แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระยะ 4 ปี (2564 – 2567)
โรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม
(Bumrungratwittayakom school)
สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพจิ ติ ร เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
https://data.bopp-obec.info/web/?
School ID=1066350105
คำนำ
การพั ฒ นาคุ ณ ภ าพ ของการศึ กษ าในสถานศึ กษ าข้ั นพื้ น ฐาน ระยะที่ มี สภ าวการณ์ ของ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้บริหาร
สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาจึงต้องร่วมมือกันกำหนดแนวทาง กระบวนการ และเคร่ืองมือ
ในการบริหารจัดการศึกษาใหม้ คี วามหลากหลาย การขับเคล่อื นการพัฒนาโดยยทุ ธศาสตร์
(Strategy focus Organization) จะก่อให้เกิดคุณค่า (Value Creation) ตามเปา้ ประสงคท์ ี่กำหนดไว้
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2560- 2563) ของโรงเรียนบำรุง
ราษฎร์วิทยาคม ฉบับนี้ เป็นการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้บังเกิดผล โดยใช้กลยุทธ์
การบริหารแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานและการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม จัดทำเป็นแผนพัฒนา
คณุ ภาพระยะปานกลาง ทส่ี ามารถนำไปปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ประกอบดว้ ย
ส่วนที่ 1 บรบิ ทของโรงเรียน
สว่ นที่ 2 วิเคราะห์บริบทของโรงเรยี น (SWOT)
ส่วนท่ี 3 การกำหนดแผนยทุ ธศาสตร์
สว่ นที่ 4 แผนพฒั นาคุณภาพ โครงการ/กจิ กรรม
สว่ นท่ี 5 แผนการควบคุมและกำกบั ตดิ ตาม
คณะผู้จัดทำหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งวา่ แผนกลยุทธ์พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2560-
2563) ฉบบั นีจ้ ะเป็นแบบอย่างและแนวทางการปฏิบตั งิ าน/โครงการ/กิจกรรม ใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ตาม
เป้าหมายท่ีโรงเรียนกำหนดไว้
คณะผจู้ ัดทำ
สารบัญ
หนา้
คำนำ
สว่ นที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐานสถานศึกษา 2
- ประวัติโรงเรียนบำรงุ ราษฏร์วทิ ยาคม 3
- จำนวนครแู ละบคุ ลากร 15
- จำนวนครู นักเรยี น นกั การภารโรง ปี 2552-2563 17
- ผลประเมินระดบั ชาติ (NT) ป.3 18
- ผลประเมินระดบั ชาติ (O-NET) ป.6 19
- อาคารเรียนและอาคารประกอบการ 22
- ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบที่ 3 24
สว่ นท่ี 2 วิเคราะหอ์ งคก์ ร
- วเิ คราะห์บรบิ ทโรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม
29
- วเิ คราะหบ์ ริบทโรงเรยี นบำรุงราษฎร์วทิ ยาคม (SWOT) สภาพภายนอก 29
- วเิ คราะห์บริบทโรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม (SWOT)สภาพภายใน 34
- ตารางสรุปผลการประเมนิ สถานภาพของโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม 37
- แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม 38
บนแกนความสัมพันธข์ อง SWOT
ส่วนท่ี 3 สาระสำคญั ของแผนกลยทุ ธ์
- อุดมการณ์ หลกั การจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 40
- มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ 41
- แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ 2561 ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 45
- นโยบาย วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ ปี 2561 ของ สพฐ. 47
- นโยบาย วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ ปี 2561 ของสพม.25 49
สว่ นท่ี 4 แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ 4 ปี 51
- โครงการ/กจิ กรรม 64
ส่วนท่ี 5 แผนการควบคุม กำกบั ติดตาม
- แนวทางการบรหิ ารแผนกลยทุ ธ์สู่การปฏบิ ัติ 140
- ปฏทิ ินการกำกับตดิ ตาม 2
ภาคผนวก
ระเบียบการบรหิ ารราชการโรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม 143
- คณะกรรมการจดั ทำแผนกลยุทธ์ 145
- 150
3
สว่ นท่ี 1
ขอ้ มูลพนื้ ฐานสถานศึกษา
โรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ทิ ยาคม
(Bumrungradwittayakom school)
4
ส่วนที่ 1
สภาพท่ัวไป
ขอ้ มูลพนื้ ฐานโรงเรยี นบำรุงราษฎร์วทิ ยาคม
ประวตั ิโรงเรยี นบำรุงราษฎร์วทิ ยาคม
“โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม” เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
พิจิตร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ โรงเรียนวัดไข่เน่า ต้ังข้ึนเม่ือ
พ.ศ. 2464 ตั้งอยู่เลขท่ี - หมู่ท่ี 1 ถนน – ตำบล หอไกร อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ต่อมานายจีน นางสายทอง
จนั ศรีวงค์ ได้อุทิศท่ีดินให้ เนื้อท่ี 5 ไร่ คณะผู้ปกครองได้สร้างอาคารเรียนเอกเทศขึ้น 1 หลัง ทรงป้ันหยา ออกมุขกลาง
เป็นอาคารเรียน 5 ห้องเรียน เมื่อ พ.ศ. 2484 และใช้ชื่อโรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม ต้ังแต่นั้นมา โดยมีนายบุญชอบ
ไพรวัลย์ เป็นครูใหญ่คนแรก ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2464 ปัจจุบันเปิดสอนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 นักเรียนจำนวน
ทั้งสิ้น 90 คน มีนายวัชระ เจริญภาพ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน มีครู 4 คน พนักงานราชการ 1 คน
ครูอัตาจ้าง 5 คน ลูกจ้างประจำตำแหน่งนักการภารโรง จำนวน 1 คน เม่ือวันท่ี 5 ตุลาคม 2564 รายนามผู้บริหาร
โรงเรียนจากอดตี ถึงปจั จุบัน ประกอบดว้ ย
นายบุญชอบ ไพรวลั ตำแหนง่ ครูใหญ่ ต้ังแต่ พ.ศ. 2464
นายแผลง อินทรารกั ษ์ ตำแหนง่ ครูใหญ่ ไมป่ รากฏหลกั ฐาน
นายช่วง ชาญณรงค์ ตำแหนง่ ครูใหญ่ ไมป่ รากฏหลกั ฐาน
นายหลี ศรทอง ตำแหนง่ ครูใหญ่ ไม่ปรากฏหลักฐาน
นายเสง่ียม นากสกลุ ตำแหนง่ ครูใหญ่ พ.ศ. 2480 – พ.ศ. 2502
นายผดงุ ศักดิ์ อนิ ทรา ตำแหนง่ ครูใหญ่ 27 ต.ต. 2502 -30 ก.ย. 2513
นายกมล รังษีวงศ์ ตำแหนง่ อาจารยใ์ หญ่. 1 ต.ค. 2513 – 1 ต.ค. 2528
นายบญุ ส่ง ดารารกั ษ์ ตำแหนง่ อาจารยใ์ หญ่ 3 ธ.ค. 2518 – 30 ก.ย. 2559
นายศภุ ลกั ษณ์ ดว้ งทอง ตำแหนง่ ผู้อำนวยการ 1 ม.ค. 2541 – 30 ก.ย. 2559
นายวัชระ เจริญภาพ ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ 2 พ.ย. 2559 - 30 ก.ย. 2561
. สัญลกั ษณ์ประจำโรงเรียน
ตราสพฐ.
5
รูปตราสัญลักษณ์สพฐ. อยูใ่ นวงล้อมด้วยช่ือโรงเรยี น เพ่ือเปน็ ท่สี งั เกตวา่ โรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคมเปน็
โรงเรยี นในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
สัญลกั ษณ์ รูปตราสญั ลกั ษณ์สพฐ. อยู่ในวงลอ้ มด้วยช่ือโรงเรยี น
คติพจน์
ปรชั ญาโรงเรยี น นตถฺ ิ ปญฺญา สมาอาภา “แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี”
ช่ือย่อโรงเรียน
สีประจำโรงเรยี น มีการศกึ ษา มีอนาคต
ความหมาย
บ.ร.
สีขาว หมายถงึ คุณความดี สแี ดง หมายถึง ความกลา้ หาญ
ควรกล้าในการทำความดี
เอกลกั ษณ์ ดนตรีไทย
ตน้ ไมป้ ระจำโรงเรยี น ตน้ ไขเ่ น่า
ดอกไม้ประจำรงเรียน
คา่ นยิ มของโรงเรียน ดอกลีลาวดี รู้
วฒั นธรรมของโรงเรยี น รั
อตั ลักษณข์ องโรงเรียน
สมรรถนะหลักของโรงเรียน ก
สามัคคีมีพลัง รว่ มสคดิ รว่ มทำ นำสคู่ วามสำเร็จ
า
รู้รักสามคั คี มีจติ อมาั สา ผูกพันร่วมกนั ทำงานอยา่ งมคี วามสุข
ค
การเรียนดี ดนตครีเี ด่น เนน้ ภาษา พาสวดธรรมจกั ร ปลูกผกั ขายได้
ใฝใ่ จสมาธิ มจี ติ สาธารณะ
คมวี ามสุข
1.การมุง่ ผลสมั ฤจทิคธ์ิวา2ม. กสาขุ รบริการที่ดี 3. การพัฒนาตนเอง 4.การทำงานเปน็ ทีม
าอรทตู้รอรำกั ู้รงยสากั า่ นาสงมอมาัคมยีคคคั่าวงีคามมมี ีจมคี สิตีจวขุ อิตามาอสสาาสุขาผูกผพูกพันันรว่ รมว่ กมนักนั ทำงาน
6
แผนผงั โรงเรียนบำรุงรำษฎร์วทิ ยำคม
7
เกยี รตปิ ระวตั ขิ องโรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม
ผลงานดเี ดน่ ของโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วิทยาคม
ผลงำนดเี ด่นของสถำนศึกษำในรอบปี ที่ผ่ำนมำ
ประเภท ระดบั รางวัล/ช่ือรางวัลทไ่ี ดร้ ับ หน่วยงานที่มอบรางวัล
สำนักงานคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
โรงเรียนบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม โร งเรี ย น ท่ี มี ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ ร ะ ดั บ ช า ติ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์
ข้ันพ้ืนฐานเฉลี่ย (o-net) ปีการศึกษา 2562 สูง สพป.พจิ ิตร เขต 2
กว่าค่าเฉล่ียระดับประเทศ โดยใช้วิธีการจัดการ ศนู ย์ปฏิบตั ิธรรมกลั ยาณมิตร
พจิ ติ ร ร่วมกบั
เรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
สพป.พิจิตร เขต 2
ร่วมกับการจดั การเรียนการสอนวิธีอ่นื ๆ
โรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม ความร่วมมอื ทางวชิ าการ โครงการสนับสนุน
ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น รู้ แ ล ะ
สรา้ งความรว่ มมือในเชิงบูรณาการ
โรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วิทยาคม มีผลการประเมินความสามารถของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ระดับดีเลิศ กิจกรรมท้า
พิสูจน์การอ่านการเขียนภาษาไทย ปี
การศกึ ษา 2562
โรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร ส ว ด บ ท ธั ม ม จั ก
กั ป ป วั ต ต น สู ต ร ถ ว า ย เป็ น พุ ท ธ บู ช า
ทำความดีเพื่อแผ่นดิน หนึ่งในโครงการหมู่บ้าน
รกั ษาศีล 5 ปีการศกึ ษา 2563
โรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม สถานศึกษาสนับสนุนโครงการประกวดบรรยาย จังหวัดพจิ ติ ร
โรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วิทยาคม ธ ร ร ม ป ร ะ จ ำ ปี พ . ศ . 2564
โรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วิทยาคม
ร ะ ดั บ จั งห วั ด ณ ส ำ นั ก งา น วั ฒ น ธ ร ร ม
จงั หวดั พิจติ ร
ประกวดสวดมนต์สรรเสริญพระรัตนตรัยทํานอง สำนกั งานวัฒนธรรมจังหวดั พิจิตร
สรภญั ญะประจําปี 2563
ได้รับรางวัลชมเชยการแข่งขันสวดธัมมจัก มูลนิธริ ่งุ อรุณแหง่ ชวี ติ ใหม่
กัปปวัตตนสูตรเพ่ือถวายเป็นพระราชกุศลแด่ ร่วมกบั สพป.พจิ ติ ร เขต 2
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
8
โรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ทิ ยาคม เขา้ รว่ มการฟื้นฟศู ลี ธรรมโลก ชมรมพทุ ธศาสตร์สากล
(V-Star) ประจำปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ทิ ยาคม เข้าร่วมโครงการสวดบทธรรมจักรกัปปวัตนสูตร ศูนย์ปฏบิ ตั ิธรรมกลั ยาณมิตร
ถวายเป็นพุทธบูชา ทำความดีเพ่ือแผ่นดินหน่ึงใน พิจิตร รว่ มกับ
ครู (ระบชุ ื่อ) โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ประจำปีการศึกษา
1. นางสุวรรณา เข็มเพชร 2562 สพป.พจิ ติ ร เขต 2
2. นางราตรี กาหวัง
3. นางสาวเสาวลักษณ์ รักดี ได้รับรางวัลครูดีของแผ่นดินขั้นพ้ืนฐานโครงการ มลู นิธคิ รดู ขี องแผน่ ดนิ
4. นางกนั ยารัตน์ วัลลิภากร เครือข่ายครูดีของแผ่นดินเจริญรอยตามเบื้อง สพป.พิจิตร เขต 2
5. นางราตรี กาหวงั พระยุคลบาท ปี 2563 สพป.พิจิตร เขต 2
6. นางสาวลำดวน มงคล ผา่ นการประเมินห้องเรยี นคณุ ภาพ
7. นายสมพงษ์ พันวงั ระดับดีเยี่ยม ในโครงการพัฒนาห้องเรียน
8. นางสาวสุธีรา ปกรโณดม คุณภาพ ปีการศึกษา 2563
9. นางสาวเสาวลักษณ์ รักดี ผา่ นการประเมินห้องเรียนคุณภาพ ระดบั ดมี าก
10. นางสาวมณีจนั ทร์ พจน์เลขา ในโครงการพัฒนาหอ้ งเรยี นคุณภาพ ปีการศึกษา
11. นางคำนงึ บุญอมุ้ 2563
12. นางสาวเสาวลักษณ์ รกั ดี
ครดู ไี มม่ อี บายมุข ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 - สนง. เครอื ขา่ ยองค์กรงดเหลา้
13. นางสุวรรณา เข็มเพชร
- สพฐ
- สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ
สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
- มหาวิทยาลัยจฬุ าลงกรณร์ าช
วทิ ยาลยั
ได้ รับ ย ก ย่ อ งเชิ ด ชู เกี ย รติ ผู้ มี ผ ล งาน ด้ าน สพป.พจิ ติ ร เขต 2
“นวัตกรรมสรา้ งสรรคค์ นด”ี
ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ตามโครงการ
โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.
14. นางสวุ รรณา เข็มเพชร การเต รียมค วาม พ ร้อม ครูสู่การยกระดั บ สถาบันพฒั นาคุณภาพวิชาการ
15. นางราตรี กาหวงั
16. นางสาวลำดวน มงคล ผลสมั ฤทธิ์ o-net 62 ด้วยกระบวนการคิดข้นั สูง (พว.)
9
17. นายสมพงษ์ พันวัง
18.นางสวุ รรณา เข็มเพชร ได้เข้ารว่ มโครงการฟืน้ ฟศู ีลธรรมโลก ชมรมพทุ ธศาสตร์สากล
19. นางสาวลำดวน มงคล (V-Star) ประจำปกี ารศกึ ษา 2562
20. นางราตรี กาหวัง
21. นางสาวลำดวน มงคล กรรมการตรวจใบตอบธรรมศกึ ษา ชนั้ ตรี คณะสงฆ์จงั หวดั พิจติ ร ภาค 4
ปกี ารศึกษา 2562
22. นางสาวสธุ รี า ปกรโณดม ได้เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร บรษิ ทั อักษรเจริญทัศน์
23. นางสาวลำดวน มงคล “การประยุกตใ์ ช้นวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะด้านการสื่อสาร
ภาษาองั กฤษในช้ันเรียน”
24. นางสาวลำดวน มงคล มาเข้าร่วมโครงการพัฒนาครูและบุคลากร สำนกั วชิ าการศกึ ษาทว่ั ไปและ
25. นางสาวสธุ ีรา ปกรโณดม ทางการศกึ ษา นวัตกรรมการเรียนรู้
อเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ หาวทิ ยาลยั ราช
ภฏั สวนสุนนั ทา
26. นางสาวลำดวน มงคล ผู้ฝึกสอนนักเรียนเข้าร่วมประกวดสวดมนต์หมู่ สำนักงานวฒั นธรรม
27. นางสาวสุธีรา ปกรโณดม สรรเสริญพระรตั นตรยั จังหวัดพิจติ ร
ทำนองสรภญั ญะ ระดับจังหวดั ปี 2562
นักเรียน (ระบชุ อื่ )
1.เด็กชายณฏั ฐวี เอีย่ มนุ่ม ได้รบั รางวลั ชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดวาด โรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม
ภาพระบายสีระดบั ชน้ั 4 เน่อื งในวันวิทยาศาสตร์
1.เด็กหญงิ ชอ่ ฟ้า สลวยแสง ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดหา โรงเรียนบำรุงราษฎร์วทิ ยาคม
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ระดับช้ันป. 4 เน่ืองในวัน
วทิ ยาศาสตร์
1.เดก็ ชายณฏั ฐวี เอ่ียมน่มุ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดคัด โรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ทิ ยาคม
ลายมอื ระดับชั้นป. 4 เนอ่ื งในวันวทิ ยาศาสตร์
1.เดก็ หญงิ ชอ่ ฟา้ สลวยแสง ได้เข้าร่วมโครงการสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ศูนยป์ ฏบิ ตั ิธรรมกัลยาณมิตร
2.เดก็ ชายอาทติ ย์ น่วมประสิทธ์ิ ถวายเป็นพุทธบูชาทำความดีเพื่อแผ่นดินหน่ึงใน พจิ ติ ร รว่ มกบั
โครงการหม่บู า้ นรักษาศีล 5 ปกี ารศกึ ษา 2563 สพป.พิจติ ร เขต 2
1.เด็กหญงิ ชุติกาญจน์ คำทะเนตร ได้เข้าร่วมโครงการประกวดบรรยายธรรม จังหวดั พิจติ ร
2.เดก็ หญงิ กนกวรรณ ฤทธกิ์ ระจาย ประจำปี พ.ศ. 2564 ระดับจังหวัด ณ สำนักงาน
3.เดก็ หญงิ ปภาวรนิ ทร์ อาจคงหาญ วฒั นธรรมจังหวดั พจิ ิตร
1.เดก็ หญงิ ชตุ ิกาญจน์ คำทะเนตร ได้เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการ สพป. พจิ ิตร เขต 2
2.เดก็ หญงิ วรพร ชขู าว เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล
ในสถานศึกษากิจกรรมสื่อสร้างสรรค์ต้านทุจริต
10
(สื่อภาพยนตส์ ้นั ) รุ่น 2
1. เด็กหญงิ พณั ณติ า เพชรคง จบหลักสูตรโครงการศึกษาเพ่ือต่อต้านการใช้ยา สำนกั งานตำรวจแห่งชาติและ รร.
2. เด็กชายนพเกา้ บูรณะพนั ธ์ เสพติดในเด็กนักเรียน (D.A.R.E ประเทศไทย) บำรุงราษฎรว์ ิทยาคม
1.เดก็ ชายปารเมศ รามอะเรอื ง ได้รับรองวลั ชมเชย การแข่วขนั สวด มลู นธิ ริ งุ่ อรุณแห่งชีวติ ใหม่
2.เด็กชายทศั นพงษ์ โคตรนารถ ธัมมจักกัปวัตตนสูตรเพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ร่วมกบั สพป.พจิ ิตร เขต 2
3. เดก็ ชายพงศกร เอยี่ มนุ่ม แด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั
4. เด็กชายกฤตพต ยอดพายุ
5. เดก็ ชายสทิ ธิพร พกุ ภู่
6. เด็กชายณฐั วตั ร แจ่มไพศาล
7. เด็กชายพีรพล เลีย่ มแจง
1.เดก็ หญงิ อาทิตติยา แหวนจีน ได้เข้ารว่ มประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ สำนกั งานวัฒนธรรมจังหวดั พิจติ ร
2. เดก็ หญงิ นพวรรณ ทับงาม พระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ ระดับจังหวัด
3. เดก็ หญิงพรรณภทั ร ทับทิมทอง ประจำปี 2563
4. เด็กหญงิ ศิริธร ชูขาว
1. เดก็ หญิงชตุ ิกาญจน์ คำทะเนตร ได้เข้าร่วมสอบรอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ชมรมพทุ ธศาสตร์สากล
2. เดก็ หญิงนราธปิ จนั ทร์เพ็ญ ตอนปลาย โครงการตอบปัญหาธรรมะ “ทาง
3. เด็กหญงิ พัณณติ า เพชรคง ก้าวหน้า” ครัง้ ท่ี 38
4. เด็กชายอาทติ ย์ นว่ มประสิทธิ์
1.เด็กชายกฤตพต ยอดพายุ ไดร้ ับรางวลั ชมเชยอนั ดับท่ี 3 ระดับจงั หวัดระดับ ชมรมพุทธศาสตร์สากล
2. เดก็ ชายณฐั วตั ร แจม่ ไพศาล ประถมศึกษาตอนปลาย โครงการปัญหาธรรมะ
3. เด็กหญิงศิริธร ชขู าว “ทางกา้ วหน้า” คร้งั ที่ 38
1. เดก็ ชายนพเก้า บูรณะพันธ์ ได้รับรางวลั ชมเชยอนั ดบั ที่ 3 ระดบั จังหวัดระดับ ชมรมพุทธศาสตรส์ ากล
2. เด็กชายวิศรุต แสงอรณุ ประถมศึกษาตอนต้น โครงการปัญหาธรรมะ ชมรมพุทธศาสตร์สากล
“ทางก้าวหน้า” คร้งั ท่ี 38
1. เด็กชายวรรณธัช บุญสวัสดิ์ ได้รับรางวัลดีเด่นระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2
2. เดก็ ชายนราธิป ผอ่ งผวิ โครงการปญั หาธรรมะ “ทางกา้ วหนา้ ”
3. เดก็ หญิงกติ ติการ จันทร์เพญ็ ครงั้ ท่ี 38
4. เด็กหญงิ วรพา ปาสิทธา
5. เด็กหญิงณชิ นนั ท์ สมพันธ์
11
บทบาท ภารกิจ โรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ทิ ยาคม
1. เป็นโรงเรียนดปี ระจำตำบล ได้ผา่ นการประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายนอก รอบสาม ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จากสำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.)
2. เป็นโรงเรยี นในโครงการ TO BE NUMBER ONE
3. เป็นโรงเรยี นวถิ พี ุทธช้นั นำ ของสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพิจติ รเขต 2 สำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
4. โรงเรียนจัดการเรยี นการสอนนักเรียนเรยี นรว่ ม สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
5. โรงเรยี นส่งเสรมิ ให้นักเรยี นสวดธรรมจกั รยามเข้าของสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
พิจติ ร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
6. โรงเรยี นสนองนโยบายสำนกั งานเขตในการนำนักเรยี นนงั่ สมาธิตน้ คาบเรียนทุกคาบเรยี น
7. โรงเรียนสจุ รติ
8. โรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพระดับทอง
9. โรงเรยี นบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย
คุณธรรมพ้นื ฐาน 8+1 ประการ โรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ทิ ยาคม
1. ขยัน คือ ผู้ที่มีความต้ังใจเพียรพยายามทำหน้าท่ีการงานอย่างจริงจังและต่อเน่ืองในเร่ืองท่ีถูก ท่ีควร สู้งาน
มคี วามพยายาม ไมท่ ้อถอย กลา้ เผชิญอุปสรรค รักงานทท่ี ำ ต้งั ใจทำหน้าที่อยา่ งจรงิ จงั
2. ประหยัด คือ ผู้ที่ดำเนินชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย รู้จักฐานะการเงินของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซื้อ
เกบ็ ออมถนอมใช้ทรัพย์สินสง่ิ ของอย่างคุ้มค่า ไมฟ่ ุ่มเฟอื ย ฟุง้ เฟอ้ รู้จักทำบัญชีรายรบั – รายจ่าย ของตนอยู่เสมอ
3. ซ่ือสัตย์ คือ ผู้ท่ีมีความประพฤติตรงท้ังต่อเวลา ต่อหน้าท่ี ต่อวิชาชีพ มีความจริงใจปลอดจากความรู้สึก
ลำเอยี ง หรืออคติ ไมใ่ ช้เล่หก์ ลคดโกงทัง้ ทางตรงและทางอ้อม รบั รู้หนา้ ท่ีของตนเองปฏบิ ัตอิ ย่างเต็มทแี่ ละถูกต้อง
4. มีวินัย คือ ผู้ท่ีปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบัน องค์กร และประเทศ โดยท่ีตน
ยินดีปฏิบัติอย่างเต็มใจและตั้งใจยึดมั่นในระเบียบแบบแผนข้อบังคับและข้อปฏิบัติ รวมถึงการมีวินัยทั้งต่อตนเองและ
สังคม
5. สุภาพ คอื ผู้ท่มี ีความอ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพและกาลเทศะ มีสัมมาคารวะเรียบร้อย ไมก่ ้าวร้าว
รนุ แรง หรือวางอำนาจขม่ ขูผ่ ้อู ่นื ท้ังโดยวาจาและท่าทาง เป็นผมู้ มี ารยาทดงี าม วางตนเหมาะสมกับวฒั นธรรมไทย
6. สะอาด คือ ผู้ท่ีรักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัย และสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้องตามสุขลักษณะ ฝกึ ฝนจิตไม่ให้ขุ่น
มวั มีความแจ่มใสอยู่เสมอ ปราศจากความมัวหมองท้ังกาย ใจ และสภาพแวดล้อม มีความผ่องใสเป็นที่เจรญิ ตาทำให้
เกดิ ความสบายใจแกผ่ ู้พบเห็น
12
7. สามัคคี คือ ผูท้ เ่ี ปิดใจกวา้ งรับฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ่นื รู้บทบาทของตนทง้ั ในฐานะผ้นู ำและ ผู้ตามที่
ดี มีความมุ่งมั่นต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เพื่อให้การงานสำเร็จลุล่วง สามารถแก้ปัญหาและขจัดความ
ขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุมีผล ยอมรับความแตกต่างความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความเช่ือ พร้อมที่จะปรับตัวเพื่อ
อยู่ร่วมกนั อย่างสันติและสมานฉนั ท์
8. มีน้ำใจ คือ ผู้ให้และผู้อาสาช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตน เพ่ือทำประโยชน์ให้แก่
ผอู้ ่ืนเห็นอก เห็นใจ และเห็นคุณค่าในเพ่ือนมนุษย์และผู้ท่ีมีความเดือดร้อน มีความเอื้ออาทรเอาใจใส่ อาสาช่วยเหลือ
สงั คมด้วยแรงกายและสตปิ ญั ญา ลงมอื ปฏิบัตกิ ารเพอ่ื บรรเทาปัญหา หรอื รว่ มสรา้ งสรรค์สงิ่ ดีงามให้เกิดขนึ้ ในชมุ ชน
9. ความกตัญญู คือ ความรู้คุณ หมายถึงความเป็นผู้มีใจกระจ่าง มีสติ มีปัญญาบริบูรณ์ รู้อุปการคุณท่ีผู้อื่น
กระทำแล้วแก่ตน ผู้ใดก็ตามที่ทำคุณแก่ตนแล้ว ไม่ว่าจะมากก็ตาม น้อยก็ตาม เช่น เลี้ยงดูสั่งสอน ให้ที่พัก ให้งานทำ
ฯลฯ ยอ่ มระลึกถึงดว้ ยความซาบซ้ึงอยู่เสมอ ไม่ลืมอุปการคณุ น้ันเลย อีกนยั หนง่ึ ความกตัญญู หมายถึง ความรู้บุญ หรือ
รู้อุปการะของบุญที่ตนทำไว้แล้ว รู้ว่าท่ีตนเองพ้นจากภัยอันตรายทั้งหลายได้ดีมีสุขอยู่ในปัจจุบันก็เพราะบุญท้ังหลายท่ี
เคยทำไวใ้ นอดตี ส่งผลให้ จึงไมล่ ืมอปุ การะของบุญนน้ั เลย และสรา้ งสมบุญใหม่ใหย้ ง่ิ ๆ ขึน้ ไป
จำนวนขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ปีการศกึ ษา 2564
ตำแหนง่ อนั ดับ ชาย จำนวน (คน) รวม
หญิง
ผอู้ ำนวยการ คศ.3 11
รองผอู้ ำนวยการ - - - -
ครู คศ.3 1 4 5
รวม 15 6
พนกั งานราชการ - - 1 1
ครวู ทิ ย์ - คณติ - - 1 1
พี่เล้ียงเดก็ พิการ - - 1 1
ครชู าวตา่ งชาติ - 1 - 1
ธุรการ -- 1 1
ครูอัตราจา้ ง -1 - 1
ลกู จา้ งประจำ - 1 - 1
รวม 34 6
รวมทั้งหมด 48 12
ขอ้ มลู ณ 13 พฤษภาคม 2564
13
จำนวนครู นกั เรยี น นักการภารโรง โรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วิทยา
ปีการศกึ ษา 2564 - 2567
ที่ ปกี ารศกึ ษา จำนวนครู - อาจารย์ จำนวนนักเรียน จำนวนนกั การภารโรง
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
47 41 88 1-1
1 2564 1 4 5 49 44 93 1-1
2 2565 1 3 4 52 46 98 1-1
3 2566 1 2 3 55 45 100 1-1
4 2567 1 4 5
อาคารเรียนอาคารประกอบ
1. อาคารถาวร
1.1 อาคารเรยี น แบบ 015/2 2 ชั้น จำนวน 16 ห้องเรยี น เป็นอาคารไม้ พ้นื ท่หี ้อง 32 ตารางเมตร
สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2515 งบประมาณ 1,222,000 บาท จำนวนสว้ มในอาคาร 2 หอ้ ง
1.2 อาคารเรียน แบบ สปช. 015/29 ใตถ้ นุ สูง จำนวน 4 หอ้ งเรยี น เป็นอาคารคอนกรีตเสรมิ เหลก็ สรา้ ง
เม่ือปี พ.ศ. 2547 งบประมาณ 1,684,800.- บาท จำนวนส้วมในอาคาร 1 ห้อง
2. อาคารประกอบ
2.1 อาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช.201/26 อาคารช้ันเดียว ขนาด 10 × 20 ตารางเมตร สรา้ งเมอ่ื ปี พ.ศ.
2527 งบประมาณ 329,500 บาท
2.2 ส้วม 1 หลัง 6 ท่ี มที ่ีปสั สาวะชาย 1 ท่ี แบบ สปช.601/26 เป็นเงิน 80,000.00 บาท
3. สนามกฬี า
3.1 สนามวอลเลยบ์ อล สรา้ งเมือ่ ปี พ.ศ. 2538 งบประมาณ 7,000.- บาท
3.2 ลานกีฬาอเนกประสงค์ แบบพละศึกษา 1 สนาม
14
4. หอประชุม
4.1 อาคารหอประชมุ ชัน้ เดียว 101 ล/27 2 ชน้ั ขนาด 20 × 40 ตารางเมตร
สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2530 งบประมาณ 3,465,000 บาท ใช้เป็นหอ้ งประชมุ
5. เรือนเพาะชำ พ.1
5.1 ลักษณะอาคารเสาคอนกรีต หลงั คาตาขา่ ยพรางแสง ขนาด 3 × 6 ตารางเมตร สรา้ งเมอ่ื ปี พ.ศ. 2561
งบประมาณ 81,000 บาท จากเงนิ จดั สรรจากงบประมาณ
ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม
ในวันที่ 10-12 กรกฏาคม 2555 โรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม ผ่านการรบั รองมาตรฐานการศึกษาจากการประเมนิ
รอบสาม ของสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา(องค์กรมหาชน) คณะกรรมการสงั กัดหน่วยประเมนิ หจก.
ประเมินมาตรฐานการศึกษา
ตารางสรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม จำแนกตามกล่มุ ตวั บง่ ช้ี
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน น้ำหนัก คะแนน ระดบั
(ประถมศึกษา) (คะแนน) ทไ่ี ด้ คุณภาพ
กลุม่ ตวั บ่งช้พี ื้นฐาน ๑๐.๐๐ ๘.๘๓ ดี
ตัวบง่ ช้ีท่ี ๑ ผู้เรียนมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี ๑๐.๐๐ ๙.๐๕ ดมี าก
ตวั บง่ ชี้ที่ ๒ ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๐๗ ดีมาก
ตัวบง่ ชที้ ่ี ๓ ผู้เรียนมคี วามใฝร่ ู้ และเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง ๑๐.๐๐ ๙.๐๔ ดีมาก
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๔ ผูเ้ รยี นคดิ เปน็ ทำเป็น ๒๐.๐๐ ๑๒.๖๔
ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๕ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเ้ รียน ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดี
ตวั บง่ ชี้ที่ ๖ ประสทิ ธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๗ ประสทิ ธิภาพของการบริหารจดั การและการพฒั นาสถานศกึ ษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก
ตวั บ่งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและตน้ สงั กัด ดมี าก
กลมุ่ ตัวบง่ ชอี้ ตั ลกั ษณ์ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก
ตวั บง่ ช้ที ี่ ๙ ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน/วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ และ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก
วัตถุประสงค์ของการจดั ต้ังสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก
ตวั บ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพอ่ื ส่งเสรมิ บทบาทของสถานศึกษา
15
การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน น้ำหนัก คะแนน ระดบั
(ประถมศึกษา) (คะแนน) ท่ีได้ คณุ ภาพ
ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๒ ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดับมาตรฐานรกั ษามาตรฐาน ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก
และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา
๑๐๐.๐๐ ๘๗.๑๙ ดี
คะแนนรวม
การรับรองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษา
• ผลคะแนนรวมทุกตัวบง่ ช้ี ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่
• มตี วั บง่ ชีท้ ไี่ ด้ระดบั ดขี ึ้นไปอยา่ งนอ้ ย ๑๐ ตัวบง่ ช้ี จาก ๑๒ ตวั บง่ ช้ี ใช่ ไม่ใช่
• ไม่มตี ัวบง่ ช้ใี ดท่มี รี ะดบั คณุ ภาพตอ้ งปรบั ปรุงหรือตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ใช่ ไมใ่ ช่
สรุปผลการจัดการศกึ ษาระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานของสถานศกึ ษาในภาพรวม
สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา ไม่สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา
16
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR
ภายใตส้ ถานการณ์ COVID - 19
การศึกษาปฐมวยั และระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
รหัสสถานศึกษา ๑๐๖๖๓๕๐๑๐๕ โรงเรียนบํารุงราษฎรว์ ิทยาคม
สงั กดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพิจติ ร เขต ๒
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ระดับการศึกษาท่ีเปดิ สอนชน้ั อนุบาล ๑ ถึงชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
ตั้งอยู่หม่ทู ี่ 9 ตาํ บลหอไกร อําเภอบางมูลนาก จังหวดั พิจิตร รหสั ไปรษณีย์ ๖๖๑๒๐ โทรศพั ท์
05663 3082 E-mail [email protected]
Website http://data.boppobec.info/emis/schooldataview.php?School_ID=1066350105&page=info
สํานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา
(องคก์ ารมหาชน)
ตอนที่ ๑
สรปุ ข้อมลู เก่ียวกับสถานศึกษา
(ขอ้ มูล ณ วันที่ ๑๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔)
17
๑. ข้อมูทว่ั ไปของสถานศกึ ษา จำนวน หมายเหตุ
ประเภท ๑ : ๑๓
๒.๑ การศกึ ษาปฐมวัย ๑ : ๑๓
อัตราสว่ น ครู ต่อ เดก็ ครบชน้ั
อตั ราสว่ น หอ้ ง ตอ่ เดก็ ไมค่ รบในระดบั ช้นั
จำนวนครคู รบช้นั
๑ : ๑๒
๒.๒ ระดับประถมศึกษา ๑ : ๑๒
อัตราส่วน ครู ตอ่ เดก็ ครบช้นั
อัตราส่วน ห้อง ต่อ เดก็ ไม่ครบในระดับช้นั
จำนวนครคู รบชั้น
๒. สรุปข้อมูลสำคญั ของสถานศกึ ษา 18
ประเภท จำนวน หมายเหตุ
๑.๑ ขอ้ มลู นกั เรยี น ๒๖
จำนวนเด็ก ๒๗
จำนวนผูเ้ รยี น ๓
๑.๒ ข้อมูลบคุ ลากร ๒
ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ๖
ครูปฐมวยั ๒
ครูประถมศึกษา
บคุ ลากรสนับสนุน ๒
อนื่ ๆโปรดระบุ ๖
๑.๓ จำนวนหอ้ งเรียน -
ห้องเรยี นปฐมวยั -
ห้องเรียนประถมศกึ ษา
ห้องปฏิบัติการ
ห้องพยาบาล
อื่นๆโปรดระบุ
19
ตอนที่ ๒
ผลการประเมิน SAR รายมาตรฐานและขอ้ เสนอแนะ
การพจิ ารณา ให้ทำเคร่ืองหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ท่ีพบข้อมูลใน SAR
ใหท้ ำเครื่องหมาย หน้าข้อท่ีพบข้อมลู ใน SAR
การศึกษาปฐมวยั
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็
จดุ เนน้ เดก็ มพี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย
ผลการพิจารณา ตวั ชว้ี ดั สรปุ ผลประเมนิ
✓ ๑. มกี ารระบเุ ปา้ หมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวัย
✓ ๒.มีการระบวุ ธิ ีพฒั นาคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั อยา่ งเปน็ ระบบ ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)
ตามเปา้ หมายพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ๓. มีพฒั นาการสมวยั ตามเปา้ หมายการพฒั นาเด็กปฐมวยั ดี (๕ ข้อ)
✓ ๔.มีการนำผลประเมนิ คุณภาพของเดก็ ปฐมวยั มาพัฒนาเดก็
ปฐมวยั ให้มีพัฒนาการสมวัย
✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั ตอ่ ผู้
ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สูงขึ้น
สถานศึกษาควรเพิ่มเติมข้อมลู รายละเอยี ดทมี่ าของการกําหนดค่าเป้าหมาย เชน่ สถานศกึ ษาร่วมกับ
ผู้ปกครอง ชมุ ชน หนว่ ยงานต้นสงั กดั รว่ มกนั กาํ หนดคา่ เปา้ หมายท้งั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ โดยการใช้ผลการ
ประเมนิ ตนเองในปีท่ีผา่ นมา และสภาพความเป็นจริงของเด็กเปน็ ฐานข้อมูลในการกําหนดคา่ เปา้ หมายด้านเดก็ ปฐมวยั
เป็นต้น นอกจากนีข้ ้อมูลรายละเอียดโครงการและกิจกรรมของการพฒั นาตามจุดเนน้ เช่น สถานศกึ ษา รว่ มกบั ครู
ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนหน่วยงานต้นสงั กัด รว่ มกนั จัดทําโครงการและกจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาให้เด็กมี พฒั นาการท่ี
สมวัยในทุกด้าน โดยมีการทํากิจกรรมรว่ มกนั ระหวา่ งสถานศึกษา ผูป้ กครองและชุมชนทุกภาคเรียน เป็นตน้ ท้งั นี้ควร
เพิม่ เติมข้อมูลเครื่องมือทใ่ี ช้ในการวัดและประเมนิ ผลด้านเด็ก ขอ้ มูลการนาํ ผลการประเมินมา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพื่อส่งผล
ให้รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ในปีการศึกษาต่อไปมีความสมบูรณ์มากยิง่ ข้นึ และ ขอ้ มูลการเผยแพร่ผลการ
ดาํ เนนิ งานตามจดุ เนน้ ใหผ้ เู้ กี่ยวข้องผ่านชอ่ งทางการประชุมผู้ปกครอง ชุมชนและส่ือ ออนไลน์ เปน็ ตน้ เพื่อสง่ ผลให้
รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ในปีการศึกษาต่อไปมคี วามสมบรู ณ์มากยิง่ ข้ึน
20
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ
จดุ เนน้ มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ น
ผลการพจิ ารณา ตวั ชวี้ ดั สรปุ ผลประเมนิ
✓ ๑. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา
✓ ๒.มีการนำแผนการดำเนินการไปใชใ้ นการดำเนินการ ปรบั ปรุง (๐-๓ ข้อ)
✓ ๓. มีประเมินผลสมั ฤทธ์ิของการดำเนินการตามแผน พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ๔.มีการนำผลประเมนิ ไปใข้ในการปรบั ปรุงแกไ้ ขในปกี ารศึกษา ดี (๕ ขอ้ )
ต่อไป
✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาให้ผู้มีสว่ น
ได้สว่ นเสียไดร้ บั ทราบ
ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดับสูงขึ้น
สถานศึกษาควรเพม่ิ เตมิ รายละเอยี ดของข้อมลู การดาํ เนินการจัดทําโครงการหรือกิจกรรมตา่ งๆ ตามท่ีได้
รายงานไว้ใน SAR ของระดบั การศกึ ษาระดับปฐมวยั วา่ มีการกําหนดเปา้ หมายเชงิ คุณภาพและปริมาณอย่างไร มีวธิ ี
ดําเนินงาน วธิ ีการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานด้วยการใชเ้ คร่ืองมือชนดิ ใดบ้างอย่างไร พร้อมท้ังรายละเอยี ด
วิธกี ารนําผลการประเมินไปวางแผนพฒั นาคุณภาพในปีการศึกษาตอ่ ไปอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ทัง้ น้ี เพ่ือใหข้ ้อมูลใน SAR มี
ความชดั เจนและความสมบูรณ์ยง่ิ ขึ้น
21
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เปน็ สำคญั
จุดเน้น ครูจัดประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เป็นสำคญั
ผลการพจิ ารณา ตัวชวี้ ดั สรุปผลประเมิน
✓ ๑. ครวู างแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูร้ ายปคี รบทกุ
หนว่ ยการเรยี นรู้ ทกุ ชน้ั ปี ปรบั ปรุง (๐-๓ ข้อ)
✓ ๒.ครทู กุ คนมีการนำแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ไปใชใ้ น พอใช้ (๔ ข้อ)
การจัดประสบการณ์โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง ดี (๕ ข้อ)
เรียนรูท้ ่เี อ้ือต่อการเรียนรู้
✓ ๓. มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์อย่างเปน็
ระบบ
✓ ๔.มกี ารนำผลประเมินมาพฒั นาการจัดประสบการณ์ของครอู ย่าง
เป็นระบบ
✓ ๕. มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมูลป้อนกลบั เพื่อพัฒนา
ปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์
ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสูงขึ้น
การจดั ทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) คร้ังตอ่ ไป สถานศกึ ษาควรเพ่ิมเตมิ ขอ้ มลู รายละเอยี ดการ จัดทํา
แผนการจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาํ คัญและผลการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้การใชส้ อื่ การเรียนรู้ และ แหลง่
เรียนรทู้ ี่สถานศึกษาได้รายงานไว้ รวมถงึ ข้อมูลรายละเอยี ดของรูปแบบและการรายงานผลการนิเทศภายใน ท่ี จะ
นําไปสู่การพัฒนาศักยภาพครูในการจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สาํ คัญ และกระบวนการติดตามตรวจสอบท่ี จะ
นาํ ไปสู่แนวทางการพฒั นาศกั ยภาพครูในอนาคต อีกทง้ั ข้อมลู ทีแ่ สดงถึงกระบวนการและกิจกรรมการแลกเปลย่ี น เรียนรู้
ซง่ึ ทงั้ หมดจะส่งผลให้รายงานผลการดาํ เนินการของสถานศึกษามีความเป็นรปู ธรรม เพื่อให้ขอ้ มูลในรายงาน การ
ประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษาต่อไป มีความชัดเจนและความสมบูรณ์ยิง่ ขึ้น
22
ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเดก็
จุดเนน้ เด็กมีพฒั นาการเหมาะสมตามวยั
ผลการพิจารณา ตัวชวี้ ดั สรปุ ผลประเมนิ
✓ ๑.มีการระบเุ ป้าหมายคุณภาพของผู้เรยี น ปรับปรุง (๐-๓ ข้อ)
พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ๒.มกี ารระบุวิธพี ฒั นาคุณภาพของผู้เรยี นอย่างเป็นระบบตาม ดี (๕ ขอ้ )
เป้าหมายพฒั นาการผ้เู รยี น
✓ ๓. มีผลสมั ฤทธิข์ องผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบตามเปา้ หมายการ
พฒั นาผูเ้ รยี น
✓ ๔.มีการนำผลประเมนิ คณุ ภาพของผเู้ รียนมาพฒั นาผูเ้ รียนดา้ น
ผลสมั ฤทธใ์ิ หส้ งู ขน้ึ
✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพของผเู้ รยี นต่อผทู้ ่ี
เก่ยี วขอ้ ง
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดับสูงขึ้น
ในการจดั ทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) คร้ังตอ่ ไป สถานศึกษาควรเพ่มิ เตมิ ขอ้ มลู กจิ กรรม
วิธีการ หรือกระบวนการและมีขนั้ ตอนในการพัฒนาการอ่านเขยี น เชน่ สถานศึกษาวิเคราะหจ์ ุดเดน่ จุดควรพฒั นา และ
แนวทางพฒั นา จากรายงานผลการประเมินตนเอง โดยร่วมกนั ปรบั ปรงุ แก้ไข จนนําไปวางแผนจดั ทาํ เปน็ กิจกรรม
ภาษาไทยวันละคาํ กจิ กรรมพัฒนาเรียนอา่ นคล่อง เขยี นคลอ่ ง โดยใหผ้ เู้ รยี นพฒั นาการอ่านเขยี นฝึกอ่านเขียนจาก คาํ
ภาษาไทยทุกวนั ก่อนกลับบ้าน อ่านบทรอ้ ยกรองในหนงั สือเรียนภาษาไทย เขยี นตามคําบอก เป็นตน้ และ เพิ่มเตมิ
ข้อมลู เกณฑ์การประเมนิ การอา่ นออกเขยี นไดใ้ นแตร่ ะดับช้ัน พร้อมท้ังสรปุ ผลการประเมินการอา่ นออก เขียนได้ของ
ผูเ้ รยี นในแตล่ ะระดบั ช้ันทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพเผยแพรใ่ หผ้ ูเ้ กยี่ วข้องทุกฝ่ายรบั ทราบผ่านชอ่ ง ทางการประชมุ
และสื่อออนไลน์ เป็นตน้ ซ่ึงจะทําให้รายงาน SAR ในปีการศกึ ษาต่อไปมีความชัดเจนและสมบูรณ์ มากยง่ิ ข้นึ
23
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ
จุดเน้น มีหลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ น
ผลการพิจารณา ตัวชวี้ ัด สรุปผลประเมนิ
✓ ๑.มกี ารวางแผนการดำเนินการในแต่ละปีการศึกษา
✓ ๒.มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใชใ้ นการดำเนินการ ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
✓ ๓. มปี ระเมนิ ผลสมั ฤทธขิ์ องการดำเนินการตามแผน พอใช้ (๔ ขอ้ )
✓ ๔.มกี ารนำผลประเมินไปใข้ในการปรับปรุงแก้ไขในปีการศึกษา ดี (๕ ขอ้ )
ตอ่ ไป
✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาให้ผมู้ ีสว่ น
ได้ส่วนเสยี ไดร้ บั ทราบ
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สูงขึ้น
สถานศกึ ษาควรเพม่ิ เตมิ รายละเอียดของข้อมูลการดาํ เนนิ การจดั ทําโครงการหรอื กิจกรรมต่างๆ ตามท่ี
ได้ รายงานไว้ใน SAR ของระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน วา่ มวี ธิ ีการดําเนนิ งาน วธิ กี ารติดตาม ประเมินผลการ
ดําเนินงาน ดว้ ยการใชเ้ คร่อื งมอื ชนิดใดบ้างอย่างไร พรอ้ มทง้ั ระบุรายละเอยี ด การนําผลการประเมนิ ไปวางแผน
พัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาในปีการศึกษาต่อไป อยา่ งเปน็ รปู ธรรม เพอื่ ให้ขอ้ มูลใน SAR มคี วามชดั เจนและมีความ
สมบูรณย์ ่ิงข้ึนและ สามารถเป็นข้อมูลสนบั สนนุ ความน่าเชือ่ ถอื ของผลการประเมนิ ตนเอง ในการบรรลเุ ป้าหมาย
ท่ีกําหนดไว้ ตามท่ไี ด้ รายงานไว้ใน SAR
24
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ เดก็ เปน็ สำคญั
จุดเนน้ ครูจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
ผลการพจิ ารณา ตวั ชวี้ ัด สรุปผลประเมิน
✓ ๒. ครวู างแผนการจดั การเรียนรู้รายปคี รบทกุ รายวชิ า ทุกชั้นปี
✓ ๒.ครูทกุ คนมีการนำแผนการจดั การเรยี นรูไ้ ปใชใ้ นการจัดการ ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)
เรยี นการสอนโดยใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่
✓ เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ พอใช้ (๔ ข้อ)
ดี (๕ ข้อ)
๓. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนอย่าง
เปน็ ระบบ
✓ ๔.มกี ารนำผลประเมินมาพฒั นาการจดั การเรียนการสอนของครู
อยา่ งเป็นระบบ
✓ ๕. มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพ่ือพฒั นา
ปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอน
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมินระดบั สูงขึ้น
การจดั ทาํ รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คร้ังต่อไป สถานศึกษาควรเพ่ิมเติมขอ้ มูลรายละเอยี ดถึงการนํา
แผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน โดยเฉพาะรายงานผลการจัดการเรียนรู้ การใชส้ อ่ื การเรยี นรู้
และแหลง่ เรียนรู้ ซงึ่ สถานศึกษาได้ระบไุ ว้ รวมถงึ รูปแบบและกระบวนการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด การศึกษา
ภายในสถานศกึ ษา ท่จี ะนาํ ไปสกู่ ารพฒั นาศักยภาพครูอยา่ งต่อเน่ือง อีกท้งั ข้อมลู รายละเอยี ดการดําเนิน กจิ กรรมการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้และให้ขอ้ มูลปอ้ นกลบั เช่น การประชมุ การอภปิ ราย หรือ PLC จากผู้มีส่วน เกย่ี วข้องผ่านสอื่
เทคโนโลยรี ูปแบบตา่ ง ๆ พร้อมทงั้ ระบุวธิ ีการเผยแพรข่ ้อมูลดังกลา่ วตอ่ ผทู้ ่ีเกีย่ วข้อง ทงั้ น้ี เพอื่ ให้ ขอ้ มูลในรายงานการ
ประเมนิ ตนเอง (SAR) ปีการศึกษาต่อไป มีความชดั เจนและความสมบรู ณ์ยิ่งข้นึ
25
ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม
๑. สถานศึกษาควรเพ่ิมเติมรายละเอียดของข้อมูลสภาพชมุ ชน เศรษฐกิจ สังคมและพันธกิจของ สถานศึกษา
เพื่อสามารถนาํ มาสนับสนนุ ได้ว่า สถานศึกษามกี ารกําหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศนแ์ ละพันธกิจให้ สอดคล้องกับบรบิ ท
สถานศกึ ษาและเหมาะสมกับการพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาในระดบั การศึกษาปฐมวยั และ ระดบั การศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน ตามท่ีไดร้ ายงานไวใ้ น SAR พร้อมท้ังรวบรวมข้อมลู แหล่งเรยี นรูภ้ ายในและภายนอก สถานศกึ ษา ทั้งระดบั
การศกึ ษาปฐมวยั และระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ท้งั นี้ เพ่ือให้ขอ้ มูลใน SAR มีความสมบูรณ์ ยิง่ ขนึ้
๒. สถานศึกษาควรเพ่มิ เติมการระบรุ ายละเอยี ดของข้อมูลโครงสรา้ งการบริหารของสถานศกึ ษา ข้อมูล
จํานวนวนั ทส่ี ถานศึกษาจดั การเรียนการสอนจรงิ ในปีการศึกษานัน้ ๆ และจาํ นวนผ้เู รยี นที่สําเร็จการศึกษาสงู สดุ ของ แต่
ละระดบั ช้นั เพ่ือให้ข้อมูลใน SAR มคี วามสมบูรณย์ ่ิงข้ึน
26
27
28
บทสรุปสำหรับผบู้ ริหาร
โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม ต้ังอยู่เลขท่ี - หมู่ที่ 1 ตำบล หอไกร อำเภอ บางมูลนาก จังหวัดพิจิตร สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2 สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีบุคลากรสายบริหาร 1 คน ได้รับการ
ประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม เมื่อวนั ท่ี 10 ถึง 12 เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2555 มกี ารจดั การศึกษา 2 ระดบั คือ
1. ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน : ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา มบี คุ ลากรครจู ำนวน 2 คน ผ้เู รยี นจำนวน 20 คน
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา แสดงในตารางสรปุ ผลได้ ดงั นี้
ลำดบั ท่ี ตวั บ่งชี้ ชอื่ ตวั บ่งช้ี ระดับคุณภาพ
ท่ี ดมี าก
ดีมาก
1 2 ผู้เรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพี่ ึงประสงค์ ดีมาก
ดีมาก
2 3 ผ้เู รียนมีความใฝร่ ู้ และเรียนรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง ดมี าก
ดมี าก
3 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น
ดีมาก
4 6 ประสทิ ธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
ดีมาก
5 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
ดมี าก
6 8 พฒั นาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษา
ดีมาก
และต้นสังกดั
ดี
7 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณธิ าน พนั ธกจิ และ ดี
วัตถปุ ระสงค์ของ การจดั ตงั้ สถานศกึ ษา
8 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจดุ เดน่ ทีส่ ่งผลสะท้อนเปน็ เอกลักษณ์
ของสถานศกึ ษา
9 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสริมบทบาทของ
สถานศกึ ษา
10 12 ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดบั มาตรฐาน รักษา
มาตรฐาน และพฒั นาสูค่ วามเป็นเลิศทสี่ อดคลอ้ งกบั แนวทางการ
ปฏริ ปู การศกึ ษา
11 1 ผู้เรยี นมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี
12 5 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรยี น
จุดเดน่
1. ผ้เู รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มที่พึงประสงคม์ ีความใฝร่ แู้ ละเรยี นรอู้ ย่างต่อเนื่องผู้เรยี น คิดเปน็ ทำ
เปน็ มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี
29
2. สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหาร
จัดการและการพัฒนาสถานศึกษาพัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัดมีผลการ
พฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตงั้ สถานศึกษามีผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และ
จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษ เพ่ือส่งเสริมบทบาทของ
สถานศึกษา ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ
ทส่ี อดคล้องกับแนวทางการปฏริ ปู การศึกษาและมปี ระสิทธิผลของการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียน เปน็ สำคญั
จุดทค่ี วรพัฒนา
พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผูเ้ รยี นกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์มคี ณุ ภาพต้องปรับปรุง
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนาตามกฏกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.
๒๕๕๓
1. ด้านผลการจัดการศึกษา สถานศึกษาควรวางแผนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ให้สูงข้ึนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้
คณิตศาสตร์ให้อยใู่ นระดับดี โดยจัดให้มีการวิเคราะห์ความรพู้ ้ืนฐานของผู้เรียนรายบุคคลเพื่อให้ทราบปัญหาของผู้เรียน
ดำเนินการแก้ไขในจุดท่ีเป็นปัญหาโดยใช้หลากหลายวิธีการ เช่นการซ่อมเสริมอย่างเป็นระบบ มีการทดสอบผู้เรียน
รายบุคคล จัดให้ทำแบบฝึกหัดอย่างสม่ำเสมอ จัดกจิ กรรมพ่ีสอนน้อง เพ่ือนช่วยเพ่ือน ให้ผู้เรียนช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน
ให้ผู้เรียนทบทวนบทเรียนด้วยการสรุปเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอดำเนินการวัดผลผู้เรียน เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของ
ผ้เู รียนเป็นระยะ รายงานใหผ้ ูเ้ รียนทราบเพอื่ เปน็ แรงกระตนุ้ และให้ผเู้ รยี นมีกาลงั ใจ
2. มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนา
ครูโดยการนำผลการประเมินการพัฒนาครูการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การประเมินแบบวัดแบบทดสอบอย่างเป็นระบบคือให้ครูวางแผนการแก้ปัญหาที่ได้จากการประเมินและอ่ืนๆท่ีกำหนด
ระยะเวลาและวิธีการดำเนินการส่งผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร นิเทศ ติดตามและประเมินผลการ
ดำเนินการของครูเป็นระยะ ๆ ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม ให้ครูทำรายงานผลการดำเนินการเมื่อสิ้นสุดแผนการ
แก้ปญั หาของแตล่ ะคนเปน็ ลายลักษณ์อักษรชดั เจน
นวัตกรรมหรือตวั อยา่ งการปฏบิ ัติทด่ี ี (Good Practice) ของสถานศกึ ษาท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม
- กิจกรรมดนตรไี ทย
- กิจกรรมขยะบญุ
ท่ีมา : ผลการประเมนิ ภายนอกรอบสาม ของสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา
30
1. ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน : ระดับประถมศึกษา มีบคุ ลากรครจู ำนวน 5 คน ผ้เู รียนจำนวน 70 คน
ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา แสดงในตารางสรุปผลได้ ดังนี้
ลำดบั ท่ี ตัวบ่งชี้ ชอื่ ตวั บ่งชี้ ระดับคุณภาพ
ท่ี
1 2 ผเู้ รยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มที่พึงประสงค์ ดีมาก
2 3 ผู้เรยี นมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง ดีมาก
3 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ดีมาก
4 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั ดีมาก
5 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจดั การและการพฒั นาสถานศึกษา ดมี าก
6 8 พฒั นาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและตน้ สงั กดั ดมี าก
7 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พนั ธกิจและวัตถุประสงค์ของ ดมี าก
การจัดตั้งสถานศกึ ษา
8 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนน้ และจดุ เด่นทสี่ ่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ ดมี าก
สถานศึกษา
9 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ดมี าก
10 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน รักษา ดีมาก
มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลศิ ท่สี อดคล้องกับแนวทางการปฏริ ปู
11 การศกึ ษา ดี
12 13 ผู้เรยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี ดี
14 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผเู้ รยี น
จุดเด่น
1. ผู้เรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีพงึ ประสงคม์ ีความใฝ่รูแ้ ละเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองผ้เู รียน คดิ เปน็ ทำเปน็ มี
สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี
2. สถานศกึ ษามปี ระสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การ
และการพัฒนาสถานศึกษาพัฒนาการของการประกันคณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสงั กดั มีผลการพฒั นาให้
บรรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน พันธกิจ และวตั ถุประสงค์ของการจัดตงั้ สถานศึกษามผี ลการพฒั นาตามจุดเนน้ และจดุ เดน่ ท่ี
สง่ ผลสะทอ้ นเป็น เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษ เพื่อส่งเสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา ผล
การสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพฒั นาสคู่ วามเป็นเลิศ ทส่ี อดคล้องกบั แนว
ทางการปฏริ ูปการศกึ ษาและมปี ระสิทธผิ ลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียน เป็นสำคัญ
31
จดุ ทค่ี วรพัฒนา
พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รียนกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์มคี ุณภาพต้องปรบั ปรงุ
ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาตามกฏกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพ
การศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๓
1. ด้านผลการจัดการศึกษา สถานศึกษาควรวางแผนการพัฒนาผลสัมฤทธ์ใิ หส้ ูงขึ้นในกลุม่ สาระ การเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ให้อยใู่ นระดับดี โดยจดั ให้มีการวเิ คราะหค์ วามรู้พน้ื ฐานของผเู้ รยี นรายบุคคลเพื่อให้ทราบปัญหาของผูเ้ รียน ดำเนินการ
แก้ไขในจุดทเ่ี ปน็ ปญั หาโดยใช้หลากหลายวธิ กี าร เชน่ การซอ่ มเสริมอยา่ งเป็นระบบ มีการทดสอบผเู้ รยี นรายบคุ คล จดั
ใหท้ ำแบบฝึกหดั อยา่ งสม่ำเสมอ จดั กจิ กรรมพส่ี อนน้อง เพื่อนชว่ ยเพอื่ น ใหผ้ ูเ้ รยี นชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและกัน ใหผ้ เู้ รียน
ทบทวนบทเรยี นด้วยการสรุปเนอื้ หาอย่างสม่ำเสมอดำเนนิ การวดั ผลผูเ้ รียน เพอื่ ตรวจสอบความก้าวหน้าของผูเ้ รียนเป็น
ระยะ รายงานให้ผู้เรียนทราบเพอ่ื เป็นแรงกระต้นุ และให้ผู้เรียนมกี าลงั ใจ
2. มาตรฐานดา้ นการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั สถานศึกษาควรสง่ เสรมิ สนบั สนุนและพฒั นาครูโดย
การนำผลการประเมินการพัฒนาครกู ารประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้ การประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การ
ประเมนิ แบบวดั แบบทดสอบอย่างเป็นระบบคือให้ครวู างแผนการแก้ปัญหาท่ีได้จากการประเมนิ และอื่นๆที่กำหนด
ระยะเวลาและวิธีการดำเนนิ การส่งผู้บรหิ ารหรอื ผ้รู บั ผดิ ชอบเป็นลายลกั ษณ์อักษร นิเทศ ติดตามและประเมินผลการ
ดำเนนิ การของครูเปน็ ระยะ ๆ ท้ังรายบุคคลและรายกลมุ่ ให้ครทู ำรายงานผลการดำเนนิ การเมื่อส้ินสุดแผนการ
แก้ปัญหาของแต่ละคนเป็นลายลักษณ์อักษรชดั เจน
นวตั กรรมหรือตัวอย่างการปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี (Good Practice) ของสถานศกึ ษาท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คม
- โครงการ To be Number One
- กิจกรรมสวดธรรมจกั รยามเช้า
- กิจกรรมการรณรงคเ์ พอ่ื สงิ่ แวดล้อม “ขยะบุญ”
- กิจกรรมดนตรไี ทย
ท่มี า : ผลการประเมินภายนอกรอบสาม ของสำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา
32
ส่วนที่ 2
วเิ คราะหบ์ รบิ ทโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม
33
วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม
(SWOT Analysis)
การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมเป็นเคร่ืองมอื ในการวิเคราะหส์ ถานการณ์ เพ่ือให้ผูบ้ ริหารรู้ จุดแข็ง จุดอ่อน
สภาพภายในของโรงเรียน โอกาส และอุปสรรคข์ องสภาพภายนอก ซงึ่ จะช่วยใหท้ ราบว่าองค์กรได้เดินทางมาถูกทิศทาง
และไม่หลงทาง นอกจากนี้ยังบอกได้ว่าองคก์ รมแี รงขบั ไปยังเปา้ หมายไดด้ หี รือไม่ มนั่ ใจได้อย่างไรวา่ ระบบการทำงานใน
องค์กรยงั มปี ระสทิ ธพิ อยู่ มจี ุดออ่ นทีจ่ ะต้องปรับปรุงอย่างไร ซึง่ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)
โรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม มดี งั น้ี
การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment)
1.1 ปัจจัยด้านโครงสรา้ งและนโยบาย (S1)
จดุ แขง็ จดุ ออ่ น
1. นโยบายเปน็ รปู ธรรมครอบคลุม สอดคล้อง 1. นโยบายกำหนดมาจากสว่ นกลาง โครงการ
กบั นโยบายของกระทรวง นโยบายของ กจิ กรรมยังไมเ่ ปน็ ไปตามสภาพปัญหาและ
สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษา ความตอ้ งการท้องถ่ิน
ขน้ั พื้นฐาน สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา 2. ขาดการกำกับติดตามอย่างต่อเน่ือง
ประถมศกึ ษาพิจิตร เขต 2 และนโยบายที่
เกีย่ วขอ้ ง
2. การกำหนดนโยบายมาจากการมีส่วนรว่ ม
ของทุกฝ่ายที่เก่ยี วข้อง
3. สถานศกึ ษามีโครงสรา้ งองค์การบริหารงาน
ชดั เจน
4. สถานศกึ ษามีการกำหนดวสิ ัยทศั น์
ยทุ ธศาสตร์ และเปา้ หมายทช่ี ัดเจน และ
สอดคลอ้ งกบั แนวทางของ
กระทรวงศึกษาธิการ
5. มคี ู่มือการบรหิ ารงานทชี่ ัดเจน
34
1.2 ปัจจยั ด้านโครงสรา้ งและนโยบาย (S2) จุดออ่ น
จุดแขง็ 1. มีเด็กพิการและเด้กบกพร่องจำนวนมาก
2. นกั เรยี นท่มี ีความสามารถพิเศษยังไม่ได้รับ
1. สถานศึกษาจดั ใหผ้ ูเ้ รียนได้รับการเรียนรู้ด้วย การสนบั สนนุ เท่าท่ีควร
วธิ กี ารที่หลากหลายโดยเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ 3. ขาดการนำประเมนิ ภายในและภายนอกไปใช้
2. จดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาสอดคลอ้ งกบั อย่างเต็มรูปแบบ
ความตอ้ งการของท้องถนิ่ 4. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียนต่ำกว่า
3. มแี หล่งภูมิปัญญาท้องถิน่ ที่หลากหลาย มาตรฐานบางกลุ่มสาระ
4. มกี ารประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนจากภายใน 5. การใช้ระบบ ICT ยังไมเ่ ป็นไปอยา่ งเตม็
องค์กรและภายนอกองค์กรอยา่ งต่อเน่ือง ศักยภาพ
5. โรงเรียนมกี ารใชร้ ะบบ ICT เขา้ มาใช้ในการ
ปฏิบตั ิงานและการติดต่อสือ่ สาร
6. สถานศกึ ษาจดั ให้มีกจิ กรรมสมาธติ น้ คาบ
เรียน
7. สถานศกึ ษาจดั ให้มีกิจกรรมสวดธมั มจักร
กัปวตั นสูตร ยามเช้า
1.3 ปัจจัยดา้ นบคุ ลากร (M1) จุดออ่ น
จดุ แขง็ 1. บคุ ลากรปฏิบตั ิงานไมต่ รงกับความรู้
ความสามารถของตนเอง
1. ผ้บู รหิ ารมีศกั ยภาพ มีความรู้ ความสามารถ 2. นโยบายการบริหารบุคคลของหนว่ ยงาน
มปี ระสบการณ์ ต้นสงั กดั สสู่ ถานศึกษาคอ่ นขา้ งจำกดั เช่น
2. บุคลากรเหน็ ความสำคัญและมีความต้องการ อัตรากำลัง
ทีจ่ ะรับการพัฒนา ทสี่ อดคล้องกบั แนวทางการ 3. บุคลากรบางส่วนขาดการพัฒนาศักยภาพ
ปฏิรูปการศึกษา และขาดทักษะประสบการณ์
3. มีการพฒั นาบุคลากรอยา่ งตอ่ เน่อื ง 4. ขาดบคุ ลากรท่ีมีความสามารถทางด้าน ICT
4. บคุ ลากรมปี ระสบการณ์ในการจัดการเรียน อยา่ งเพียงพอ
การสอน 5. บคุ ลากรบางส่วนรูง้ านเฉพาะส่วนทตี่ น
รบั ผดิ ชอบ
35
1.4 ดา้ นการเงิน (M2) จุดออ่ น
จุดแข็ง 1. ผูบ้ รหิ ารไมส่ ามารถติดตามงานได้อยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง
1. เบิกจ่ายถกู ต้องตามระเบียบ
2. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและ
ทรัพยากรจากหนว่ ยงานตา่ งๆในชมุ ชน
3. ไดร้ ับการสนับสนุนการบริจาคในการจดั
กจิ กรรมตา่ งๆจากชุมชน
4. ได้รบั การสนับสนุนบรจิ าคจากศษิ ยเ์ ก่า
1.5 ปัจจัยดา้ นวสั ดุ / อปุ กรณ์ (M3)
จดุ แขง็ จุดออ่ น
1. โรงเรยี นมีวัสดุ อปุ กรณ์ ทเ่ี พียงพอ และ 1. สถานศกึ ษาขาดงบประมาณในการซ่อมบำรุง
ทันสมัย ส่อื วัสดุ อปุ กรณ์
2. จดั สรรตามภาระงานทร่ี บั ผิดชอบ โดยยดึ ถือ 2. สถานศกึ ษาขาดบุคลากรท่ีมคี วามรู้ ความ
ตามระเบยี บแนวทางที่กำหนด ชำนาญด้านการดุแลรักษาและซ่อมแซมอปุ กรณ์
3. ไดร้ บั การสนบั สนนุ วัสดุ อุปกรณ์จาก
หน่วยงานอน่ื ๆ
4. การได้รบั จัดสรรงบประมาณเงนิ อดุ หนนุ ตาม
รายหัวนักเรยี นอย่างพอเพียง
5. โรงเรยี นมอี ิสระในการจัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์ ได้
ตามความต้องการ
36
1.6 ปัจจัยด้านการบรหิ ารจดั การ (M4) จุดออ่ น
จุดแข็ง 1. นำนโยบายสู่การปฏบิ ัติยังไมค่ รอบคลุม
2. บางเรื่องมีการบรหิ ารจดั การทีซ่ ำ้ ซ้อน
1. มรี ะบบบริหารงานชัดเจนเป็นเอกภาพ ขาดการประสานงาน การประชาสมั พันธ์
2. มีการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการ บคุ ลากรน้อยแตม่ ภี าระงานมาก
ใหท้ ุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม 3. มีความซ้ำซ้อนด้านการจดั เก็บและการ
3. ยึดระเบยี บแบง่ หนา้ ที่ชัดเจน รายงานขอ้ มูล
4. ดำเนนิ การตามเป้าหมายท่ีกำหนด 4. สถานศึกษามีภาระงานที่ไม่เกย่ี วข้องกบั
มแี ผนงานโครงการครอบคลุมอย่างชัดเจน การศึกษามากเกนิ ไป
5. มรี ะบบประกนั คุณภาพภายในและภายนอก 5. ความแตกต่างของสถานศกึ ษา ในเรื่อง
ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ความพร้อมทีจ่ ะบรหิ ารจัดการศกึ ษา
6. นำผลการดำเนินงานทผ่ี ่านมาเป็นข้อมลู
ในการวางแผนและบรหิ ารจัดการ
7. กำหนดใหม้ ผี รู้ ว่ มรับผดิ ชอบงานได้
ครอบคลุม
การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment)
2.1 ปัจจยั ด้านสังคมและวัฒนธรรม (S) จุดออ่ น
จุดแข็ง 1. แนวโน้มโครงสรา้ งประชากรวยั เรยี นลดลง
สง่ ผลให้อัตราการเข้าเรยี นของนกั เรียนนอ้ ยลง
1. โรงเรยี นมชี มรมดนตรีไทยที่เป็นเอกลกั ษณ์ 2. นกั เรยี นสว่ นใหญอ่ าศยั อยู่กับยาติ ตา ยาย
ของโรงเรยี น นักเรยี นสามารถร่วมกิจกรรมของ 3. ปญั หาเด็กพิการ ทุพพลภาพ มีปัยหา
ชมุ ชนได้ ทำใหม้ ีรายได้เสรมิ ระหวา่ งเรยี น บกพร่องทางสติปัญญา
2. องคก์ รภายนอกให้ความสำคญั และใหค้ วาม 4. เกดิ การระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า
รว่ มมือต่อการจดั การศึกษา 2019 ระบาด
3. มแี หลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ที่ 5. ปัญหาสถานภาพทางครอบครัวของนักเรียน
หลากหลาย สามารถนำไปใช้ในการจดั การ มีความยากจน ยากไร้
เรยี นรู้
37
2.2 ปจั จัยด้านเทคโนโลยี (T)
จดุ แข็ง จดุ อ่อน
1. มเี ทคโนโลยีที่ทันสมยั รวดเรว็ เอือ้ ต่อการ 1. ขาดงบประมาณในการบำรุงรักษา สื่อวัสดุ
ทำงาน สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ดา้ น อปุ กรณ์ทเ่ี ปน็ เทคโนโลยสี มยั ใหม่ เนอื่ งจากมี
การศกึ ษา การบริหารงาน การสือ่ สารมากข้นึ ราคาสงู
2. ครู บุคลากรทางการศึกษา มีความสนใจ 2. ขาดบุคลากรท่ีมีความสามารถในการซ่อม
และต้องการทจ่ี ะพัฒนาความร้ทู างด้าน บำรงุ ทางดา้ น ICT
เทคโนโลยี 3. พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยที ไ่ี มเ่ หมาะสม
3. หน่วยงานภายนอก ท้ังภาครฐั เอกชน และ
ชุมชน ให้การสบบั สนุนด้านเทคโนโลยี
4. สถานศกึ ษามคี วามต่ืนตัวในการนำเทคโนโลยี
มาใช้ในการจดั การศึกษา
2.3 ปจั จัยดา้ นเศรษฐกิจ (E) จดุ อ่อน
จุดแขง็ 1. ผปู้ กครองมีการอพยพย้ายถิ่นเพื่อหางานทำ
เกดิ การทง้ิ ลูกหลานให้อยู่กบั คนแก่
1. โรงเรยี นมคี ่านิยมด้านเศรษฐกจิ ทยี่ ึดหลกั 2. ประชากรยากจน รายไดน้ ้อย สว่ นใหญม่ ี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ในคำวา่ อาชพี รบั จา้ งท่ัวไป
“ศาสตรพ์ ระราชา สกู่ ารพัฒนาที่ย่งั ยืน” 3. คนว่างงานทำให้เกดิ ความยากจน มีภาระ
2. รฐั บาลมีนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ หนส้ี ินเพ่มิ มากข้ึน
3. องคก์ รทัง้ ภาครัฐและเอกชน ชมุ ชน รว่ มมอื 4. สภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ สนิ ค้ามรี าคาแพง
ช่วยเหลอื ในการจัดการศึกษา
4. การระดมทรัพยากรทางการศึกษา เพียงพอ
ตอ่ การพัฒนา
38
2.4 ปจั จยั ด้านการเมืองและกฎหมาย (P) จดุ ออ่ น
จดุ แข็ง 1. มีการเปลย่ี นแปลงดา้ นบริหารบ่อย ทำใหน้ ย
บายเปลี่ยนตามผู้บริหารใหม่
1. มกี ฎหมาย พ.ร.บ.การศกึ ษา นโยบาย
ทช่ี ัดเจนเป็นรปู ธรรม ซงึ่ เอื้อต่อการพฒั นา
การจัดการศกึ ษา
2. ผูน้ ำทอ้ งถน่ิ ให้ความสำคญั ในการสนับสนุน
การจัดการศกึ ษาในชุมชน
3. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น หนว่ ยงาน
ทางการศกึ ษาท้ังภาครัฐและเอกชนมีส่วนรว่ ม
ในการจดั การศึกษา
4. ผ้เุ รยี นมโี อกาสททางการศึกษามากขน้ึ จาก
นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคณุ ภาพของ
รฐั บาล
5.มอี งค์กรกำกับติดตามประเมนิ ผล
การดำเนินงานสามารถตรวจสอบได้
39
ตารางสรุปผลการประเมนิ สถานภาพของโรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม
1. ประเดน็ ตัวช้ีวัดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP) และ ภายใน (2S4M)
ประเด็นตัวช้ีวดั ปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP)/ผลการประเมิน
รายการปจั จัย ค่าเฉล่ียคะแนนจรงิ
1. ด้านสงั คม-วัฒนธรรม (Social = S) 0.06
2. ดา้ นเทคโนโลยี (Technology = T ) 0.08
3. ดา้ นเศรษฐกิจ ( Economic = E ) 0.12
4. ดา้ นการเมืองและกฎหมาย (Politic = P) 0.08
สรปุ การประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก (STEP) 0.34
ประเดน็ ตวั ช้วี ัดสภาพแวดล้อมภายใน ( 2S4M )/ผลการประเมิน
รายการปจั จยั คา่ เฉล่ียคะแนนจริง
1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure =S1 ) 0.06
2. ด้านผลผลติ และการบรกิ าร (Service and Products = S2 ) -0.06
3. ด้านบุคลากร (Man = M1) 0.03
4. ด้านประสิทธิทางการเงิน (Money = M2) 0.03
5. ด้านวัสดุ และอปุ กรณ์ (Materials = M3 ) -0.01
6. ดา้ นการบริหารจัดการ ( Mannagement = M4 ) 0.01
สรุปการประเมินสถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายใน (2S4M) 0.07
40
แผนภาพแสดงผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม
บนแกนความสมั พนั ธข์ อง SWOT
41
ส่วนที่ 3
สาระสำคัญของแผนกลยทุ ธ์
42
อดุ มการณ์ หลักการในการจัดการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
อุดมการณ์
เปน็ การจดั การศกึ ษาเพ่ือปวงชนโดยรฐั ต้องจัดใหม้ ีการศึกษาขนั้ พื้นฐานเพ่ือพฒั นาเยาวชนไทยทุกคนให้มี
คุณลกั ษณะที่พึงประสงคท์ งั้ ในฐานะทเี่ ปน็ พลเมืองไทยและพลเมอื งโลก เพ่ือเป็นรากฐานที่พอเพียงสำหรับการใฝ่เรยี นรู้
ตลอดชวี ติ รวมทั้งเพ่ือการพัฒนาหน้าที่การงานและการพัฒนาคุณภาพชีวิตสว่ นตนและครอบครวั และเพื่อสรา้ ง
รากฐานทแ่ี ข็งแกร่งสำหรับการสรา้ งสรรค์สังคมไทยใหเ้ ป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาประเทศท่ยี ั่งยนื ใน
อนาคต
หลกั การ
ในการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ยดึ หลกั ท่สี อดคล้องกับอดุ มการณ์ ดงั น้ี
1.หลักการพัฒนาผู้เรียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทัง้ ร่างกายและจติ ใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และคุณธรรม
เปน็ ผมู้ ีจริยธรรมในการดำเนินชวี ิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ใฝร่ มู้ ีทักษะในการแสวงหาความรู้ท่ี
พอเพียงต่อการพฒั นางานอาชพี และคุณภาพชวี ติ ส่วนตน สามารถเผชิญความเปลีย่ นแปลงได้อยา่ งเท่าทันและชาญ
ฉลาด และมีความเปน็ ประชาธิปไตย
2.หลักการจดั การศกึ ษาเพ่ือความเป็นไทย ใหม้ ีความรัก และภาคภูมิใจในท้องถิ่นและประเทศชาติ มี
ความร้แู ละทักษะพนื้ ฐานสำหรับการประกอบอาชีพสุจรติ มคี วามมุง่ มน่ั ขยนั ซ่ือสัตย์ ประหยัด อดทน มีลักษณะนสิ ัย
และทัศนคตทิ ่ีพึงประสงค์ เพ่ือเปน็ สมาชกิ ที่ดขี องครอบครัว ชุมชน สังคมไทย และสังคมโลก
3.หลักแห่งความเสมอภาค คนไทยทงั่ ปวงต้องมีสทิ ธ์ิเสมอกันในการรบั การศึกษา
พนื้ ฐานไม่น้อยกวา่ 12 ปี อย่างเท่าถึงเทา่ เทียม ควบคู่ไปกับความมีคุณภาพ โดยไม่แบ่งชนชั้นหรือความแตกต่างทาง
สังคมวฒั นธรรม
4.หลกั การมีส่วนรว่ ม องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและภาคเอกชนมีสว่ นรว่ มในการบริหารและการจดั
การศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศกึ ษาเพื่อเสริมสร้างเอกลักษณ์ศักดิ์ศรแี ละ
ตอบสนองความต้องการของท้องถ่นิ ตามนยั ของธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2540 เก่ยี วกบั การ
กระจายอำนาจ
5.หลกั แห่งความสอดคล้อง อดุ มการณแ์ ละมาตรฐานในการจัดการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
ต้องสอดคลอ้ งกบั สาระบญั ญัติในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 พระราชบัญญตั ิการศึกษา
แหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 และแก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ 2 ) พทุ ธศกั ราช 2545 นโยบายการศกึ ษาของรฐั บาลที่แถลงตอ่
รัฐสภา สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาของชาตแิ ละสมั พันธเ์ ช่ือมโยงกบั มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา และมาตรฐานการ
อดุ มศึกษา
43
มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ ประกอบดว้ ยสาระสำคัญ 4 ประเด็น
1. อุดมการณ์ หลักการในการจดั การศึกษาของชาติ
2. คุณลกั ษณะของคนไทยท่ีพึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก
3. การจัดการศึกษา
4. แนวนำสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
มาตรฐานที่ 1 อดุ มการณ์ หลักการในการจัดการศกึ ษาของชาติ การศกึ ษาตลอดชีวติ เพื่อทกุ คน และทุกคนเพ่ือ
การศกึ ษา
การศึกษาตลอดชวี ติ เพ่อื สร้างคณุ ภาพชีวิตและสงั คมที่บูรณาการอย่างสมดุลระหว่าง ปัญญาธรรม คุณธรรม
และวัฒนธรรม เพอ่ื คนไทยทุกคน โดยทกุ คนมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาทีม่ ีคณุ ค่า เต็มตามศักยภาพ ตรงตามความ
ตอ้ งการ แตต่ น้ ทนุ ตำ่ รฐั สนบั สนุนการจัดการศึกษามงุ่ สร้างพน้ื ฐานที่ดีในวยั เด็ก ปลูกฝงั ความเป็นสมาชกิ ที่ดีของสังคม
ในวัยเรยี น และพฒั นาทรัพยากรบคุ คลวยั ทำงานที่มีคุณภาพ โดยให้สังคมมีสว่ นรว่ มในการดำเนินการ และตรวจสอบได้
อยา่ งมัน่ ใจวา่ การศึกษาเป็นกระบวนการพฒั นาชีวิตและสงั คม เป็นปจั จัยสำคญั ในการพัฒนาประเทศอยา่ งย่ังยนื ให้
สามารถแข่งขนั ได้ในระดับนานาชาตจิ รงิ
ตัวบ่งชี้
1. อุดมการณ์
- ทุกฝ่ายทมี่ ีสว่ นร่วมในการจัดและรับการศกึ ษาเข้าใจและถอื ปฏิบัติตามแนวการจดั การศึกษา ตลอดชีวติ เพื่อ
พฒั นามนษุ ย์และสังคม
2. การศกึ ษาเตม็ ตามสทิ ธิ อย่างเสมอภาคและเปน็ ธรรม
- คนไทยทุกคนไดร้ ับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 12 ปี ทีร่ ัฐจดั ให้อย่างทั่วถงึ
- คนไทยส่วนใหญ่รู้ ใช้สิทธิ และไดร้ ับสทิ ธิในการศกึ ษาทุกรูปแบบอยา่ งเสมอภาคและเปน็ ธรรม
3. หลกั การจดั การศึกษาในภาพรวม
- การจัดการศึกษาทุกระบบ (การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย) มีคณุ ภาพ
เทยี บเท่ามาตรฐานสากล และสัมพนั ธ์เชื่อมโยงถึงกนั
- ขอบขา่ ยและปริมาณความรว่ มมือระหวา่ งภาครัฐ เอกชน องค์กร และชมุ ชน เพ่มิ มากข้นึ ทุกปี ทง้ั ในดา้ น
การจดั การกำกับ สนบั สนนุ และการตรวจสอบผลการจดั การศึกษา
- ผลการจัดอันดับคุณภาพระบบการศึกษาของไทย ไมด่ ้อยกวา่ ประเทศท่ีมงี บประมาณทางการศึกษาใกล้เคยี ง
กนั และอยใู่ นภูมภิ าคเดยี วกนั
มาตรฐานท่ี 2 คุณลักษณะของคนไทยที่พงึ ประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก
คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสขุ
44
เปา้ หมายของการจัดการศึกษา อยู่ท่ีการพัฒนาคนไทยทุกคนให้เปน็ "คนเก่ง คนดี และมีความสุข" โดยมกี าร
พฒั นาทเ่ี หมาะสมกบั ช่วงวัย เตม็ ตามศักยภาพ และตรงตามความต้องการ ท้ังในด้านสขุ ภาพร่างกายและจิตใจ ปัญญา
ความรูแ้ ละทักษะ คุณธรรมและจิตสำนกึ ที่พงึ ประสงค์
คณุ ลักษณะของคนไทยท่ีพงึ ประสงค์ ประกอบดว้ ยเบญจคณุ หรือ คุณ 5 ประการ
1. คุณลักษณ์ มีรูปลักษณ์ (สุขภาพ บคุ ลิกภาพ) กิจลักษณ์ (พฤติกรรม ทักษะความสามารถ) ดี
2. คณุ ค่า มปี ระสบการณจ์ ากการเรียนรู้ สัมพนั ธเ์ ช่อื มโยงกบั การพัฒนาชวี ิต
3. คณุ ประโยชน์ มีชวี ติ ท่เี ป็นประโยชน์ต่อตนเองและสว่ นรวม ร่วมสรา้ งและให้สง่ิ ดีแก่สงั คม
4. คุณภาพ มีชีวิตรม่ เย็นเปน็ สขุ พออยู่พอกนิ เป็นสมาชิกครอบครวั พลเมืองและพลโลก ที่ดี
5. คณุ ธรรม มีความดี เขา้ ถึงความงามและความจริง ดำเนินชีวิตโดยกายสจุ ริต วจีสจุ รติ และมโนสจุ ริต
เบญจคุณ อันเป็นลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของคนไทยดังกล่าว จกั เกดิ ขึน้ ได้ด้วยการจัดการเรียนรขู้ องครู และวิถี
การเรยี นรู้ของผู้เรียน เพ่ือสร้างผู้เรยี นให้มีคุณลกั ษณะตาม "พรพระราชทาน 3 ประการ คือ ขอจงมีความเพยี รท่ีบริสุทธิ์
ปญั ญาที่เฉยี บแหลม กำลังกายทส่ี มบูรณ์ " (จาก...การวิเคราะห์คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของคนไทย เพ่ือตอบคำถาม
ว่า "เราจัดการศกึ ษาเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นได้อะไร?" จากขอ้ มลู หลายแหล่ง และการบูรณาการตามแนวพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เรื่องพระมหาชนก (สุมน อมรววิ ัฒน์, 2546) ดงั นี้
1. ความเพยี รทบ่ี ริสุทธิ์ (pure perseverance) ประกอบดว้ ย
1) ความสามารถ (performance and skills) เป็นผู้รกั ใส่ใจในหนา้ ท่กี ารงาน มที ักษะทางภาษา
ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงาน ทักษะทางสงั คม ทักษะชีวติ ทกั ษะการคิดคำนวณ ทักษะการค้นควา้ ทดลองพิสูจน์
เหตุผล ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกั ษะการจัดการ
2) คณุ ธรรมและจติ สำนึก (morality and conscience) มีคุณธรรมในการกระทำ ด้านความละอาย
ช่ัวกลัวบาป ความซอื่ สตั ยส์ ุจริต ความกตัญญรู ู้คณุ ความไมเ่ หน็ แกต่ วั ความปราถนาดเี อ้ือเฟอื้ ต่อกัน ความจรงิ ใจ และ
ความขยนั หม่นั เพียร และมีจิตสำนึกในการกระทำ ดา้ นจติ สำนกึ ความรบั ผิดชอบ จติ สำนึกในคุณค่าของตนและผู้อื่น
จติ สำนึกความเป็นไทย จิตสำนกึ ประชาธิปไตย
2. ปญั ญาทีเ่ ฉียบแหลม ประกอบดว้ ย
3) ความฉลาดรู้ (knowledge and wisdom) เปน็ ผ้รู ู้จริง รู้ครบถว้ น รู้เหตผล รเู้ ทา่ ทนั รู้
เชื่อมโยงความเป็นไทยกับสากล รู้จักตนเอง รจู้ ักสังคมและธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ ม รวู้ ิธีทำมาหากิน และสามารถนำความรู้
ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์แก่ชวี ิต
4) สตปิ ญั ญาและความคิด (intelligence and thinking) จติ และสมองมกี ารทำงานเกดิ การรบั รู้
จดจำ และการคิดอยา่ งถูกต้องแยบคาย สามารถคดิ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ คิดรเิ รม่ิ และสร้างสรรค์ คิดต่อเน่ืองเชื่อมโยง คดิ
สจุ ริต คดิ มีเหตุผล คดิ เปน็ ระบบ คิดเร็ว คิดคลอ่ ง คิดละเอียด คดิ มจี นิ ตนาการ สามารถแสดงความคิดเหน็ เพื่อสอ่ื สาร
แก่ผูอ้ ืน่ ได้
3. กำลังกายที่สมบรู ณ์ (completely physical health) ประกอบด้วย
5) มสี ขุ ภาพกายและจติ (physical, mental and spiritual health) รวมทั้งสขุ ภาวะ (well
being) ทางกายและจติ มรี ่างกายแขง็ แรง ปราศจากโรค มีภมู ิคุ้มกัน ภาวะโภชนาการดี บริหารกาย เล่นกฬี า ทา่ ทาง
45
คลอ่ งแคล่วรา่ เรงิ และมสี ภาพจติ ใจทแ่ี จ่มใส ไมเ่ ครียด มสี ุขภาพจิตดี มีความมน่ั คงทางอารมณ์ มีสุนทรยี ภาพ มีทักษะ
ทางดนตรี ศิลปะ และใช้เวลาวา่ งอย่างเกิดประโยชน์
ตวั บ่งช้ี
1. กำลังกายกำลงั ใจท่ีสมบูรณ์
-คนไทยส่วนใหญ่มีสุขภาพกายและจติ ทีด่ ี มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย สมองและสติปญั ญา และด้าน
จติ ใจ เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์การพัฒนาในแต่ละชว่ งวยั
2. ความรู้และทกั ษะทีจ่ ำเป็นและเพยี งพอในการดำรงชวี ติ และการพฒั นาสังคม
-คนไทยส่วนใหญ่ได้เรยี นรเู้ ต็มตามศักยภาพของตนเอง
-คนไทยส่วนใหญม่ ีงานทำ และนำความรู้ไปใช้ในการสรา้ งงานและสรา้ งประโยชน์ให้สังคม
-ชมุ ชนหรือสงั คมสว่ นใหญม่ กี ารใช้หรือสรา้ งภูมิปัญญาท่เี ป็นประโยชนต์ ่อสว่ นรวม
3. ทกั ษะการเรียนรู้และการปรบั ตวั
-คนไทยสว่ นใหญ่สามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้ รู้ทันโลก และปรับตัวได้
4. ทักษะทางสังคม
-คนไทยสว่ นใหญ่มที ักษะและความสามารถ ทจ่ี ำเปน็ ต่อการดำเนินชีวิตในสงั คมอย่างมีความสขุ และ
สามารถอยรู่ ่วมกนั ได้อยา่ งสนั ติสขุ
5. คณุ ธรรมและจิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก
-คนไทยสว่ นใหญ่ดำเนินชีวติ โดยกายสุจริต วจสี จุ ริต และมโนสจุ รติ
มาตรฐานท่ี 3 การจัดการศึกษา
การจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรียน และการบรหิ ารท่ีเนน้ สถานศึกษาเปน็ สำคัญ
การจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ (ผู้เรยี นเห็นแบบอย่างทดี่ ี ไดฝ้ ึกการคิด และไดเ้ รยี นจาก
ประสบการณ์ตรงทห่ี ลากหลาย ได้เรียนตรงตามความสนใจ และมคี วามสุขในการเรียน ครรู ู้จกั ผเู้ รยี นเป็นรายบุคล ครู
เตรยี มการสอนและส่ือทผี่ สมผสานความร้สู ากลกบั ภมู ิปญั ญาไทย ครูจดั บรรยากาศเอื้อตอ่ การเรียนรู้ จดั หาและพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย และการพฒั นาความคิดผ้เู รยี นเป็นระบบทีส่ ร้างสรรค์) ความสำเรจ็ ของการจดั กระบวนการ
เรียนรู้ท่ผี ู้เรียนเปน็ สำคัญ ข้นึ อย่กู ับปัจจยั ด้านบุคคล และปัจจัยด้านการบริหาร ดังต่อไปนี้
3.1 ปจั จยั ด้านบคุ คล ผู้เรียนได้รับการเตรียมให้มีความพร้อมท่จี ะเรยี น ครเู ป็นปชู นยี บุคคล และเป็น
กัลยาณมิตร อุทิศตนเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นและสงั คม ผู้บริหารเป็นผนู้ ำทีเ่ ช่ียวชาญ ผู้จัดการทถี่ ่อมตน และปูชนียบุคคล
ผ้ปู กครองและสมาชิกชุมชนมีสำนกึ ใส่ใจ และเต็มใจใหค้ วามรว่ มมือ และมสี ่วนร่วมตรวจสอบในการพัฒนาผเู้ รียน และ
การจดั การศกึ ษา
3.2 ปัจจัยดา้ นการบรหิ าร การบริหารจดั การท้ังในระดบั ชาติ เขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา และสถานศึกษา มี
เอกภาพดา้ นนโยบาย แต่หลากหลายในการปฏิบัติ มีการกระจายอำนาจลงสู่ระดบั สถานศึกษา โดยใช้หลกั การบรหิ าร
จดั การตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทด่ี ี พ.ศ. 2546 หลักธรรมาภบิ าล
โปร่งใส เป็นธรรม (good governance) ซึ่งมหี ลกั การทสี่ ำคัญ 7 ประการ คือ หลักประสทิ ธิภาพ หลักความคุ้มค่า หลัก
46
ประสิทธผิ ล หลักความรับผิดชอบทีต่ รวจสอบได้ หลกั คณุ ภาพ หลักการ มสี ่วนร่วมของประชาชน และหลักนติ ริ ฐั /นิติ
ธรรม
ตัวบ่งชี้
1. ผลการเรยี นรู้ทีผ่ เู้ รียนเปน็ สำคญั
- ผ้เู รยี นทกุ กลุ่ม สำนึกคุณค่าการเรียนรู้ สนใจใฝ่เรยี นรู้ มีความสขุ ในการเรยี นรู้ และไดเ้ รียนรตู้ รงตาม
ความต้องการของตนเองและชุมชน อย่างเตม็ ตามศักยภาพ
- ครู ผบู้ รหิ าร และบคุ ลากรทางการศึกษาส่วนใหญ่ มีคุณธรรม มคี วามพึงพอใจในการทำงาน และ
ผกู พนั กบั งาน มีอตั ราการออกจากงานและอตั ราความผดิ ทางวินยั ลดลง
- หนว่ ยงานทใ่ี หบ้ ริการทางการศกึ ษามีคุณภาพติดอนั ดับคุณภาพตามเกณฑ์ระดบั นานาชาติ มี
สภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ และความปลอดภยั ตามเกณฑ์
- มีการพฒั นาสื่อและการใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยีสอ่ื สารสารสนเทศทุกรปู แบบเพ่ิมข้ึน ให้เอื้อตอ่ การ
เรยี นรู้ดว้ ยตนเองของคนไทยทกุ คน
2. ผลการบรหิ ารที่สถานศกึ ษาเป็นสำคัญ
- ผู้เรยี น ครู ผ้บู ริหาร ผู้ปกครอง และสมาชิกชุมชนส่วนใหญ่มีความเต็มใจ ตงั้ ใจ มสี ่วนร่วมปฏบิ ตั ิ
หนา้ ทข่ี องตน ส่งผลใหผ้ ู้รับบรกิ าร/ผเู้ กี่ยวข้องทุกกลมุ่ มีความพงึ พอใจต่อการจัดบริการการศึกษา
- ชุมชนซ่งึ เปน็ ทต่ี ัง้ ของหน่วยงานทใ่ี หบ้ ริการการศึกษา สว่ นใหญ่ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มคี วาม
ปลอดภยั ลดความขัดแย้ง มสี ันติสุข และมีการพฒั นาก้าวหนา้ อย่างต่อเนอื่ ง
- มแี นวโน้มในการรวมตัวจัดต้ังองค์กรอิสระ เพื่อสรา้ งเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะกลมุ่ และติดตามการ
ดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา และหนว่ ยงาน ตลอดจนการสัง่ สมองค์ความรู้ท่หี ลากหลาย
มาตรฐานที่ 4 แนวนำสู่การปฏบิ ัติ
การสร้างวิถกี ารเรียนรู้ แหล่งเรยี นร้ใู ห้เข้มแขง็ และการใช้มาตรฐานการศึกษา
เพือ่ ให้การพัฒนาการศกึ ษาบรรลผุ ลตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ควรต้องมีแนวนำสู่การปฏบิ ัติ 3 ประการ
ดงั น้ี
4.1 การสรา้ งวถิ ีการเรยี นรู้ของคนไทยให้เข้มแข็งในดา้ นตอ่ ไปนี้ การสร้างสำนึก ให้คนไทยเหน็ คณุ ค่าของ
การศกึ ษา โดยการโฆษณา ประชาสมั พันธ์ และการส่งเสริมการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ การสรา้ งโอกาสการเรยี นรู้
โดยการจดั สรรแหล่งเรยี นรู้ ส่งเสรมิ การเรียนรูท้ ี่หลากหลายทั้งในระบบ นอกระบบ และการเรียนรู้ด้วยตนเอง การสรา้ ง
ลักษณะชีวิต โดยการวางรากฐานนสิ ยั ต้งั แตเ่ ดก็ ใหร้ ักการอ่าน รกั การคน้ ควา้ ส่งเสริมใหเ้ รียนรู้ในสงิ่ ทีต่ นเองชอบ การ
สร้างกำไร ให้คนไทยสามารถนำสงิ่ ทเ่ี รียนรไู้ ปทำประโยชนต์ อ่ ชวี ติ และสังคมได้
4.2 การสรา้ งความเข้มแข็งให้แหล่งเรียนรู้และกลไกการเรยี นรู้ ในระบบครอบครัว ชมุ ชน กลมุ่ เพอ่ื นรว่ มวัย
องค์กร/สถาบันทางศาสนา แหล่งอาชพี ส่อื มวลชน องค์กรความรใู้ นสงั คม ระบบสถานศึกษา โดยใหค้ วามสำคัญกับการ
เรียนรูด้ ้วยตนเอง และการเรียนรู้จากการวิจยั ปฏบิ ตั กิ ารเป็นเครอื่ งมือแสวงหาความรใู้ หม่ เป็นเครื่องมือสืบทอดและ
ผสมผสานความรสู้ ากลกับภูมิปัญญาไทย และเป็นเครอ่ื งมอื พฒั นาคณุ ภาพของครู ผ้บู ริหาร บคุ ลากรทางการศึกษา
องค์กรและสงั คม
47
4.3 กระทรวงศึกษาธิการตอ้ งเปน็ ผนู้ ำในการใชม้ าตรฐานการศึกษาของชาติ จัดลำดบั ความสำคัญ ตดิ ตามกำกบั
ดูแลการปฏิบตั งิ านและประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐาน สอ่ื สารและเผยแพร่ให้ผู้เก่ยี วข้องรู้และเข้าใจบทบาท
ของมาตรฐานการศึกษา วางระบบการจัดทำมาตรฐานการศึกษาเปน็ ส่วนหน่งึ ของระบบงาน พฒั นากลไกทจี่ ะชว่ ย
พัฒนาใหก้ จิ กรรมการดำเนินงานทง้ั หมดมีมาตรฐานตามที่กำหนด
ตัวบ่งชี้
- มีการดำเนินงานเพ่ือเสริมสร้างวิถีการเรียนรู้ของคนไทยทุกวิถีทาง
- มีการวิจยั ศึกษาสร้างเสรมิ และมีการสนับสนุนแหล่งเรยี นรู้ และกลไกการเรยี นร้ทู ุกประเภท
- มกี ารปรบั ปรุงมาตรฐานการศกึ ษาชาติ ท่เี ชือ่ มโยงระหว่างภาคเศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง การศกึ ษา
สอดคลอ้ งกบั ลำดับความสำคัญของความจำเปน็ เร่งดว่ นในการพัฒนาสงั คม และเหมาะสมทนั กับความเปลย่ี นแปลงของ
โลก
- มกี ารจัดต้งั และกำกับการดำเนนิ งาน ขององค์กรทรี่ บั ผิดชอบประสานงานระหว่างองค์กร/หน่วยงานที่
เกย่ี วขอ้ ง และสถานศกึ ษาทงั้ หมด เพอื่ พฒั นาปรบั ปรุง ติดตามกำกบั
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
หัวใจสำคัญของการจัดการศึกษาข้ันพ้ื นฐาน คือ การสร้างและพัฒนาคนไทยเพื่ออนาคต
ของประเทศ สร้างคนไทยใหเ้ ป็นคนดีและคนเก่ง มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ เน้นการอ่านออก เขียนได้ คิดวิเคราะห์เป็น สามารถ สร้างวิสัยทัศน์และวางแผน
อนาคตที่ดีของตนเองได้ รวมถงึ รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของคนไทย และคำนึงถึงประโยชนส์ ่วนรวมและ
ประเทศชาตเิ ป็นหลกั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน จึงกำหนด นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ดังนี้
1. เร่งรัดปฏิรปู การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ใหม้ กี ารปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงระบบและกระบวนการการจัด
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานทั้งระบบให้มปี ระสิทธภิ าพ ทันสมัย ทันเหตกุ ารณ์ ทนั โลก ใหส้ ำเรจ็ อย่างเป็นรูปธรรม
2. เร่งพฒั นาความแข็งแกรง่ ทางการศึกษา ใหผ้ ้เู รียนทุกระดับทุกประเภท รวมถงึ เดก็ พิการและด้อย
โอกาส มคี วามรู้ และทักษะแห่งโลกยคุ ใหมค่ วบค่กู ันไป โดยเฉพาะทกั ษะการอ่าน การเขียน และการคิด เพ่ือใหม้ ีความ
พร้อมเขาสู่การศกึ ษาระดบั สงู และโลกของการทำงาน
3. เรง่ ปรบั ระบบสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาท่สี อดคล้องไปในทศิ ทางเดียวกัน มีการประสานสมั พันธ์
กับเน้ือหา ทักษะ และกระบวนการเรยี นการสอน ประกอบไปดว้ ย มาตรฐานและการประเมนิ หลักสูตรและการสอน
การพฒั นาทางวชิ าชีพและสภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้
4. ยกระดับความแข็งแกรง่ มาตรฐานวิชาชีพครแู ละผู้บริหารสถานศึกษา ให้ครู เปน็ ผ้ทู ีม่ ี
ความสามารถและทักษะทีเ่ หมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรขู้ องผเู้ รียน ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา มีความสามารถในการ
บริหารจดั การ และเปน็ ผนู้ ำทางวชิ าการ ครแู ละผูบ้ ริหารสถานศึกษาประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดีแก่ผเู้ รียน สรา้ งความ
มั่นใจและไวว้ างใจ ส่งเสริมให้รับผิดชอบตอ่ ผลทีเ่ กิดกับนักเรียนท่ีสอดคล้องกบั วชิ าชพี
48
5. เรง่ สรา้ งระบบให้สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา เปน็ องคก์ รคุณภาพที่แข็งแกรง่ และมปี ระสิทธิภาพ
เพ่ือการให้บรกิ ารทด่ี ี มีความสามารถรับผดิ ชอบการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐานได้เป็นอย่างดี
6. เรง่ รัดปรับปรุงโรงเรียนให้เปน็ องค์กรทมี่ ีความเข้มแข็ง มีแรงบันดาลใจ และมีวสิ ยั ทัศน์ในการจัด
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ชี ดั เจน เปน็ สถานศกึ ษาคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ ทส่ี ามารถจัดการเรียนการสอนอยา่ งม
คณุ ภาพและไดม้ าตรฐานระดับสากล
7. สร้างระบบการควบคมุ การจัดการการเปล่ยี นแปลงทางการศกึ ษาท่ีมีข้อมลู สารสนเทศและขา่ วสาร
เก่ยี วกับกระบวนการเรียนการสอนอย่างพรอ้ มบริบูรณ์ และมนี โยบายการติดตามประเมินผลอยา่ งเปน็ รูปธรรม
8. สรา้ งวฒั นธรรมใหม่ในการทำงานใหม้ ีประสิทธิภาพ เพอื่ การให้บรกิ ารที่ดี ท้ังส่วนกลางและส่วน
ภูมภิ าค เรง่ รดั การกระจายอำนาจและความรับผดิ ชอบ สง่ เสริมการพัฒนาเชงิ พืน้ ที่ทกุ ภาคส่วนเขา้ มามีส่วนรว่ ม
ปรบั ปรงุ ระบบของโรงเรยี น ให้เป็นแบบรว่ มคิดรว่ มทำ การมสี ว่ นร่วมและการประสานงานสามารถ ใช้เครือข่ายการ
พัฒนาการศึกษา ระหว่างโรงเรียนกับโรงเรยี น องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องค์กรวชิ าชีพ กลมุ่ บุคคล องคก์ รเอกชน
องค์กรชมุ ชน และองค์กรสงั คมอื่น
9. เรง่ ปรบั ระบบการบริหารงานบคุ คล มุ่งเน้นความถูกต้อง เหมาะสม เปน็ ธรรม ปราศจากคอร์รัปช่นั
ให้เปน็ ปัจจยั หนนุ ในการเสริมสรา้ งคุณภาพและประสิทธิภาพ ขวัญและกำลงั ใจ สร้างภาวะจงู ใจแรงบนั ดาลใจ และ
ความรบั ผิดชอบในความสำเร็จตามภาระหน้าที่
10. มุง่ สรา้ งพลเมืองดีที่ตน่ื ตัวและอย่รู ว่ มกับผ้อู ื่นในสงั คมพหุวัฒนธรรมได้ และทำให้การศกึ ษานำการ
แก้ปญั หาสำคัญของสงั คม รวมทง้ั ปญั หาการคอร์รปั ช่ัน
11. ทมุ่ เทมาตรการเพื่อยกระดบั คุณภาพสถานศึกษาท่พี ฒั นาลา้ หลัง และโรงเรยี นขนาดเลก็ ทีไ่ ม่ได้
คณุ ภาพ เพอื่ ไมใ่ ห้ผู้เรียนต้องเสยี โอกาสไดร้ บั การศึกษาที่มีคุณภาพ
วิสัยทศั น์
การเรียนดี ดนตรเี ดน่ เนน้ ภาษา พาสวดธรรมจักร ปลูกผกั ขายได้ ใฝใ่ จสมาธิ มีจติ สาธารณะ
พนั ธกจิ
1. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ประชากรวัยเรยี นทกุ คนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพและมีคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
2. สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนทกุ คนเลน่ ดนตรไี ทยเพื่ออนรุ กั ษศ์ ลิ ปวฒั นธรรมไทย
3. สง่ เสรมิ ใหบ้ ุคลากรและผู้เรยี นมพี ฒั นาการดา้ นทักษะการพดู และการฟังภาษาองั กฤษ
4. ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรและผู้เรยี นสวดธรรมจกั รกัปวตั นสตู รได้ เพอ่ื ความเป็นมงคลแก่ชีวติ
๕. สนับสนุนใหผ้ ู้เรียนรู้จดั ปลกู ผกั เพ่ือเปน็ รายไดโ้ ดยเรม่ิ ทโ่ี รงเรยี น
6. ส่งเสริมให้บุคลากรและผู้เรียนได้น่งั สมาธิทุกต้นคาบเรียน เพ่อื พฒั นาสติ สมาธใิ นการเรียนหนังสอื /ใน
ปฏิบตั งิ าน ตามนโยบาย สพป.พิจติ ร เขต 2
7. ปลูกฝงั ใหผ้เู รียนมจี ติ สาธารณะ โดยมกี จิ กรรมขยะบญุ ทุกวันพระ