49
เป้าประสงค์
1. นกั เรียนระดับกอ่ นประถมศึกษาและระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานร้อยละ 75 มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ครมู ี
สมรรถนะตรงตามสายงาน และมีวฒั นธรรมการทำงานท่ีมุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธิ์อย่างมีคุณภาพ
2. ประชากรวยั เรยี นทุกคนได้รับโอกาสในการฝึกดนตรไี ทยตามความสนใจอย่างเสมอภาค
3. ครู ผ้เู รยี นและบคุ ลากรทางการศึกษาร้อยละ 60 มที กั ษะด้านการพูด การฟงั ภาษาองั กฤษทสี่ ามารถส่ือสารได้
4. ครู ผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษา รอ้ ยละ 60 สามารถสวดธรรมจกั รกปั วัตนสูตรได้ สง่ เสริมสบื ทอด
พระพทุ ธศาสนา
5. ผเู้ รียนเรยี นอย่างนอ้ ย ร้อยละ 75 สามารถปลูกผักไว้รบั ประทานเองและขายได้ โดยสร้างเครอื ขา่ ยผบู ริโภคด้วย
การประชาสมั พนั ธ์
6. ครู ผ้เู รยี นและบคุ ลากรทางการศกึ ษา อย่างนอ้ ยร้อยละ 80 ตัง้ ใจร่วมกจิ กรรมสมาธิต้นคาบ มีสติ สมาธใิ นการ
เรียนและการงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ
7. ครู ผ้เู รยี นและบุคลากรทางการศกึ ษา ร้อยละ 90 ไดร้ บั การปลูกฝงั ใหม้ จี ิตสาธารณะ
กลยุทธ์
จากวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน จงึ กำหนด
กลยุทธ์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 จำนวน 4 กลยทุ ธ์ ดงั ตอ่ ไปนี้
กลยุทธ์ท่ี 1 การพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนในระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
กลยุทธท์ ่ี 2 การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษาขนั้ พื้นฐานใหท้ ัว่ ถึงครอบคลุม
ผเู้ รยี นให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพและมคี ุณภาพ
กลยทุ ธ์ท่ี 3 การพฒั นาคุณภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
กลยทุ ธ์ที่ 4 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ
ผลผลิต
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน มกี ารดำเนนิ งาน 5 ผลผลติ คือ
1. ผจู้ บการศึกษาระดับกอ่ นประถมศกึ ษา
2. ผ้จู บการศึกษาภาคบงั คบั
3. เดก็ พกิ ารได้รับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานและพฒั นาสมรรถภาพ
4. เด็กดอ้ ยโอกาสไดร้ บั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
5. ผู้ท่มี ีความสามารถพิเศษได้รับการพฒั นาศักยภาพ
จดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ได้กำหนด 6 จดุ เน้นการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ทสี่ อดคล้องกับ 6 ยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั น้ี
1. จุดเนน้ ด้านหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้
50
1. หลกั สูตรและกระบวนการเรียนรมู้ ีการปรับปรุงตามความเหมาะสม ดังต่อไปนี้
1.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับผู้เรียน
1.2 โครงสรา้ งเวลาเรียนมกี ารปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสมกับผ้เู รยี น
1.3 สถานศึกษาทุกแหง่ มีการยกระดบั มาตรฐานภาอังกฤษในแต่ละช่วงชนั้
1.4 สถานศกึ ษาใช้ STEM Education BBL DLTV
2. ผู้เรยี นมสี มรรถนะที่สำคัญ ส่มู าตรฐานสากล ดังตอ่ ไปนี้
2.1 ผูเ้ รยี นระดับก่อนประถมศกึ ษามีพัฒนาการดา้ น ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสติปญั ญาท่ี
สมดุล เหมาะสมกับสังคม วัย และเรียนรอู้ ย่างมีความสขุ
2.2 ผู้เรยี นตั้งแตช่ น้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 อ่านออก เขยี นได้
2.3 ผเู้ รียนต้ังแต่ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 ข้ึนไป อ่านคล่องเขียนคลอ่ ง
2.4 ผูเ้ รียนตั้งแต่ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 มีความสามารถด้านภาษา ด้านคำนวณ และดา้ นเหตุผล ผา่
เกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดเพิ่มข้นึ
2.5 ผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 และชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) กลมุ่ สาระหลกั เพ่ิมขึ้น
1.6ผู้เรียนในระดบั มัธยมศกึ ษาได้รับการส่งเสริมใหม้ ีแรงจงู ใจสู่อาชพี ด้านการแนะแนวและได้รบั
การพัฒนาความรทู้ ักษะท่ีเหมาะสมเพือ่ การมีงานทำในอนาคต
1.7ผูเ้ รียนมที ักษะในการสื่อสาร ทกั ษะการคิด ทกั ษะการแกป้ ัญหา ทกั ษะชีวติ และทักษะการใช้
เทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสมตามช่วงวยั
2.8 ผเู้ รยี นได้รบั การวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลายเหมาะสมตามศกั ยภาพเป็นรายบุคคล
3. ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม ตามค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ รวมท้ังมจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และห่างไกลยาเสพตดิ
3.1 ผเู้ รยี นระดับประถมศึกษา ใฝ่เรยี นรู้ ใฝด่ ี และอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ได้
3.2 ผเู้ รยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น มีทักษะการแกป้ ัญหา และอยู่อย่างพอเพยี ง
3.3 ผเู้ รียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มีความมง่ั มัน่ ในการศึกษาและการทำงาน สามารถปรบั ตัว
เขา้ กับพหุวฒั นธรรม บนพืน้ ฐานวัฒนธรรมท่ีดีงามของไทย
4. ผเู้ รียนทม่ี ีความตอ้ งการพิเศษไดร้ บั การสง่ เสริม สนับสนุน และพฒั นา เต็มตามศกั ยภาพเป็นรายบคุ คล
ไดแ้ ก่
4.1 ผพู้ ิการ
4.2 ผ้ดู อ้ ยโอกาสและผูเ้ รียนในพน้ื ท่ีพิเศษ
4.3 ผเู้ รยี นทีม่ คี วามสามารถพิเศษ
4.4 ผ้เู รยี นภายใตก้ ารจัดการศกึ ษาโดยครอบครัว สถานประกอบการ และศูนย์การเรียน
4.5 ผเู้ รยี นทตี่ อ้ งการความคุ้มครองและช่วยเหลือเปน็ กรณีพิเศษ
2. จดุ เน้นดา้ นครูและบุคลากรทางการศึกษา
51
1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ ับการพฒั นาองค์ความรู้ ตรงตามความต้องการของบุคคลและสถานศึกษา
1.1 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การพฒั นาวธิ จี ดั การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ทกั ษะกระบวนการคิด
รวมทงั้ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
1.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สามารถประยุกตใ์ ชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารที่
ทนั สมยั
1.3 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รับการนิเทศแบบกลั ยาณมติ ร จากสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา และครู ท้ังในโรงเรยี น ระหวา่ งโรงเรียน หรือภาคสว่ นอ่นื ๆ ตามความพรอ้ มของโรงเรียน
1.4 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สรา้ งเครือขา่ ยการเรียน การมสี ว่ นร่วมจากผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้อง และ
ทุกภาคสว่ นให้เกดิ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้
1.5 ครจู ัดการเรยี นรสู้ ่ปู ระคมอาเซียน
1.6 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มจี ิตวิญญาณของความเปน็ ครู การเป็นครูมอื อาชีพและยดึ มั่นใน
จรรยาบรรณวิชาชพี
2. ผู้บริหารสถานศกึ ษา สามารถบรหิ ารงานทกุ ด้านให้มปี ระสิทธิภาพ และเกดิ ประสิทธิผล
3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มขี วัญกำลังใจในการทำงาน และมผี ลการปฏบิ ตั ิงานเชิงประจักษ์
4. องคก์ ร องคค์ ณะบคุ คล และผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสียวางแผนสรรหา ย้าย โอน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้
สอดคล้องกับความตอ้ งการของโรงเรยี นและชุมชน
3. จุดเน้นดา้ นการทดสอบ การประเมิน การประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา
1. ระบบการประเมนิ สถานศึกษาและผู้เรยี นมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกับสถานศึกษาและผู้เรียน
2. ระบบทดสอบเพ่ือประเมินผา่ น หรือซ้ำซ้อน มีการพฒั นาให้เหมาะสมในการจบการศึกษาชน้ั ประถมศึกษาปี
ท่ี 6
3. ผปู้ ระเมินคุณภาพสถานศึกษามีการพฒั นาตามมาตรฐานผปู้ ระเมนิ
4. จดุ เนน้ ด้านพัฒนากำลงั คนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
1. สถานศึกษาสร้างค่านิยมเชิงบวกในการเรียนสายอาชีพ เพื่อลดสัดส่วนการเรยี นสายสามัญ
2. หน่วยงานทุกระดบั มีการวิจัยทีส่ ามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้
5. จดุ เนน้ ด้าน ICT เพ่อื การศึกษา
1. หน่วยงานทกุ ระดบั พัฒนาระบบ ICT เพ่ือการศึกษาให้เหมาะสมกบั สถานศึกษาและผู้เรียน
2. หนว่ ยงานทกุ ระดบั พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้เป็นฐานเดยี วกันในเรอ่ื งขอ้ มูลนักเรียน ข้อมลู ครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา ข้อมลู สถานศึกษาและขอ้ มูลข้าราชการและบุคลากรอืน่ ในการใชข้ อ้ มูลร่วมกนั อย่างมี
ประสิทธิภาพ
3. หน่วยงานทุกระดบั พฒั นา DLTV DLI T ใหเ้ หมาะสมกบั สถานศึกษาและผ้เู รยี น
4. ผเู้ รียนมคี อมพิวเตอรใ์ ช้ในการเรียนรู้
6. จดุ เน้นดา้ นบริหารจัดการ
52
1. หน่วยงานทุกระดบั บรหิ ารจัดการโดยมุง่ เน้นการกระจายอำนาจ การสร้างเครอื ขา่ ยและรบั ผิดชอบต่อผลการ
ดำเนนิ งาน
1.1 สถานศกึ ษาท่ีไมผ่ า่ นการรับรองคุณภาพภายนอกตามท่ีกำหนดไดร้ ับการแก้ไข ชว่ ยเหลอื นเิ ทศ
ติดตาม และประเมินผล
1.2 สถานศึกษาขนาดเล็กไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ีคุณภาพการจดั การศกึ ษา
1.3 สถานศึกษาที่มีความพร้อมรบั การกระจายอำนาจมีรปู แบบการบริหาจัดการได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
1.4 สถานศึกษาบรหิ ารจดั การร่วมกนั โดยใช้การวางแผนพัฒนาการศกึ ษาระดับตำบล (Educational
Maps)
1.5 สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาบรหิ ารร่วมกนั ในรูปแบบ Cluster อย่างมีประสทิ ธิภาพ
1.6 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ โดยใช้มาตรฐานสำนกั งานเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษา
1.7 หนว่ ยงานทุกระดับพัฒนาคุณภาพการศึกษา สรา้ งระบบสวสั ดกิ าร สวสั ดภิ าพและความปลอดภยั
ให้เหมาะสมตามบริบทของพ้ืนทพ่ี เิ ศษ
1.8 หนว่ ยงานทกุ ระดับพัฒนาระบบ กำกบั ติดตาม และประเมนิ ผล เพ่ือการบรหิ ารจัดการที่มี
ประสทิ ธภิ าพและต่อเน่ือง
1.9 หน่วยงานทกุ ระดับปรับปรุงระบบการจดั สรรงบประมาร และเกณฑ์การจดั สรรงบเงินอดุ หนุน
ค่าใช้จา่ ยรายหัว ให้มคี วามเหมาะสมและเพยี งพอ
1.10 หน่วยงานทุกระดับ ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ หน่วยงาน องค์คณะบคุ คลและบุคลากรที่มผี ลงานเชิง
ประจกั ษ์
1.11 หนว่ ยงานทุกระดับ สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารวจิ ยั เพื่อพัฒนานโยบายและพัฒนาการจดั การศกึ ษาของเขต
พ้นื ท่ีการศึกษา และสถานศึกษา
1.12 หน่วยงานทุกระดบั มกี ารบรหิ ารจัดการโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
2. หนว่ ยงานทุกระดบั ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา
2.1 หน่วยงานทกุ ระดับ ส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัด
การศกึ ษา
2.2 หนว่ ยงานทกุ ระดับ ส่งเสริมการระดมทรัพยากรในการจัดการศึกษา
2.3 หนว่ ยงานทุกระดบั รับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากทกุ ภาคสว่ น และผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี เพอ่ื
ปรับปรงุ พฒั นาการจดั การศกึ ษา
53
ทิศทางการพัฒนาการจัดการศกึ ษาสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษา พจิ ติ ร เขต 2
วิสยั ทศั น์
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา พจิ ติ ร เขต 2 เปน็ องค์กรช้ันนำในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สมู่ าตรฐานสากล บนพนื้ ฐานความเป็นไทย
พนั ธกิจ
1. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ประชากรวยั เรยี นทุกคนไดร้ บั การศกึ ษาอย่างท่วั ถงึ และมี
คุณภาพ
2. สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตร และคา่ นยิ มหลักของคน
ไทย 12 ประการ
3. พฒั นาระบบบริหารจดั การที่เนน้ การมสี ่วนร่วม เพ่ือเสรมิ สรา้ งความรบั ผิดชอบต่อคณุ ภาพ
การศกึ ษา และบรู ณาการการจัดการศกึ ษา
เปา้ ประสงค์
1. นักเรยี นระดับก่อนประถมศึกษา และระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานทกุ คน มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
และมีคุณภาพ
2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รบั โอกาสในการศึกษาข้นั พนื้ ฐานอย่างทว่ั ถึง มีคุณภาพ และ
เสมอภาค
3. ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มสี มรรถนะตรงตามสายงาน และมีวฒั นธรรมการทำงานท่ีม่งุ เน้น
ผลสัมฤทธ์ิ
4. สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา และสถานศึกษาและสถานศกึ ษามปี ระสิทธภิ าพ และเปน็ กลไก
ขบั เคลือ่ นการศึกษาข้ันพื้นฐานสู่คณุ ภาพระดบั มาตรฐานสากล
3. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานเน้นการทำงานแบบบูรณากา การมเี ครอื ข่ายการบรหิ าร
จัดการ บริหารแบบมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศกึ ษา และกระจายอำนาจและความรับผดิ ชอบสู่สำนักงาน
เขตพื้นท่กี ารศึกษา และสถานศึกษา
4. พ้ืนท่ีพเิ ศษ ไดร้ ับการพฒั นาคุณภาพการศึกษาและพฒั นารปู แบบการจัดการศึกษาทเี่ หมาะสมตามบรบิ ท
ของพื้นที่
กลยุทธ์
จากวิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน จึงกำหนด
กลยุทธ์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 จำนวน 4 กลยทุ ธ์ ดังต่อไปนี้
กลยทุ ธท์ ี่ 1 การพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นในระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
กลยทุ ธ์ที่ 2 การเพ่ิมโอกาสการเข้าถงึ บริการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใหท้ วั่ ถึงครอบคลมุ
ผเู้ รยี นให้ได้รับโอกาสในการพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและมคี ณุ ภาพ
กลยุทธ์ที่ 3 การพฒั นาคุณภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
54
กลยทุ ธ์ที่ 4 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ
ผลผลิต
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการดำเนินงาน 6 ผลผลติ คอื
1. ผ้จู บการศกึ ษาระดับกอ่ นประถมศกึ ษา
2. ผจู้ บการศึกษาภาคบงั คบั
3. ผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
4. เด็กพิการไดร้ บั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและพัฒนาสมรรถภาพ
5. เดก็ ดอ้ ยโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
6. ผ้ทู ี่มีความสามารถพิเศษได้รับการพัฒนาศักยภาพ
จดุ เน้นการดำเนินงาน
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ไดก้ ำหนด 6 จดุ เนน้ การดำเนนิ งาน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ท่ีสอดคลอ้ งกบั 6 จุดเนน้ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 6 ยุทธศาสตร์
กระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั นี้
1. จดุ เน้นดา้ นหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้
1. หลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรูม้ ีการปรับปรงุ ตามความเหมาะสม ดังต่อไปนี้
1.1 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานมีการปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมกบั ผู้เรยี น
1.2 โครงสรา้ งเวลาเรียนมกี ารปรบั ปรุงให้เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
1.3 สถานศึกษาทุกแห่งมีการยกระดบั มาตรฐานภาองั กฤษในแต่ละช่วงชน้ั
1.4 สถานศึกษาใช้ STEM Education BBL DLTV
2. ผูเ้ รยี นมีสมรรถนะที่สำคญั สมู่ าตรฐานสากล ดังต่อไปน้ี
2.1 ผเู้ รยี นระดบั ก่อนประถมศกึ ษามีพัฒนาการดา้ น ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและ สติปญั ญาที่
สมดลุ เหมาะสมกับสงั คม วยั และเรียนรอู้ ย่างมคี วามสขุ
2.2 ผเู้ รียนตั้งแต่ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 อา่ นออก เขียนได้
2.3 ผู้เรียนตง้ั แตช่ น้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 ข้นึ ไป อา่ นคล่องเขียนคล่อง
2.4 ผูเ้ รยี นตง้ั แตช่ ้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 มคี วามสามารถดา้ นภาษา ดา้ นคำนวณ และด้านเหตผุ ล ผา่ น
เกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดเพมิ่ ขน้ึ
2.5 ผ้เู รียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 มี
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นจากการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) กลมุ่ สาระหลักเพิ่มขึ้น
1.6 ผเู้ รยี นในระดบั มัธยมศึกษาได้รบั การส่งเสรมิ ให้มีแรงจูงใจสู่อาชีพ ด้านการแนะแนวและได้รบั
การพฒั นาความรู้ทักษะที่เหมาะสมเพือ่ การมีงานทำในอนาคต
1.7 ผู้เรียนมีทักษะในการส่ือสาร ทักษะการคิด ทกั ษะการแก้ปัญหา ทักษะชีวิต และทักษะการใช้
เทคโนโลยี ที่เหมาะสมตามช่วงวยั
55
2.8 ผู้เรียนได้รับการวดั และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลายเหมาะสมตามศักยภาพเป็นรายบุคคล
3. ผู้เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม ตามค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ รวมทั้งมจี ิตสำนึกในการอนุรกั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และห่างไกลยาเสพติด
3.1 ผ้เู รยี นระดบั ประถมศึกษา ใฝ่เรยี นรู้ ใฝด่ ี และอยูร่ ่วมกบั ผู้อืน่ ได้
4. ผู้เรียนที่มคี วามต้องการพิเศษไดร้ ับการสง่ เสรมิ สนับสนุน และพัฒนา เต็มตามศกั ยภาพเป็นรายบุคคล
ได้แก่
4.1 ผู้พิการ
4.2 ผู้ด้อยโอกาสและผเู้ รียนในพ้นื ท่ีพิเศษ
4.3 ผู้เรยี นที่มีความสามารถพเิ ศษ
4.4 ผเู้ รยี นภายใต้การจดั การศกึ ษาโดยครอบครัว สถานประกอบการ และศนู ย์การเรียน
4.5 ผูเ้ รียนท่ตี อ้ งการความคุ้มครองและช่วยเหลอื เปน็ กรณีพเิ ศษ
2. จุดเนน้ ด้านการผลติ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
1. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ได้รบั การพฒั นาองค์ความรู้ ตรงตามความต้องการของบุคคลและสถานศึกษา
1.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ ับการพัฒนาวิธจี ัดการเรยี นรู้ ท่ีใช้ทกั ษะกระบวนการคิด
รวมทงั้ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สามารถประยุกตใ์ ชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารที่
ทันสมยั
1.3 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รบั การนิเทศแบบกลั ยาณมิตร จากสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และครู ทง้ั ในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียน หรือภาคส่วนอ่ืนๆ ตามความพรอ้ มของโรงเรยี น
1.4 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สร้างเครือขา่ ยการเรียน การมสี ่วนร่วมจากผ้มู ีส่วนเกย่ี วข้อง และ
ทุกภาคสว่ นให้เกดิ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้
1.5 ครูจัดการเรียนรู้สปู่ ระคมอาเซียน
1.6 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีจติ วิญญาณของความเป็นครู การเป็นครูมืออาชพี และยดึ ม่ันใน
จรรยาบรรณวิชาชีพ
2. ผูบ้ ริหารสถานศึกษา สามารถบริหารงานทุกดา้ นให้มปี ระสิทธิภาพ และเกิดประสิทธผิ ล
3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีขวญั กำลังใจในการทำงาน และมผี ลการปฏิบัติงานเชิงประจกั ษ์
4. องคก์ ร องคค์ ณะบคุ คล และผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสียวางแผนสรรหา ยา้ ย โอน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของโรงเรยี นและชุมชน
3. จดุ เน้นดา้ นการทดสอบ การประเมนิ การประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
1. ระบบการประเมนิ สถานศึกษาและผเู้ รยี นมกี ารพฒั นาใหเ้ หมาะสมกับสถานศึกษาและผู้เรยี น
2. ระบบทดสอบเพื่อประเมินผ่าน หรือซ้ำซ้อน มีการพฒั นาให้เหมาะสมในการจบการศึกษาชนั้ ประถมศึกษา
ปที ่ี 6
56
3. ผปู้ ระเมินคุณภาพสถานศึกษามีการพัฒนาตามมาตรฐานผู้ประเมิน
4. จุดเนน้ ด้านพัฒนากำลังคนและงานวิจยั ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
1. สถานศกึ ษาสรา้ งค่านิยมเชิงบวกในการเรยี นสายอาชีพ เพอื่ ลดสัดสว่ นการเรยี นสายสามัญ
2. หนว่ ยงานทุกระดับมีการวิจัยท่ีสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้
5. จดุ เน้นด้าน ICT เพอื่ การศึกษา
1. หนว่ ยงานทุกระดับพัฒนาระบบ ICT เพื่อการศกึ ษาใหเ้ หมาะสมกับสถานศึกษาและผู้เรียน
2. หนว่ ยงานทกุ ระดับพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศใหเ้ ป็นฐานเดียวกันในเร่อื งขอ้ มูลนักเรียน ข้อมลู ครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา ขอ้ มูลสถานศกึ ษาและข้อมลู ข้าราชการและบุคลากรอน่ื ในการใช้ขอ้ มูลร่วมกันอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
3. หน่วยงานทุกระดับพฒั นา DLTV DLI T ใหเ้ หมาะสมกับสถานศึกษาและผู้เรียน
4. ผูเ้ รยี นมคี อมพิวเตอร์ใช้ในการเรียนรู้
6. จุดเนน้ ดา้ นบริหารจัดการ
1. หนว่ ยงานทุกระดับบริหารจดั การโดยมุ่งเนน้ การกระจายอำนาจ การสรา้ งเครอื ข่ายและรบั ผิดชอบต่อผลการ
ดำเนินงาน
1.1 สถานศึกษาที่ไม่ผา่ นการรับรองคุณภาพภายนอกตามท่ีกำหนดไดร้ บั การแกไ้ ข ช่วยเหลือ นิเทศ
ติดตาม และประเมนิ ผล
1.2 สถานศกึ ษาขนาดเล็กไดร้ ับการพัฒนาให้มคี ุณภาพการจดั การศึกษา
1.3 สถานศึกษาทมี่ ีความพร้อมรบั การกระจายอำนาจมรี ปู แบบการบรหิ าจัดการได้อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ
1.4 สถานศกึ ษาบรหิ ารจัดการร่วมกนั โดยใชก้ ารวางแผนพัฒนาการศึกษาระดับตำบล (Educational
Maps)
1.5 สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาบรหิ ารร่วมกนั ในรูปแบบ Cluster อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
1.6 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาบริหารจดั การอย่างมีคุณภาพ โดยใช้มาตรฐานสำนักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษา
1.7 หนว่ ยงานทุกระดบั พัฒนาคุณภาพการศึกษา สรา้ งระบบสวัสดกิ าร สวสั ดภิ าพและความปลอดภยั
ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของพื้นที่พิเศษ
1.8 หนว่ ยงานทกุ ระดับพฒั นาระบบ กำกบั ติดตาม และประเมินผล เพื่อการบริหารจัดการที่มี
ประสทิ ธิภาพและต่อเนื่อง
1.9 หน่วยงานทุกระดบั ปรับปรงุ ระบบการจดั สรรงบประมาณ และเกณฑ์การจัดสรรงบเงินอดุ หนุน
คา่ ใชจ้ า่ ยรายหวั ให้มีความเหมาะสมและเพยี งพอ
1.10 หนว่ ยงานทุกระดบั ยกย่องเชิดชูเกยี รติ หน่วยงาน องค์คณะบุคคลและบุคลากรที่มีผลงานเชงิ
ประจักษ์
57
1.11 หน่วยงานทกุ ระดับ ส่งเสริมให้มีการวจิ ัยเพื่อพัฒนานโยบายและพฒั นาการจดั การศึกษาของเขต
พื้นทก่ี ารศึกษา และสถานศึกษา
1.12 หนว่ ยงานทุกระดับ มกี ารบรหิ ารจดั การโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล
2. หนว่ ยงานทกุ ระดับ ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา
2.1 หนว่ ยงานทุกระดบั ส่งเสรมิ ให้ทุกภาคส่วนและผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัด
การศกึ ษา
2.2 หนว่ ยงานทุกระดับ ส่งเสรมิ การระดมทรัพยากรในการจัดการศกึ ษา
2.3 หนว่ ยงานทุกระดับ รับฟังความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะจากทกุ ภาคส่วน และผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย เพอ่ื
ปรบั ปรุงพฒั นาการจดั การศึกษา
จดุ เนน้ พเิ ศษตามนโยบายของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา พิจิตร เขต 2
ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น
1. ส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
2. ส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ทางกีฬา
3. สง่ เสรมิ ความเป็นเลิศทางดนตรี
4. ผเู้ รยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) อยูใ่ นระดับ Top Ten ของประเทศ
5. ผู้เรียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 อ่านออก เขยี นได้ทุกคน
ด้านการบริหารงานบคุ คล
1. ใชร้ ะบบคุณธรรม
2. การบรหิ ารอัตรากำลงั โดยคณะกรรมการ
3. ส่งเสริมความกา้ วหน้าของครู บคุ ลากร และผ้บู รหิ าร
4. การบริหารงานบุคคลท่ีดี จะส่งผลต่อคุณภาพผ้เู รยี น
ด้านการบริหารงบประมาณ
1. การจดั สรรงบประมาณยดึ ข้อมูล และความต้องการจำเปน็
2. การบรหิ ารงบประมาณตอทนั กำหนดเวลา
ด้านการบรหิ ารจัดการของสำนักงานเขต
1. สำนกั งานเขต “จะเปน็ โซข่ ้อกลาง” เป็นผูป้ ระสานทด่ี ี
2. ใชส้ หวิทยาเขต เป็นกลไกในการบรหิ ารจดั การทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ
3. จัดทำ War Rooms ในการนำนโยบาย/ยทุ ธศาสตร์ สู่การปฏบิ ตั ิ
4. การบริหารจดั การใชฐ้ านข้อมูล และ ICT
5. สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา เขต 2 พร้อมรับนกั เรยี นจากโรงเรยี นขยายโอกาสของโรงเรยี น
ประถมศกึ ษาที่มีแนวโนม้ ลดลง
58
6. เพม่ิ เปา้ หมายจำนวนโรงเรียนมาตรฐานสากล และโรงเรียนทกั ษะอาชพี
7. ส่งเสริมคณุ ธรรมและภูมติ ้านทาน คา่ นิยมพ้นื ฐานด้านระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
8. ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนมจี ิตอาสาและเป็นผนู้ ำดา้ นศาสนพธิ ี
9. สง่ เสรมิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นด้านลกู เสือ ยวุ กาชาด เนตรนารี
59
ส่วนที่ 4
กำหนดแผนยทุ ธศาสตร์
60
สว่ นท่ี 4
กำหนดแผนยุทธศาสตร์
นโยบายโรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม เพอ่ื รองรบั การปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่สองไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ตอ่ ไปดังน้ี
ทศิ ทางการพัฒนาโรงเรียนส่มู าตรฐานสากล
โรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วิทยาคม
วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
ภายในปี 2563 โรงเรียนบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม เป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ มุ่งสู่มาตรฐานสากล ดแู ลชว่ ยเหลือ
ผู้เรยี น ให้มที ักษะชีวติ ห่างไกลยาเสพตดิ มีจิตสาธารณะ โดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
พนั ธกิจ - Mission
1. พัฒนาผู้เรียนและครใู ห้มคี วามรู้และมศี ักยภาพเปน็ พลโลก
2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญโดยใช้เทคโนโลยีและภูมิปญั ญาท้องถ่ิน
3. นอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาพัฒนาผูเ้ รียนและบุคลากรใหม้ ที ักษะชีวิต และจิตสาธารณะ
4. พฒั นาความเข้มแข็งของระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
5. ปลกู ฝังผู้เรียนใหเ้ ป็นผมู้ คี ุณธรรม จริยธรรม รกั ความเป็นไทย ไมย่ งุ่ เกีย่ วส่งิ เสพตดิ และอบายมุข
6. บริหารจัดการโรงเรยี นโดยใชร้ ะบบคณุ ภาพ
เปา้ ประสงค์ – Goals
1) ผเู้ รียน มีความร้ตู ามเกณฑ์ของหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
2) ผู้เรียน มีศักยภาพเปน็ พลโลก
3) ครู มคี วามรู้ ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพครู
4) ครู มีความสามารถสื่อสารอยา่ งน้อย 2 ภาษา
5) ครู จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ โดยใชเ้ ทคโนโลยีและ
ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ
6) ผู้เรียน มที ักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
7) ครู มีทักษะชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
8) ครูมีความเข้มแข็งในการดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
9) ผู้เรียน เปน็ ผู้มสี มั มาคารวะและมีคณุ ธรรมด้านการประหยดั และรู้จกั ออม
10) ผ้เู รียนรู้และสามารถปฏิบัติตามหลักการหา่ งไกลยาเสพติดและอบายมุข
11) ใช้ระบบคุณภาพในการบริหารจดั การ
61
กลยุทธโ์ รงเรยี น
กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาผ้เู รียนสู่มาตรฐานสากล
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาความเข้มแขง็ ของระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยทุ ธท์ ่ี 4 พัฒนาทักษะชีวิตและจติ สาธารณะ
กลยุทธท์ ี่ 5 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลยทุ ธท์ ่ี 6 พฒั นาระบบบริหารคณุ ภาพและเทคโนโลยี
กลยุทธท์ ่ี 7 พฒั นาสภาพแวดล้อมใหเ้ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้และบรกิ ารส่งเสรมิ ผเู้ รียนให้เต็มตามศักยภาพ
คา่ นยิ มของโรงเรยี น
ร่วมคิด ร่วมทำ นำสู่ความสำเร็จ
วฒั นธรรมของโรงเรียน
รู้รักสามัคคี มจี ติ อาสา ผูกพันรว่ มกนั ทำงานอย่างมีความสุข
เอกลักษณ์ของโรงเรียน (จุดเดน่ ของโรงเรยี น)
เปน็ ผู้มีมารยาทดี มีจิตสาธารณะ
อัตลักษณข์ องโรงเรยี น (คุณลักษณะผู้เรียนทเ่ี กดิ จากวสิ ยั ทัศน์/พันธกจิ )
วชิ าการดี กฬี าเด่น ศลิ ปะยอด ดนตรีเยย่ี ม นาฏศลิ ปเ์ ลิศ
ปรชั ญาโรงเรยี น - รักหน้าที่ มวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ เชิดชคู ณุ ธรรม
สมรรถนะหลกั ของโรงเรยี น (ความสามารถทโี่ ดดเดน่ )
1.การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ
2. การบริการท่ีดี
3. การพัฒนาตนเอง
4. การทำงานเปน็ ทีม
62
ตารางแสดง กรอบการดำเนนิ งาน กลยุทธ์โรงเรยี น กลยุทธ์ระดับแผนงาน เปา้ หมาย
และตัวชี้วดั และกรอบเวลา
กลยทุ ธ์ที่ 1
กลยุทธ์ที่ 1 พฒั นาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล
กลยุทธ์ระดบั เปา้ หมาย ตัวชีว้ ดั ปี
แผนงาน 2564 2565 2566 2567
85
1. พัฒนาผ้เู รยี น 1.โรงเรยี นมี 1.ระดับคณุ ภาพของโรงเรียนมีหลกั สตู ร 70 75 80 85
85
สู่ คณุ ภาพ สถานศกึ ษาที่เทียบเคยี งหลกั สตู รมาตรฐานสากล
85
มาตรฐานสากล การศึกษา 2.ระดับคณุ ภาพท่ีมีหลกั สตู รสถานศึกษา 70 75 80 85
85
คณุ ภาพ ตามหลกั สูตร ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 85
การศึกษา มาตรฐาน 3.รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ ีคุณภาพตาม 70 75 80
ตามหลกั สูตร สากล หลักสตู รมาตรฐานสากล
มาตรฐานสากล
2.พฒั นาคณุ ภาพ 1.ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมผี ลสัมฤทธ์ิ 70 75 80
ทางการเรยี นอยใู่ นระดับดีข้ึนไป
ผเู้ รยี นให้มี 2.รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มผี ลสมั ฤทธ์ิ 70 75 80
ระดบั ชาติ (O-NET)สูงกวา่ ค่าเฉลย่ี ระดับเขตพื้นท่ี
ศกั ยภาพเป็นพล 3.รอ้ ยละของผู้เรยี นทเี่ ขา้ สู่การแขง่ ขนั ระดับชาติ 70 75 80
4.ร้อยละของผู้เรียนท่ีศึกษาต่อใน 70 75 80
โลก ระดับอุดมศึกษา
กลยุทธร์ ะดับ เป้าหมาย ตวั ช้ีวัด ปี 2567
แผนงาน 2564 2565 2566
อัตลักษณข์ อง กิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาและ
โรงเรยี น นันทนาการ
1. พฒั นาผ้เู รียน 1.โรงเรียนมี 1.ระดับคณุ ภาพของโรงเรียนมหี ลักสตู ร 75 80 85
สถานศึกษาทเ่ี ทียบเคียงหลกั สูตรมาตรฐานสากล 75 80 85
สู่ คุณภาพ 2.ระดบั คณุ ภาพที่มีหลกั สูตรสถานศึกษาท่บี รู ณา 75 80 85
การหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานสากล การศกึ ษาตาม 3.ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ีคณุ ภาพตามหลักสตู ร
มาตรฐานสากล
คณุ ภาพ หลกั สตู ร
การศึกษาตาม มาตรฐานสากล
หลักสตู ร
มาตรฐานสากล
63
กลยทุ ธท์ ่ี 2
กลยุทธท์ ี่ 2 พฒั นาความเข้มแข็งของระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น
กลยุทธ์ เป้าหมาย ตัวช้ีวัด ปี
ระดบั 2560 2561 2562 2563
แผนงาน
1.พัฒนา 1.โรงเรยี นมคี ุณภาพ 1.ระดบั คุณภาพของโรงเรยี นมี 70 75 80 85
ความ การศึกษาตามหลกั สตู ร
เข้มแข็งของ มาตรฐานสากล หลักสตู รสถานศึกษาท่เี ทยี บเคียง
ระบบการ
ดแู ล หลักสตู รมาตรฐานสากล
ชว่ ยเหลือ
นักเรียน 2.ระดับคุณภาพที่มีหลักสูตร 70 75 80 85
สถานศกึ ษาท่ีบูรณาการหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.ร้อยละของนักเรียนทม่ี ีคุณภาพ 70 75 80 85
ตามหลักสตู รมาตรฐานสากล
64
กลยทุ ธท์ ี่ 3 กลยุทธท์ ี่ 3 พัฒนาหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยทุ ธร์ ะดบั แผนงาน เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด ปี
2560 2561 2562 2563
1.พัฒนาคณุ ภาพ 1.ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการ 1.รอ้ ยละของผเู้ รียนที่มี 60 65 70 75
ผู้เรยี นใหม้ ีศักยภาพ เรียน ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นอย่ใู น
เป็นพลโลก ระดับดขี ้นึ ไป 45 50 55 60
2.รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มี
ผลสมั ฤทธิร์ ะดับชาติ (O- 10 10 15 20
NET)สงู กวา่ ค่าเฉลยี่ ระดับเขต
พืน้ ท่ี
3.ร้อยละของผู้เรยี นทีเ่ ข้าสู่การ 45 50 55 60
แขง่ ขันระดับชาติ
4.รอ้ ยละของผเู้ รียนที่สามารถ 50 55 60
สอบเข้าศึกษาตอ่ ใน
ระดบั อดุ มศึกษา
2.นักเรยี นมคี วามเป็นเลิศ 1.รอ้ ยละของผลการแขง่ ขันและ 60 65 70 75
ทางดา้ นวชิ าการและ การประกวดทางด้านวิชาการ
อัตลักษณ์ของโรงเรียน 2. รอ้ ยละผลงานจากการเขา้ 60 65 70 75
รว่ มกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี
นาฏศลิ ป์ กีฬาและนันทนาการ
2.ส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนมี 1.สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมี 1. รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีมีสุข 70 75 80 85
สขุ ภาวะท่ดี ีและมี สขุ ภาวะทด่ี ีและมสี นุ ทรยี ภาพ ภาวะและสนุ ทรยี ภาพ
สนุ ทรียภาพ 2.รอ้ ยละของนักเรียนท่ีปอ้ งกัน 70 75 80 85
ตนเองจากสง่ิ เสพติด อบายมุข
และหลีกเลยี่ งสภาวะที่มคี วาม
เสี่ยงต่อความรนุ แรง โรคภยั
อุบัตเิ หตแุ ละปญั หาทางเพศ
65
กลยทุ ธโ์ รงเรียนท่ี 4
พัฒนาครูและบุคลากร ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ได้อยา่ งมีคณุ ภาพ
กลยุทธร์ ะดบั แผนงาน เปา้ หมาย ตวั ช้วี ดั ปี
2560 2561 2562 2563
1.ส่งเสริม สนับสนุน 1.โรงเรยี นมีครแู ละบุคลากรท่ี 1.รอ้ ยละของครูท่ีเขา้ รบั การ 75 80 85 90
พฒั นาครแู ละบุคลากร สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ อบรม สมั มนาและศึกษาดงู าน
ใหส้ ามารถจัดกจิ กรรม ได้อยา่ งมคี ุณภาพ 2.รอ้ ยละของครูท่ีการจัดทำ 75 80 85 90
การเรยี นรู้ได้อยา่ งมี ผลงานเพื่อพฒั นาตนเอง
คณุ ภาพ 3.รอั ยละของครูทผ่ี ลติ สื่อ 75 80 85 90
เทคโนโลยีท่ใี ช้ในการจัดการ
เรียนรู้
4.รอ้ ยละของครูทจ่ี ดั การเรียน 75 80 85 90
การสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
และมีการ บูรณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
5.ระดบั คณุ ภาพที่มีการนิเทศ 75 80 85 90
ตดิ ตามอย่างเป็นระบบ และนำ
ผลไปพัฒนาการเรยี นการสอน
6.ระดบั คณุ ภาพของระบบดูแล 75 80 85 90
ช่วยเหลอื นักเรียนทีม่ ี
ประสทิ ธภิ าพ
7.ระดับคุณภาพที่มกี ารสนบั สนนุ 75 80 85 90
และส่งเสริมให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษามขี วัญกำลงั ใจใน
การปฏบิ ัตงิ าน
66
กลยุทธโ์ รงเรียนที่ 5
พฒั นาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล เนน้ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคสว่ น
กลยทุ ธร์ ะดบั แผนงาน เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัด
2564 2565 2566 2567
1.พัฒนาระบบบรหิ าร 1.โรงเรียนมีการพัฒนาองค์กร 1.ระดับคุณภาพของโครงสรา้ ง 75 80 85 90
จัดการด้วยระบบ ดา้ นการบริหารจัดการอยา่ งมี การบริหารโรงเรยี น
คุณภาพ ประสทิ ธิภาพ 2.ระดบั คุณภาพของแผนกลยทุ ธ์ 75 80 85 90
และแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี
การศึกษา
3.ระดบั คุณภาพของการประกัน 75 80 85 90
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาตามที่
กำหนดในกฎกระทรวง
4.รอ้ ยละของความพงึ พอใจต่อ 75 80 85 90
การบรหิ ารจดั การของโรงเรียน
และการบริการผู้มีส่วนไดเ้ สีย
5.ร้อยละของการมวี ัสดุ อปุ กรณ์ 75 80 85 90
สำนกั งานที่มีประสิทธภิ าพและ
เพียงพอต่อการดำเนนิ งาน
2.พัฒนาแหล่งเรียนรู้ 1.โรงเรียนมีอาคารสถานท่ี 1.ระดบั คณุ ภาพของแหลง่ เรยี นรู้ 75 80 85 90
อาคารสถานทีแ่ ละ ภูมิทศั นแ์ ละสงิ่ แวดล้อมที่ ในโรงเรยี นท่หี ลากหลาย เช่น โรง
สภาพแวดล้อมเพ่ือ สวยงามมีบรรยากาศเหมาะสม ผลติ น้ำดม่ื โรงผลิตปุ๋ยหมักจาก
ส่งเสริมให้นักเรียน และเอื้อต่อการเรียนรู้และการ ใบไม้ เรือนเพาะชำ เกษตรทฤษฎี
พฒั นาการเรยี นรู้อยา่ ง บริหารจัดการ ใหม่ พรรณไมง้ ามขามแกน่ นคร
เตม็ ศักยภาพ เรือนเพาะเห็ด ศนู ย์อาเซยี น
ศึกษา ห้องจรยิ ธรรม
2.ระดบั คุณภาพอาคารสถานท่ี 75 80 85 90
ภูมทิ ศั น์และสภาพแวดลอ้ ม
สะอาด รม่ ร่ืน สวยงาม ทเ่ี อื้อตอ่
การเรยี นรไู้ ด้อย่างเต็มศักยภาพ
3.ระดับคณุ ภาพของ
หอ้ งปฏิบตั กิ ารพรอ้ มอุปกรณ์ที่ 75 80 85 90
67
กลยุทธ์ระดบั แผนงาน เปา้ หมาย ตวั ช้วี ดั ปี
2564 2565 2566 2567
ทันสมัย เช่น ห้องเรยี นมัลติมเี ดีย
กลมุ่ สาระภาษาตา่ งประเทศ
หอ้ งสบื คน้ ข้อมูล ห้องปฏบิ ตั ิการ
ทางคณิตศาสตร์
4.ระดบั คณุ ภาพของห้องน้ำ หอ้ ง
ส้วม ที่สะอาด ปลอดภยั สวยงาม 75 80 85 90
และเพียงพอ รวมถงึ ห้องนำ้
สำหรบั เดก็ พิการด้วย
5.ระดบั คณุ ภาพของ.กล้องวงจร
ปดิ เพอ่ื ความปลอดภัย 75 80 85 90
3.สง่ เสริมและพฒั นา 3.โรงเรยี นมกี ารจัดระบบ 1.ระดับคณุ ภาพของระบบข้อมลู 75 80 85 90
ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารท่เี ออื้ สารสนเทศท่ถี ูกตอ้ ง เปน็ ปจั จุบัน
สารสนเทศและการ ต่อการเรยี นรู้และการบริหาร และเพียงพอ เพื่อการสืบค้น การ
สือ่ สารทเี่ อื้อต่อการ จดั การ พัฒนาองค์กร การบริหารจัดการ
เรยี นรู้ และพฒั นาผู้เรียน
2.รอ้ ยละของความพึงพอในใน 75 80 85 90
การบริการสารสนเทศและการ
ส่ือสารทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้และ
การบรหิ ารจดั การ
4. ส่งเสริม 4.โรงเรยี นมีเครือข่าย 1.ระดบั คุณภาพของเครอื ข่าย 75 80 85 90
ความสมั พันธ์กับชุมชน พัฒนาการเรยี นรู้และ สง่ เสรมิ พัฒนาการเรียนรู้ เช่น
ความร่วมมือของผู้ปกครอง การทำ MOU กบั หน่วยงานต่างๆ
ชมุ ชนและองค์กรอน่ื ๆในการจัด 2.ระดบั คุณภาพของความรว่ มมือ
การศึกษาเพื่อพฒั นาผเู้ รียน ระหว่างสถานศึกษา ผู้ปกครอง 75 80 85 90
และชมุ ชน เช่นคณะกรรมการ
สถานศึกษา มลู นิธิ สมาคม
ผู้ปกครอง ครู เครอื ข่าย
ผ้ปู กครอง ศิษย์เก่า และองค์กร
อ่นื ๆในการจัดการศึกษาเพื่อ
พฒั นาผเู้ รียน
68
แผนปฏบิ ัติการประจำปี 2564
ที่ งาน/โครงการ แผนงาน ผู้รบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
1 โครงการนิเทศภายในโรงเรยี น 2,500
2 โครงการค่าสาธารณูปโภค บริหารวชิ าการ นางราตรี กาหวัง 91,000
3 โครงการอนุรักษแ์ ละฟ้ืนฟูภูมิ 9,600
บริหารงบประมาณ นายสมพงษ์ พนั วัง
ปัญญาไทย
ด้านอัตลกั ษณข์ อง นายสมพงษ์ พนั วงั
โรงเรยี น
4 โครงการพฒั นาระบบงานธุรการ บริหารทัว่ ไป นายสมพงษ์ พนั วัง 32,100
ขอ้ มูลขา่ วสาร นางสาวอนัญญา ยอดเพช็ ร
และสารสนเทศ บรหิ ารทว่ั ไป 800
บริหารท่วั ไป นายสมพงษ์ พันวงั 35,000
5 โครงการโรงเรยี นสขี าว นายสมพงษ์ พนั วัง
6 โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้ของ บริหารทวั่ ไป 50,000
นายสมพงษ์ พนั วงั
นกั เรียน บรหิ ารบคุ คล 30,000
7 โครงการพฒั นาอาคารสถานท่ีและ บรหิ ารวิชาการ นางสวุ รรณา เขม็ เพชร 194,500
นายสมพงษ์ พนั วัง
สงิ่ แวดล้อม บริหารวิชาการ 4,110
8 โครงการส่งเสรมิ พัฒนาบุคลากร นางกันยารัตน์ วัลลิภากร
9 โครงการพัฒนาทกั ษะทาง บรหิ ารท่วั ไป 13,120
บริหารท่ัวไป นางสาวลำดวน มงคล 1,700
ภาษาอังกฤษ นางสาวลำดวน มงคล
10 โครงการพฒั นาระบบดแู ลและ บริหารวิชาการ 4,240
นางสาวลำดวน มงคล
ชว่ ยเหลือนักเรยี น บรหิ ารท่วั ไป 6,800
11 โครงการส่งเสริมกจิ กรรมวนั สำคญั นางราตรี กาหวัง
12 โครงการเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียง บริหารท่ัวไป 352,000
บริหารวชิ าการ นางราตรี กาหวัง 23,700
เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน นางราตรี กาหวัง
13 โครงการสง่ เสริมคุณธรรม
จรยิ ธรรม นกั เรยี น
14 โครงการสง่ เสรมิ ความเปน็ ผนู้ ำ
ตามแนวทางประชาธิปไตย
15 โครงการอาหารกลางวนั
16 โครงการสง่ เสรมิ พัฒนายกระดบั
ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียน
69
ส่วนท่ี 5
แผนการควบคุม กำกบั ตดิ ตาม
70
แนวทางการบรหิ ารแผนกลยทุ ธ์สกู่ ารปฏบิ ัตแิ ละการตดิ ตามประเมินผล
การนำแผนสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมนิ ผล
1. การนำแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ
การนำแผนพัฒนาโรงเรียนไปสกู่ ารปฏิบัตินับเป็นข้ันตอนที่สำคัญมาก เพราะเป็นความสามารถท่ีจะผลักดัน
การทำงานของกลไกท่ีสำคัญท้ังหมด ให้สามารถบรรลุผลลัพธ์ตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ การดำเนินงานจะเกิดผลอย่างมี
ประสิทธิภาพจำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องผลักดันให้มีการปรับเปล่ียนแนวคิด ค่านิยม เป้ามาย รวมถึงวิธีและกระบวนการ
ทำงาน การนำแผนไปสู่การปฏิบตั ิจะตอ้ งทำให้หนว่ ยงานยอมรับแนวทาง แผนงาน โครงงานนั้น และพรอ้ มท่ีนำแนวทางนั้น
ไปดำเนินการได้อย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และวิธีการปฏิบัติงานของตน ดังน้ัน จึงจำเป็นต้องมีการระดมกำลัง
แสวงหาการสนับสนุน เพ่ือให้เกิดการปฏิบัติและสร้างความเป็นปึกแผ่นให้เกิดขึ้นเพ่ือให้ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้สึกเป็น
เจ้าของและมีส่วนร่วม ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจึงกำหนด
แนวทางการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยสงั เขป ดังน้ี
1) ผบู้ ริหารโรงเรียนผลักดนั ใหม้ ีการดำเนนิ งานตามแผนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และสม่ำเสมอ
2) โรงเรี ยน จั ดท ำแผนระยะกลางและจั ดทำแผนป ฏิ บั ติ การ และดำเนิ น การตามแผน มี
การกำกบั ติดตาม ประเมินคณุ ภาพ ประสานงานกบั หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เพ่ือใหป้ ระสบผลสำเร็จตามที่มงุ่ หวังไว้
3) เรง่ รัดให้หน่วยงานดำเนินงาน เพ่ือเผยแพร่และเสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาระสำคัญของแผน
ให้ครูและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องได้ทราบ มีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนอย่างกว้างขวาง เพ่ือให้การนำแผนสู่การปฏิบัติ
เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพเกิดความเป็นปึกแผ่นตอ่ เนื่อง
4) มีการกำหนดภารกิจความรับผิดชอบให้ชัดเจนเพ่ือความสอดคล้องกับแผนงาน และแผนอัตรากำลัง
และขจัดความซ้ำซ้อนของงาน
5) วางแนวปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความคล่องตัวและชัดเจนแก่ผู้ปฏิบัติและผู้เก่ียวข้อง รวมทั้งลดขั้นตอนใน
การปฏิบัติงานเพอ่ื ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ
6) พฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศทางการศกึ ษาให้มีความแมน่ ยำและเป็นปัจจบุ ัน และสามารถให้บรกิ ารได้
ตรงกบั ความต้องการและทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง
7) พัฒนาระบบการกำกับติดตาม และการประเมินผล ที่มุ่งเน้นประเมินเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการ
ดำเนินงาน โดยมีการพัฒนาตัวชี้วัดผลสำเร็จการดำเนินงานท้ังในด้านปริมาณ คุณภาพระยะเวลาในการประเมิน ผู้
ประเมนิ และแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล
2. การตดิ ตามและประเมนิ ผล
71
หลังจากท่ีโรงเรียนได้ปฏิบัติดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์นี้แล้ว จำเป็นต้องมีการกำกับติดตาม และ
ประเมินผล เพ่ือให้ทราบผลและความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ว่าจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดในเวลาท่ี
กำหนดไว้หรือไม่ โดยการติดตามประเมินผล จะวดั จากจุดมุ่งหมายหลกั โดยสรปุ ได้ดังนี้
1) มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีบุคลิกภาพที่เป็นผู้นำ มีคุณธรรม สังคมยกย่องและให้การยอมรับ มีทักษะในการ
เรียนรดู้ ้านวิชาการ รบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม มีสำนึกในความเปน็ ไทย รจู้ กั ดำรงชวี ติ อย่างมคี ณุ ค่ามสี ุขภาพท่ดี ี
2) มุง่ พัฒนาระบบและบุคลากรฝ่ายบริหารให้เปน็ มืออาชีพ เพ่ือสนองความต้องการของสังคมทางวิชาการ
โดยเน้นคุณภาพระดับสากล และสามารถปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์แก่ผู้เรียนและให้บุคลากรทุกคนได้รับการ
พฒั นาความสามารถอยา่ งต่อเนือ่ ง โดยสามารถดำรงไว้ซ่ึงจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
3) มงุ่ เน้นการจดั การศึกษาทม่ี ีอิสระ และคล่องตัวในการบรหิ ารจดั การ เพ่ือให้สามารถสร้างมาตรฐานการ
บริการใหเ้ ปน็ ท่พี งึ พอใจของผใู้ ชบ้ ริการ โดยการประเมินผลมีกระบวนการอยา่ งครา่ วๆ ดังน้ี
(1) โรงเรยี นสรา้ งกระบวนการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลอย่างต่อเน่ือง และสรา้ งเครอื ข่าย
เชื่อมโยงเป็นระบบเดยี วกัน เพ่ือสามารถเอ้ือประโยชนร์ ว่ มกันไดใ้ น
ทุกหน่วยงาน โดยจดั ทำเกณฑช์ ีว้ ัดความสำเรจ็ ของแผนตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไวใ้ หเ้ ป็นรูปธรรม
(2) ประชาสัมพันธเ์ ผยแพร่ผลงานใหบ้ คุ ลากรทราบอย่างตอ่ เนือ่ ง
(3) มีการปรับปรุงแผนเพ่ือให้สอดคลอ้ งกับสภาพการณ์ท่เี ปลี่ยนแปลงไป
(4) สร้างมาตรการเร่งรัด หากมีโครงการที่ดำเนินกรช้ากว่าท่ีกำหนด และตรวจสอบคุณภาพอย่างใกล้ชิด
และสมำ่ เสมอ
72
ปฏิทนิ การกำกบั ตดิ ตามการดำเนินงานตามแผนกลยทุ ธ์
โรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ทิ ยาคม
วนั เดือน ปี รายการปฏบิ ตั ิ ผูร้ ับผิดชอบ
เมษายน - ตรวจสอบ ทบทวน การจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ าร - งานแผนงานและงบประมาณ
ประจำปี (ปีงบประมาณ) - งานประกันคุณภาพ
กรกฎาคม - นิเทศ ตดิ ตาม - งานประกนั คุณภาพ
กันยายน - สรุป ประเมนิ ผล งาน/โครงการ/กจิ กรรม - งานแผนงานและงบประมาณ
(ครั้งท่ี 1) - งานประกนั คุณภาพ
ตลุ าคม - จดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี - งานแผนงานและงบประมาณ
(ปงี บประมาณ) - งานประกันคุณภาพ
ธนั วาคม - นิเทศ ติดตาม - งานประกันคุณภาพ
มีนาคม - สรปุ ประเมนิ ผล งาน/โครงการ/กจิ กรรม - งานแผนงานและงบประมาณ
(ครงั้ ท่ี 2) - งานประกันคุณภาพ
- นำเสนอผลงานดีเดน่
- จัดทำรายงาน SAR
73
ภาคผนวก
ระเบียบบรหิ ารราชการโรงเรียนบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม
74
ระเบียบโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม
วา่ ดว้ ยการจดั ระเบยี บบริหารราชการโรงเรียน พุทธศักราช 2560
----------------------------------------------
เพอ่ื ให้การบรหิ ารราชการโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม ดำเนินไปตามวตั ถุประสงค์ในการจดั ตงั้ โรงเรยี นตาม
แนวทางของโรงเรยี นผู้นำการเปล่ียนแปลง เพอ่ื รองรบั การกระจายอำนาจและโรงเรียน นติ บิ ุคคล ในกฎหมายวา่ ด้วย
ระเบียบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ซ่งึ สอดคล้องกับเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ
พทุ ธศักราช 2542 แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พุทธศักราช 2545 และ(ฉบบั ท่ี ๓) พทุ ธศกั ราช 2553 อยา่ งเป็น
ระบบทีม่ ีประสิทธิภาพและบงั เกดิ ประสิทธิผลตามวตั ถปุ ระสงค์ในการจดั ต้ังโรงเรียน สอดคล้องกับภารกิจในการจดั
การศึกษาของโรงเรียน
จึงกำหนดระเบยี บบริหารราชการโรงเรียนบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม พุทธศักราช 2560 ไวด้ งั นี้
ข้อ 1. ระเบียบนเ้ี รยี กว่า “ระเบียบบริหารราชการโรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2560”
ขอ้ 2. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับ นับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใช้ระเบียบนี้เป็นตน้ ไป
ข้อ 3. ใหย้ กเลิกระเบยี บ ขอ้ บังคบั ประกาศ และคำสงั่ อ่นื ใดในส่วนทกี่ ำหนดไว้แลว้ หรือ
ซ่งึ ขดั แยง้ กับระเบียบนี้ ใหใ้ ช้ระเบยี บนแี้ ทน
ขอ้ 4. ในระเบยี บน้ี
“โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนบำรุงราษฎรว์ ิทยาคม
“ผบู้ ริหารโรงเรยี น” หมายถงึ ผู้อำนวยการโรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม
“ผู้รกั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ทิ ยาคม ” หมายถงึ ข้าราชการครูที่โรงเรยี นแต่งตั้ง
ขนึ้ เพ่ือทำหนา้ ทเี่ ป็นผู้อำนวยการโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม เมือ่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นไมอ่ ยู่
“ฝ่ายบรหิ ารโรงเรียน” หมายถึง คณะกรรมการบริหารโรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ทิ ยาคม ประกอบดว้ ย ผอู้ ำนวยการ
โรงเรยี น, รกั ษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการกลุ่มงาน, หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เลขานุการ
“ข้าราชการครู” หมายถงึ ข้าราชการครแู ละบุคลากรโรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ทิ ยาคม
“คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน” หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบำรุง
ราษฎร์วิทยาคม ประกอบด้วย บุคคล อำนาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบตามท่ีกำหนดไว้ในมาตรา 38 แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546 และมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบยี บขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พทุ ธศักราช 2547
75
ข้อ 5. ใหม้ หี น่วยงานท่ีปรึกษาและสนบั สนนุ การบรหิ ารโรงเรียน 3 หน่วยงาน ดังนี้
5.1 คณะกรรมการที่ปรึกษาโรงเรียน ประกอบด้วย บุคคลท่ัวไป จำนวนตามที่ฝ่ายบริหารโรงเรียน
เห็นสมควรเสนอให้ผู้อำนวยการโรงเรียนแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการท่ีปรึกษาโรงเรียน มีหน้าที่ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา
และข้อเสนอแนะต่างๆ ในการบรหิ ารโรงเรียน
5.2 ชมรม หรือ สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม มีหน้าที่ให้คำปรึกษา และ
สนับสนุนการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน ตามทก่ี ำหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั ของชมรมหรือสมาคม
5.3 ชมรมหรือสมาคมศิษย์เก่า หรือมูลนิธิขามแก่นนคร มีหน้าท่ีให้คำปรึกษาและสนับสนุนการจัด
การศึกษาของโรงเรยี น ตามที่กำหนดไวใ้ นขอ้ บังคับของชมรม หรอื สมาคม หรือมลู นธิ ิ
ขอ้ 6. ใหโ้ รงเรยี นแต่งตงั้ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนขน้ึ คณะหนงึ่ ประกอบด้วย
ผอู้ ำนวยการโรงเรียน เปน็ ประธานกรรมการ
ผ้รู กั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี นและหัวหน้ากลุม่ งานทุกคนเป็นกรรมการ
หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ เปน็ กรรมการสองคน
เลขานุการโรงเรียน เปน็ กรรมการและเลขานุการ
มหี นา้ ท่ี เป็นทป่ี รกึ ษาของผู้บรหิ ารโรงเรียนในการกำหนดนโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรยี น ช่วยเหลอื
ผู้บรหิ ารโรงเรียนในการวางแผนพัฒนาการศึกษา ควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานท่ีได้รบั มอบหมาย
การแก้ปัญหาด้านการบริหาร การกำหนดแนวทางประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ตลอดจนการนิเทศ ติดตามผลการ
ปฏิบัติงานของหน่วยงานตา่ งๆ ตามสายงานบริหารโรงเรยี น ให้ดำเนินไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยตามภารกิจและนโยบาย
ของโรงเรียน
ขอ้ 7.ให้มโี ครงสร้างหน่วยงานหลักตามสายงานบรหิ ารโรงเรียน จำนวน 5 หน่วยงานหลัก เรยี กว่า “กลุ่ม” โดย
ให้รองผูอ้ ำนวยการท่โี รงเรียนมอบหมาย ทำหนา้ ทีเ่ ป็นหวั หนา้ ในการบรหิ ารงานกลุ่ม โดยเรียกชอ่ื ตำแหน่งตามด้วยช่อื กลมุ่
นัน้ ๆ มีหนา้ ท่บี ริหารงานกลุ่มทไี่ ดร้ ับมอบหมายให้ดำเนินไปด้วยความเรียบรอ้ ยตามภารกจิ ท่กี ำหนดตามระเบียบของ
ทางราชการ และตามนโยบายของโรงเรยี น โดยใหแ้ ต่งต้งั ขา้ ราชการครูขึน้ ทำหนา้ ท่ีผู้ช่วยรองผูอ้ ำนวยการกลุ่มงาน
เพอื่ ชว่ ยเหลือรองผู้อำนวยการกลุม่ ในการบรหิ ารงานกลุม่ นั้นๆ ข้นึ อยา่ งน้อยกลมุ่ ละ 1 คน แตล่ ะกลมุ่ กำหนดใหม้ ี
หนว่ ยงานรอง หน่วยงานรองเรียกว่า งาน ให้แต่งต้ังข้าราชการครูขึ้นทำหนา้ ทีเ่ ป็นหวั หน้าหนว่ ยงานรองละ 1 คน
มหี นา้ ท่วี างแผน ดำเนินงาน ประเมินผล และควบคุมดแู ลการปฏิบตั งิ านตามพรรณนางานของหน่วยงานรองนั้นๆ ให้
เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย หน่วยงานรองเหล่านี้กำหนดแบ่งหนว่ ยงานย่อยต่อไปตามความเหมาะสม โดยให้อยใู่ นดุลย
พนิ จิ ของกลมุ่ นั้นๆ และให้แตง่ ตงั้ ขา้ ราชการครู
ข้ึนรบั ผิดชอบหนว่ ยงานยอ่ ยอยา่ งนอ้ ยหน่วยงานย่อยละ 1 คน กำหนดชือ่ เรยี ก หนว่ ยงานหลกั “กลมุ่ ” และ
หน่วยงานรอง “งาน” ดงั น้ี
7.1 กลมุ่ แผนงานและงบประมาณ กำหนดใหแ้ บ่งหนว่ ยงานรอง ไดแ้ ก่
7.1.1 งานธุรการกล่มุ แผนงานและงบประมาณ
7.1.2 งานคณะกรรมการกลุ่มแผนงานและงบประมาณ
7.1.3 งานแผนงานและโครงการ
7.1.4 งานการเงนิ และบัญชี
76
7.1.5 งานพัสดุ
7.1.6 งานตรวจสอบและควบคุมภายใน
7.1.7 งานสารบรรณ
7.1.8 งานขอ้ มูลสารสนเทศ
7.2 กลุ่มวิชาการ กำหนดให้แบง่ หนว่ ยงานรอง ไดแ้ ก่
7.2.1 งานธรุ การกลุ่มวิชาการ
7.2.2 งานคณะกรรมการกลมุ่ วิชาการ
7.2.3 งานพัฒนาหลักสตู รและ การจัดการเรยี นการสอน
7.2.4 งานประกนั คุณภาพการศึกษา
7.2.5 งานกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
7.2.6 งานห้องสมดุ
7.2.7 งานพัฒนาส่ือ นวตั กรรม
7.2.8 งานทะเบยี นนักเรียน
7.2.9 งานแนะแนว
7.2.10 งานห้องปฏิบัตกิ าร
7.2.11 งานวดั ผลและประเมนิ ผล
7.2.12 งานไอซีที
7.3 กลมุ่ กจิ การนกั เรยี น กำหนดใหแ้ บง่ หนว่ ยงานรอง ไดแ้ ก่
7.3.1 งานธุรการกล่มุ กิจการนกั เรียน
7.3.2 งานคณะกรรมการกลมุ่ กจิ การนักเรียน
7.3.3 งานระดบั ช้ัน/ครูทป่ี รึกษา
7.3.4 งานระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนงาน
7.3.5 งานประกนั อบุ ตั ิเหตุ
7.3.6 งานสภานกั เรยี น
7.3.7 งาน TO BE NUMBER ONE
7.3.8 งานรักษาความปลอดภยั /เวรยาม
7.3.9 งานสารวตั รนักเรียน
7.3.10งานวินัยนกั เรยี น
7.3.11 งานโรงเรียนสขี าว
77
7.4 กลมุ่ อำนวยการ กำหนดใหแ้ บง่ หน่วยงานรอง ไดแ้ ก่
7.4.1 งานธรุ การกลุม่ อำนวยการ
7.4.2 งานคณะกรรมการกลุ่มอำนวยการ
7.4.3 งานธนาคารโรงเรยี น
7.4.4 งานอนามยั โรงเรียน
7.4.5 งานปฏิคมโรงเรียน
7.4.6 งานโสตทศั นูปกรณ์
7.4.7 งานประชาสัมพันธ์
7.4.8 งานชมุ ชนสมั พนั ธ์
7.4.9 งานโภชนาการ
7.4.10 งานอาคารสถานท่ี
7.4.11 งานยานพาหนะ (รถโรงเรียน)
7.5 กลุ่มบุคลากร กำหนดให้แบ่งหนว่ ยงานรอง ไดแ้ ก่
7.5.1 งานธุรการกล่มุ บคุ ลากร
7.5.2 งานคณะกรรมการกลมุ่ บุคลากร
7.5.3 งานวางแผนอัตรากำลัง
7.5.4 งานทะเบียนประวตั ิ
7.5.5 งานลูกจา้ ง/พนกั งาน
7.5.6 งานพัฒนาบคุ ลากร
7.5.7 งานวินัยครู
7.5.8 งานขวญั และกำลงั ใจ
กำหนดให้มีคณะกรรมการบริหารกลุ่มตา่ งๆ ขนึ้ ทุกกลุ่มมีหน้าที่เป็นท่ีปรึกษาของหัวหน้ากลุ่ม ร่วมกันวาง
แผนการดำเนินงานของกลุ่มให้เป็นไปตามภารกิจ และนโยบายของโรงเรียน ติดตามผล ประเมินผล และสนับสนุนการ
ปฏบิ ัติงานภายในกลมุ่ น้ันๆ ให้ดำเนินไปดว้ ยความเรียบร้อยและมีประสิทธภิ าพ ประกอบดว้ ย
- รักษาการในตำแหนง่ ผอุ้ ำนวยการโรงเรยี น เป็น ประธานกรรมการ
- หวั หนา้ งานทุกงานในกลุ่มน้ันๆ เป็น กรรมการ
- ขา้ ราชการครู (จำนวนตามความเหมาะสม) เปน็ กรรมการ
- ข้าราชการครูทไี่ ดร้ บั แต่งตัง้ จำนวน 1 คน เปน็ กรรมการและเลขานุการ
ขอ้ 8. กำหนดให้มีกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนขึ้นตามโครงสร้างของหลกั สตู รการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน เพื่อช่วยเหลือฝ่ายบริหารงานวิชาการ ในการประสานงานกับบุคลากรด้านวิชาการ และด้านการจัดการ
เรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ ซึ่งเป็นภารกิจหลักของโรงเรียน โดยให้โรงเรียนพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการครู
78
1 คน ที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป ที่มีวิชาเอกตรงตามกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ และปฏิบัติหน้าที่ท่ีโรงเรียน
บำรุงราษฎร์วิทยาคม มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ขึ้นทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้ากิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน โดยเรียกชื่อตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีกำหนดให้ในหลักสูตร อยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปีการศึกษา โดยให้
หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ และหวั หน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกรรมการบรหิ ารของกลุม่ วชิ าการโดยตำแหน่ง
ขอ้ 9. กำหนดให้ จั ดระบบการบริหารงานวิชาการและกิ จการนั กเรียนในลั กษณ ะ ระดั บชั้ น
ท่ียึดหลักการบริหารและการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา โดยแต่งต้ังหัวหน้าระดับชั้นข้ึน
ระดับชั้นละ 1 คน จากข้าราชการครูที่สอนในระดับช้ันนั้นๆ ให้รับผิดชอบในการบริหารงานกิจการนักเรียน และ
แต่งตั้งรองหัวหน้าระดับช้ันข้ึนระดับละ 1 คน เพ่ือทำหน้าที่ช่วยเหลือหัวหน้าระดับชั้นในการบริหารงานระดับช้ัน
หัวหน้าระดับช้ันและรองหัวหน้าระดับชั้นอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปีการศึกษา โดยแต่งตั้งจากผู้ที่มีวุฒิทางการศึกษา
ระดับปริญญาตรีขึ้นไป และปฏิบัติงานท่ีโรงเรียนขามแก่นคร มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี กำหนดให้หัวหน้าระดับชั้น
ทุกระดับชั้นเป็นกรรมการบริหารของกลุ่มกจิ การนกั เรยี นโดยตำแหนง่
ข้อ 10. ให้รักษาการในตำแหน่งผุ้อำนวยการโรงเรียนร่วมกับคณะกรรมการบริหารกลุ่มจัดทำ คู่มือการ
ปฏิบัติงาน นโยบายการปฏิบัติงานและระเบียบการปฏิบัติงานตามสายงานในกลุ่ม โดยไม่ขัดต่อระเบียบของทาง
ราชการ นำเสนอเพอื่ ขอความเหน็ ชอบจากผู้บริหารโรงเรยี น แล้วจงึ ประกาศใช้เปน็ คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานของกล่มุ นน้ั ๆ
ขอ้ 11. ให้คณะกรรมการบริหารโรงเรียนร่วมกันกำหนดระบบ วิธีและจัดทำแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงานขึ้น ทั้งแบบประเมินบุคคลและแบบประเมินผลงาน ตามสายงานบริหารโรงเรียนบำรุง
ราษฎร์วิทยาคม ตลอดจนแบบรายงานและประเมินงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการประจำปี แล้วเสนอผู้บริหาร
โรงเรียนเพ่ือพิจารณาอนุมัติ และควบคุมให้การรายงานผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้เป็นไป
ตามแนวทางทกี่ ำหนด
ข้อ 12. การแต่งต้ังบุคลากรของโรงเรียนขึ้นทำหน้าท่ีต่างๆ ตามสายงานบริหารโรงเรียนให้อยู่ในดุลยพินิจของ
ผู้บรหิ ารโรงเรียน ผู้ที่ได้รับแต่งตัง้ จะพ้นจากความรับผิดชอบตามหน้าที่ต่างๆ ได้ เมอื่ พน้ จากสภาพการเปน็ ข้าราชการครู
ของโรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม หรือไดร้ ับอนุญาตหรอื มีคำสัง่ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรจากผบู้ ริหารโรงเรียน ใหพ้ ้นจาก
หน้าทที่ ไ่ี ด้รับแต่งต้งั
ข้อ 13. ให้ผู้บรหิ าร โรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม เปน็ ผ้รู กั ษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วนั ที่ 13 พฤษภาคม 2564
(นางสุวรรณา เข็มเพชร)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม
79
คณะผจู้ ัดทำ
1. นางสุวรรณา เข็มเพชร ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
2. นายสมพงษ์ พันวัง รักษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียน กรรมการ
กรรมการ
3. นางราตรี กาหวัง หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ ภาษาไทย กรรมการ
กรรมการ
10. นางราตรี กาหวงั หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ สงั คมศึกษา กรรมการ
กรรมการ
11. นางสาวลำดวน มงคล หัวหน้ากลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ กรรมการ
กรรมการ
12. นางสาวสุธรี า ปกรโณดม หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ ภาษาต่างประเทศ กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
13. นายสมพงษ์ พนั วงั หวั หนา้ กลุ่มสาระฯสขุ ศึกษา
14. นางกันยารัตน์ วัลลภิ ากร หวั หน้ากลุ่มกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน
15. นางสาวมณีจันทร์ พจนเ์ ลขา หัวหนา้ กลุ่มสาระฯศิลปศกึ ษา
16. นางสาวลำดวน มงคล หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯการงานอาชพี ฯ
17. นายสมพงษ์ พนั วัง หัวหน้ากลมุ่ สาระฯคณิตศาสตร์
18. นางสาวอนัญญา ยอดเพช็ ร งานสารสนเทศ