The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานนิเทศ-กศน.กาบัง-ไตรมาส-1-2 ปี 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by as_asnee, 2022-05-10 03:00:50

รายงานนิเทศ-กศน.กาบัง-ไตรมาส-1-2 ปี 65

รายงานนิเทศ-กศน.กาบัง-ไตรมาส-1-2 ปี 65

คาํ นาํ

ผลการดําเนินงานตามนโยบายและจุดเนน้ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ( ไตรมาส 1-2 ) ของ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกาบัง เล่มนเี้ ปน็ การรวบรวมผลการดําเนินงานการ
จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยศนู ย์การศกึ ษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกาบงั ได้มุ่งเนน้ การดําเนนิ งานตามนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน
ของสํานกั งาน กศน.จังหวดั ยะลา ปงี บประมาณพ.ศ.2565 ทัง้ นโยบายเรง่ ด่วน และภารกจิ ตอ่ เนื่อง(งานปกติ)
ข้อสั่งการของรัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยรวบรวมและสรุปผลในภาพรวมที่ดําเนินการของ
สถานศกึ ษาในสังกดั ซง่ึ เปน็ การนิเทศของผู้บริหารและ ผทู้ าํ หนา้ ทนี่ เิ ทศภายใน และผู้เก่ียวข้องอันจะส่งผลต่อ
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและเสริมสร้างขวัญกําลังใจแก่
ผู้ปฏบิ ตั ิงานและสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชน

ทั้งนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกาบัง หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงาน
สรุปผลการนเิ ทศเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาต่อไป ขอขอบคุณบุคลากรและ
ผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทํารายงานสรุปผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ประจําปีงบประมาณพ.ศ.2565 ( ไตรมาส 1-2 ) จนสําเร็จลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี

งานนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
กศน.อำเภอกาบงั จงั หวัดยะลา

สารบัญ

หน้า

ผลการนเิ ทศตามนโยบายเร่งด่วน
ดา้ นการจดั การเรยี นรู้คุณภาพ
- โครงการปกั หมดุ กศน.............................................................................................................2
ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ
- โครงการพฒั นาหลกั สตู รอาชีพระยะสนั้ เน้น New skill Up skill และ Re skill.....................5
- โครงการจดั การศึกษาสำหรบั ผู้สูงอายุ ให้เปน็ Active Ageing Workforce……………………….8
- โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชุมชน…………………………………………………………………………………………..10
ด้านองคก์ ร สถานศกึ ษา และแหล่งเรยี นรูค้ ุณภาพ
- โครงการ กศน.ตำบล 5 ดี พรเี มยี่ ม และ กศน.ตำบลพรีเม่ียม พลัส…………………………………..12

ผลการนิเทศภารกจิ ตอ่ เน่ือง
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
- การส่งเสริมการร้หู นงั สือไทย……………………………………………………………………………………......17
- การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

(การเรียนการสอนออนไลน)์ ..........................................................................................................................19
- การเทยี บระดับการศึกษา...........................................................................................................24

การศึกษาต่อเนือ่ ง
- การจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ (โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน)...........................................27
- การศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน.......................................................................................30
- การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต.................................................................................................32
- การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่........................34

การศึกษาอธั ยาศยั
- สง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์......…………………………… …………………………………………………….......37
- ห้องสมดุ เคลอื่ นทส่ี ู่โรงเรยี นสร้างนสิ ยั รักการอ่าน....................................................................39
- โครงการสรา้ งเสรมิ เติมเต็มความรู้ สู่นสิ ัยรักการอา่ น ประจำปงี บประมาณ 2565.................41
- โครงการสืบสานคุณค่า สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ เนอ่ื งในวนั ท่ี ๒ เมษา

วนั รกั การอ่าน ประจำปี ๒๕๖๕ ...................................................................................................................44
- โครงการพฒั นาอาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ น…………………………………………………………………..46

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

เร่อื งอื่นๆ
การศกึ ษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พืน้ ที่เขตเศรษฐกิจพิเศษและพื้นทีบ่ ริเวณชายแดน
- โครงการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ.........................................................49
- โครงการกีฬา กศน.สายสมั พันธช์ ายแดนใต้เกมส์......................................................................52
- โครงการ Learning Coin เพ่อื ความเสมอภาคทางการศึกษา..................................................54
- โครงการเยาวชน กศน.อำเภอกาบงั เรยี นรู้คณุ ธรรมตามหลักศาสนาอสิ ลาม..........................57

รายงาน (Best Practice) เร่อื ง สถาบันศึกษาปอเนาะตน้ แบบ……………………………..…..............6๐
รายงานนวตั กรรม (Innovation) VDO รอบรเู้ รื่องอาชีพและประเพณี โปรแกรม
(Animaker + Movavi)…………………………………………………………………….................................................64
รายงานนวัตกรรม เรื่องส่งเสริมการอ่าน วงลอ้ ส่กู ารเรยี นรู้ถน่ิ กาบัง ……………………………..........66
คณะผู้จดั ทาํ …………………………………………………………………………………………..…………………….…...69

นโยบายเร่งดว่ น

สรปุ ผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จังหวัดยะลา หน้า 1

รายงานสรุปผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

ประเด็นการนิเทศ เรอื่ ง โครงการ กศน.ปกั หมดุ เพือ่ สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาสำหรบั คนพกิ าร
และผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา

1. เกริ่นนำ เร่อื งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565

สืบเนื่องจากนโยบายของรัฐบาล (ภายใต้การนำของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ที่ให้ความสำคัญ
ในการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง (No One Left Behind) ที่ตระหนักถึง
ความสำคญั ในการจัดการศึกษาสำหรบั คนพกิ ารทวั่ ประเทศ เพ่อื ใหค้ นพิการสามารถเข้าถงึ การศึกษาในรปู แบบ
ที่เหมาะสมอย่างมีคุณภาพ และจากการสำรวจข้อมูลคนพิการของกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พิการ (พก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 ที่ยังไม่เข้าสู่
ระบบ การศึกษาของภาครัฐทั่วประเทศ (อ้างถึงหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ
04007/2319 เรื่อง จัดส่งข้อมูลคนพกิ ารที่ไม่ได้รับการศึกษา ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2564) พบว่ามีคน
พิการที่ ยังไมไ่ ด้เข้าสู่ระบบการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 54,513 คน ในจำนวนข้างตน้ พบว่า มีคนพิการท่มี ีอายุ
ตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไปจำนวน 47,340 คน ดังนั้นเพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลด้านการลดปัญหา
ความเหลื่อมล้ำของสงั คม

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการ
“NFE Data Map : ปักหมุดเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการและผูด้ ้อยโอกาส” โดยใช้กลยุทธ์
“รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น” ในการติดตามค้นหากลุ่มเป้าหมายคนพิการถึงชานเรือน และใช้โปรแกรม CAPER
(Collection Data, Assessment, Planning, Evaluation, Report) “ปักหมุด” ซึ่งเป็นการสำรวจและ
รวบรวมข้อมลู กลุ่มเป้าหมายคนพิการและนำเข้าสู่ระบบการศึกษา โดยการวางแผนจัดการศึกษาให้สอดคล้อง
กับบริบทและความต้องการของคนพิการอยา่ งแทจ้ รงิ ทั้งระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ในรปู แบบของแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP), การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และ
การศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพ ดังนั้นคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการจึงได้
จัดทำแนวทาง การดำเนินงานโครงการ กศน.ปักหมุดเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการและ
ผู้ด้อยโอกาสขึ้น สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนว
ทางการดำเนนิ งานโครงการ กศน.ปักหมดุ เพือ่ สร้างโอกาสทางการศกึ ษาสำหรับคนพิการและผู้ดอ้ ยโอกาสฉบับ
นี้ จะเปน็ กรอบแนวทางการดำเนินงานให้สถานศึกษาและผู้เกี่ยวขอ้ งไดน้ ำไปใช้ในการแกป้ ัญหาความเหลื่อมล้ำ
ทางการศกึ ษาสำหรบั คนพิการและผู้ด้อยโอกาสใหไ้ ดร้ บั โอกาสเข้าถงึ การศึกษา การชว่ ยเหลืออย่างทว่ั ถึงและมี
คุณภาพตอ่ ไป

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา หน้า 2

2. สภาพทพ่ี บ
การดำเนินโครงการ กศน.ปักหมุด เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส

ทางการศึกษา ได้มีการแต่งต้ังคณะทำงานและผรู้ ับผิดชอบในการสำรวจข้อมูล ก่อนดำเนนิ การลงพื้นทสี่ ำรวจมี
การวิเคราะห์ ข้อมูลกลุ่มเปา้ หมายคนพกิ าร มีการวางแผนการสำรวจและปักหมดุ ค้นหาคนพกิ ารเป็นรายบุคคล
ประสานงานกับภาคีเครือข่าย เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำท้องถิ่น อสม. บัณฑิตอาสา ฯลฯ ลงพื้นที่สำรวจ
และปกั หมุดคน้ หาคนพิการ รวบรวม ตรวจสอบข้อมลู ใหถ้ ูกตอ้ ง ครบถว้ น สมบรู ณ์ ตามองคป์ ระกอบของแบบ
สำรวจทั้ง 7 ส่วน โดยจัดเก็บข้อมูลรูปภาพและเอกสารเป็นรายบุคคลในรูปแบบไฟล์ PDF หรือไฟล์ JPG
จัดส่งข้อมูลแบบสำรวจที่สมบูรณ์ร้อยเปอร์เซ็นต์ให้ กศน.อำเภอ เพื่อบันทึกข้อมูล ลงในระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ CAPER และมกี ารรายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมเสนอต่อผบู้ รหิ ารทราบ

ผลการดำเนินงาน ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ทั้งหมดจำนวน 39 คน กำลังศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จำนวน 12 คน มีความต้องการได้รับบริการ ด้านการศึกษาขัน้ พื้นฐาน จำนวน 9 คน มีความต้องการได้รับ
บรกิ าร ด้านอาชีพ จำนวน 18 คน

3. ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อความสำเรจ็
3.1 มีการวางแผน ประชุมบุคลากร แตง่ ตง้ั คณะทำงานโครงการ กศน.ปักหมดุ เพอ่ื สรา้ งโอกาสทาง

การศึกษาสำหรบั คนพิการและผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา
3.2 มีการเตรยี มความพรอ้ ม ประสานกบั ภาคีเครือข่าย
3.3 ภาคีเครอื ข่ายและกลมุ่ เปา้ หมายให้ความร่วมมอื เป็นอย่างดี จนประสบความสำเร็จ

4. ปัญหาอุปสรรค
4.1 การลงพ้ืนทส่ี ำรวจข้อมูล กลมุ่ เปา้ หมายไม่อยบู่ ้าน ไปอย่กู บั พ่สี าวและญาติตา่ งจงั หวัด จึงต้อง

สมั ภาษณ์ผูป้ กครองแทน
4.2 การลงพ้นื ทปี่ กั หมุด บา้ นกล่มุ เปา้ หมายบางคน ไม่มสี ญั ญาณอินเตอร์เนต็ จึงตอ้ งหาพ้ืนท่ีที่

ใกล้เคยี งที่สดุ ท่มี ีเครือขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต เพอื่ ทีส่ ามารถปักหมดุ ได้

5. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผู้รับการนิเทศ
5.1 แนะนำใหม้ ีการจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศกลุ่มเปา้ หมายทไี่ ด้สำรวจแลว้ เป็นเล่มเอกสารและรายงาน

สรุปผลการดำเนนิ กจิ กรรม เพื่อสะดวกในการดูขอ้ มูล
5.2 ควรมกี ารแนะแนวกล่มุ เป้าหมายท่ีไม่ประสงค์ศกึ ษาตอ่ ใหเ้ ขา้ รับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

6. ข้อเสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
1) หลังจากจัดกิจกรรมเสรจ็ แล้ว ควรมีการประชุมเพอ่ื สรุปผลการดำเนนิ งานและนำปัญหาท่ีพบ

มาพัฒนาตอ่ ไป
6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวัด
ควรมีการนิเทศ ตดิ ตาม เยยี่ มเยยี น เพือ่ สร้างขวญั กำลังใจอยา่ งสมำ่ เสมอ

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จังหวัดยะลา หนา้ 3

7. ภาพกจิ กรรม

ลงพ้นื ทส่ี ำรวจขอ้ มลู คนพิการพร้อมปกั หมุด ณ ตำบลบาละและตำบลกาบงั
อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา

8. Best Practice
-

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา หนา้ 4

รายงานสรปุ ผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ประเดน็ การนิเทศ เรือ่ ง โครงการพัฒนาหลกั สูตรอาชีพระยะสั้นเน้น New skill Up skill และ Re skill

1. เกร่ินนำ เรอ่ื งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ข้อ 2 ด้านการสร้าง

สมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.2 พัฒนาหลักสูตรระยะสั้นท่ี เน้น New skill Up skill และ Re skill
ทส่ี อดคลอ้ งกับบริบทพน้ื ที่ ความต้องการและความหลากหลายของกลุม่ เปา้ หมาย เชน่ ผ้พู กิ าร ผสู้ งู อายุ ความ
ต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประชาชนทุกช่วงวัยให้กับประชาชนที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บริบทของพื้นท่ี ช่วยให้
ประชาชนในระดับฐานรากทีม่ ีรายได้น้อยและขาดโอกาสในการเพิ่มรายได้ อันเป็นเงื่อนไขสำคัญของการเกดิ
ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจที่ส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจของประเทศไทยไม่เข้มแข็งอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบั น
ดังน้ันการจัดเพอ่ื พฒั นาอาชีพ จึงเปน็ การจัดการศึกษาใหก้ ับประชาชนเพ่ือนำความรไู้ ปใช้ในการพัฒนาความรู้
ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชพี ของตนเอง ชุมชน ใหป้ ระชาชนสามารถมีทักษะอาชพี สามารถ
นำความรู้ไปประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพของตนเอง ชุมชนได้ เพื่อลดรายจ่ายสร้างรายได้ให้กับกลุ่ม
ประชาชนทัว่ ไปในชุมชนและทอ้ งถ่นิ ได้

2. สภาพทพ่ี บ
สถานศกึ ษาได้มกี ารจดั ทำหลักสตู รอาชีพระยะสนั้ ในรายวิชาที่เปิดสอนครบทกุ หลกั สูตร มีการประชุม

ชี้แจง /อบรมเทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วทิ ยากรก่อนดำเนินการ วิทยากรมีความรูค้ วามสามารถตาม
เนอื้ หาหลักสตู ร มกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ที่สอดคล้องตามหลกั สตู ร มกี ารประเมนิ ความพึงพอใจของ
ผู้เรยี นทุกหลกั สตู ร และไดม้ ีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัตงิ านเม่ือส้ินสุดโครงการเป็นปัจจบุ นั

กศน.อำเภอกาบัง มีกรอบการฝึกทักษะอาชีพระยะสั้น (ไตรมาสที่ 1-2) จำนวน ๓ รูปแบบ คือ
1) กลมุ่ สนใจ (ไมเ่ กนิ ๓๐ ช่วั โมง) ได้แก่ หลกั สตู รการทำดอกไม้จนั ทน์ , หลักสูตรการทำพานขันหมากมลายู
๒) แบบชั้นเรียน (ตั้งแต่ ๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป) ได้แก่ หลักสูตรการทำกระถางต้นไม้จากปูนเปลือย , หลักสูตรการ
เลี้ยงปลากนิ พืช ๓) ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ ไดแ้ กช่ ่างกอ่ สรา้ ง ร้อยละ 80ของผู้จบหลักสูตรสามารถนำความรู้ท่ีได้ไป
ใช้ในการประกอบอาชีพ ต่อยอดอาชพี เดิม สรา้ งรายไดเ้ สริม หรอื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวันเพ่ือลดรายจา่ ยได้

3. ปจั จยั ที่ส่งผลต่อความสำเร็จ
3.1 ครู กศน.ตำบล มกี ารสำรวจ ความตอ้ งการและความจำเป็นในการเรียนอาชีพ
3.2 เน้ือหาโดยเฉพาะ หลักสูตร / กิจกรรมมคี วามสอดคลอ้ งกบั บริบทและประเพณีของชุมชน
3.3 วิทยากร มีความรู้ ความสามารถและมีเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสม ใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ /

ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ประกอบการสอน

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา หนา้ 5

4. ปัญหาอุปสรรค
สถานศึกษายังขาดการประสานแผนร่วมกับชุมชน ภาคีเครือข่ายเพื่อบูรณาการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

ทำใหเ้ กดิ ความซ้ำซอ้ นในระดบั พื้นที่

5. ขอ้ นิเทศตอ่ ผรู้ บั การนเิ ทศ
5.1 แนะนำให้ครูติดตามผู้จบหลักสูตร จัดทำรายงานสรุปผลข้อมูลการนำความรู้ไปใช้และจัดทำ

ทำเนียบผทู้ ป่ี ระสบความสำเรจ็ หรือผูท้ ่มี ผี ลงานดีเดน่
5.2 แนะนำให้เชิญศิษย์เก่าที่ประสบความสำเร็จมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์แก่ผู้เรียนและมีการ

เผยแพร่ผลงาน
5.3 แนะนำให้พัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพให้เป็น Best Practice และทำเป็นผลิตภัณฑ์ของ กศน.

เพื่อเป็นมาตรฐานต่อไป

6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา
6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
1) ควรนำผลการประเมินความพึงพอใจมาวิเคราะห์ผลว่า ผลการประเมินแต่ละด้านมีผลการ

ประเมนิ เปน็ อยา่ งไร และมปี ระเด็นยอ่ ยใดในแต่ละด้านที่ดหี รือควรปรับปรุงให้มีประสทิ ธิภาพ คุณภาพ ย่ิงข้ึน
ต่อไป

2) ควรมกี ารนเิ ทศตดิ ตามการจัดกิจกรรมอยา่ งต่อเนอ่ื ง
6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวดั

ควรแนะนำแนวทางการบรู ณาการการสร้างเพจการคา้ ขาย เพื่อการนำเสนอสนิ ค้าผา่ นร้านค้า
Online ในแผนการจัดการเรียนรู้ให้แก่ครู กศน. เพื่อให้การจัดการเรียนรู้มีความทันสมัยตามระบบธุรกิจ
สมยั ใหมแ่ ละสอดคลอ้ งกับเปา้ ประสงคก์ ารจดั การศึกษาอาชพี “ทำได้ ขายเป็น”

7. ภาพกิจกรรม

กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน ๓๐ ชัว่ โมง)
หลกั สูตรการทำพานขนั หมากมลายูและหลกั สตู รการทำดอกไม้จันทน์

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หน้า 6

แบบชั้นเรียน (ต้งั แต่ ๓๑ ชั่วโมงข้นึ ไป)
หลักสูตรการทำกระถางตน้ ไม้จากปนู เปลอื ย

๑ อำเภอ ๑ อาชพี
หลักสตู รช่างก่อสร้าง

8. Best Practice/ Good Practice
-

สรปุ ผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา หน้า 7

รายงานสรปุ ผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ประเดน็ การนิเทศ เร่อื ง โครงการจดั การศึกษาของผู้สงู อายเุ พอื่ ให้เปน็ Active Aging Workforce
และมี Life Skill

1. เกร่ินนำ เรอ่ื งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ข้อ 2 ด้านการสร้าง

สมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.5 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาของผสู้ ูงอายุเพอ่ื ให้เป็น Active Aging Workforce
และมี Life Skill ในการดำรงชวี ิตที่เหมาะสมกับช่วงวยั การจดั การศึกษาตลอดชีวิตของผู้สงู อายุ เป็นการเปิด
โอกาสให้ผู้สูงอายุ ได้รับความรู้ในเรื่องที่เกีย่ วข้องกับคณุ ภาพชวี ติ ของผู้สูงอายุ ที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุ กลุ่ม
สังคมได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกันอย่างสมำ่ เสมอ ซึ่งลักษณะของกิจกรรมกลุม่ นี้ ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุ
กลมุ่ ติดสังคมมีพัฒนาการไปเป็นผสู้ ูงอายุสูงอายุ (ติดบา้ นติดเตียง) ตราบเท่าที่ผู้สูงอายยุ ังสามารถคงสมรรถนะ
ทางกาย จิตและสมอง ไว้ได้ยืนยาวขนึ้ หรอื ตลอดชีวิต ย่อมสรา้ งประโยชน์ให้แก่ครอบครวั ชุมชนและสังคมได้
อีกทั้งยังช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาของภาครัฐได้จำนวนมาก ปัจจัยสำคัญของการที่จะคงภาวะ
ตดิ สงั คมในสังคมผ้สู ูงอายุไว้ให้นานที่สุด ขึ้นอยู่กับการท่ผี สู้ งู อายุท่ีโอกาสเข้ารว่ มกิจกรรมที่เหมาะสมและอย่าง
สม่ำเสมอ

2. สภาพท่พี บ
สถานศึกษาได้มีการสำรวจสภาพปัญหา ความต้องการจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ มีข้อมูล

สารสนเทศ มีการออกแบบเนื้อหา หลักสูตร โครงการ กิจกรรม รูปแบบกิจกรรมมของการพัฒนาทักษะชีวติ
ผู้สูงอายุใน ๔ มิติ (ด้านสงั คม เศรษฐกจิ สภาพแวดลอ้ ม และสุขภาพ) โดยมภี าคเี ครือขา่ ย ไดแ้ ก่ อสม.ในพื้นท่ี
สสอ.กาบัง และ โรงพยาลบาลกาบัง ทีร่ ่วมจดั กิจกรรมและเปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรแู้ กก่ ลุ่มเป้าหมายผสู้ ูงอายุ

3. ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อความสำเร็จ
3.1 มีการสำรวจสภาพปญั หา ความต้องการจำเปน็ ของกลมุ่ เป้าหมายผสู้ งู อายุ
3.2 เนือ้ หา/หลักสตู ร/กจิ กรรม สอดคล้องกบั กลุ่มเปา้ หมายผูส้ ูงอายุ
3.3 ภาคีเครือข่ายใหค้ วามรว่ มมือเปน็ อยา่ งดี จนประสบผลสำเรจ็

4. ปญั หาอุปสรรค
กลุม่ เป้าหมายทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญ่เปน็ กลุ่มเป้าหมายเดยี วกนั กับงบประมาณทผี่ ่านมา

5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผรู้ ับการนเิ ทศ
5.1 แนะนำให้ครูจัดทำแผนการเรียนรู้กิจกรรมจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคง

พฒั นาการทางกาย จิต และสมอง ของผู้สงู อายุ
5.2 แนะนำให้มกี ารติดตามผลทีเ่ กดิ จากการเรียนรขู้ องผสู้ งู อายุใน 4 มิติ

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา หนา้ 8

6. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา
6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา
1) ควรมีการประเมินจุดเด่น จุดควรพัฒนา ข้อเสนอแนะ เพื่อนำผลไปวางแผนการดำเนินงาน

ครั้งตอ่ ไป
2) ควรมีการนเิ ทศติดตามการจัดกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั
-

7. ภาพกิจกรรม

8. Best Practice/ Good Practice
-

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา หน้า 9

รายงานสรปุ ผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

ประเด็นการนิเทศ เร่อื ง โครงการศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน

1. เกรน่ิ นำ เรอ่ื งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ข้อ 2 ด้านการสร้าง

สมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.8 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากรและ
ผู้เรียน กศน.เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ รวมทั้งจัดทำกรอบสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competancy)
สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ในด้านการสร้าง
ความสามารถในการแขง่ ขนั การพัฒนาทกั ษะให้ประชาชนเพือ่ สรา้ งมูลคา่ เพ่มิ ใหก้ ับสนิ ค้าและบริการ เช่น การ
พัฒนาทักษะและการส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชอิเล็กทรอนิกส์) มีการใช้
ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพที่สูงขึ้นให้กับประชาชนเพื่อร่วม
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล รวมไปถึงการส่งเสริมให้ประชาชนใช้เทคโนโลยีในการทำช่องทางเผยแพร่และ
จำหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ของวิสาหกิจชมุ ชนให้เป็นระบบครบวงจร และสนบั สนุนการจำหน่ายสินค้า และผลิตภัณฑ์
ผา่ นศนู ยจ์ ำหนา่ ยสินค้า และผลติ ภณั ฑอ์ อนไลน์ (ONIE Online Commerce Center : OOCC ) เพอื่ จำหน่าย
สนิ คา้ ออนไลน์ระดับตำบล

2. สภาพที่พบ
สถานศึกษาได้มีการประชุมชี้แจง /อบรมเทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้ให้เแก่วิทยากร ครู ข ครู ค

ก่อนดำเนินการขยายผล หลักสูตร/เนื้อหาที่เปิดสอน สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน วิทยากรมี
ความรู้ความสามารถตามเนื้อหาหลักสูตร สญั ญาณอินเตอร์เน็ตมคี วามพรอ้ มทีจ่ ะใหบ้ รกิ ารแกผ่ เู้ รยี น

3. ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อความสำเร็จ
3.1 มีการสำรวจสภาพปัญหา ความต้องการจำเป็นของกลุม่ เปา้ หมาย
3.2 เนอื้ หา/หลักสูตร/กิจกรรม สอดคลอ้ งกับกลุ่มเปา้ หมาย
3.3 วทิ ยากรมคี วามรูค้ วามสามารถ/เทคนคิ การถ่ายทอดเหมาะสม

4. ปญั หาอุปสรรค
ผ้เู รียนบางคนไม่มพี ้นื ฐาน จงึ ต้องมีการสอนเร่ิมตั้งแต่การเปดิ ใช้อินเตอรเ์ น็ต

5. ขอ้ นเิ ทศต่อผู้รับการนเิ ทศ
5.1 แนะนำให้มีการวัดผล ก่อนเรียน - หลังเรียน (Pre-Test/Post-Test)
5.2 ควรมกี ารติดตามผู้เรียนหลงั จากผ่านการอบรม ท่สี ามารถนำความรไู้ ปใช้

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา หน้า 10

6. ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา
1) ควรมีการประเมินจุดเด่น จุดควรพัฒนา ข้อเสนอแนะ เพื่อนำผลไปวางแผนการดำเนินงาน

ครั้งต่อไป
2) ควรมีการนเิ ทศติดตามการจดั กจิ กรรมอย่างตอ่ เน่ือง

6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวัด
-

7. ภาพกิจกรรม

อบรมใหค้ วามรูก้ ารประกอบธรุ กิจการคา้ ออนไลน์ (พาณิชอเิ ลก็ ทรอนิกส์)

มมุ ศูนย์ดิจิทลั ชุมชน กศน.ตำบลกาบัง หนา้ 11
8. Best Practice/ Good Practice
-

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จังหวัดยะลา

รายงานสรปุ ผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ประเดน็ การนิเทศ เรื่อง โครงการ กศน.ตำบล 5 ดี พรเี มย่ี ม และ กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมีย่ ม พลัส

๑. เกร่ินนำ เร่ืองของนโยบายจุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖5
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ข้อ 3 ด้านองค์กร

สถานศึกษาและแล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทย
ภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ใหม้ ีความพร้อมเพอ่ื เป็นพน้ื ทก่ี ารเรยี นรตู้ ลอดชีวิตทส่ี ำคัญของชุมชน

โครงการ กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม และ กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม พลัส มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง
กศน. ตำบลต้นแบบ ใหเ้ ปน็ ต้นแบบในการพฒั นา กศน. ตำบล/แขวง ให้มีประสทิ ธิภาพ อนั เปน็ ประโยชน์ต่อ
การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ตามองค์ประกอบ กศน. ตำบลต้นแบบ 5 ดี
พรีเมี่ยม ทั้ง 5 ด้าน และเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรบั ปรุง กศน. ตำบล/แขวง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของ
ชุมชนที่มปี ระสทิ ธิภาพ นน้ั เพือ่ ใหก้ ารขับเคล่อื นกิจกรรมดงั กล่าวเปน็ ไปอย่างต่อเน่อื ง ในปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 ทางสำนักงาน กศน. จึงได้กำหนดให้ กศน. ตำบล/แขวง ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็น กศน. ตำบล
ต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยมเม่ือปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หรือ พ.ศ. 2564 หรือ กศน. ตำบล/แขวงอื่น ๆ ที่มี
ศกั ยภาพในการเป็นตน้ แบบแก่ กศน. ตำบล/แขวง ได้มโี อกาสและดำเนนิ การขยายผลการพฒั นากิจกรรมตาม
องคป์ ระกอบท้งั 5 ด้าน สามารถเปน็ ต้นแบบใหก้ ับ กศน. ตำบล/แขวง ในระดบั พน้ื ทีอ่ นื่

2. สภาพทีพ่ บ
กศน.ตำบล จัดทำข้อมูลพื้นฐานครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลคณะกรรมการ

กศน.ตำบล มีการวางแผนร่วมกันโดยการประชุมวางแผนในการจัดกิจกรรม ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพื้นท่ี
พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหาประกอบการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นปัจจุบัน
มีการจัดทำปฏิทนิ กรพบกลุ่มและแจง้ ให้ผูเ้ รียนทราบ สถานศึกษาส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรู้ด้านอาชีพเพ่ิมเติม
ตามความต้องการของประชาชน มีการจัดกิจกรรมสง่ เสริมอาชีพด้านกลุ่มสนใจและส่งเสริมโครงการศูนย์ฝึก
อาชีพชุมชน มีการแสดงผลงานของกล่มุ อาชีพต่างๆ ภายในอาคารเป็นศนู ย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยระดับ
ตำบล (ศส.ปชต.) และมีมมุ เรียนรเู้ พอ่ื การศกึ ษาต่าง ๆ เชน่ มุมเรยี นร้ดู ิจิทลั มมุ ICT เพ่อื การเรยี นรู้ มมุ เรียนรู้
ประชาธิปไตย มุมศาสตร์พระราชา บริเวณโดยรอบอาคารเป็นศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นต้นแบบให้แก่
นักศึกษาละประชาชนท่ีสนใจ ท้ังนย้ี ังเปน็ จดุ เช็คอิน (Check in) ทส่ี ่งผลตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรียน มีการจัดทำ
รหัสคิวอาร์โคด้ (QR Code) เพือ่ ใชใ้ นการศึกษาหาความรขู้ อ้ มูลตา่ งๆ

กศน.ตำบล มกี ารจดั การเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ผา่ นแอปพลเิ คช่นั ที่สถานศึกษากำหนด เช่น

ลงทะเบียนเรียนในแต่ละระดับชัน้ ในรูปแบบออนไลน์โดยใช้ Google form ในการรับสมัครนักศึกษาใหม่ ใช้

Google Meet ในการจดั การเรยี นการสอน พรอ้ มทงั้ มอบใบงาน ในไลน์กลุ่ม เปน็ การบา้ น และให้ผู้เรียนส่ง

ใบงานและสอบภาคปฏิบัติเพื่อประเมินผลต่อไป นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมสถานศึกษามีการปฏิบัติตาม

มาตรการปองกนั ทเ่ี ขมงวด เช่น การจัดกจิ กรรมไม่เกิน 5 คน มเี จลแอลกอฮอลลางมอื ผูรบั บรกิ ารตองใสหนา

กากอนามัยหรือหนากากผา ตองมกี ารเวนระยะหางระหวางบุคคล เปน็ ตน้

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จงั หวัดยะลา หนา้ 12

3. ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ ความสำเรจ็
3.1 สถานศกึ ษา และชมุ ชนมีแผนงานร่วมกันและมีการดำเนนิ งานอย่างต่อเนอ่ื ง
3.2 มีภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ในการร่วมจดั ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ
กศน.ตำบล อย่างต่อเน่ืองและเข้มแขง็
3.3 มกี ารบูรณาการ นำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
3.4 มอี าสาสมัคร กศน.ตำบล อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่านและอ่ืน ๆ เพื่อส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการ
เรยี นรขู้ อง กศน. ตำบลไดอ้ ยา่ งทั่วถึง และมคี ณุ ภาพ
3.5 มีการใช้เทคโนโลยที ่เี หมาะสมในการจัดกระบวนการเรียนรู้อยา่ งหลากหลาย
3.6 ได้รับการจดั สรรอุปกรณ์ IT ในศูนยด์ จิ ิทัล ทำให้สามารถดำเนนิ การจัดการเรียนการสอนโดยการ
ใชส้ อ่ื ออนไลน์

4. ปญั หาอปุ สรรค
จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19) ทำให้มผี ลกระทบในการ

จัดกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มในการจัดกิจกรรม รวมทั้งการแบ่งโซนหมูบ้านกลุ่มเสี่ยง จำนวนผู้ติดเชื้อ
ทำให้นักศึกษาไม่กล้ามาร่วมกิจกรรมทาง กศน.ตำบลจัด สถานศึกษาจึงมกี ารจัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์
จึงพบปัญหา เช่น สัญญาณอินเตอร์เน็ต นักศึกษาบ้างคนยังไม่มีโทรศัพท์มือถือ ความรู้พื้นฐานในการใช้
เทคโนโลยี

5. ข้อนิเทศต่อผูร้ ับการนิเทศ
5.1 แนะนำใหป้ รบั ปรงุ ข้อมลู สารสนเทศใหเ้ ป็นปัจจบุ นั
5.2 ต้องมีการพฒั นาความรใู้ นเร่อื งการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
5.๓ แนะนำให้ครูหากระบวนการกระตุ้นนักศึกษาเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้าสอบ รวมถึงการพัฒนา

ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน

6. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา

6.1 ขอ้ เสนอตอ่ สถานศึกษา
๑) ควรมกี ารนำเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

เพือ่ ใหช้ ุมชนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวติ ไดอ้ ยา่ งทั่วถึง และมีคุณภาพ รวมมกี ารพัฒนาเทคโนโลยี หรือ
นวตั กรรมทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นร้ทู ่ีสอดคล้องกบั บริบทของชมุ ชน

๒) ควรสนับสนนุ การปรบั ปรุงอาคารสถานที่ให้มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษา
และการเรียนรู้

6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั
๑) ควรจดั กจิ กรรมเพื่อสร้างขวญั กำลังใจให้กบั ครู กศน.ตำบล
๒) ควรมกี ารประชมุ ชี้แจง การอบรมเพิ่มทักษะความรู้ ดา้ นการพฒั นาเวบ็ ไซต์ การจดั การเรียน

การสอนออนไลน์ เพื่อสามารถนำไปพัฒนาตามตวั ช้วี ดั กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม พลัส
3) ควรมีการนิเทศตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล 5 ดี พรเี มย่ี ม พลสั

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หน้า 13

6.3 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.
1) ควรจัดทำสอ่ื คู่มือการขับเคล่ือนการดำเนนิ อย่างต่อเน่อื ง และทันสมัย
2) ควรจัดสรรงบประมาณเพอื่ การสนับสนุนการดำเนินงานอยา่ งตอ่ เนือ่ งและย่ังยนื

7. ภาพกิจกรรม

ภายใน กศน.ตำบลกาบัง เพือ่ พัฒนาให้เปน็ กศน.ตำบล 5 ดี พรเี มยี่ ม พลัส

8. Best Practice
-

สรปุ ผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา หน้า 14

ภารกจิ ตอ่ เน่อื ง

สรปุ ผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หน้า 15

การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา หนา้ 16

รายงานสรปุ ผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

ประเด็นการนเิ ทศ เรื่อง การสง่ เสริมการรหู้ นงั สือไทย

๑. เกร่นิ นำ เรือ่ งของนโยบายจุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖5

สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ สำนกั งาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ข้อ 2 ด้านการสรา้ งสมรรถนะ
และทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทกั ษะท่จี ำเปน็ สำหรบั แต่ละช่วง
วัยและการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั แต่ละกลุ่มเป้าหมายและบิบทพนื้ ท่ี

2. สภาพทพี่ บ
สถานศกึ ษาไดม้ ีการสำรวจผู้ไม่รู้หนังสือวา่ ภายในตำบลมีผไู้ ม่รู้หนงั สือจำนวนกีค่ นก่อนทจ่ี ะดำเนนิ การ

จดั กจิ กรรม มกี ารจดั ทำข้อมูลสารสนเทศของผูไ้ ม่รู้หนังสือรายบคุ คล เพือ่ อำนวยความสะดวกในการหาข้อมลู
มกี ารจัดทำแผนการเรยี นรู้ จดั กระบวนการเรียนรู้เหมาะสมกับสภาพผเู้ รียน และมีการประสานกบั ภาคีเครือข่าย
ไม่ว่าจะเป็น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน บัณฑิตอาสาในพื้นที่ ซึ่งได้รบั ความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรม
สง่ เสริมการรู้หนังสือเป็นอยา่ งดี

3. ปจั จัยท่สี ่งผลต่อความสำเรจ็
3.1 สื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสมกับสภาพและพ้ืนท่ขี องกลุ่มเป้าหมายในการ

จดั การเรยี นรู้
3.2 ภาคีเครือข่ายและกล่มุ เป้าหมายให้ความรว่ มมือเปน็ อยา่ งดี ทำให้ประสบผลสำเร็จ

4. ปัญหาอปุ สรรค
4.1 กลุม่ เปา้ หมายบางคน สายตามองไมช่ ัด ทำใหส้ ่งผลต่อการอ่าน การเขยี น
4.2 กล่มุ เปา้ หมายบางคน ไม่สามารถมาเรยี นตามเวลาทก่ี ำหนดได้ จึงต้องมกี ารมอบหมายงานฝึกทำ

ท่ีบ้านเอง

5. ข้อนิเทศตอ่ ผรู้ ับการนิเทศ
5.1 หลังจากจบหลกั สูตร ควรมีการออกวฒุ บิ ัตรใหก้ บั ผ้ผู า่ นการประเมิน
๕.๒ แนะนำใหม้ ีเครื่องมือและเกณฑ์การวดั ผล ท้ังกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน

6. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา
6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศกึ ษา
ควรมกี ารสรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานการจัดกิจกรรม และนำผลจากการสรุปมาศึกษา

วเิ คราะห์และกำหนดแนวทางการแก้ไข ปรบั ปรุง เพ่อื พฒั นาต่อไป
6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวัด
ควรนเิ ทศติดตาม ตรวจสอบอย่างตอ่ เน่อื งเพ่อื พฒั นา

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หน้า 17

7. ภาพกิจกรรม

การส่งเสรมิ การร้หู นังสอื ไทย ณ ตำบลกาบังและตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา

8. Best Practice
-

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา หนา้ 18

รายงานสรุปผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ประเด็นการนิเทศ เรอื่ ง การศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
(การเรยี นการสอนออนไลน์)

๑. เกร่ินนำ เรื่องของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖5
1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
1. สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยดำเนินการให้

ผู้เรียนได้รับการสนบั สนุนคา่ จัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นและค่าจดั การเรยี นการ
สอนอย่างทัว่ ถงึ และเพยี งพอเพือ่ เพ่มิ โอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย

2. จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานให้กับกลมุ่ เป้าหมายผดู้ อ้ ย พลาดและขาดโอกาส
ทางการศึกษาผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเองการพบกลุ่มการเรียนแบบชั้นเรียนและการจัดการศึกษา
ทางไกล

3. พัฒนาประสทิ ธภิ าพคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
ทง้ั ดา้ นหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สือ่ และนวตั กรรม ระบบการวดั และประเมินผลการเรียน
และระบบการใหบ้ ริการนักศกึ ษาในรปู แบบอ่ืน ๆ

4. จดั ให้มีการประเมินเพือ่ เทยี บระดับการศึกษาและการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ที่มีความ
โปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

5. จัดให้มีกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม
เพอื่ เปน็ สว่ นหนึ่งของการจบหลกั สตู ร อาทิ กิจกรรมเสริมสรา้ งความสามัคคี กิจกรรมเกยี่ วกับการป้องกนั
และแก้ไขปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุว
กาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญ
ประโยชน์อ่นื ๆนอกหลักสูตรมาใช้เพม่ิ ชัว่ โมงกิจกรรมใหผ้ ้เู รยี นจบตามหลักสตู รได้
๒. สภาพทพ่ี บ

สถานศึกษาได้นำหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ซึ่งเป็น
หลักสตู รแกนกลาง มาใช้เปน็ หลกั สตู รสถานศึกษา โดยครู กศน. ได้ปรับรปู แบบกิจกรรมการเรยี นรู้ตามสภาพ
วิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของผู้เรยี น นำข้อมูลของผู้เรียน มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดทำแผนการ
เรยี นรู้ท่สี นองตอบความตอ้ งการ ศักยภาพของผเู้ รยี น รวมท้งั เน้นจัดการเรียนรโู้ ดยใชท้ รพั ยากร แหลง่ เรียนรู้ท่ี
มีอยู่หรือภาคีเครือข่ายร่วมจัดการศึกษา มีการวัดและประเมินผลกิจกรรมด้วยวิธีการและเครื่องมือที่
หลากหลายสอดคล้องกับระดับการศึกษาและเกณฑ์การประเมินที่สถานศึกษากำหนด มีการบันทึกรายงาน
หลักการสอนแต่ละสัปดาห์ เสนอต่อผู้บริหารรับทราบ นำปัญหาจากการเรียนการสอนมาทำวิจัยในชั้นเรียน
เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาของให้กับผู้เรียนได้ และสถานศึกษามีการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่าน Google
classroom และ Application meet เพอ่ื การศกึ ษา ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ต่าง ๆ เชน่ line facebook QR
Code

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา หน้า 19

สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับนักศึกษาปกติแล้ว ยังมีการจัดการศึกษาขน้ั
พ้นื ฐานให้กับนักศึกษาท่ีอยู่ในสถาบันศึกษาปอเนาะ โดยมีครูอาสาสมัครประจำสถาบนั ศึกษาปอเนาะทำหน้าที่
ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ทำให้นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะได้มีโอกาสเรียนรู้ควบคู่ทั้งวิชาสามัญและศาสนา ซึ่งนำวิชา
ศาสนาที่ โต๊ะครู บาบอ สอนมาเปน็ ส่วนหนึ่งของการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตร

นอกจากนี้ ยังมีการจัดการให้มีการประเมินเทียบระดับการศึกษาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2564
มีผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษามีน้อย เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการประเมินค่อนข้างสูง
พนื้ ฐานความรขู้ องผเู้ ขา้ รับการประเมินแตกต่างกัน โดยเฉพาะการประเมนิ ในมิตคิ วามรู้ความคิดในมาตรฐานที่
2 การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ เงื่อนไขการจบหลกั สูตรต้องสอบผ่านร้อยละ 50 ขึ้นไป ซึ่งค่อนข้างยากทำให้
ผ้รู บั การประเมนิ ส่วนใหญไ่ ม่ผ่านเกณฑ์ ตอ้ งสมัครเข้ารับการประเมินใหม่ ทำใหต้ ้องเสยี ค่าใช้จ่ายมากและจบ
ยาก นอกจากนี้ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร ไม่ต้องการนำวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้นไปใช้ จึงทำให้จำนวนผู้
เทยี บระดับการศึกษามนี ้อย

สถานศกึ ษามกี านิเทศติดตามการสอบของสถานศกึ ษาในทุกภาคเรยี นท้งั การสอบประเมนิ เทียบระดับ
การศึกษามิติความรู้ ความคิด การสอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกโรงเรียน
(N-NET) การสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน พบว่าสนามสอบส่วนใหญ่เป็นไปด้วยความเรียบร้อย กรณี
นักศึกษาขาดสอบส่วนใหญ่เกิดจากเกิดสุดวิสยั เช่น การเจ็บป่วย อุบัติเหตุ การเข้าสอบในช่วงสถานการณ์โค
วิด 19 มีการใส่หน้ากากผ้า หน้ากากอนามยั ใช้เจลแอลกอฮอล์และตรวจอณุ หภูมวิ ดั ไข้

รายงานสรปุ การลงทะเบยี นเรยี นในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ท่ี ระดบั การศึกษา จำนวนนักศกึ ษาภาคเรยี นที่ 2/2564

1. ประถมศกึ ษา 56
1 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 342
2 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 314
712
รวม

รายงานการเชา้ สอบ – ขาดสอบวดั ผลปลายภาคเรียนท่ี 2/2564 (วชิ าเลอื กเสร)ี

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอกาบัง

วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ 2565

ระดบั มีสิทธิ์ เขา้ สอบ รอ้ ยละ ขาดสอบ รอ้ ยละ

สอบ

ประถมศกึ ษา 7 7 100 0 0

มัธยมศึกษาตอนตน้ 19 13 68.42 6 10.25

มัธยมศึกษาตอนปลาย 289 241 83.39 48 21.32

รวมทัง้ สน้ิ 315 261 89.47 54 10.52

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา หน้า 20

รายงานการเช้าสอบ – ขาดสอบวดั ผลปลายภาคเรียนที่ 2/2564 (วชิ าบงั คับและเลือกบังคับ)
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอกาบัง

วันท่ี 5 – 6 มีนาคม 2565

ระดับ มีสิทธ์ิ เขา้ สอบ ร้อยละ ขาดสอบ รอ้ ยละ
สอบ
ประถมศกึ ษา 244 203 83.20 41 16.80
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1,560 1,217 78.01 343 21.99
มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1,506 1,496 99.34 10 0.66
3,310 2,916 88.10 394 11.90
รวมท้งั สิ้น

3. ปจั จัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ

3.1 หลักสูตรสถานศึกษามีความเหมาะสมและมีแผนการจัดการเรียนรู้รายบุคคล ที่สอดคล้องกับ
สภาพบริบทของพนื้ ทีแ่ ละความต้องการของบคุ คล

3.2 มีการจัดกจิ กรรมการเรียนรหู้ ลายรปู แบบและมีเทคนิคการสอนท่ีดีทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายเรียนรู้
ได้ดี เช่น มีการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับช่วงวัยของผู้เรียน มีกิจกรรมที่หลากหลายที่กระตุ้นความสนใจ
เรยี นรู้ผ่านกจิ กรรม การทำโครงงาน ศกึ ษาจากแหลง่ เรียนรู้ ฯลฯ

3.3 มีสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าใจ และทันสมัย เช่น สื่อโซเชียลเน็ตเวิร์ค (social network)
Application ส่อื สิง่ พมิ พ์ ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล แหล่งเรยี นรู้ทม่ี ีอยใู่ นชุมชน

3.๔.ภาคีเครอื ข่าย องค์กรนักศึกษา ภูมิปัญญาตา่ ง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
และขบั เคลอ่ื นการดำเนินงาน

4. ปัญหาอปุ สรรค
4.1 ครู กศน. บางคนขาดความรู้ ความสามารถในการสอน เนื่องจากไม่ได้จบการศึกษา ทางด้าน

วิชาการศึกษา หรือวิชาชีพครูโดยตรง ทำให้ครูขาดความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐาน
โดยเฉพาะวชิ าคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ

4.2 นักศึกษา กศน. มีความหลากหลายของช่วงอายุ และการประกอบอาชีพ ทำให้จัดกระบวนการ
เรียนรูใ้ หส้ อดคล้องกับความสนใจและความต้องการทำได้ค่อนขา้ งยาก

5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผู้รับการนิเทศ
5.1 แนะนำให้ครูจัดโครงการติวเข้มเพือ่ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนช่วยให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้

เกิดทักษะและความเข้าใจ ในรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์และรายวิชาอืน่

ๆ มากขน้ึ
5.2 แนะนำให้ครู ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย

เพ่อื ให้จดั การเรียนการสอนให้เหมาะสมกบั สภาพ ความตอ้ งการของผูเ้ รยี น
5.3 แนะนำให้สถานศกึ ษาพัฒนาหลักสูตรและพฒั นาสอ่ื การสอนออนไลนใ์ นรายวชิ าเลือกเสรี

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา หน้า 21

6. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
๑) ควรประเมินหลักสูตรสถานศึกษาและนำผลการประเมินไปพัฒนา หลักสูตรวิชาเลือกที่มี

จำนวนหน่วยกิตน้อย และ ควรพัฒนาให้มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และให้มีจำนวนหน่วยกิต
มากขึน้ เพือ่ ลดปัญหาเรื่องการมวี ิชาเลือกท่ีมากเกนิ ไป

๒) ควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต และมีการ
แนะแนวเพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนมีทางเลอื กในการศกึ ษาต่อในระดับที่สูงขน้ึ หรือศกึ ษาในสายวชิ าชีพตามความเหมาะสม

3) ควรแตกยอดการเรยี นรู้เรอ่ื งกระบวนการจัดการเรยี นการสอนใหน้ กั ศกึ ษาคิดเป็น
6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั

๑) ควรจัดอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารครูผสู้ อนเกย่ี วกับการวิเคราะห์หลกั สูตร การจัดทำแผนการเรียนรู้
เทคนิคการสอน เพือ่ ให้ครูมคี วามรู้ ความสามารถและทักษะ สามารถนำไปใช้ได้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้
ได้

๒) ส่งเสริมหรืออบรมให้แก่ครูในการจัดทำผลงานทางวิชาการ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียน
การสอน

3) ควรดำเนินการจัดอบรมครูผู้สอนในการจดั เกระบวนการเรยี นการสอนในรปู แบบออนไลน์
4) ควรจัดโครงการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอน และควรจัด
การศกึ ษาดงู านในตา่ งพ้นื ท่ี

7. ภาพกจิ กรรม

จัดการเรียนการสอนขั้นพนื้ ฐาน (ระบบออนไลน)์ โดยใช้ google meet

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา หนา้ 22

สอบรายวชิ าเลอื กเสรี วนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2565

สอบรายวชิ าบังคบั ระหว่างวันท่ี 5 – 6 มีนาคม 2565
8. Best Practice

-

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 2565 กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หน้า 23

รายงานสรปุ ผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

ประเด็นการนเิ ทศ เรอื่ ง การเทียบระดับการศึกษา

๑. เกร่ินนำ เรอื่ งของนโยบายจุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖5

สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ สำนักงาน กศน. ปงี บประมาณ ๒๕๖5 ขอ้ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
คุณภาพ ข้อ 1.5 ปรับระบบทดสอบวัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือให้ผู้เรยี น
สามารถเข้าถึงการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ได้ตามความตอ้ งการ เพอื่ สรา้ งโอกาสในการเรียนรู้ ใหค้ วามสำคัญกับ
การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ
ผ้เู รียนให้ตอบโจทย์การประเมินในระดบั ประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถนะผู้ใหญ่ ตลอดจน
การกระจายอำนาจไปยงั พืน้ ที่ในการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

2. สภาพท่ีพบ
สถานศึกษาได้มีการประชาสัมพันธ์รับสมัครนักศึกษาเทียบระดับทางเฟสบุ๊ค และปิดประกาศตาม

รา้ นค้าต่างๆในพน้ื ที่ เมื่อมผี เู้ รยี นมาสมัครไดม้ ีการลงทะเบียนเรยี น มีการบันทึกขอ้ มลู ผ้เู ทยี บระดับการศึกษา
ในโปรแกรมเทยี บระดับการศึกษา ครมู ีการปฐมนเิ ทศผูเ้ รยี น โดยชี้แจงให้ผ้เู รยี นเข้าใจว่าการสอบเทียบระดับมี
๒ มิติ ด้วยกัน คือ ความรู้ความคิด/ประสบการณ์ โดยผู้เรียนต้องเข้ารับการสัมมนาวิชาการและจัดทำแฟ้ม
ประมวลประสบการณ์ ผเู้ รียนที่สมคั รสอบเทียบระดบั การศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ของ กศน.
อำเภอกาบงั จำนวน 1 คน ระดับมธี ยมศกึ ษาตอนต้น เขา้ สอบ รอ้ ยละ 100

3. ปจั จัยท่ีสง่ ผลตอ่ ความสำเรจ็
3.1 ผูเ้ รยี นมีความตง้ั ใจ สนใจ ความกระตอื รอื ร้น ในการทจ่ี ะเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
3.2 ครมู ีการจดั กิจกรรมเสริมความรู้ให้กบั ผเู้ รยี นก่อนสอบ ๒ มิติ

4. ปัญหาอปุ สรรค
4.1 ผ้เู รยี นขาดทกั ษะในการจัดทำแฟม้ ประมวลประสบการณ์ ทำให้มีการปรับปรุงแกไ้ ขอยหู่ ลายครง้ั
4.2 เน่อื งด้วยสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 ทำใหผ้ ้เู รยี นไมส่ ามารถมาพบกลมุ่ ได้

5. ข้อนิเทศตอ่ ผรู้ ับการนเิ ทศ
5.1 ควรมีการติดตามผูเ้ รียนหลังจากจบหลักสูตร
๕.๒ แนะนำให้มีครูจดั ทำทำเนยี บผู้เรียนทปี่ ระสบผลสำเร็จ

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จงั หวัดยะลา หน้า 24

6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา
6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา
๑) ควรประเมินหลักสูตรสถานศึกษาและนำผลการประเมินไปพัฒนา หลักสูตรวิชาเลือกที่มี

จำนวนหน่วยกิตน้อย และ ควรพัฒนาให้มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และให้มีจำนวนหน่วยกิต
มากขน้ึ เพ่อื ลดปญั หาเร่ืองการมีวิชาเลือกท่ีมากเกนิ ไป

๒) ควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต และมีการ
แนะแนวเพอื่ ให้ผ้เู รยี นมีทางเลือกในการศึกษาต่อในระดบั ทสี่ ูงข้ึน หรือศึกษาในสายวิชาชพี ตามความเหมาะสม

3) ควรแตกยอดการเรยี นรูเ้ รื่องกระบวนการจดั การเรียนการสอนให้นักศกึ ษาคดิ เปน็
6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จังหวัด

๑) ควรจดั อบรมเชงิ ปฏิบัติการครูผสู้ อนเก่ียวกับการวิเคราะห์หลักสูตร การจัดทำแผนการเรียนรู้
เทคนิคการสอน เพื่อให้ครมู คี วามรู้ ความสามารถและทักษะ สามารถนำไปใชไ้ ด้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้
ได้

๒) ส่งเสริมหรืออบรมให้แก่ครูในการจัดทำผลงานทางวิชาการ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียน
การสอน

3) ควรดำเนนิ การจัดอบรมครผู สู้ อนในการจดั เกระบวนการเรยี นการสอนในรปู แบบออนไลน์
4) ควรจัดโครงการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอน และควรจัด
การศกึ ษาดงู านในตา่ งพน้ื ที่

7. ภาพกิจกรรม

8. Best Practice หน้า 25
-

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

การศกึ ษาต่อเนื่อง

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา หนา้ 26

รายงานสรุปผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

ประเด็นการนิเทศ เรอื่ ง การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพ (โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน)

1. เกริน่ นำ เรอื่ งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565
กจิ กรรมการดำเนนิ งานศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนสอดคลอ้ งกบั นโยบายจดุ เน้นการดำเนนิ งานของสำนักงาน

กศน.ประจำปี 2565 ขอ้ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.2 พฒั นาหลักสูตรระยะส้ันที่เน้น
New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ ความต้องการและความหลากหลายของ
กล่มุ เป้าหมาย เช่น ผพู้ ิการ ผู้สูงอายุ ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกลุม่ อาชีพใหมท่ ี่รองรบั Disruptive
Technology เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัยให้กับประชาชนที่สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน บริบทของพื้นท่ี ช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากที่มีรายได้น้อยและขาดโอกาสในการเพ่ิม
รายได้ อันเปน็ เงอื่ นไขสำคัญของการเกดิ ความเหลือ่ มล้ำทางเศรษฐกิจที่สง่ ผลให้ฐานเศรษฐกิจของประเทศไทย
ไมเ่ ข้มแขง็ อย่างทีเ่ ปน็ อยู่ในปจั จบุ ัน ดงั นั้นการจดั เพอ่ื พฒั นาอาชีพ จงึ เปน็ การจัดการศกึ ษาใหก้ บั ประชาชนเพ่ือ
นำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของตนเอง ชุมชน ให้
ประชาชนสามารถมีทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพของตนเอง ชุมชนได้
เพ่ือลดรายจา่ ยสร้างรายได้ใหก้ บั กลุ่มประชาชนทว่ั ไปในชมุ ชนและท้องถน่ิ ได้

2. สภาพท่ีพบ
สถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวยั ให้กับประชาชนทีส่ อดคล้องกับ

ความต้องการของตลาดแรงงาน บริบทของพื้นท่ี ช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากที่มีรายได้น้อยและขาด

โอกาสในการเพิ่มรายได้ อันเป็นเงื่อนไขสำคัญของการเกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจที่ส่งผลให้
ฐานเศรษฐกิจของประเทศไทยไมเ่ ข้มแข็งอยา่ งที่เป็นอยู่ในปัจจบุ ัน ดังนั้นการจัดเพื่อพัฒนาอาชีพ จึงเป็นการ

จดั การศึกษาให้กับประชาชนเพอ่ื นำความรู้ไปใช้ในการพฒั นาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบ
อาชีพของตนเอง ชุมชน ให้ประชาชนสามารถมีทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพหรือพัฒนา
อาชีพของตนเอง ชุมชนได้ เพอื่ ลดรายจา่ ยสร้างรายได้ใหก้ ับกล่มุ ประชาชนทวั่ ไปในชุมชนและทอ้ งถ่ินได้

มกี ารจัดทำหลักสูตรอาชีพระยะสัน้ ในรายวิชาทเี่ ปิดสอนครบทุกหลกั สูตร มีการประชมุ ชแี้ จง /อบรม
เทคนคิ วิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วิทยากรก่อนดำเนนิ การ วิทยากรมีความรู้ความสามารถตามเนอื้ หาหลักสูตร

มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามหลักสูตร มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนทุก
หลกั สูตร และไดม้ ีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานเมื่อส้ินสุดโครงการเป็นปจั จบุ ัน

กศน.อำเภอกาบัง มีกรอบการฝึกทักษะอาชีพระยะสั้น (ไตรมาสที่ 1-2) จำนวน ๓ รูปแบบ คือ

1) กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน ๓๐ ชั่วโมง) ได้แก่ หลักสตู รการทำดอกไม้จันทน์ , หลกั สูตรการทำพานขันหมากมลายู
๒) แบบชั้นเรียน (ตั้งแต่ ๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป) ได้แก่ หลักสูตรการทำกระถางตน้ ไม้จากปูนเปลือย , หลักสูตรการ

เลีย้ งปลากินพืช ๓) ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ ได้แก่ช่างก่อสร้าง รอ้ ยละ 80ของผู้จบหลกั สตู รสามารถนำความรู้ท่ีได้ไป
ใชใ้ นการประกอบอาชีพ ต่อยอดอาชพี เดิม สรา้ งรายไดเ้ สรมิ หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพอ่ื ลดรายจา่ ยได้

3. ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อความสำเรจ็ หนา้ 27
3.1 ครู กศน.ตำบล มีการสำรวจ ความต้องการและความจำเปน็ ในการเรียนอาชีพ
3.2 เนื้อหาโดยเฉพาะ หลักสูตร / กจิ กรรมมคี วามสอดคล้องกบั บรบิ ทของชมุ ชน
3.3 วทิ ยากรที่ใหค้ วามรู้ เปน็ มีความรแู้ ละประสบการณ์ในวชิ าชพี ตามหลกั สูตร

สรปุ ผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

4. ปัญหาอปุ สรรค
สถานศึกษายังขาดการประสานแผนร่วมกบั ชุมชน ภาคีเครือข่ายเพื่อบูรณาการใช้ทรัพยากรร่วมกนั

ทำใหเ้ กดิ ความซ้ำซอ้ นในระดับพื้นที่

5. ข้อนิเทศต่อผู้รบั การนิเทศ
5.1 แนะนำให้ครูติดตามผู้จบหลักสูตร จัดทำรายงานสรุปผลข้อมูลการนำความรู้ไปใช้และจัดทำ

ทำเนยี บผู้ที่ประสบความสำเร็จหรือผทู้ ม่ี ีผลงานดเี ด่น
5.2 แนะนำให้เชิญศิษย์เก่าที่ประสบความสำเร็จมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์แก่ผู้เรียนและมีการ

เผยแพรผ่ ลงาน
5.3 แนะนำให้พัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพให้เป็น Best Practice และทำเป็นผลิตภัณฑ์ของ กศน.

เพ่ือเปน็ มาตรฐานตอ่ ไป

6. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
1) ควรนำผลการประเมินความพึงพอใจมาวิเคราะห์ผลว่า ผลการประเมินแต่ละด้านมีผลการ

ประเมนิ เปน็ อยา่ งไร และมปี ระเด็นย่อยใดในแตล่ ะด้านที่ดหี รือควรปรับปรงุ ใหม้ ีประสิทธิภาพ คณุ ภาพ ยิ่งขึ้น
ตอ่ ไป

2) ควรมีการนิเทศติดตามการจัดกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง
6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวดั

ควรแนะนำแนวทางการบูรณาการการสรา้ งเพจการค้าขาย เพือ่ การนำเสนอสินค้าผ่านร้านค้า
Online ในแผนการจัดการเรียนรู้ให้แก่ครู กศน. เพื่อให้การจัดการเรียนรู้มีความทันสมัยตามระบบธุรกิจ
สมยั ใหม่และสอดคล้องกบั เป้าประสงค์การจัดการศกึ ษาอาชพี “ทำได้ ขายเป็น”

7. ภาพกจิ กรรม

กลมุ่ สนใจ (ไมเ่ กนิ ๓๐ ชั่วโมง)
หลักสูตรการทำพานขันหมากมลายแู ละหลกั สตู รการทำดอกไม้จันทน์

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หนา้ 28

แบบชัน้ เรยี น (ตั้งแต่ ๓๑ ช่วั โมงข้นึ ไป)
หลักสตู รการทำกระถางต้นไม้จากปูนเปลอื ย

๑ อำเภอ ๑ อาชีพ
หลกั สตู รชา่ งก่อสร้าง

8. Best Practice/ Good Practice
Good Practice การทำกระถางต้นไม้จากปูนเปลือย ณ กศน.ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

โดยใช้นวัตกรรม โปรแกรม (Animaker + Movavi) จัดทำเป็น VDO ในการบรรยายวิธีการทำกระถางต้นไม้
จากปนู เปลอื ย

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา หน้า 29

รายงานสรุปผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

ประเดน็ การนิเทศ เรอื่ ง การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชุมชน

1. เกริน่ นำ เรือ่ งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน (อบรมให้ความรู้ดิจิทัลกับการค้าออนไลน์) สอดคล้องกับ

นโยบายจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ข้อ 2 ด้านการสร้าง
สมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น
“สง่ เสรมิ ความรู้ สรา้ งอาชีพ เพม่ิ รายได้ และมีคุณภาพชวี ิตทดี่ ”ี ให้มคี ุณภาพมาตฐาน เป็นทีย่ อมรับของตลาด
ต่อยอดภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ เพอ่ื สรา้ งมูลคา่ เพมิ่ พัฒนาวสิ าหกิจชุมชน ตลอดจนเพ่ิมช่องทางประชาสัมพันธ์และ
ชอ่ งทางการจัดจำหน่าย

2. สภาพที่พบ

สถานศึกษาจัดการเรียนรู้โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ มีการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
บรบิ ทของชุมชน สังคม เพื่อใหก้ ล่มุ เป้าหมายมีความเข้าใจ ทักษะ และมีเจตคติท่ีชัดเจนมากข้ึน ผ่านกิจกรรม
การเรียนรู้ด้วยการบรรยาย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการปฏิบัติจริง รวมทั้ง ได้ประสานบุคคลที่มีความรู้
ความสามารถเฉพาะเรื่องมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ โดยวิทยากรรว่ มกับสถานศึกษาในการทำความเข้าใจและ
ร่วมออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั หลกั การจัดการเรยี นรู้ผู้ใหญ่ ความตอ้ งการของ ชุมชน โดยจัด
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ดิจิทลั กับการค้าออนไลน์ ดำเนินการจัดกิจกรรม เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้
ความเข้าใจ สามารถประชาสัมพันธ์ มีช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า/ผลิตภัณฑ์ในชุมชนผ่านระบบออนไลน์
สอดคล้องกบั สถานการณป์ ัจจุบนั ของการแพรร่ ะบาดของโรคเชื้อไวนสั โคโรน่า (Covid-19)

3. ปจั จยั ท่สี ่งผลตอ่ ความสำเร็จ
3.1 ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมใหค้ วามสนใจ ต้งั ใจ ในการเรียนรู้ชอ่ งทางประชาสมั พนั ธแ์ ละชอ่ งทางการจัด

จำหนา่ ยผา่ นระบบออนไลน์
3.2 อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมมคี วามพร้อมและเพยี งต่อผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม

4. ปัญหาอุปสรรค
การจัดกิจกรรมในห้วงการใช้มาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ต้องมีการเว้นระยะห่าง

ทางสงั คม และงดการรวมกลุ่ม ทำใหก้ ารจัดกจิ กรรมตอ้ งจำกัดจำนวนผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม

5. ขอ้ นิเทศต่อผู้รบั การนเิ ทศ
แนะนำใหค้ รูประเมินผู้เรียนโดยจัดใหม้ ีการทดสอบก่อนและหลังการร่วมกิจกรรม ในเนื้อหาความรู้ที่

ไดใ้ ห้ความรูร้ ะหว่างรว่ มกิจกรรม

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จงั หวัดยะลา หน้า 30

6. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา
6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา
ควรจัดทำรายงานผลการนิเทศและเสนอปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร

สถานศึกษา

6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั
1) ควรพัฒนาบุคลากร กศน.อำเภอ ให้มีความรดู้ ้านการจัดทำส่ือเทคโนโลยีเพื่อใช้ประกอบการจัด

กิจกรรม
2) ควรเทศติดตามผลอยา่ งต่อเนือ่ ง

7. ภาพกจิ กรรม

7. Best Practice/ Good Practice
-

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา หนา้ 31

รายงานสรปุ ผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

ประเด็นการนเิ ทศ เรือ่ ง การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ

1. เกรน่ิ นำ เรือ่ งของนโยบายจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565
การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สอดคล้องกับนโยบายจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ข้อ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัด
การศกึ ษาตลอดชีวิต ทเ่ี นน้ การพัฒนาทกั ษะทีจ่ ำเป็นสำหรับแตล่ ะช่วงวัยและการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกบั แตล่ ะกลุม่ เป้าหมายและบิบทพื้นที่

2. สภาพทพ่ี บ
สถานศึกษาจัดการเรียนรู้โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ มีการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับ

บริบทของชุมชน สังคม เพอื่ ให้กล่มุ เป้าหมายมีความเข้าใจ ทักษะ และมีเจตคติที่ชัดเจนมากขึ้น ผ่านกิจกรรม
การเรียนรู้ด้วยการบรรยาย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการปฏิบัติจริง รวมทั้ง ได้ประสานบุคคลที่มีความรู้
ความสามารถเฉพาะเรื่องมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ โดยวิทยากรร่วมกับสถานศึกษาในการทำความเข้าใจและ
ร่วมออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักการจัดการเรียนรู้ผู้ใหญ่ ความต้องการของ ชุมชน
โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต อบรมใหค้ วามรู้ “การดแู ลสขุ ภาพและสุขอนามัยให้ปลอดภัยจาก
โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา (covid-19) ดำเนนิ การจัดกิจกรรม เพ่อื ให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและ
ดแู ลรักษาร่างกายใหป้ ลอดภัยจากโรคติดเช้ือไวรัสโรโคน่า (covid-19) มสี ขุ ภาวะและสุขอนามัยท่ีดีต่อตนเอง
และครอบครัว

กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการเสริมสร้างสุขภาพกาย สุขภาพจิต ความปลอดภัย และ
สิ่งแวดล้อม มีทักษะการตรวจโควิดด้วยตนเอง การสวอบ(Swab)อย่างถูกวิธีสำหรับตรวจ Antigen Test Kit
เบ้ืองต้นได้ และมีความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

3. ปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ ความสำเรจ็
3.1 ครูและนักศึกษา กศน. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และต่อสังคม รวมทั้งการดแู ลสุขภาวะและ

สุขอนามยั ให้ปลอดภยั จากโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โรโคน่า (covid-19)
3.2 อปุ กรณใ์ นการจดั กจิ กรรมมีความพรอ้ มและเพยี งต่อผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม

4. ปญั หาอุปสรรค
การจัดกิจกรรมในห้วงการใช้มาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ต้องมีการเว้นระยะห่าง

ทางสงั คม และงดการรวมกลมุ่ ทำให้การจดั กิจกรรมต้องจัดในรปู แบบยอ่ ย

5. ขอ้ นิเทศตอ่ ผรู้ บั การนเิ ทศ
แนะนำให้ครูประเมินผู้เรียนโดยจัดใหม้ ีการทดสอบก่อนและหลังการรว่ มกิจกรรม ในเน้ือหาความรู้ท่ี

ได้ใหค้ วามรูร้ ะหวา่ งร่วมกิจกรรม

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา หน้า 32

6. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
1) ควรมีสือ่ ประกอบการจัดกิจกรรม ฯ ท่หี ลากหลาย มีความเหมาะสมกบั ผู้เรียน
2) ควรการจัดทำรายงานผลการนิเทศและเสนอปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร

สถานศึกษา

6.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวัด
ควรนเิ ทศตดิ ตามผลการจัดกจิ กรรมอยา่ งต่อเน่อื ง

7. ภาพกิจกรรม

8. Best Practice

-

สรปุ ผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา หน้า 33

รายงานสรุปผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง

ประเด็นการนิเทศ เรื่อง การจัดการศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่

1. เกร่ินนำ เร่ืองของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565

ประเด็นการนิเทศ การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อ 1. ด้านการจัดการ
เรียนรู้คุณภาพ 1.1 นอมนำพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน
โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริทุกโครงการ และโครงการอันเน่อื งจากราชวงศ์

2. สภาพท่พี บ

สถานศกึ ษา มีการสำรวจสภาพปัญหาและความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมายในชุมชนสงั คมตามนโยบาย
ของหน่วยงานต้นสงั กัด โดยการกำหนดและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีความสอดคล้องกับสภาพบริบทในแต่ละ
พื้นที่ วิทยากรเป็นผู้รู้ที่มีความรู้ ความชำนาญ จัดการเรียนการสอนตามเนื้อหาหลักสูตร มีการประเมินผล
ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ฯ และนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรม ฯ มีการจัดอบรมให้ความรู้การ
ดำรงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมฯมคี วามรู้ ความเขา้ ใจถงึ การดำรงชีวิตตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พ่ึงพาตนเองและมภี ูมิคมุ้ กนั ทด่ี ี

3. ปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ ความสำเรจ็
3.1 บุคลากรมคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ อยา่ งดีสามารถถ่ายทอด

องคค์ วามรู้ให้ ประชาชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
3.2 ร้อยละ ๘๐ ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ

ได้นำรปู แบบในการพฒั นาแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4. ปญั หาอปุ สรรค
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า-19 การจัดกิจกรรมต้องมีการวางมาตรการ

เวน้ ระยะห่าง และจำกัดจำนวนผู้เข้ารว่ มกิจกรรม

5. ข้อนเิ ทศตอ่ ผู้รับการนิเทศ
5.1 แนะนำให้ปลกู พชื ผักท่ีสามารถสรา้ งรายได้หมุนเวียนไดท้ กุ วันและการดูงานจากศนู ยเ์ รียนรทู้ ี่อ่นื

เพอื่ พฒั นาศูนย์เรียนรตู้ อ่ ไป
5.2 แนะนำให้ประเมนิ ผู้เรยี นโดยจดั ใหม้ กี ารทดสอบกอ่ นรว่ มกิจกรรม ฯ และหลงั ร่วมกิจกรรม ฯ

ในเนอ้ื หาความรู้ทวี่ ทิ ยากรไดใ้ ห้ความร้รู ะหว่างร่วมกจิ กรรม ฯ
5.3 ควรมอบวฒุ บิ ัตรสำหรบั ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมและจบหลักสูตร

6. ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
1) ควรพฒั นาหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่อื งท่เี ปน็ ปัจจบุ นั
2) ควรมกี ารนิเทศติดตามหลังจากจบหลักสูตร

สรุปผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หน้า 34

6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวดั
1) การดำเนินงานควรมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ โดยควรมีการประเมินผลการ

เรยี นรู้ เพอ่ื การแสดงขอ้ มูลผลผลิต (Output) ท่เี กิดจากการจดั การเรียนรตู้ ามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร และ
ควรมีการติดตาม ผลอยา่ งเปน็ ระบบ เพือ่ แสดงข้อมูลผลลัพธ์ (Outcome) ท่เี กดิ จากการนำความร้ไู ปใช้ให้เกิด
ประโยชน์

2) ควรมกี ารนเิ ทศติดตามอย่างตอ่ เนอ่ื ง

7. ภาพกิจกรรม

8. Best Practice/ Good Practice
-

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จังหวดั ยะลา หน้า 35

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

สรปุ ผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา หนา้ 36

รายงานสรปุ ผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ประเด็นการนเิ ทศ เรอื่ ง ส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์

1. เกริ่นนำ เรือ่ งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565
การดำเนินงานกิจกรรมห้องสมดุ ประชาชน สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงานสำนักงาน

กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565 ข้อ 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบ
กจิ กรรมในหอ้ งสมุดประชาชน ทเี่ น้น Library Delivery เพ่อื เพิม่ อัตราการอา่ นและการรู้หนงั สือของประชาชน

2. สภาพทพี่ บ
สถานศกึ ษามีการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ เพือ่ สรา้ งนสิ ัยรักการอ่านใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชน

เป็นเรื่องสำคัญ เพราะการอ่านเป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับการศึกษาหาความรู้ควบคู่กับทักษะอื่น เกิดการ
พัฒนาด้านสตปิ ญั ญา ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมและค่านิยมต่าง ๆ รวมทง้ั ชว่ ยในการเปล่ียนแปลงการ
ดาเนินชีวิตพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีที่สุดของชีวิต ปัจจุบันการอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลาย
การอ่านหนงั สือท่ดี ีและมสี าระยิ่งนอ้ ยลงไปสาเหตมุ อี ยู่หลายประการ นบั ตง้ั แต่การขาดแคลนหนังสือทดี่ ี และ
ตรงกับความสนใจ การขาดแรงจูงใจและแรงกระตุ้นให้เหน็ ความสำคัญของการอ่าน กศน.อำเภอกาบัง ได้มี
การประชมุ วางแผนรว่ มกนั จดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ ให้เยาวชนและประชาชนสะดวกในการอ่าน
ข้อมูลขา่ วสาร โดยไม่ตอ้ งมาใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอกาบงั เป็นการลดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนา่ อกี ด้วย

3. ปจั จยั ท่สี ่งผลต่อความสำเร็จ
3.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายทั้งส่วน

ราชการ องคก์ รเอกชนตลอดจนประชาชนในพ้ืนท่เี ปน็ อยา่ งดี
3.2 การจัดกิจกรรมดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีทีมงานที่เข้มแข็ง ที่สามารถปฏิบัติงานได้ดี

ในทุกพืน้ ท่ี

4. ปัญหาและอปุ สรรค
4.1 บางพืน้ ทที่ ่ีขาดสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ตไม่สามารถร่วมกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์ได้
4.2 การขับเคล่อื นงานและการแลกเปลีย่ นเรยี นรูไ้ มม่ ีความตอ่ เนือ่ ง

5. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผ้รู ับการนิเทศ
5.1 ควรมแี บบติดตามผูร้ บั บรกิ ารหลังจากอ่านข้อมูลขา่ วสารออนไลน์
5.2 ควรมอบวฒุ บิ ตั รใหก้ บั ผู้มาใช้บรกิ ารท่อี ่านไดม้ ากทสี่ ดุ เป็นการสรา้ งแรงจงู ใจและแรงกระตุน้ ใน

การสง่ เสรมิ การอา่ น

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา หน้า 37

6. ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศกึ ษา
1) ควรจัดหาสอ่ื ในรปู แบบตา่ ง ๆ ไวบ้ รกิ าร โดยสำรวจความสนใจและความต้องการในการใช้สอ่ื

ของคนในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ เพอื่ เปน็ ขอ้ มูลในการจัดหาสอ่ื ให้ตรงกบั ความต้องการความสนใจของคนใน
ชุมชน

2) ควรนเิ ทศ ตดิ ตามการดำเนนิ งานอย่างตอ่ เนอื่ ง
6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวดั

-

7. ภาพกจิ กรรม

8. Best Practice / Good Practice หน้า 38
-

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

รายงานสรุปผลการนิเทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

ประเดน็ การนเิ ทศ เร่อื ง หอ้ งสมดุ เคลอื่ นท่ีส่โู รงเรยี นสร้างนิสัยรักการอ่าน

1. เกรน่ิ นำ เรอื่ งของนโยบายจุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565
การดำเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคลอ่ื นท่ีสโู่ รงเรียนสร้างนสิ ัยรักการอ่าน สอดคล้องกับนโยบายและ

จุดเน้นการดำเนนิ งานสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565 ขอ้ 3. ดา้ นองคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรู้
คุณภาพ 3.3 ปรบั รปู แบบกจิ กรรมในห้องสมุดประชาชน ท่เี น้น Library Delivery เพ่ือเพิ่มอตั ราการอา่ นและ
การรหู้ นงั สอื ของประชาชน

2. สภาพทพี่ บ
สถานศึกษามีการศึกษาสภาพพื้นที่ก่อนดำเนินการจัดกิจกรรมจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อ

สนบั สนนุ สง่ เสรมิ การอ่านท่ีเกดิ ขน้ึ ในชมุ ชน โดยสำรวจความตอ้ งการของโรงเรยี นใกล้เคยี ง มอบหนงั สอื ให้กับ
โรงเรียน เพื่อจัดมุมเรียนรูแ้ ละมุมส่งเสริมการอ่านภายในโรงเรียน เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการเสริมสร้าง
การรักการอ่านในโรงเรียน ตลอดจนเสริมสร้างภาคีเครือขา่ ยให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมนิสัยรกั
การอา่ น เพอ่ื ใหก้ ารสง่ เสรมิ นิสัยรกั การอ่านและการคน้ ควา้ เกิดขึน้ กับประชาชนผู้ที่สนใจให้ตระหนักและเห็น
ความสำคญั ของการอ่านและการเรยี นรู้ รปู แบบของการจดั กจิ กรรมเปน็ ไปในลกั ษณะการส่งเสริมการอ่านเพื่อ
เพม่ิ อัตราการอา่ น

ผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สู่โรงเรียนสร้างนิสัยรักการอ่าน ได้รับความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บริการเป็นอย่างมาก มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ
ผู้รบั บรกิ าร และมกี ารสรปุ รายงานผลการจัดกจิ กรรม

3. ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อความสำเร็จ
3.1 การจัดห้องสมดุ เคลื่อนที่สู่โรงเรียนสร้างนิสัยรกั การอ่าน มีการจัดรูปแบบการป้องกันมาตรการ

การติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (โควิด 19)
3.2 การจัดกิจกรรมดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีทีมงานที่เข้มแข็ง ที่สามารถปฏิบัติงานได้ดี

ในทุกพืน้ ท่ี

3.3 ภาคเี ครอื ขา่ ยให้ความร่วมมอื เปน็ อยา่ งดี ทำใหก้ จิ กรรมบรรลผุ ลสำเร็จ

4. ปญั หาและอุปสรรค
4.1 มีโสดทัศนูปกรณ์ เชน่ นิทรรศการ อปุ กรณ์ เคร่อื งเสียง สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ อ่นื ๆ มีไม่เพยี งพอและ

มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถขนยา้ ยในการจดั กิจกรรมนอกพื้นท่ีได้
4.3 การขับเคล่ือนงานและการแลกเปล่ยี นเรยี นรูไ้ มม่ คี วามตอ่ เนือ่ ง

5. ขอ้ นเิ ทศต่อผ้รู ับการนิเทศ
สถานการณ์โรคติดเช้ือไวรสั โรโคนา่ (covid-19) ไม่สามารถดำเนนิ ไดอ้ ย่างเต็มที่

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา หนา้ 39

6. ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
1) ควรจดั หาส่ือในรปู แบบตา่ ง ๆ ไวบ้ ริการ โดยสำรวจความสนใจและความตอ้ งการในการใช้สอ่ื

ของคนในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ เพอื่ เป็นข้อมลู ในการจดั หาส่ือใหต้ รงกบั ความตอ้ งการความสนใจของคนใน
ชุมชน

2) ควรนเิ ทศ ติดตามการดำเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ือง
6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวัด

1) ควรนิเทศ ติดตามการดำเนินงานอย่างตอ่ เนือ่ ง
7. ภาพกจิ กรรม

8. Best Practice / Good Practice
-

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จังหวัดยะลา หน้า 40

รายงานสรปุ ผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

ประเดน็ การนเิ ทศ เรอื่ ง สรา้ งเสริมเตมิ เต็มความรู้ ส่นู ิสยั รกั การอา่ น เพอื่ นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอกาบงั
ประจำปีงบประมาณ 2565

1. เกริน่ นำ เรอ่ื งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565

การดำเนนิ งานกจิ กรรมสรา้ งเสรมิ เตมิ เต็มความรู้ สู่นสิ ัยรกั การอ่าน เพอื่ นักศกึ ษา กศน.อำเภอกาบงั
ประจำปีงบประมาณ 2565 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ข้อ 3. ด้าน
องค์กร สถานศกึ ษา และแหล่งเรยี นรคู้ ณุ ภาพ 3.3 ปรบั รูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ทเี่ น้น Library
Delivery เพอ่ื เพม่ิ อัตราการอา่ นและการรหู้ นังสอื ของประชาชน

ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรทางวิชาการมากที่สุดในชุมชน มีการให้บริการสื่อ
และการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นหมนุ เวยี นตลอดเวลา เป็นการสง่ เสริมให้นกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชน
ทวั่ ไป ได้ตระหนักถงึ ความสำคญั ของการอ่านและการเรียนรู้ ซงึ่ เป็นพน้ื ฐานของการเรยี นรอู้ ย่างต่อเน่ืองตลอด
ชีวติ เพ่อื ให้การสง่ เสรมิ นิสยั รักการอ่านและการค้นคว้าเกิดข้ึนกบั นักเรยี น นักศกึ ษา ผ้ทู ีส่ นใจได้ตระหนักและ
เหน็ ความสำคัญของการอา่ นและการเรียนรู้ มีการจัดกจิ กรรมสร้างเสริมเติมเตม็ ความรู้ ส่นู สิ ัยรกั การอ่าน เพื่อ
นักศึกษา กศน.อำเภอกาบัง ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมการอ่านที่เกิดขึ้นในชุมชน
โดยมีห้องสมุดประชาชน กศน.ตำบล และสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ เปน็ กลไกในการขบั เคล่ือนการเสริมสร้างการ
รกั การอา่ นในชุมชน ตลอดจนเสรมิ สรา้ งภาคีเครือขา่ ยให้ทกุ ภาคสว่ น มสี ่วนรว่ มในการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน
ของชุมชนไดอ้ ยา่ งยั่งยืน

2. สภาพที่พบ

บรรณารักษ์มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของห้องสมุดประชาชน เช่น ฐานข้อมูลหนังสือ/ส่ือ
ฐานข้อมูลสมาชิกห้องสมุด ฐานข้อมูลการ ยืมคืน ผ่านโปรแกรม PLS หรือโปรแกรมอื่นที่เกี่ยวข้อง มีการ
ออกแบบกิจกรรมที่หลากหลายสอดคล้องกับสภาพความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีการวิเคราะห์ข้อมูล
(SWOT) เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนการดำเนินงาน จัดทำแผนการพัฒนาห้องสมุดการออกแบบกิจกรรมที่
หลากหลายสอดคล้องกับสภาพความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย จัดทำแผนการจัดหา/จัดทำสื่อส่งเสริมการ
อ่าน โดยสำรวจขอ้ มลู ความต้องการของผู้รับบริการ/กลมุ่ เปา้ หมายกอ่ นจดั หา/จัดทำส่ือส่งเสริมการอา่ น

สภาพของห้องสมุดประชาชนอำเภอกาบัง มีความสะอาดเรียบร้อย น่าอยู่ มีความพร้อมให้บริการ
หนังสือ/สื่อออนไลน์/สื่อสำหรับเด็ก และสื่อการเรียนรู้อืน่ มีความทันสมัยตรงตามความต้องการ มีมุมเรียนรู้
ต่าง ๆ เช่น มุมข้อมูลท้องถิ่น มุมเด็ก มมุ หนังสือใหม่ เป็นต้น มคี อมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์ การเรียนรอู้ ืน่ และมี
ส่ิงอำนวยความสะดวก เชน่ โตะ๊ เกา้ อ้ี, ระบบสบื ค้น และสญั ญาณ Wifi

ผู้บริหาร กศน.อำเภอกาบัง มีการสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาของบรรณารักษ์/
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีการจัดกิจกรรมที่มีความครอบคลลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่น นักศึกษา กศน. เด็ก
เยาวชน ผสู้ ูงอายุ และประชาชนท่วั ไป มีการใช้เทคโนโลยีสนบั สนุนการดำเนนิ งานส่งเสริมการอ่าน และมีการ
ดำเนนิ งานเปน็ ไปในลักษณะการบริการทั้งเชงิ รบั และเชงิ รกุ ทง้ั ในรูปแบบ Offline Online

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จังหวดั ยะลา หนา้ 41

3. ปัจจยั ทส่ี ่งผลตอ่ ความสำเรจ็
3.1 การจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งเตมิ เตม็ ความรู้ สู่นิสยั รกั การอา่ นเพ่อื ประชาชนชาวกาบงั ไดด้ ำเนนิ การ

อย่างตอ่ เน่อื งและมที ีมงานทีเ่ ข้มแข็ง สามารถปฏบิ ัติงานไดด้ ีในทกุ พ้ืนที่
3.2 ปจั จัยทางด้านทกั ษะ รูปแบบการให้บรกิ ารที่บรรณารักษ์มีความเช่ียวชาญและความสามารถใน

การจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย

4. ปญั หาอปุ สรรคท่พี บและแนวทางที่แกไ้ ข
สถานการณโ์ รคตดิ เชือ้ ไวรสั โรโคนา่ (covid-19) ไม่สามารถดำเนนิ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่

5. ข้อนิเทศต่อผูร้ บั การนิเทศ
5.1 แนะนำใหค้ รูหมุนเวียนหนงั สอื สอื่ จากหอ้ งสมุดประชาชนอย่างสม่ำเสมอสู่ กศน.ตำบล เพอ่ื ให้

กศน.ตำบลได้กระจายลงสูบ่ ้านหนงั สอื ชมุ ชนได้อย่างทว่ั ถงึ และมแี ผนลงไปติดตาม แนะนำสง่ เสริมใหก้ ับชุมชน
5.2 แนะนำให้ครูและบรรณารักษ์ควรรวบรวมข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผลการดำเนินงานส่งเสริม

การอา่ นทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

6. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา
1) ควรอบรมให้ความรเู้ รอื่ งแนวทางการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน
2) สถานศกึ ษาควรมีการกำหนดตวั ช้ีวดั ในการเพมิ่ อัตราการอา่ นใหช้ ัดเจน
3) สถานศกึ ษาควรส่งเสริมให้ภาคีเครอื ข่ายมสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น
6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวดั
1) ควรนิเทศ ติดตามการดำเนนิ งานอย่างต่อเนอ่ื ง

6.3 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.
จัดสรรงบประมาณ เพ่อื การสนบั สนนุ การดำเนินงานการเพม่ิ อตั ราการอา่ น

7. ภาพกจิ กรรม

พิธีเปดิ โครงการสร้างเสรมิ เติมเต็มความรู้ สู่นสิ ัยรกั การอ่าน เพือ่ นกั ศึกษา กศน.อำเภอกาบงั
ประจำปีงบประมาณ 2565

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา หนา้ 42

แขง่ ขันประกวดคัดลายมือและเล่านทิ านใหก้ ับเดก็ ๆ

มอบรางวลั ใหก้ ับผู้ชนะเลศิ ในการแขง่ ขันกจิ กรรมตา่ งๆ

8. Best Practice
-

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา หน้า 43

รายงานสรปุ ผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ประเด็นการนเิ ทศ เรอื่ ง สืบสานคุณค่า สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ เนอื่ งในวนั ท่ี ๒ เมษา
วนั รักการอ่าน ประจำปี ๒๕๖๕

1. เกริน่ นำ เรือ่ งของนโยบายจุดเนน้ การดำเนินงานของสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565
การดำเนินงานกิจกรรมสร้างเสรมิ เตมิ เต็มความรู้ สูน่ ิสยั รักการอา่ น เพ่ือนกั ศกึ ษา กศน.อำเภอกาบงั

ประจำปีงบประมาณ 2565 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.
2565 ข้อ 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุด
ประชาชน ทเี่ น้น Library Delivery เพ่อื เพ่ิมอัตราการอา่ นและการรูห้ นังสือของประชาชน

2. สภาพทพี่ บ
สถานศกึ ษามกี ารจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน เพอ่ื สนับสนุน ส่งเสริมการอา่ นที่เกิดขนึ้ ในชมุ ชน โดยมี

หอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตำบล และสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ เป็นกลไกในการขับเคลอ่ื นการเสรมิ สรา้ งการรกั การ
อ่านในชุมชน ตลอดจนเสริมสร้างภาคีเครือข่ายให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของ
ชุมชนเพื่อให้การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการค้นคว้าเกิดขึ้นกับประชาชนผู้ที่สนใจให้ตระหนักและเห็น
ความสำคัญของการอา่ นและการเรยี นรู้ รูปแบบของการจัดกิจกรรมเป็นไปในลกั ษณะการสง่ เสรมิ การอ่านเพ่ือ
เพิ่มอตั ราการอ่าน

3. ปัจจยั ท่สี ง่ ผลตอ่ ความสำเร็จ
3.1 การจัดกิจกรรม 2 เมษา วันรักการอ่านได้รับความรว่ มมือจากเครือข่ายทั้งส่วนราชการ องค์กร

เอกชนตลอดจนประชาชนในพื้นที่เปน็ อย่างดี
3.2 การจัดกิจกรรมดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีทีมงานที่เข้มแข็ง ที่สามารถปฏิบัติงานได้ดี

ในทุกพื้นที่

4. ปญั หาและอุปสรรค
4.1 บรรยากาศไมเ่ อือ้ ตอ่ การค้นควา้ หาความรู้
4.4 การขับเคลื่อนงานและการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ไม่มีความต่อเน่อื ง
4.5ขาดการวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย

5. ขอ้ นเิ ทศตอ่ ผรู้ ับการนิเทศ
สถานการณ์โรคติดเช้อื ไวรสั โรโคนา่ (covid-19) ไมส่ ามารถดำเนินได้อย่างเตม็ ท่ี

6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา
6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศึกษา
ควรจัดหาส่ือในรูปแบบต่าง ๆ ไวบ้ รกิ าร โดยสำรวจความสนใจและความตอ้ งการในการใชส้ อื่

ของคนในชุมชนอยา่ งสม่ำเสมอ เพ่อื เป็นข้อมลู ในการจดั หาสือ่ ให้ตรงกับความตอ้ งการความสนใจของคนใน
ชุมชน

สรุปผลการนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา หนา้ 44

6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จังหวัด
ควรนเิ ทศ ติดตามการดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

7. ภาพกิจกรรม

จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน เรือ่ ง สืบสานคุณคา่ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ
เนอื่ งในวันท่ี ๒ เมษา วนั รกั การอ่าน ประจำปี ๒๕๖๕ โดยใชโ้ ปรแกรม Kahoot

มอบรางวลั ให้ผู้ท่ชี นะการแขง่ ขนั สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ

ลงนามถวายพระพร หน้า 45

8. Best Practice / Good Practice
-

สรปุ ผลการนิเทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

รายงานสรุปผลการนเิ ทศ กศน.อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ประเดน็ การนิเทศ เรอื่ ง โครงการพฒั นาอาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ น

1. เกรนิ่ นำ เร่อื งของนโยบายจดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน กศน.ประจำปี พ.ศ. 2565
การดำเนนิ งานกิจกรรมโครงการพัฒนาอาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้

การดำเนินงานสำนกั งาน กศน. สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งานสำนักงาน กศน.ประจำปี พ.ศ.
2565 ข้อ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.11 สร้างอสา สมัคร กศน. เพ่อื เปน็ เครอื ข่ายใน
การสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิตในชุมชน ขอ้ 3. ดา้ นองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรู้
คณุ ภาพ 3.3 ปรบั รปู แบบกิจกรรมในหอ้ งสมดุ ประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพอ่ื เพมิ่ อัตราการอ่าน
และการรู้หนงั สอื ของประชาชน
2. สภาพทพ่ี บ

สถานศึกษามีการดำเนินงานร่วมกับบรรณารักษ์ เพื่อออกแบบกิจกรรมที่หลากหลายสอดคล้องกับ
สภาพความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย บรรณารักษ์มีการเผยแพร่ประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ ท้ัง
Offline Online จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน อย่างสม่ำเสมอ ท้งั Offline Online

ผู้บริหาร กศน.อำเภอกาบัง มีการสนับสนนุ ส่งเสริม ช่วยเหลอื แก้ไขปญั หาของอาสามสมัครส่งเสริม
การอ่าน มีการประชุมบุคลากรร่วมวางแผนและดำเนินงานเป็นไปตามแผน/โครงการที่กำหนด มีการ
ดำเนินงานร่วมกับบรรณารักษ์ หรือ บุคลากร กศน.ใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมการอ่าน
อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่านมีสว่ นรว่ มในการดำเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของชมุ ชน หนว่ ยงานอน่ื อยา่ งตอ่ เน่อื ง เช่น
จิตพัฒนาพัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอกาบัง จิตอาสาพัฒนาชุมชนในพื้นที่ จัดหนังสือไปยังกศน.ตำบล
และโรงเรียนในพ้นื ที่ใกล้เคียง

3. ปจั จัยทส่ี ่งผลตอ่ ความสำเรจ็
3.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดประชาชนอำเภอกาบัง มีการจัดรูปแบบการ

ป้องกันมาตรการการติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา โควิด 19)
3.2 การจัดกิจกรรมดำเนินการอย่างต่อเนื่องและมีทีมงานที่เข้มแข็ง ที่สามารถปฏิบัติงานได้ดี

ในทุกพ้นื ที่

4. ปญั หาและอปุ สรรค
4.1 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอกาบังไม่เป็นเอกเทศในการให้บริการแก่ประชาชน
4.6 การขบั เคลอื่ นงานและการแลกเปลี่ยนเรยี นร้ไู ม่มีความต่อเนือ่ ง
4.7 การใหบ้ รกิ ารคอมพิวเตอร์ต้งั โตะ๊ ไม่เพยี งพอต่อการใหบ้ รกิ ารในชว่ งเรยี นออนไลนข์ องนักเรยี น
นักศกึ ษาที่เขา้ ใช้บริการในห้องสมุดประชาชนอำเภอกาบงั

5. ข้อนเิ ทศต่อผู้รบั การนิเทศ
สถานการณ์โรคตดิ เชื้อไวรสั โรโคนา่ (covid-19) ไม่สามารถดำเนนิ ได้อยา่ งเต็มที่

สรุปผลการนเิ ทศ ประจำปงี บประมาณ 256๕ กศน.อำเภอกาบงั จังหวัดยะลา หน้า 46


Click to View FlipBook Version