
วทิ ยาศาสตร์ 138 138 32.68 29.18 26.09 29.23 3.14 6.47 มีพัฒนาการ
ภาษาไทย 138 138 44.36 46.09 40.17 41.39 1.22 12.04 มีพฒั นาการ
ภาษาองั กฤษ 138 138 29.94 37.55 31.62 33.17 1.55 3.04 มีพัฒนาการ
สงั คมศกึ ษา 138 138 35.93 33.40 33.84 34.40 0.56 4.90 มพี ฒั นาการ
ศาสนา และ 1.65 มีพฒั นาการแตไ่ ม่
วฒั นธรรม ถึงรอ้ ยละ 3

*** (4) = (3) – (2) กรณีท่มี ผี ลต่างคะแนนเฉลย่ี (4) ตดิ ลบ ใหใ้ ส่เครอ่ื งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉล่ีย (5) ให้ใสเ่ ครอื่ งหมายลบ

(2) มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ตั้งแต่ 3.00 ข้ึนไป แปลผลว่า “มีพัฒนาการ”
*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มีพฒั นาการแตไ่ ม่ถึงรอ้ ยละ 3”
มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไม่มีพฒั นาการ”

17

จำนวนและร้อยละของนกั เรยี นทีม่ ผี ลการเรยี นระดบั 3 ขึ้นไป

ระดบั ประถมศกึ ษา

ระดับผลการเรียน

กลมุ่ สาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
การเรยี นรู้/
รายวิชา จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน
นกั เรยี น นักเรียนท่ี ร้อยละ จำนวน นักเรยี นท่ี รอ้ ยละ จำนวน นักเรียนท่ี ร้อยละ จำนวน นกั เรยี น รอ้ ยละ จำนว นักเรยี น รอ้ ยละ จำนวน นกั เรียน รอ้ ยละ
ภาษาไทย มีผล นักเรยี มผี ลระดบั นักเรีย มีผล นักเรีย ท่มี ีผล นกั เรีย ทม่ี ผี ล
ระดบั 3 น ทม่ี ีผล
ข้ึนไป น 3 ขน้ึ ไป น ระดับ 3 น ระดับ 3 นกั เรี ระดบั 3 น ระดับ 3
ข้ึนไป ขึ้นไป ยน ขนึ้ ไป ขนึ้ ไป

109 96 88.07 134 119 88.81 109 58 53.21 110 96 87.27 93 58 62.37 92 48 52.17

คณติ ศาสตร์ 109 93 85.32 134 119 88.81 109 101 92.66 110 84 76.36 93 87 93.55 92 39 42.39

วิทยาศาสตร์ 109 93 85.32 134 101 75.37 109 76 69.72 110 98 89.09 93 93 100.0 92 29 31.52
และเทคโนโลยี

สงั คมศกึ ษา

ศาสนา และ 109 109 100.0 134 132 98.51 109 108 99.08 110 97 88.18 93 85 91.40 92 87 94.57

วัฒนธรรม

ประวัตศิ าสตร์ 109 100 91.74 134 120 89.55 109 98 89.91 110 100 90.91 93 89 95.70 92 88 95.65

สุขศึกษาและ 109 109 100.0 134 134 100.0 109 109 100.0 110 110 100.0 93 93 100.0 92 92 100.0
พลศึกษา

ศลิ ปะ 109 109 100.0 134 133 99.25 109 108 99.08 110 110 100.0 93 92 98.92 92 90 97.83

การงานอาชพี 109 109 100.0 134 134 100.0 109 109 100.0 110 108 98.18 93 91 97.85 92 89 96.74

ภาษาต่างประเทศ 109 101 92.66 134 86 64.18 109 49 44.95 110 81 73.64 93 63 67.74 92 68 73.91

ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

กลุ่มสาระ ม.1 ระดบั ผลการเรียน (ภาคเรยี นท่ี 2) ม.3
การเรยี นรู้/รายวิชา ม.2

ภาษาไทย จำนวน จำนวนนักเรียน รอ้ ยละ จำนวน จำนวนนกั เรียนที่ ร้อยละ จำนวน จำนวนนักเรียนที่ รอ้ ยละ
คณติ ศาสตร์ นักเรยี น ทมี่ ีผลระดบั 3 นกั เรียน มผี ลระดบั 3ขน้ึ ไป นักเรียน มผี ลระดบั 3ข้นึ ไป
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 81.21 75.32
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 149 ขนึ้ ไป 156 144 92.31 154 116 42.86
วฒั นธรรม 149 154 66 51.95
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 149 121 154 80 87.01
ประวตั ศิ าสตร์ 149 154 134
ศิลปะ 77 51.68 156 54 34.62
การงานอาชีพ 149
ภาษาตา่ งประเทศ 149 87 58.39 156 83 53.21
149
149 105 70.47 156 144 92.31
149
149 100.0 156 155 99.36 154 152 98.70
109 73.15 156 92 58.97 154 130 84.42
144 96.64 156 154 98.72 154 152 98.70
114 76.51 156 146 93.59 154 110 71.43
101 67.79 156 89 57.05 154 121 78.57

18

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

กลุม่ สาระ ระดบั ผลการเรียน (ภาคเรียนท่ี 2)
การเรียนรู้/รายวิชา
ม.4 ม.5 ม.6
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวนนักเรียนท่ี ร้อยละ จำนวน จำนวนนักเรยี นท่ี รอ้ ยละ
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั เรยี น นกั เรยี นทม่ี ผี ล นกั เรียน มีผลระดบั 3 นกั เรียน มผี ลระดบั 3
สังคมศกึ ษา ศาสนา และ ระดับ 3 ขึน้ ไป 71.75 ขึ้นไป ข้นึ ไป 81.88
วฒั นธรรม 176 47.46 138 48.55
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 176 127 80.23 141 98 69.50 113
ประวตั ศิ าสตร์ 176 76.27 -
ศิลปะ 176 84 141 71 50.35 138 67 45.65
การงานอาชพี
ภาษาต่างประเทศ 176 142 141 137 97.16 138 -
176
176 135 141 117 82.98 138 63
176
176 175 98.87 141 139 98.58 138 138 100.0
138 77.97 --
164 92.66 141 - - 138 127 92.03
-- 113 81.88
120 67.80 141 100 70.92 138 95 68.84

141 106 75.19 138

141 90 63.83 138

ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (National Test : NT)

เปรยี บเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

สมรรถนะ จำนวน จำนวน คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ *** *** ***
นกั เรยี น นักเรียน ระดับ สมรรถนะ ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ทง้ั หมด ทเี่ ข้าสอบ ประเทศ คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย พฒั นาการเทียบ
ปี 2563 2561 2562 2563 กบั ร้อยละ 3
(1) (2) (3) (4) (5)
(6)
ด้านภาษา 109 107 47.76 56.52 45.24 45.39 0.15 0.33 มีพฒั นาการแต่ไม่
(Literacy) 109 107 -0.28
ด้านคำนวณ - - 40.47 44.08 43.31 43.19 -0.12 ถึงร้อยละ 3
(Numeracy) - ไม่มพี ฒั นาการ
ดา้ นเหตผุ ล - 49.00 - - -
(reasoning) -

*** (4) = (3) – (2) กรณีที่มีผลตา่ งคะแนนเฉล่ีย (4) ตดิ ลบ ให้ใส่เครอ่ื งหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ใหใ้ ส่เครื่องหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตงั้ แต่ 3.00 ขน้ึ ไป แปลผลวา่ “มีพฒั นาการ”

มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ัฒนาการแต่ไม่ถึงรอ้ ยละ 3”

มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไมม่ ีพัฒนาการ”

19

ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผูเ้ รียน (Reading Test : RT)

เปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1

ความสามารถ จำนวน จำนวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ *** *** ***
ด้านการอ่าน นักเรียน นักเรยี น ระดับ ด้านการอ่าน ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ท้งั หมด ที่เขา้ สอบ ประเทศ คะแนน คะแนน พัฒนาการเทยี บ
ปี 2563 2561 2562 2563 เฉล่ยี กับรอ้ ยละ 3
(1) (2) (3) เฉลยี่
(4) (5) (6)
7.34
อ่านร้เู รอ่ื ง 109 108 74.14 71.98 65.57 70.38 4.81 25.39 มพี ฒั นาการ

อา่ นออกเสยี ง 109 108 71.86 67.55 59.50 74.61 15.11 มีพัฒนาการ

*** (4) = (3) – (2) กรณที ม่ี ีผลต่างคะแนนเฉลย่ี (4) ตดิ ลบ ให้ใส่เคร่ืองหมายลบ

*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ย (5) ให้ใส่เครื่องหมายลบ

(2)

*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ตัง้ แต่ 3.00 ข้ึนไป แปลผลวา่ “มีพัฒนาการ”

มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มีพัฒนาการแต่ไมถ่ ึงร้อยละ 3”

มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มีพัฒนาการ”

ผลการทดสอบความสามารถดา้ นภาษาอังกฤษ
ค่าประเมินมาตรฐานภาษาอังกฤษจากหน่วยงานทดสอบภาษาองั กฤษ ท่กี ระทรวงศึกษาธิการรบั รอง

จำนวนนกั เรียนท่มี ผี ลการทดสอบ

ประเภท การสอ่ื สารภาษาองั กฤษ คิดเป็น หมายเหตุ
นกั เรียน รอ้ ยละ ข้นั ตำ่ ของแต่
จำนวน ตามเกณฑ์ CEFR หรอื เทียบเทา่ ละประเภท
ป.1
ป.2 Pre A1 A2 B1 B2 C1 C2 รวม Pre A1
ป.3 A1 Pre A1
ป.6
ม.1 77 72 2 3 - - - - 77 100 A1
ม.2 A2
ม.3 69 66 1 2 - - - - 69 100 B1
ม.6 B1
รวม 56 7 32 14 2 1 - - 56 100 B1
96 8 57 27 4 - - - 96 100 B2
-
298 153 92 16 6 1 - - 298 100

20

2. นวัตกรรม/แบบอย่างทีด่ ี (Innovation /Best Practice )
นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการท่ีนำมาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหาหรือ

เพื่อการพัฒนา ซ่ึงทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรือเห็นได้ชัด
เป็นการพัฒนาต่อยอด เพ่ิมมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซ่ึงมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์
(C – Creative), มีความใหม่ในบริบทนั้นๆ (N - New) มีคุณค่ามีประโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ได้
อยา่ งเหมาะสม (A - Adaptive)

แบบอย่างท่ีดี (Best - Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขึ้นตอนการปฏิบัติที่ทำให้
สถานศึกษาประสบความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มี
หลักฐานของความสำเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้
และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนำไปใช้
ประโยชน์

ชื่อ นวตั กรรม/แบบอยา่ งทดี่ ี มาตรฐานดา้ น ระดับการศึกษา
1.การบริหารข้อมูลสถานศึกษาดว้ ยโปรแกรม ขั้นพื้นฐาน
SWIS กระบวนการบรหิ ารจัดการ ขั้นพน้ื ฐาน
2.การใชภ้ าษาอังกฤษเป็นสอื่ ในการจดั การเรียน ขน้ั พื้นฐาน
การสอน กระบวนการจดั การเรยี นการ ขนั้ พน้ื ฐาน
3.การจัดการเรยี นการสอนห้องเรียน MSEP สอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ขน้ั พน้ื ฐาน
(Math Science and English Program) กระบวนการจัดการเรยี นการ ขน้ั พ้ืนฐาน
สอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ข้นั พน้ื ฐาน
4.การจัดการเรยี นการสอนห้องเรยี น IPAD กระบวนการจัดการเรียนการ ขน้ั พน้ื ฐาน
สอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ขนั้ พื้นฐาน
5.การจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning กระบวนการจัดการเรียนการ ขน้ั พื้นฐาน
สอนที่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ
6.การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ/STEM กระบวนการจดั การเรียนการ
สอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
7.การจัดการเรียนการสอนแบบวจิ ยั เปน็ ฐาน กระบวนการจดั การเรียนการ
(นักเรียนทำงานวจิ ัย) สอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
8.การเรียนการสอนแบบ Group Discussion / นำเสนอหน้า กระบวนการจัดการเรยี นการ
ช้นั เรียน สอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
9.การเรียนการสอนแบบแบบโครงงาน/โครงการ/Problem กระบวนการจดั การเรยี นการ
Based สอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
10.ศนู ยภ์ าษา EBP และ IEP กระบวนการบริหารจัดการ

ชอ่ื นวตั กรรม/แบบอยา่ งทด่ี ี มาตรฐานดา้ น 21

11.หอ้ งเรยี นพหุปญั ญา กระบวนการบริหารจดั การ ระดบั การศึกษา
12.ห้องปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตรป์ ระถม กระบวนการบริหารจดั การ
13.ห้องปฏิบัตกิ ารชวี วทิ ยา-เคมี กระบวนการบรหิ ารจดั การ ขั้นพน้ื ฐาน
14.หอ้ งปฏิบตั กิ ารฟสิ กิ ส์-โลกดาราศาสตร์ กระบวนการบรหิ ารจัดการ ขน้ั พ้นื ฐาน
15. ACU Online Classroom กระบวนการบริหารจดั การ ขนั้ พืน้ ฐาน
16. ACU คลังบทเรียนออนไลน์ กระบวนการบรหิ ารจดั การ ข้ันพน้ื ฐาน
17.โครงการวทิ ยุ-โทรทัศนเ์ พื่อการศึกษา กระบวนการบริหารจดั การ ขั้นพ้นื ฐาน
18.ห้องประกอบอาหาร กระบวนการบรหิ ารจัดการ ขั้นพน้ื ฐาน
19.หอ้ ง Lean Education กระบวนการบริหารจัดการ ขน้ั พื้นฐาน
20.ห้องเรยี นดนตรี กระบวนการบรหิ ารจดั การ ขัน้ พน้ื ฐาน
ขนั้ พน้ื ฐาน
ขน้ั พน้ื ฐาน

6. รางวลั ท่สี ถานศึกษาได้รบั ประเภทรางวลั ระดับ หน่วยงาน หมายเหตุ
6.1 ปีการศกึ ษาปัจจุบัน ที่มอบรางวลั
สมาคมกีฬาเทนนสิ
ชอ่ื รางวัล แห่งประเทศไทย

1.การแขง่ ขนั กฬี าเทควันโด ในรายการ รางวลั ชนะเลิศ เขตพื้นที่/จังหวัด สโมสรโรตารีจ่ ตจุ กั ร
แขง่ ขนั กีฬานกั เรยี น นักศกึ ษา  ภาค/ประเทศ กรงุ เทพมหานคร
แหง่ ชาติคร้งั ที่ 42 รางวลั ชนะเลิศ นานาชาติ
รอบคดั เลือกตัวแทนเขต การแขง่ ขัน รางวลั ชนะเลศิ ศูนย์ใหค้ ำปรึกษา
กฬี า เขตพื้นที่/จังหวัด กิจกรรมเพือ่ สงั คม
2. “เยาวชนคนตน้ แบบ ประจำปี  ภาค/ประเทศ ศนู ยก์ ารค้าไดอานา่
2563 ระดบั Platinum สาขาภาวะ นานาชาติ หาดใหญ่ อำเภอ
ผ้นู ำ” จากเยาวชนท่ัวประเทศ เขตพืน้ ท่ี/จงั หวดั หาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา
 ภาค/ประเทศ สำนกั งานกองทนุ สร้าง
3.รางวัล“สยามนครสี โตย” ตน้ แบบ นานาชาติ เสรมิ สุขภาพ สำนกั การ
ผูน้ ำจติ อาสาเพือ่ การแบ่งปนั ประจำปี เครอื ข่ายองค์กร งด
2563 สาขาเยาวชนจติ อาสาดีเดน่ เหล้า

4. รางวลั DSN Youth Awards 2020 รางวลั ชนะเลิศ เขตพน้ื ที่/จงั หวัด

ประเภทกลมุ่ สาขาส่ือสารมวลชน  ภาค/ประเทศ

รณรงค์และประชาสัมพนั ธ์ นานาชาติ

22

ช่อื รางวลั ประเภทรางวัล ระดับ หนว่ ยงาน หมายเหตุ
ท่ีมอบรางวัล
5. รางวลั Challenge Kids รางวลั ชนะเลศิ เขตพืน้ ท/่ี จงั หวัด สถาบนั ทโี อท(ี TOT)
Thailand สาขาเยาวชนจติ อาสา รางวลั ชนะเลศิ  ภาค/ประเทศ กรุงเทพมหานคร

6. การแข่งขนั ห่นุ ยนต์ LOGO SUMO นานาชาติ บรษิ ัทโรบอทแอนดอ์ นิ
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น โนเวติฟเลริ ์นนิ่งจำกัด
เขตพน้ื ท/ี่ จังหวัด รว่ มกบั โรงเรียนสีชมพู
 ภาค/ประเทศ ศึกษา อำเภอสีชมพู
จังหวัดขอนแก่น
นานาชาติ อีสานลคี เทควนั โดนคร
ขอนแกน่ จังหวัด
7.การแขง่ ขันเทควนั โดอสี าน ลคี รางวลั ชนะเลศิ เขตพ้ืนท/่ี จงั หวดั ขอนแก่น
แชมป์เปี้ยน ชิพ  ภาค/ประเทศ
โรงเรียนเอกปญั ญา
8.การแข่งขันกีฬาวา่ ยนำ้ รายการ รางวลั ชนะเลิศ นานาชาติ รว่ มกับสำนกั งาน
แข่งขนั เอกปญั ญาสวมิ ม่ิงแชมปเ์ ปี้ยนส์ เขตพื้นท/่ี จงั หวดั ศึกษาธิการจังหวดั กาฬ
ชพิ 2020  ภาค/ประเทศ สินธแ์ิ ละสโมสรกีฬาว่าย
น้ำ ภาค 3
นานาชาติ สมาคมกีฬาเทควนั โด
แหง่ ประเทศไทย
9.การแขง่ ขนั กฬี าเทควันโด รายการ รางวลั ชนะเลศิ  เขตพื้นท/ี่ จงั หวดั รว่ มกบั จงั หวดั
แขง่ ขันกีฬานกั เรียนนักศึกษา แหง่ ชาติ ภาค/ประเทศ อุบลราชธานี
ครง้ั ที่ 42 ประจำปี 2563 รอบคัดเลือก นานาชาติ
ตวั แทนเขตการแขง่ ขนั กฬี า ภาค 3

10.การแข่งขันกฬี าว่ายนำ้ ในการ รางวัลชนะเลศิ  เขตพนื้ ท/่ี จังหวดั มหาวทิ ยาลยั รงั สิตกรุง
แขง่ ขนั Rangsit University รางวัลชนะเลิศ ภาค/ประเทศ
Swimming Champions Ships ครง้ั รางวลั ชนะเลิศ นานาชาติ Singha สนามราชนั ย์
ที่ 11 ฟุตบอล
11.การแขง่ ขนั กีฬาฟตุ บอล ในรายการ  เขตพนื้ ท/่ี จังหวดั อคาเดมี อบุ ลราชธานี
แข่งขัน Ubon Family Singha ภาค/ประเทศ กองทนุ ป้องกันและ
Junior 2020 นานาชาติ ปราบปรามการทจุ รติ
 เขตพืน้ ท/ี่ จังหวัด แห่งชาติ(ป.ป.ช.)
12.กจิ กรรมสภานักเรียนในการแขง่ ขนั ภาค/ประเทศ
โครงการพัฒนานวตั กรรมสร้างสรรค์ นานาชาติ
และแกนนำเยาวชนนักตรวจสอบทุจริต
คอรปั ช่นั (Corruption Literacy

23

ช่อื รางวลั ประเภทรางวัล ระดับ หน่วยงาน หมายเหตุ
ทม่ี อบรางวัล
13.รายการ To Be Number รางวลั ชนะเลิศ  เขตพื้นที่/จงั หวัด To Be Number One
One I Dol ในโครงการ To Be ภาค/ประเทศ จังหวดั อุบลราชธานี
Number One จงั หวดั นานาชาติ
อบุ ลราชธานี สมาคมสมาคมกฬี า
14.การแขง่ ขันกฬี าเทนนิส ในการ รางวัลรองชนะเลศิ เขตพนื้ ที่/จังหวัด เทนนิสแหง่ ประเทศไทย
แขง่ ขันเทนนิส PTT
ลอนเทนนสิ พัฒนาฝมี ือ ประจำปี อนั ดับ 1  ภาค/ประเทศ บริษทั โรบอทแอนดอ์ นิ
2563 เพ่ือคัดตวั “นกั กีฬาเทนนสิ โนเวติฟเลริ น์ นิง่ จำกัด
เยาวชนทมี ชาติไทย” นานาชาติ ร่วมกบั โรงเรยี นสชี มพู
15.การแขง่ ขนั หนุ่ ยนต์ LOGO ศกึ ษา อำเภอสีชมพู
SUMO ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ รางวลั รองชนะเลศิ เขตพ้นื ที่/จงั หวัด จังหวดั ขอนแก่น
บริษทั โรบอทแอนด์อนิ
16.การแข่งขนั หนุ่ ยนต์ LOGO อนั ดบั 1  ภาค/ประเทศ โนเวตฟิ เลิรน์ นิ่งจำกดั
SUMO ระดับมธั ยมศกึ ษา รว่ มกบั โรงเรยี นสชี มพู
ตอนปลาย นานาชาติ ศกึ ษา อำเภอสชี มพู
จังหวัดขอนแกน่
17.การแขง่ ขนั หนุ่ ยนต์ Maze รางวลั รองชนะเลิศ เขตพืน้ ที่/จังหวดั บริษทั โรบอทแอนดอ์ ิน
Solver Junior โนเวตฟิ เลิรน์ นง่ิ จำกัด
(อายุไม่เกิน 14 ปี) อันดบั 1  ภาค/ประเทศ รว่ มกับ มหาวทิ ยาลัย
ขอนแก่น
18.การแข่งขันหุน่ ยนต์ Maze นานาชาติ จงั หวดั ขอนแก่น
Solver Junior บรษิ ทั โรบอทแอนด์อนิ
(อายุไม่เกนิ 18 ป)ี รางวัลรองชนะเลศิ เขตพื้นที่/จงั หวัด โนเวตฟิ เลริ ์นน่งิ จำกัด
ร่วมกบั
19.การแข่งขนั เทควนั โดอีสาน ลีค อันดับ 1  ภาค/ประเทศ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
แชมปเ์ ป้ียน ชพิ จังหวัดขอนแกน่
นานาชาติ อีสานลีคเทควนั โดนคร
ขอนแก่น จงั หวัด
รางวัลรองชนะเลิศ เขตพื้นท่ี/จังหวัด ขอนแกน่

อันดบั 1  ภาค/ประเทศ

นานาชาติ

รางวัลรองชนะเลศิ เขตพนื้ ท่ี/จังหวดั

อนั ดับ 1  ภาค/ประเทศ

นานาชาติ

24

ช่ือรางวัล ประเภทรางวัล ระดับ หน่วยงาน หมายเหตุ
ทีม่ อบรางวัล
20.การแขง่ ขันกฬี าว่ายนำ้ ในการ รางวัลรองชนะเลศิ เขตพืน้ ที่/จังหวดั มหาวทิ ยาลยั รงั สิต
แขง่ ขนั Rangsit กรุงเทพมหานคร
University Swimming อันดับ 1  ภาค/ประเทศ
Champions Ships ครัง้ ท่ี 11 บรษิ ทั โรบอทแอนด์อนิ
21.การแขง่ ขนั หุ่นยนต์ tagout นานาชาติ โนเวติฟเลิรน์ นิ่งจำกัด
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รว่ มกบั โรงเรยี นสชี มพู
รางวัลรองชนะเลศิ เขตพ้นื ที่/จงั หวดั ศกึ ษา อำเภอสีชมพู
จังหวดั ขอนแก่น
อนั ดับ 2  ภาค/ประเทศ บรษิ ัทโรบอทแอนด์อิน
โนเวตฟิ เลริ ์นนง่ิ จำกัด
นานาชาติ ร่วมกับ มหาวิทยาลยั
ขอนแก่น
22.การแข่งขันห่นุ ยนต์ Maze รางวัลรองชนะเลิศ เขตพื้นที่/จงั หวัด จงั หวัดขอนแก่น
Solver Junior บริษทั เนสตเ์ ลป่ ระเทศ
(อายไุ ม่เกนิ 14 ปี) อันดับ 2  ภาค/ประเทศ ไทย

นานาชาติ

23.การแข่งขนั ประกอบอาหาร รางวัลรองชนะเลศิ เขตพ้ืนท่ี/จงั หวัด

ในโครงการ International Chefs อนั ดับ 2  ภาค/ประเทศ

Day 2020 “อาหารเพ่ือสขุ ภาพที่ นานาชาติ
ดีต่ออนาคต”

6.2 ปีการศึกษาที่ผา่ นมา (ยอ้ นหลังไมเ่ กนิ 3 ป)ี

ช่ือรางวลั ปี พ.ศ..... หนว่ ยงาน หมายเหตุ
ท่ไี ด้รับรางวลั ท่มี อบรางวัล

1. โรงเรยี นรางวัลพระราชทาน - -
-
2. นกั เรยี นรางวัลพระราชทาน - -
-
3. โรงเรียนมาตรฐานส่สู ากล (มาตรฐาน สช.) - -

3. โรงเรียนคุณธรรม (ระดบั สช. ระดับกระทรวง) -

4. โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพยี ง -

7. ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ (ปรับตามนโยบายแตล่ ะปี) 25
ประเดน็ ตัวชีว้ ดั
มี ไมม่ ี
1. การปลกู ฝังความมีระเบยี บวนิ ยั ทศั นคติท่ถี กู ต้องผา่ นกระบวนการลูกเสือ เนตรนารี ยุว ✓
กาชาด
2. การจดั การเรียนรู้เพ่ือสรา้ งทกั ษะพ้ืนฐานที่เชอื่ มโยงสกู่ ารสรา้ งอาชีพและการมงี านทำ ✓
3. การจัดการเรียนการสอนท่สี ่งเสรมิ การคดิ วเิ คราะหด์ ้วยวิธีการ Active Learning ✓
4. การจดั การเรียนการสอนเพ่อื ฝึกทกั ษะการคดิ แบบมเี หตุผลและเปน็ ขน้ั ตอน (Coding) ✓
5. การพฒั นาครูให้มีความชำนาญในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและ ✓
ภาษาคอมพิวเตอร(์ Coding)
6. การจัดการเรยี นรดู้ ้วย STEM Education ✓

6.1 สถานศกึ ษามกี ารจัดการเรียนการสอนแบบ STEM Education ✓
6.2 สถานศึกษามีนวตั กรรมจากการเรียนรตู้ ามแนวทาง STEM Education ✓
7. การเรยี นภาษาองั กฤษเพอ่ื ใช้ในการสอื่ สารและเพ่ิมทกั ษะสำหรับใช้ในการประกอบอาชพี ✓
8. การจัดการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ (ภาษาทสี่ าม) ✓
9. การส่งเสริมทกั ษะการอ่าน เขยี นภาษาไทยเพื่อใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื ในการเรยี นรภู้ าษาอืน่
10. การใชด้ ิจทิ ัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรยี นรู้หรือสร้างอาชีพ

8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ท่ผี า่ นมา ระดับคณุ ภาพผลการประเมนิ

รอบการประเมิน ระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549 – 2553) ดี ดี
รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558)
รอบท่ี 4 (พ.ศ. 2559 – 2563) ดีมาก ดี

--

9. หน่วยงานภายนอกที่โรงเรียนเขา้ รว่ มเป็นสมาชิก
 สมาคมคณะกรรมการประสานและสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
 สมาคมสหพนั ธ์โรงเรียนเอกชนแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมครสู ถานศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมประถมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมอนบุ าลศึกษาแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์ฯ
 สมาคมสภาการศกึ ษาคาทอลิกแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมครโู รงเรียนเอกชนคาทอลิกแหง่ ประเทศไทย
 สมาคมโรงเรียนสอนภาษาจนี
 สมาคมโรงเรยี นนานาชาตแิ ห่งประเทศไทย

26

ส่วนท่ี 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน การปฏบิ ัตงิ าน จำนวนผูเ้ รียน (คน)
ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ปฏบิ ตั ิ ไม่ เปา้ หม ผ่านเกณฑ์ *** ผลการ
ปฏิบตั ิ าย ทก่ี ำหนด ผลการ ประเมนิ
ประเด็นพจิ ารณา (ร้อย ทง้ั หมด ประเมิน คุณภาพท่ีได้
ละ) (รอ้ ยละ)

ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รยี น

1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน 87 1561 1411 90.42 ยอดเย่ยี ม
การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ

1.1 ร้อยละของผเู้ รียนมีทกั ษะในการ ✓ 1555 99.61
อ่านในแตล่ ะระดบั ชนั้ ตามเกณฑ์ท่ี ✓ 1504 96.33
สถานศกึ ษากำหนด ✓ 1440 92.26
1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีทกั ษะในการ ✓ 1146 73.46
เขียนในแตล่ ะระดบั ชน้ั ตามเกณฑ์ท่ี 82 1561 1529 97.92 ยอดเยี่ยม
สถานศกึ ษากำหนด ✓ 1542 98.75
1.3 ร้อยละของผ้เู รยี นมีทักษะในการ
สอ่ื สารในแต่ละระดบั ช้นั ตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด
1.4 ร้อยละของผเู้ รียนมีทักษะในการ
คดิ คำนวณในแต่ละดบั ช้นั ตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากำหนด
2 มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิด
อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย
แลกเปล่ยี นความคิดเห็นและแกป้ ญั หา
2.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมีความสามารถ
ในการคิดจำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ
ไตรต่ รองอย่างรอบคอบโดยใช้เหตผุ ล

27

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผ้เู รียน (คน)

ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหม ผ่านเกณฑ์ *** ผลการ
ปฏิบตั ิ าย ท่กี ำหนด ผลการ ประเมนิ
(รอ้ ย ทง้ั หมด ประเมนิ คณุ ภาพที่ได้
ละ) (ร้อยละ)

ประกอบการตัดสนิ ใจ ✓ 1522 97.50
2.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมีการอภปิ ราย ✓ 1522 97.50
แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ✓ 92 1561 1514 97.00 ยอดเยี่ยม
2.3 ร้อยละของผ้เู รยี นมีการแกป้ ัญหา ✓ 1514 97.00
อยา่ งมีเหตผุ ล 1514 97.00
3 มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ✓
3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ ✓ 92 1561 1561 100 ยอดเยี่ยม
ในการรวบรวมความรู้ได้ท้ังตัวเองและ 1561 100
การทำงานเป็นทมี ✓ 1561 100
3.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนสามารถเชื่อมโยง
องค์ความรูแ้ ละประสบการณ์มาใช้ใน 76 1561 1309 82.93 ดเี ลศิ
การสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ อาจเป็น 1266 81.10
แนวความคดิ โครงการ โครงงาน
ช้นิ งาน ผลผลติ
4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ และการส่ือสาร
4.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนมีความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สาร
4.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีความสามารถ
ในการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
ส่ือสารเพ่ือพฒั นาตนเองและสงั คมใน
ดา้ นการเรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงาน
อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม
5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตร
สถานศึกษา
5.1 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นบรรลกุ ารเรยี นรู้
ตามหลักสูตรสถานศึกษา

28

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผู้เรียน (คน)

ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหม ผา่ นเกณฑ์ *** ผลการ
ปฏิบตั ิ าย ท่กี ำหนด ผลการ ประเมิน
(รอ้ ย ท้ังหมด ประเมิน คณุ ภาพท่ีได้
ละ) (รอ้ ยละ)

5.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความก้าวหน้า ✓ 1266 81.10
ในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ✓ 1352 86.58
จากพืน้ ฐานเดมิ 92 1561 1544 98.88 ยอดเยี่ยม
5.3 ร้อยละของผเู้ รียนมีความก้าวหน้า ✓ 1561 100
ในผลการทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผล ✓ 1526 97.75
การทดสอบอื่น ๆ
6 มีความรู้ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดี ✓ 92 1561 1497 95.91 ยอดเยี่ยม
ตอ่ งานอาชีพ ✓ 1497 95.91
6.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะ 1497 95.91
พนื้ ฐานและเจตคตทิ ด่ี ีในการศกึ ษาต่อ ✓
6.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ 92 1561 1507 96.52 ยอดเยีย่ ม
พ้นื ฐานและเจตคตทิ ีด่ ีในการจัดการ 1507 96.52
การทำงานหรืองานอาชพี
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผ้เู รยี น

1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมทดี่ ีตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนด
1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็น
ผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ
กติกา
1.2ร้อยละของผู้เรียนมีค่านิยมและ

จติ สำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด โดย

ไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี

ของสังคม

2 ความภูมใิ จในท้องถิ่นและความเปน็
ไทย
2.1 ร้อยละของผูเ้ รยี นมีความภูมิใจใน
ท้องถ่ิน เหน็ คณุ ค่าของความเป็นไทย

29

การปฏบิ ัตงิ าน จำนวนผู้เรียน (คน)

ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ เป้าหม ผา่ นเกณฑ์ *** ผลการ
ปฏิบตั ิ าย ที่กำหนด ผลการ ประเมนิ
(ร้อย ท้ังหมด ประเมิน คุณภาพท่ีได้
ละ) (รอ้ ยละ)

2.2 ร้อยละของผ้เู รียนมีส่วนร่วมในการ ✓ 1507 96.52
อนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและประเพณไี ทย
รวมทง้ั ภูมปิ ัญญาไทย

3 การยอมรับทีจ่ ะอยู่ร่วมกันบนความ 92 1561 1561 100 ยอดเยีย่ ม
100
แตกตา่ งและหลากหลาย
100 ยอดเยีย่ ม
- ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่ ✓ 1561 100

ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคล 100
95.96 ยอดเยีย่ ม
ในด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา

วัฒนธรรม ประเพณี

4 สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สังคม 92 1561 1561

4.1ร้อยละของผู้เรียน มีการรักษ า ✓ 1561

สุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และ

สังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมใน

แตล่ ะช่วงวยั

4.2รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถอยู่ ✓ 1561

รว่ มกับคนอ่ืนอยา่ งมีความสุข เข้าใจ

ผู้อ่ืน ไมม่ ีความขัดแย้งกับผู้อื่น

สรุปผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพจิ ารณา

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว

วธิ ีคำนวณ

*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = 100 x จำนวนผ้เู รยี นผ่านเกณฑท์ ี่โรงเรยี นกำหนด

จำนวนผูเ้ รยี นทัง้ หมด

แปลผลการประเมินคุณภาพทีไ่ ด้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กำลังพัฒนา

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี

รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลิศ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยี่ยม

30

กระบวนการพัฒนาที่สง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเ้ รยี น

ตัวบง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเยี่ยม
1.1ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี มีความมุ่งม่ันในการ

ผู้เรียน พัฒนาผู้เรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับ

1) มีความสามารถในการอ่าน ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พ .ศ . 2 5 6 3 โ ด ย มี

การเขียน การสื่อสารและการคิด กระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามหลักสูตร

คำนวณ แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2551 และ

ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานฉบับปรับปรุง

การเขียน การส่ือสารและการคิด พ.ศ.2560 และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-

คำนวณ ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา 2579 โรงเรียนดำเนินการจัดกิจกรรมเพ่ือให้ผู้เรียนมี

กำหนดในแตล่ ะระดับช้ัน ทักษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิด

คำนวณตามโครงการ กิจกรรมของกลุ่มสาระการ

เรียนรู้ภาษาไทย เช่น การเขียนบันทึกประจำวัน การ

เขียนเร่ืองจากภาพ การเขียนจินตนาการ กิจกรรม

ส่งเสริมการสื่อสารภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่และ

วันภาษาไทยแห่งชาติ กิจกรรมซ่อมเด็กอ่อน เสริมเด็ก

เก่ง กิจกรรมสัมผัสสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม

กิจกรรมสัมผัสอาชีพ เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสาร

ทั้งการอ่าน เขียน และทักษะการพูด แก้ไขปัญหา

นกั เรียนเรียนรู้ช้า ส่งเสริมการเรยี นรู้ด้วยโครงงานตาม

กิจกรรมในโครงการของกลุ่ มสาระการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่ม

สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มี

โครงการค่ายทักษะวิทยาศาสตร์เชิงอนุรักษ์ โครงการ

แฟนซีรีไซเคิล โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทางด้าน

วิท ย าศ าส ต ร์กิ จ ก ร รม ส่ งเส ริม ทั ก ษ ะ งาน อ าชี พ คิ ด

สร้างสรรค์ โครงการค่ายทักษะเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์เพื่อ

พัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ กิจกรรมหนู

น้อยนักคิดคณิตคณิตศาสตร์ มีการวิเคราะห์ผลการ

ท ดสอบ ระดับ ช าติ(O-NET) ข้อสอบ Pre O-Net

ข้อสอบกลาง(BSG)และการทดสอบแนว PISA เพ่ือ

พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงข้ึน มีการจัด

31

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คุณภาพ
กิจกรรมในหลักสูตร เช่น กิจกรรมชมรม กิจกรรม
ลูกเสือ-เนตรนารี การแข่งขันทักษะทางวิชาการ
รวมทั้งกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น ศูนย์ฝึกทักษะ
อาชีพเป็นการจัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาทักษะ
ชวี ิต ผา่ นกระบวนการเรียนรู้ทางด้านทักษะอาชีพ ให้กับ
ผู้เรียน ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากกิจกรรมท่ี
หลากหลาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีความคดิ ริเร่ิม
สร้างสรรค์และเกิดทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ที่
ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตลอดจนเป็นพ้ืนฐานใน
การนำไปต่อยอดการประกอบอาชีพได้ในอนาคต การ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความ สามรถในการคิด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
การแสวงหาความรู้ รู้จักคิดวิเคราะห์ เลือกรับ และ
เลือกใช้ข่าวสารเพ่ือมาพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้มีความคิด
ริเร่ิมสร้างสรรค์สิ่งใหม่ เช่น การจัดกิจกรรม Project
Based Learning (PBL) ในระดับช้ัน ม.4 กิจกรรม
Project Based Learning ในระดับช้ัน ม.5 กิจกรรม
Integration Workshop (IW) ในระดับชั้น ม.6

พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการ
สอ่ื สาร ได้กำหนดในโครงสร้างหลักสตู รท้ังหลักสูตรปกติ
และหลักสูตรภาษาอังกฤษและรายวิชาเพิ่มเติมท่ีเน้น
การพัฒนาทักษะฟัง พูด อ่าน เขียนและการส่ือสารทั้ง
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ให้นักเรียนได้ฝึกฝน
ได้ใช้ภาษาได้คล่องแคล่ว จากการเรียนการสอนโดยใช้
แบบเรียนภาษาอังกฤษของมูลนิธฯิ ของรายวิชาสอนตาม
ตำรากลางและจัดกิจกรรมต่างๆส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึก
ทักษะการใช้ภาษา เช่น กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ จัด
โครงการ English Camp สำหรบั ผเู้ รียนระดับช้นั
ป.4 - ม.6
และโครงการ English Fun Camp สำหรับนักเรียน
ระดับชั้น ป.1-3 กิจกรรมภาษาอังกฤษบนเวที เช่น การ
แสดงละคร PBL ของนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4
ทำใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การพัฒนาคุณภาพ ดังนี้

32

ตวั บง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเย่ียม
-ผู้เรียนในระดับชั้น ป.1 -ม.6 มีผลการประเมินการ

อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน โดยภาพรวม ร้อยละ

99.61

-ผู้เรียนในระดับช้ัน ป.1-ม.6 มีผลการประเมิน

ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ส่ื อ ส า ร ภ า ษ า ไ ท ย ได้ อ ย่ า ง มี

ประสิทธภิ าพและเหมาะสมกบั วัย ผลการประเมิน โดย

ภาพรวม ร้อยละ 96.33 ซึ่งบรรลุตามเป้าหมายที่

กำหนดไว้ รอ้ ยละ 92

-ผู้เรียน ร้อยละ 73.46 มีพัฒนาการตามจุดเน้นด้าน

การคิดเลข ผา่ นเกณฑ์ทกี่ ำหนด

-ผเู้ รยี นร้อยละ 96.35 มีทกั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษใน

การส่อื สารระดับดี

-ผู้เรียนร้อยละ 92.17 มีทักษะด้านการเขียน

เรยี งความชน้ั สงู (ผเู้ รยี น ป.5-ม.6)

2) มีความสามารถใน การคิด โรงเรียนดำเนินการจัดกิจกรรม เพ่อื ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมี

วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ความสามารถในการคิด จำแนกแยกแยะ วิเคราะห์

อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น คิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้เหตุผลประกอบการ

และแก้ปญั หา ตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ

ผู้เรียนมีความสามารถใน แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล โดยผ่าน กิจกรรมส่งเสริมการ

ก ารคิ ด จ ำแ น ก แย ก แ ย ะ คิ ด สื่อสารภาษาไทย กิจกรรมวันสนุ ทรภแู่ ละวันภาษาไทย

ใคร่ครวญไตร่ตรองพิจารณาอย่าง แห่งชาติ กจิ กรรมซอ่ มเด็กออ่ น เสริมเดก็ เก่ง

ร อ บ ค อ บ โ ด ย ใ ช้ เห ตุ ผ ล - กลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ ได้ดำเนินการจดั

ป ระกอ บ การตั ดสิ น ใจ มี การ กิจกรรม Project Based Learning(PBL) ในระดับชั้น

อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ม.5 เพื่อให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานตามความสนใจใน

และแก้ปญั หาอย่างมเี หตุผล รูปแบบของโครงงาน มีการประกวดโครงงานแบ่ง

ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 1 อาหาร

ประเภทท่ี 2 สื่อการสอน ประเภทที่ 3 นวัตกรรม/

สิ่งประดิษฐ์ ตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน

ผู้เรียนสามารถกำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ตัดสินใจ

แก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ มีความคิดริเร่ิม

สรา้ งสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ

- กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ได้ดำเนนิ การจัด

33

ตัวบง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเย่ียม
กิจกรรม STEM(ระดับ ม.1-3) เพื่อให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้

ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือการเรียนรู้

ระหว่างกัน สามารถนำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วย

ภาษาหรือวิธีการของตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี

ความสามารถในการกำหนดเป้าหมาย คาดการณ์

ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ มีความคิดริเริ่ม

สรา้ งสรรคผ์ ลงานด้วยความภาคภูมิใจ

ทำให้ผเู้ รียนเกิดการพัฒนาคุณภาพ ดังน้ี

-ผู้เรียนในระดับชั้น ป.1 -ม.6 มีผลการประเมินการ

อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน โดยภาพรวม ร้อยละ

99.61 ซง่ึ บรรลตุ ามเป้าหมายท่กี ำหนดไว้

ร้อยละ 85

-ผู้เรียนระดับช้ัน ป.1-ม.6 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา

ผู้เรียนท่ีโรงเรียนส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ

ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน

รอ้ ยละ 100 ซึง่ บรรลเุ ปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้

ร้อยละ 85

-ผูเ้ รียนร้อยละ 100 สร้างกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้

และจัดทำโครงงานท่ีเสนอแนวคิดตามความถนัดและ

ความสนใจของผู้เรียน

นำ-ผู้เรียนร้อยละ 97.50 สร้างกิจกรรมการเรียนรู้

และมีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความ

คิดเห็นเพ่ือการเรียนรู้ระหว่างกัน สามารถเสนอวิธีคิด

วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเองได้อย่าง

เหมาะสม

3) มีความสามารถในการสร้าง โรงเรียนได้มีการดำเนินการส่งเสริมการเรียนรู้ใน

นวตั กรรม รูปแบบต่างๆ เช่น สะเต็มศึกษา การเรียนรู้จากเกม

ผเู้ รียนมีความสามารถในการ และนันทนาการ กิจกรรมค่ายผู้นำ กิจกรรมพัฒนา

รวบรวมความรู้ได้ด้วยตัวเองและ ผู้เรียน(ลูกเสือ-เนตรนารี,รด.,ชมรม) กิจกรรมส่งเสริม

การทำงานเป็นทีม เช่ือมโยงองค์ ประชาธิปไตย กิจกรรมโครงการธนาคารโรงเรียน เป็น

ความรู้และปะสบการณ์มาใช้ใน การส่งเสริม ให้ ผู้เรียน มีโลกทั ศน์ ท่ี กว้างข้ึน มี

การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็น กระบวนการทำงานท่ีเป็นระบบมีความสามัคคี การ

34

ตวั บ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ
ยอดเย่ียม
แนวความคิด โครงงาน โครงการ ทำงานเป็นทีม สร้างจิตสำนึกการทำงานเพื่อส่วนรวม

ชิ้นงาน ผลผลิต เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน

ในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข มีความ

ตระหนักในการพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน การแก้ปัญหา

การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี เคารพสิทธิและ

ศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ มีศูนย์ฝึกทักษะอาชีพ เป็นการ

จัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิต ผ่าน

กระบวนการเรียนรู้ทางด้านทักษะอาชีพ ให้กับผู้เรียน

ทั้ งน้ี เพ่ื อ ให้ นั ก เรี ย น เกิ ด ก าร เรี ย น รู้ จ าก กิ จ ก ร รม ท่ี

หลากหลาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีความคดิ ริเริ่ม

สร้างสรรค์และเกิดทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ที่

ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตลอดจนเป็นพื้นฐานใน

การนำไปต่อยอดการประกอบอาชีพได้ในอนาคต ทำให้

ผเู้ รยี นเกิดการพฒั นาคุณภาพ ดังนี้

-ผู้เรียนระดับชั้น ป.1-ม.6 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา

ผู้เรียนที่โรงเรียนส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ

ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน

ร้อยละ 100 ซ่งึ บรรลเุ ป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ร้อยละ 85

-ผู้เรยี นร้อยละ 100 รู้ เข้าใจ และมีความตะหนกั ใน

การรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อ่ืน

-ผู้เรียน ร้อยละ 100 ใช้ สิท ธิ เสรีภ าพ ให้ เกิ ด

ประโยชนต์ ่อตนเอง ผ้อู ืน่ ชุมชนและสังคม

-ผู้เรียนร้อยละ 100 กล้าแสดงความคิดเห็นอย่างมี

เหตผุ ล รกั ษาสิทธิ เสรภี าพของตนเอง

4) มี ความ สาม ารถใน การใช้ โรงเรยี นส่งเสรมิ การเรียนรูข้ องผู้เรียนดว้ ยโครงงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ตามกิจกรรมในโครงการของกลุ่มสาระการเรียนรู้

สอ่ื สาร วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี และ

ผู้เรียนมีความสามารถในการ เทคโนโลยี มีการจดั แหล่งเรยี นรู้และพัฒนาสื่อการสอน

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ นวัตกรรม เทคโนโลยี ค่ายเทคโนโลยีหนุ่ ยนตเ์ พ่ือ

สื่อสาร เพ่ือการพัฒนาตนเองและ พฒั นาผเู้ รียนในการใช้เทคโนโลยี สบื ค้น ศกึ ษาค้นควา้

สังคมในด้านการเรียนรู้ การ และการเรียนรู้รว่ มกนั เป็นกลุ่มแลกเปลีย่ นความ

ส่ื อ ส า ร ก า ร ท ำ ง า น อ ย่ า ง คดิ เห็นเพื่อเรียนรูร้ ะหว่างกัน

35

ตัวบ่งช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ
สร้างสรรค์และมคี ณุ ธรรม โรงเรยี นได้สง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามกิจกรรม
โครงการงานสัมพันธช์ ุมชน เชน่ กจิ กรรมสมั พนั ธ์
ชมุ ชนเสริมสรา้ งศาสนาและวัฒนธรรม กจิ กรรม
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ และกิจกรรมสัมพนั ธ์ชมุ ชนสรา้ ง
เสริมสงั คม สนับสนุนใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ในวนั สำคญั ทางศาสนา เช่น การเวียนเทียนในวัน
มาฆบชู า วสิ าขบชู าและวนั เข้าพรรษา การทำบุญใส่
บาตรขา้ วสารอาหารแห้งเน่ืองในวันสำคัญต่างๆ เชน่
วันแม่ วันพอ่ กจิ กรรมค่ายพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้
ผ้เู รียนรู้จกั แบง่ ปันโดยการนำเงินจากการออมของ
นกั เรยี นมาบรจิ าคให้ผูด้ ้อยโอกาสและทำบุญในวาระ
ตา่ งๆตามความพร้อม กิจกรรมค่ายธรรมะ สง่ เสริมให้
ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมจริยธรรมและไดร้ ว่ มกจิ กรรม หรือ
แสวงหาความเป็นจรงิ ตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตน
นบั ถือ และตามคณุ ค่าพระวรสาร 12 ประการ และ
สามารถนำหลักธรรมไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวันได้
กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทยได้ดำเนนิ การใหผ้ ู้เรียน
ในแต่ละระดับชน้ั ได้ออกแบบสรา้ งสรรค์ผลงาน
นำเสนอโครงงาน ถา่ ยวิดิโอและทำการตดั ตอ่ นำเสนอ
ในห้องเรยี นและอัพลง Facebook หรอื YouTube
เพือ่ เผยแพร่ผลงานผา่ น Facebook หรือ YouTube
ลงในอินเทอร์เนต็
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้
พฒั นาผเู้ รยี นให้ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ
สร้างสรรค์งาน สื่อสารนำเสนอผลงานโดยเรียนเรื่อง
อาหารและโภชนาการ สำหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ให้ผู้เรียนวางแผนการทำอาหาร
เรอ่ื งที่เรียนโดยใหน้ ักเรยี นทำอาหารทีบ่ า้ นแล้วถา่ ยคลิป
วีดีโอ ตดั ตอ่ อัพผลงานลง Facebook หรือ YouTube
ลงใน Internet
กิจกรรมชมรม ACU Channel ไดผ้ ลิตรายการ
โทรทัศน์ ภาพยนตร์สั้น เผยแพร่ผลงานลงในเวบ็ ไซต์ของ

36

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คุณภาพ
โรงเรยี นทำใหผ้ ู้เรียนเกิดการพัฒนาคุณภาพ ดังนี้
- ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100 เผยแพร่ผลงานผ่าน YouTube
โดยใชเ้ ทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ ออกแบบ สรา้ งสรรค์
งาน สือ่ สาร นำเสนอ เผยแพรแ่ ละแลกเปลยี่ นผลงาน
ได้ระดับนานาชาติ
-ผู้เรียนร้อยละ 95.03 มกี ารจัดกจิ กรรมเพอ่ื ทาง
ศาสนา
-ผู้เรียนและครรู ้อยละ 99.96 เขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือ
ทำประโยชนส์ ว่ นรวมและรับผิดชอบต่อสงั คม
-ผู้เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถือ
สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณธรรมจริยธรรมและได้ร่วม
กิจกรรม หรอื แสวงหาความเป็นจรงิ ตามหลกั ธรรมของ
ศาสนาทีต่ นนับถือ และตามคุณค่าพระวรสาร 12
ประการ และสามารถนำหลกั ธรรมไปปรับใชใ้ น
ชีวติ ประจำวันได้คดิ เป็นร้อยละ 98.63
-ผเู้ รียนใช้เทคโนโลยีในการเรยี นรแู้ ละนำเสนอผลงาน
มรี ะดบั ผลการประเมนิ เฉลยี่ รอ้ ยละ 100
-ผูเ้ รียนร้อยละ 100 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ
เรยี นรู้ การส่ือสารและเปน็ พลเมืองดิจติ อล

37

ตวั บง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คุณภาพ
ดีเลศิ
5) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตาม โรงเรียนมีการวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติ(O-
ยอดเยี่ยม
หลักสูตรสถานศึกษา NET) ข้อสอบ Pre O-Net ข้อสอบกลาง(BSG)และการ

ผู้เรียนบรรลุความก้าวหน้า ทดสอบแนว PISA เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นให้

ก า ร เรี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก สู ต ร สูงขึ้น มีการจัดกิจกรรมในหลักสูตร เช่น กิจกรรมชมรม

สถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมใน กิจก รรม ลูกเสือ -เน ต รน ารี กิจกรรม เสริม สร้าง

ด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ บรรยากาศทางวิชาการ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรม

กระบวนการต่าง ๆ รวมท้ังมี ซ่อมเด็กอ่อนเสริมเด็กเก่ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

ความก้าวหน้าในผลการทดสอบ รวมท้ังกิจกรรมเสริมหลักสูตร ผ่านกระบวนการเรียนรู้

ระดับชาติหรือผลการทดสอบอื่น ทางด้านทักษะอาชีพให้กับผู้เรยี น ทั้งน้ีเพ่ือให้นักเรยี นเกิด

ๆ การเรียนร้จู ากกจิ กรรมท่ีหลากหลาย ทำให้ผู้เรียนเกิดการ

พัฒนาคุณภาพ ดังนี้

-.ผู้เรียนระดับชั้น ป.6 ม.3 ม.6 มีผลการทดสอบ

ระดับชาติสงู กว่า T-Score 40 คิดเป็นร้อยละ 86.85 ซึ่ง

บรรลตุ ามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ร้อยละ 78

-ผู้เรียนระดับช้ัน ป.1-ม.6 ท่ีมีผลสัมฤทธ์ิระดับ 3.00

ขึ้นไปเป็นไปตามเกณฑ์ของโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ

81.10 ซึ่งบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้เฉลี่ย 8 กลุ่ม

สาระการเรียนรรู้ อ้ ยละ 75

-ผู้เรียนในระดับช้ัน ป.1-ม.6 มีผลการประเมินผล

สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร โดยภาพรวม ร้อยละ

99.74 ซ่งึ บรรลุตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้ รอ้ ยละ 92

-ผู้เรียนในระดับชั้น ป.1 -ม.6 มีผลการประเมินการ

อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน โดยภาพรวม รอ้ ยละ 98.75

-ผู้เรียนในระดับช้ัน ป.1-ม.6 มีผลการประเมิน

ความสามารถในการส่ือสารภาษ าไทยได้อย่างมี

ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับวัย ผลการประเมิน โดย

ภาพรวม ร้อยละ 96.33 ซ่ึงบรรลุตามเป้าหมายท่ี

กำหนดไว้ รอ้ ยละ 94

6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและ โรงเรียนมกี ิจกรรมสมั ผัสอาชีพและแนะแนวการศึกษา

เจตคติที่ดตี อ่ งานอาชีพ ต่อ กิจกรรมค้นหาต้นเอง เพ่ือส่งเสริมและพัฒนา

ผู้ เรีย น มี ค ว าม รู้ ทั ก ษ ะ ศักยภาพของผู้เรียนในการเตรียมความพร้อมเพ่ือ
พื้นฐานในการจัดการ เจตคติท่ีดี

38

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดบั คณุ ภาพ
พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชนั้ ท่ี ศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ โรงเรียนได้เชิญ
สูงข้นึ การทำงานหรืองานอาชพี วิทยากรผู้เช่ียวชาญจากสถาบันต่างๆ ศิษย์เก่าของ

โรงเรียนที่กำลังศึกษาในสถาบันการศึกษาต่างๆมาให้
ความรู้ด้านการเรียนและการปฏิบัติตนในระหว่างการ
เรียน นำนักเรียนไป Open House ในสถาบันต่างๆ
เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ เพื่อวางแผน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพในอนาคต กิจกรรม
สัมผัสอาชีพ เพ่อื ให้ผูเ้ รียนเห็นคุณค่าของวชิ าชีพสุจริต
และสามารถกำหนดเป้าหมายในการประกอบอาชีพ
สุ จ ริ ต ไ ด้ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม เส ริ ม ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ท า ง
วิชาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนเกิดการ
พัฒนาคุณภาพ ดงั นี้

-ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเพื่อ

เพ่ิมพูนความรู้ ประสบการณ์ เพ่ือวางแผนการศึกษาต่อ

และประกอบอาชีพในอนาคต

-ผู้เรียนร้อยละ 100 สามารถค้นหาตัวเองว่ามี

ความสามารถและศักยภาพด้านใดบา้ ง

-ผู้เรียนร้อยละ 97.75 ความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต

และหาความรเู้ กี่ยวกับอาชีพทต่ี นเองสนใจ

-ผู้เรียนร้อยละ 100 เห็นคุณค่าของวิชาชีพสุจริตและ

สามารถกำหนดเปา้ หมายในการประกอบอาชีพสจุ รติ ได้

1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โรงเรียนสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนทกุ ระดับช้นั มคี ุณลักษณะ

ของผ้เู รียน อนั พงึ ประสงค์ตามหลักสตู รของโรงเรียน มกี ารจัด ยอดเย่ียม

1) การมีคุณลักษณะและค่านิยม กจิ กรรมตา่ งๆเพื่อปลกู จิตสำนกึ ผ้เู รียนให้มีความรักชาติ

ท่ดี ตี ามท่สี ถานศกึ ษากำหนด ศาสน์ กษัตรยิ ์ โดยการเขา้ แถวเคารพธงชาติร่วมรอ้ ง

ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มี เพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมี มกี ารจดั

คุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ กจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นเข้ารบั ฟังการปฐมนเิ ทศเพ่อื เสริมสร้าง

กติกา มีค่านิยมและจิตสำนัก ทักษะชวี ิตใหก้ ับผูเ้ รยี นดา้ นความประพฤติ ปฏิบตั ิตนให้

ตามที่สถานศึกษากำหนดโดยไม่ เหมาะสมกบั เพศวยั มที กั ษะในการป้องกนั ตนเองและ

39

ตวั บง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดับคุณภาพ
ยอดเยี่ยม
ขัดกับกฎหมายและวฒั นธรรมอัน แกป้ ัญหาอย่างมวี ิจารณญาณ มกี ารอบรมประจำเดอื น

ดขี องสังคม โดยหัวหน้าระดับสายช้ัน กจิ กรรมโฮมรมู โดยครปู ระจำ

ชนั้ และครผู ้ชู ่วยประจำชัน้ และผ้เู รยี นได้รับการประเมนิ

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ือสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมีความ

ซอ่ื สตั ย์ มวี นิ ัยในตนเอง จัดกิจกรรมสปั ดาห์ห้องสมุด

เพอ่ื ให้ผู้เรยี นรักการอ่าน ใฝเ่ รียนรู้ จดั โครงการธนาคาร

โรงเรียนรว่ มกบั ร่วมกับธนาคารออมสินสาขาซิตี้มอลล์ ที่

มผี เู้ รียนทำหน้าทบี่ ริหารจัดการ โดยมีครทู ำหน้าทเี่ ป็นท่ี

ปรกึ ษา เพ่ือปลกู ฝังให้ผู้เรียนร้จู ักการประหยัดตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จัดกจิ กรรมวันสุนทรภู่

วันภาษาไทยแห่งชาติ กิจกรรมหล่อเทียนเรียนรู้สู่ภูมิ

ปัญญาท้องถ่นิ เพื่อให้ผ้เู รียนได้เห็นคณุ คา่ และ

ความสำคัญของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณไี ทย เกิด

ความรักและความภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย จัด

กิจกรรมอสั สัมชัญปนั นำ้ ใจ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์

ตอ่ สังคมทัง้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เพ่ือปลกู ฝงั

ใหผ้ ้เู รยี นมจี ิตสาธารณะ

นกั เรยี นรอ้ ยละ 95.91 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ระดบั ดขี น้ึ ไป มีการกล้าแสดงออก มีแนวความคดิ

มมุ มองท่ีบง่ บอกถงึ ศักยภาพ ความรู้ ความสามารถ มีจติ

สาธารณะ มคี วามสามคั คี ทำคณุ ประโยชน์ต่อสังคม

เคารพในกฎกติกาแต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบ-ของ

โรงเรยี น และตามมารยาททางสังคม ความประพฤติ

กิรยิ ามารยาท เรยี บร้อย ถูกต้องตามธรรมเนียมปฏิบัติ

นอกจากนโ้ี รงเรียนไดจ้ ัดกจิ กรรมส่งเสริมระเบยี บวนิ ยั

เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นปฏิบัตติ ามระเบียบวนิ ัย

ของโรงเรยี น สามารถนำไปใช้ได้จรงิ เปน็ แบบอยา่ งแก่

คนทว่ั ไป

2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและ โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุน

ความเป็นไทย ให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของ

ผู้ เรี ย น มี ค ว า ม ภู มิ ใจ ใน ความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
ท้องถ่ินเห็นคุณค่าของความเป็น

40

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดับคุณภาพ

ไทย ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีไทย รวมทั้งภูมิปัญญาไทย โดยผ่านกิจกรรม

วัฒนธรรม ประเพณีไทย รวมท้ัง แห่เทียนพรรษา ซ่ึงเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้

ภมู ิปัญญาไทย เข้ารว่ มกิจกรรมแสดงความสามารถในการฟ้อนรำและ

เลน่ ดนตรี ในงานประจำปีของทางจังหวัด อันเป็นการ

ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี วามภาคภูมิใจในท้องถนิ่ และความ

เป็นไทยเห็นคุณ ค่าในตนเอง มีความม่ันใจกล้า

แสดงออกอย่างเหมาะสม กิจกรรมหล่อเทียนเรียนรู้สู่

ภูมิปัญญาท้องถน่ิ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมเพ่ือให้ผู้เรียน

ไดเ้ รียนรู้เกีย่ วกับประวัตกิ ารแห่เทียนพรรษาซ่งึ เปน็ ภมู ิ

ปัญญาท้องถิ่นของชาวอุบลราชธานี และยังนำต้น

เทียน เคร่ืองปัจจัยไทยธรรมไปถวายท่ีวัดต่างๆใน

ชุมชน และทำให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา

ที่ตนนบั ถือทำให้ผู้เรยี นเกิดการพัฒนาคุณภาพ ดังน้ี

-ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมแสดงความสามารถในการ
ฟ้อนรำและเล่นดนตรี ในงานประจำปีของทางจังหวัด
อันเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรยี นเหน็ คุณคา่ ในตนเอง มีความ
มน่ั ใจกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมคดิ เป็นร้อยละ96.52
-ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติการแห่เทียนพรรษา

ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวอุบลราชธานี และยัง

นำต้นเทียน เครื่องปัจจัยไทยธรรมไปถวายท่ีวัดต่างๆ

ในชุมชน และทำให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทาง

ศาสนาทีต่ นนับถือ

41

ตวั บง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคณุ ภาพ
ยอดเย่ียม
3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริม สนับสนุน
ยอดเย่ียม
ความแตกตา่ งและหลากหลาย ให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง เห็นคุณค่าในตนเอง มีความม่ันใจ

ผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกัน กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ให้

บนความแตกต่างระหว่างบุคคลใน เกียรติผู้อ่ืน รู้จักตัวเองและปรับปรุงตัวเอง นอกจากนี้

ด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ทางโรงเรียนได้ นำนักเรียนไป Open House ใน

ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี สถาบันต่างๆเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์

ผู้เรียนได้ค้นพบตัวเอง มีการจัดกิจกรรมและส่งเสริมให้

ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรม ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา

อย่างสม่ำเสมอ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจใน

ความสามารถของตนเอง เช่น ชมรมนาฏศิลป์ ชมรมโยธ

วาทิต ชมรมบาสเกตบอล ชมรมดนตรีสากลและดนตรี

พ้ืนเมือง รวมท้ังการแสดงในงาน คริสต์มาส และACU

Night นอกจากนี้ทางโรงเรียนยังได้จัดกิจกรรม

เสริมสร้างบรรยากาศเทศกาลตรุษจีน เพ่ือให้บุคลากร

และนักเรียนได้เข้าร่วมเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจีน

ประกอบด้วยกิจกรรม 5 ฐาน เช่น การทำหน้ากากจีน

สื่ออารมณ์,พู่กันจีน,การชงชาจีน,การตัดกระดาษจีน

และการเขียนคำอวยพรภาษาจนี

4) สุขภาพวะทางร่างกายและจิต โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรยี นให้มีสุขนิสัยในการ

สงั คม ดูแลสุขภาพร่างกายและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพ จากการจัดให้มีการแข่งขันกีฬากรีฑาสี การจัดกิจกรรม

กายสุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม พัฒนาผู้เรียนได้จัดให้มีชมรมกีฬาประเภทต่างๆ เช่น

และแสดงออกอย่างเหมาะสมใน ชมรมฟุตซอล ชมรมวอลเลย์บอล ชมรมบาสเกตบอล

แต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคน ชมรมเปตอง เป็นต้น ไว้รองรบั ผูเ้ รียนที่มคี วามถนัด และ

อ่ืนอย่างมีความสุขเข้าใจผู้อื่น ไม่มี สนใจเรียนเพ่ิมเติม มีการแข่งขันกีฬาภายนอกร่วมกับ

ความขัดแย้งกบั ผอู้ ่ืน โรงเรียน ต่ างๆ เพื่ อให้ ผู้ เรียนได้ เรียนรู้ และมี

ประสบการณ์ เพื่อทำให้ผู้เรียนมีความสุข และมีสุขภาพ

แข็งแรง ในเร่ืองของน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพ

ทางกายตามเกณฑ์ โรงเรียนได้ดำเนินการช่ังน้ำหนัก วัด

ส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพกับผู้เรียนทุกระดับช้ัน

ภาคเรยี นละ 1 คร้งั

ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศกึ ษา

42

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ
ได้สอดแทรกความรูเ้ ก่ียวกับการส่งเสริมอนามัย ความ
ปลอดภัยของผู้เรียนในรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
และเรียนรู้ถึงภัยของยาเสพติด ให้ความรู้เรื่อง
เพศศึกษา นักเรียนทุกคนได้ทดสอบสมรรถภาพ
ร่างกาย ตรวจสุขภาพ เรียนรู้ถึงภัยของยาเสพติด ให้
ความรู้เรื่องเพศศึกษา ทำให้ผู้เรียนมีทักษะในการ
ดำรงชวี ติ ปลอดจากการใชส้ ารเสพติดทกุ ประเภท
-ผ้เู รียนรอ้ ยละ 96.49 มีสขุ ภาพทางกายทด่ี ี
-ผเู้ รยี นร้อยละ 97.42 มีนำ้ หนัก ตามเกณฑ์ สว่ นสงู
(สมสว่ น) ผา่ นเกณฑ์เม่ือเทียบเกณฑ์ มาตรฐานของ
กรมอนามัย
-ผู้เรยี นร้อยละ 98.71 มีสมรรถภาพทางกายผา่ น
เกณฑเ์ มอื่ เทยี บเกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศึกษา

43

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

การปฏิบัติงาน *** ผลการประเมิน
ผลสำเรจ็ (ข้อ) คุณภาพทไ่ี ด้
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม่ ยอดเยี่ยม
ปฏิบตั ิ 5
ยอดเย่ยี ม
1 มีเป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษา 5

กำหนดชดั เจน

1.1กำหนดเป้าหมายทส่ี อดคล้องกบั บริบทของ ✓

สถานศกึ ษา ความตอ้ งการของชมุ ชน ท้องถ่ิน

วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนการศึกษาชาติ นโยบายของ

รัฐบาลและต้นสงั กัด

1.2 กำหนดวสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ที่สอดคลอ้ ง ✓

เช่ือมโยงกับเป้าหมาย แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้น

สงั กัด

1.3 กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจ ทัน ✓

ต่อการเปลี่ยนแปลงของสงั คม

1.4 นำเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจผ่านความ ✓

เห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น

1.5 นำเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ของ ✓

โรงเรียนเผยแพร่ ต่อสาธารณชน

2 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา

2.1 มกี ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ✓

อย่างเป็นระบบ

2.2 มีการนำแผนไปปฏบิ ตั ิ ตดิ ตามตรวจสอบ ✓

ประเมินผลและปรับปรุงพฒั นางานอย่างต่อเน่ือง

2.3 มีการบรหิ ารอตั รากำลงั ทรพั ยากรทางการ ✓
ศึกษาจดั ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน และระบบ
การนิเทศภายใน

2.4 สถานศึกษามกี ารนำข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นา ✓
สถานศกึ ษา

2.5 สถานศึกษาใหบ้ ุคลากรและผู้ทีเก่ียวขอ้ งทกุ ✓
ฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรบั ปรงุ พฒั นา
และรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา

44

การปฏบิ ตั งิ าน *** ผลการประเมิน
ผลสำเรจ็ (ข้อ) คุณภาพทไ่ี ด้
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม่
ปฏิบตั ิ 5 ยอดเยย่ี ม

3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพผูเ้ รียนรอบ 5 ยอดเยี่ยม

ดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและทุก 5 ยอดเยี่ยม

กล่มุ เป้าหมาย

3.1 บรหิ ารจดั การเกี่ยวกบั งานวิชาการ ในดา้ น ✓

การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา

3.2 บริหารจดั การเกย่ี วกบั งานวิชาการ ในดา้ น ✓

การพัฒนาหลกั สูตรตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น ท่ี

สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศกึ ษา ชุมชน และ

ทอ้ งถิ่น

3.3 บรหิ ารจัดการเก่ียวกบั กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร ✓

ท่เี น้นคณุ ภาพผูเ้ รียนรอบด้านเชอ่ื มโยงวถิ ีชวี ิตจริง

3.4 กำหนดหลกั สูตรสถานศกึ ษาครอบคลุมการ ✓

จดั การเรยี นการสอนทุกกลุ่มเปา้ หมาย

3.5 สถานศึกษามีการปรับปรงุ และพัฒนา ✓

หลกั สตู รใหท้ ันตอ่ การเปล่ียนแปลงของสังคม

4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทาง

วชิ าชีพ

4.1 สง่ เสรมิ สนบั สนุน พฒั นาครู บคุ ลากร ให้มี ✓

ความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ

4.2 จดั ให้มีชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ ✓

4.3 นำชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพเขา้ มาใชใ้ นการ ✓

พฒั นางานและการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น

4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบตั งิ านของ ✓

ครู บคุ ลากร ทม่ี ีผลตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรยี น

4.5 ถอดบทเรยี นเพ่ือสรา้ งนวัตกรรมหรือวิธกี ารที่ ✓

เปน็ แบบอยา่ งที่ดที สี่ ่งผลตอ่ การเรียนรขู้ องผู้เรยี น

5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อ้อื ตอ่

การจดั การเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ

5.1 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายใน ✓

ห้องเรยี น ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ และคำนงึ ถงึ ความ

ปลอดภยั

45

การปฏิบัติงาน *** ผลการประเมิน
ผลสำเรจ็ (ขอ้ ) คณุ ภาพทีไ่ ด้
ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่
ปฏบิ ตั ิ 5 ยอดเย่ียม

5.2 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอก ✓ 5.00 ยอดเยีย่ ม

ห้องเรียน ทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความ

ปลอดภัย

5.3 จดั สภาพแวดลอ้ มทส่ี ่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดการ ✓

เรียนรู้เป็นรายบคุ คล และเปน็ กลุ่ม

5.4 จดั สภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอ้ือตอ่ การ ✓

จัดการเรยี นรู้ และมคี วามปลอดภยั

5.5 จดั ใหผ้ เู้ รยี นได้ใช้ประโยชนจ์ ากการจดั ✓

สภาพแวดลอ้ มตามศักยภาพของผูเ้ รียน

6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุน

การบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

6.1 ได้ศึกษาความตอ้ งการเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ี ✓

เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

6.2 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือบริหาร ✓

จดั การและการจัดการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมกบั สภาพ

ของสถานศกึ ษา

6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื บรหิ าร ✓

จัดการและการจดั การเรียนรูท้ ่ีเหมาะสมกับสภาพ

ของสถานศึกษา

6.4 ให้บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื ใชใ้ นการ ✓

บริการจัดการและการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกับ

สภาพของสถานศกึ ษา

6.5 ตดิ ตามผลการใชบ้ รกิ ารระบบเทคโนโลยี ✓

สารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการบรกิ าร

จดั การและการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพ

ของสถานศึกษา

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลสำเรจ็ ทุกประเดน็ พิจารณา

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

46

หมายเหตุ กรอกข้อมูลเฉพาะแถบสีขาว
*** ผลสำเร็จ = จำนวนข้อทปี่ ฏบิ ัตใิ นแตล่ ะประเด็นพิจารณา

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพท่ีได้ ค่าเฉลีย่ ผลการประเมนิ คณุ ภาพทีไ่ ด้
ปฏิบตั ิ 1 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ กาลงั พฒั นา 1.00 – 1.49 ระดบั คณุ ภาพ กาลงั พฒั นา
ปฏิบตั ิ 2 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ 3 ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ปฏิบตั ิ 4 ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ 3.50 – 4.49 ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ
ปฏิบตั ิ 5 ขอ้ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม

กระบวนการพัฒนาทีส่ ่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

ตัวบง่ ชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ

2.1 มีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์และ โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา การบริหาร

พนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนด แบบมีส่วนร่วม เพื่อกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ ยอดเยี่ยม

ชัดเจน ไว้อย่างชัดเจน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการ

ส ถ า น ศึ ก ษ า ก ำ ห น ด ศึกษาชาติ แผนการศึกษามูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่ง

เป้าหมายวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ประเทศไทย สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

ไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับ ท้องถิ่นและสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาชาติ

บริบทของสถานศึกษา ความ รวมทั้งทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมโดยคณะครูและ

ต้อ งการของชุม ช น ท้ องถ่ิ น ผเู้ ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย

วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา โรงเรียนได้จัดทำแผนพัฒ นาคุณ ภาพการศึกษา ปี

แห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล การศึกษา 2562-2564 ครอบคลุมภารกิจทั้ง 5 ฝ่าย คือ

และของต้นสังกัด รวมทั้งทันต่อ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจการนักเรียน ฝ่ายธุรการการเงิน ฝ่าย

การเปล่ียนแปลงของสังคม บริหารงานท่ัวไปและสำนักผู้อำนวยการ มีการกำหนด

วิสัยทัศน์ไว้คือ

“ ผู้เรียนโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี มีระเบียบวินัยและ

คุณภาพมาตรฐานสากล” โดยกำหนดพันธกิจ 7 ข้อ

เป้าหมายการศึกษา 10 เป้าหมายและมีจุดเน้นการใช้

ภาษาอังกฤษทั้งนักเรียนและคุณครู มีการกำหนดนโยบาย

พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายในการพัฒนาโรงเรียนท่ี

47

ตัวบ่งชี้ กระบวนการพัฒนาและผลการดำเนนิ งาน ระดับคุณภาพ
แสดงถึงทิศทางการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนในอนาคต ยอดเย่ียม
2.2 มี ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร อย่างชัดเจนเหมาะสมกับบริบท และสภาพแวดล้อมของ
คุณภาพของสถานศกึ ษา โรงเรียน รวมท้ังกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จใน
แผนพัฒนาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปีอย่างชัดเจน
สถานศึกษาสามารถบริหาร และต่อเนื่อง มีการแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารโรงเรียน
จัดการคุณภาพของสถานศึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษาผู้อำนวยการ คณะกรรมการฝา่ ยต่างๆ
อย่างเป็นระบบ ท้ังในส่วนการ ผู้บริหารได้ส่งเสริมการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยจัดให้มีการ
การวางแผนพัฒนาคุณภาพการ ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้แทนจาก
จั ด ส ถ า น ศึ ก ษ า ก า ร น ำ แ ผ น ไ ป ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนครู และผู้แทนผู้ปกครอง มีความรู้ความ
ป ฏิ บั ติ เพ่ื อ พั ฒ น าคุ ณ ภ า พ เข้าใจในบทบาทหน้าที่ตามท่ีระเบียบกำหนด
ก า ร ศึ ก ษ า มี ก า ร ติ ด ต า ม โรงเรียนกำหนดขั้นตอนทำกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการ
ตรวจสอ บ ป ระเมิ น ผ ลแล ะ PDCA เช่น วางแผนเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความ
ปรับปรุงพัฒนางานอยา่ งต่อเน่ือง เชยี่ วชาญทางด้านวิชาชีพ มีความรู้ความสามารถและทกั ษะ
มี ก า ร บ ริ ห า ร อั ต ร า ก ำ ลั ง ตามมาตรฐานตำแหน่ง มีการติดตามตรวจสอบ ประเมนิ ผล
ท รั พ ย า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ และปรับปรุงพัฒ นางานอย่างต่อเน่ืองมีการบริหาร
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มี อัตรากำลังทรพั ยากรทางการศกึ ษาและระบบดูแลช่วยเหลือ
ระบบการนิเทศภายในการนำ นักเรียน มีระบบการนิเทศภายในการนำข้อมูลมาใช้ในการ
ขอ้ มลู มาใช้ในการพัฒนาบุคลากร พัฒนาบุคลากรและผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการ
และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วน วางแผน ปรับปรุงและพัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อผลการ
ร่วมการวางแผน ปรับปรุงและ จัดการศึกษา มีการกำกับ ติดตาม ดูแล เสนอแนะ ให้
พัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อผล คำปรึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความเห็น และขับเคล่ือน
การจดั การศกึ ษา การดำเนินงานของโรงเรียนตามกระบวนการ PDCA ผ่าน
การสรุปรายงานประจำเดือน ประจำภาคเรียน และการ
สรุปประจำปี รวมทั้งมีการติดตามผ่านการประชุม
คณะกรรมการที่ปรึกษาผู้อำนวยการ อย่างเป็นระบบและ
ตอ่ เน่ือง ทำให้การบรหิ ารจัดการศกึ ษาบรรลุเป้าหมายตามที่
กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปี ตลอดจนเสริมสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง ท้องถ่ิน และ
ชุมชน ท้ังองค์กรภาครัฐบาล และเอกชนมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน รวมถึงส่งเสริมให้
คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรียน เข้าร่วม
ประชุมทุกคร้ัง เพ่ือรับทราบแนวนโยบายของโรงเรียน และส่ง


Click to View FlipBook Version