The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR 2564 ร.ร.บำรุงราษฎร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

SAR 2564 ร.ร.บำรุงราษฎร์

SAR 2564 ร.ร.บำรุงราษฎร์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม



คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self–Assessment Report : SAR)โรงเรยี นบำรงุ ราษฎร์
วิทยาคม ปกี ารศกึ ษา 2564 ฉบบั นี้ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือรายงานผลการจัดการศึกษา ในรอบปกี ารศกึ ษาท่ี
ผ่านมา ให้ หนว่ ยงานต้นสังกัด หรอื หนว่ ยงานทีก่ ำกับดูแล และสาธารณชนได้รับทราบ ตาม
กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 โดยให้โรงเรียนได้สะท้อนผลการพฒั นาคุณภาพของ
สถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ และมาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น
สำคญั และมาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่
เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ และผลการวิเคราะห์จดุ เด่น จดุ ท่ีควรพัฒนา และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาใหด้ ี
ข้ึนกว่าเดิมอยา่ งน้อย 1 ระดับคุณภาพ อีกท้ังรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาฉบับนี้ใชเ้ ปน็ ข้อมลู
แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสำนักงานงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผปู้ กครอง นกั เรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน และผู้ท่มี ีสว่ น
เกย่ี วข้องทกุ ฝ่ายท่มี สี ว่ นร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ( Self Assessment
Report : SAR ) ปกี ารศึกษา 2564 ฉบบั น้ี คณะผจู้ ัดทำหวังเป็นอยา่ งยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเปน็
ประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นบำรุงราษฎรว์ ทิ ยาคม ในปกี ารศึกษา
2565 ต่อไป

สุวรรณา เขม็ เพชร
ผู้อำนวยการโรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม

เมษายน 2565

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม



สารบญั

เรอ่ื ง หนา้
คำนำ............................................................................................................................................. ก
สารบัญ....................................................................................................................... ................... ข

บทสรุปผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา......................................................................................................... ค

ส่วนที่ 1 ข้อมลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา........................................................................................ 1

สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา............................................................................ 22

2.1 มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั ……………………………………………………………………………….. 22
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก.............................................................................................. 22
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ……………………………………………………….. 24
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเป็นสำคัญ........................................................ 27

2.2 มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน……………………………………………………………… 30
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียน………………………………………………………………………………... 30
1) ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผ้เู รยี น
2) คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ……………………………………………………… 39
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ............................. 43

สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แผนงาน หรอื แนวทางพัฒนา............................................................................. 46

ภาคผนวก

1. ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวยั เพ่อื การประกนั คุณภาพภายใน
สถานศึกษา
2. ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพ่ือการประกนั คณุ ภาพ
ภายในสถานศกึ ษา
3. ประกาศกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
4. คำสงั่ แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนินงานการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
5. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาของ
สถานศกึ ษา
6. สำเนาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ
7. ตารางผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น
8. บนั ทกึ ขอความเหน็ ชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

9. รายการแสดง QR Code และ URL ของเว็บไซต์ เอกสารและผลงานต่างๆ
10. คณะทำงาน…………………………………………………………………………………………………..………………….

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม




บทสรปุ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลหอไกร อำเภอบางมูนาก จังหวัดพิจิตร
สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษ าธิการ โดยมี นางสุวรรณ า เข็มเพชร เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน
ซึ่งมาดำรงตำแหน่งโรงเรียนน้ี เมื่อวันท่ี 25 ตุลาคม 2561 ได้ดำเนินการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
ต้ังแต่ ชั้น อนุ บ าล 1 - ช้ัน อ นุ บ าล 3 แล ะระดั บ ป ระถม ศึ กษ า ตั้งแต่ ชั้น ป ระถม ศึ กษ าปี ท่ี 1
ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รวมท้ังสิ้น 9 ช้ันเรียน มีจำนวนนักเรียนท้ังส้ิน 90 คน มีครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ท้ังส้ินจำนวน 11 คน การบริหารในโรงเรียนใช้ทฤษฎี PDCA และใช้หลักธรรมาภิบาล (good
governance) เป็นกระบวนการบริหาร ท้ังน้ี โดยไดด้ ำเนินการกฎกระทรวง วา่ ด้วยเรือ่ งการประกนั คุณภาพ
ทางหารศึกษา และตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องแนวปฏิบัติการ
ดำเนินงานประกันคุณภาพระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 ซ่ึงทางโรเรียนได้จัดให้มีการดำเนินการ
ปฏิบคั ดิ งั นี้

1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา
ปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระทรวงประกาศใข้และให้โรงเรียนกำหนดเป้าหมาย
ความสำเรจ็ ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน

2. จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น
ของโรงเรยี นอย่างเป็นระบบ โดยสะทอ้ ยคณุ ภาพความสำเร็จอยา่ งชัดเจนตามมาตรฐานการศึกา
ของโรงเรยี น

3. ดำเนินการตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรยี น
4. ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในโรงเรียน โดยกำหนดผรู้ ับผิดชอบ และวธิ ีการ

ทเ่ี หมาะสม
5. ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพมาตรฐานและนำผลการติดตามไปใช้

ประโยชน์ในการปรับปรุงพฒั นา
6. จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน นำเสนอรายงานผล

การประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนให้ความเห็นชอบิและจัดส่ง
รายงานดังกลา่ วตอ่ สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาทุกปี
7. พัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานประเมินตนเองและตามคำแนะนำของ
สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา เพ่อื นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของโรงเรยี น
จากการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยศึกษาและมาตรฐานการศึกษา
ระดบั ประถมศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับ ดีเลศิ ดังน้ี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยศึกษา
มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพเด็ก ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนา
ผู้เรียนโดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการตามหน่วยการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียน
เป็นสำคัญ จัดกิจกรรมตามตารางประจำวันเพ่ือให้ผู้เรียนมีสุขภาพแข็งแรงและมีพัฒนาการตามวัย ส่งเสริม
ให้ผู้เรียนได้แสดงออกทางด้านร่างกายตามความถนัดและความสนใจ จัดช่วงเวลาให้เด็กได้
นอนหลับพักผ่อนอย่างเหมาะสม การพัฒนาด้านสติปัญญา โรงเรียนส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
พัฒนาการด้านสติปัญญา โดยจัดประสบการณ์การเรียนการสอนที่ส่งเสริมพัฒนาทักษะการคิด
อย่างหลากหลาย มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ สนใจสิ่งรอบตัว ผู้เรียนได้ฝึกทักษะภาษา โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคมและสติปัญญา บรรลุเป้าหมายตามท่ีสถานศึกษากำหนด มีความพร้อมในการศึกษาระดับ
ประถมศกึ ษา
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพการจัดการศึกษา อยู่ในระดับ ดีเลิศ
กระบวนการบริหารและจัดการคุณภาพการจัดการศึกษา มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีหลักสูตร
ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น มีการจัดครูให้เพียงพอกับช้ันเรียน
จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ให้บริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ
สนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครู มีการกำหนดโครงการ/กิจกรรมเพ่ือสร้างมีส่วนร่วมและแสวงหา
ความร่วมมือกับผ้ปู กครอง ชมุ ชนและทอ้ งถ่ินในการจัดการศกึ ษาและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาระดับปฐมวัย
ของสถานศึกษา และดำเนินการตามโครงการ กิจกรรมท่ีกำหนดไว้ มีการจัดสภาพแวดล้อมอย่างปลอดภัย
และมีสื่อเพื่อการเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้เพ่ือสนับสนุนการ
จัดประสบการณ์เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและมีระบบบริหารจั ดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ี
เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีเหมาะสมและ
ต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ คุณภาพการจัดการศึกษาอยู่
ในระดับ ดีเลิศ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยของสถานศึกษาซึ่งครอบคลุมพัฒนาการผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมี
พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ โดยความร่วมมือของ
พ่อแม่และครอบครัว ชุมชนและผู้เก่ียวข้อง สามารถสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและ
ปฏิบัตกิ ิจกรรม เรยี นรู้ลงมือทำและสร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเองอยา่ งมีความสุขและสถานศึกษาสง่ เสริมให้ครู
จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้โดยเด็กมีส่วนร่วม ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่
เหมาะสมกับวยั และครูสามารถประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวธิ ีการที่หลากหลายโดยผู้ปกครอง
และผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วมนำผลการประเมินท่ีได้ไปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็กระดับปฐมวัย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

ตอ่ ไป

มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ระดับ ประถมศกึ ษา
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน ระดับคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ มีการจัดการคุณภาพผู้เรียนที่ มุ่ง

คณุ ภาพผลสัมฤทธิแ์ ละคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ คุณภาพการจัดศึกษา อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม

สถานศึกษามีการจัดทำและใช้สารสนเทศเพื่อการบริหาร มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ี
ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของ
ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย มีการนำเข้าข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเน่ือง โดยสถานศึกษา
ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม มีการทำงานเป็นทีมและให้ทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการ
บรหิ าร เพอ่ื มุ่งหวังให้เกดิ ความสำเร็จของงาน คือคณุ ภาพทด่ี ขี องนักเรียน

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คุณภาพการจัดศึกษา อยู่
ในระดับ ดีเลิศ ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้วิธีที่หลากหลาย มีการวัด
และประเมินผลตามสภาพจริงโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย ฝ่ายบริหารมีการนิเทศ กำกับ ติดตาม
อย่างต่อเน่ือง และนำผลการนิเทศมาสะท้อนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ดูแลเอาใจใส่นักเรียน
ดุจบุตรหลานของตนเอง ทุ่มเทเอาใจใส่ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน ครูทุกคนมีความรัก
ความภูมิใจในสถาบันของตนเอง โดยมีโครงการและกิจกรรมต่าง เช่น การจัดอบรมพัฒนาบุคลากร
ทางการศึกษา การประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา การประชุมผู้ปกครองนักเรียน และ
การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน แลกเปล่ียนเรียนรู้และเผยแพร่
ผลงาน มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างชั้นเรียน ครูประจำช้ันเรียน ครูประจำกลุ่มสาระ
การเรียนรู้และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพ่ือนำมาพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนมีระดับ
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละสาระการเรยี นรู้สงู ข้นึ เปน็ ลำดบั

(ลงชอ่ื )
(นางสวุ รรณา เขม็ เพชร)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบำรงุ ราษฎร์วทิ ยาคม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

1

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา

1.1 ข้อมลู ท่ัวไป

ช่อื โรงเรียน บำรุงราษฎรว์ ิทยาคมท่ีอยู่ หมทู่ ี่ 1 ตำบลหอไกร อำเภอบางมลู นาก จังหวัดพิจิตร รหสั ไปรษณยี ์
66120 สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพจิ ิตร เขต 2
e-mail [email protected] www.facebook.com/โรงเรยี นบำรุงราษฎร์วิทยาคม
ช่ือผู้บริหารโรงเรยี น นางสวุ รรณา เข็มเพชรโทรศพั ท์ 056-633-082
เปดิ สอนระดับช้ันอนุบาลปที ่ี 1ถงึ ระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
รวมมีนกั เรยี นท้งั หมดจำนวน 86 คน

แผนท่ี (ใช้ Google map จาก สพป. พิจติ ร เขต 2 ถึง ร.ร.)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

2

1) จำนวนบุคลากรในสถานศึกษา

บุคลากรในโรงเรียน ผบู้ ริหาร ครผู ู้สอน พนักงาน ครูอัตราจ้าง ลูกจ้างประจำ ธุรการ
ราชการ 31 1
ปกี ารศึกษา 2564 1 5
1

2) จำนวนบคุ ลากรตามการปฏิบตั ิงาน ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน (คน)
1
จำนวนบคุ ลากรท่ปี ฏิบัติงานสอน 2
1. บริหารการศึกษา 2
2. ปฐมวัย 1
3. ภาษาไทย 1
4. คณิตศาสตร์ 1
5. วทิ ยาศาสตร์ 1
6. สังคมศึกษา -
7. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1
8. ศิลปะ 1
9. การงานอาชีพและเทคโนโลยี -
10. ภาษาต่างประเทศ
11. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

หมายเหตุ จำนวนบคุ ลากรตามการปฏบิ ัติงาน ปีการศึกษา 2564 ในบางสถานศึกษาอาจมจี ำนวนครู ไม่ครบ
ทกุ สาขาวิชาแต่ขอให้กรอกข้อมลู ตามจำนวนครู ที่มีอยู่จริง ณ วนั ที่ 10 พฤศจกิ ายน 2564

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

3

3)ภาระงานสอน/คน (ชม./สปั ดาห)์

ภาระงานการสอน

ที่ ชื่อ-นามสกุล ครปู ระจำชั้น ครสู อนประจำวชิ า ชม.
การสอน/สัปดาห์
1. นางสวุ รรณา เข็มเพชร (สอนทุกวชิ า) (สอนบางวิชา/ ระบุ (วิชา/ชั้น)
2. นางสาวสุธีรา ปกรโณดม 6 ชม.
3 นางสาวลำดวน มงคล (ระบชุ ้ัน ป.) ระบุ) 23 ชม.
4 นายสมพงษ์ พันวงั 23 ชม.
5 นางราตรี กาหวงั (ระบุชนั้ ) 23 ชม.
6 นางกนั ยารัตน์ วัลลภิ ากร 23 ชม.
7 นางสาวเสาวลกั ษณ์ รักดี แนะแนว ป.1 – ป.6 23 ชม.
8 นางอรุณรตั น์ บุญอุ้ม 25 ชม.
ป. 2 24 ชม.
9 นางสาวมณจี ันทร์ พจนเ์ ลขา
10 นายธรี พฒั น์ หวาดเปยี ป. 5 23 ชม.
25 ชม.
11 Mr. Joel Marcos ป. 6
21 ชม.
ป. 4

อ.3

ป.1

ป.3 วทิ ยาศาสตร์

ป.2,ป.5

อ.1-อ.2

ป.2 วิทยาการ

คำนวณ

ป.1-6

ภาษาอังกฤษ อ.1 – อ.3

ภาษาองั กฤษ ป.1 – ป.6

4. จำนวนครแู ละบุคลากรตามระดับการศึกษาสูงสุด ปกี ารศึกษา 2564

ระดบั การศึกษาสงู สดุ จำนวนบคุ ลากร
ตำ่ กวา่ ปริญญาตรี -
ปริญญาตรี 10

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

ปริญญาโท 1
ปรญิ ญาเอก -4
รวม 11

1.2 ข้อมูลนกั เรียน จำนวนนักเรียน ปี จำนวนเดก็ พิเศษ
จำนวน การศกึ ษา 2564
ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
ระดับช้ัน ห้องเรยี น 32 5 000
8 2 10 202
อนุบาล 1 1 4 6 10 101
อนบุ าล 2 1 15 10 25 303
อนบุ าล 3 1 5 6 11 213
3 5 5 10 325
รวม 1 6 6 12 426
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 1 5 8 13 415
ประถมศึกษาปที ี่ 2 1 81 9 505
ประถมศึกษาปที ี่ 3 1 6 4 10 213
ประถมศึกษาปที ่ี 4 1 35 30 65 23 7 30
ประถมศึกษาปที ี่ 5 1 50 40 90 23 7 30
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 6
0
รวม
รวมทั้งหมด

ที่มา :ระบบจดั เกบ็ ขอ้ มูลนักเรยี นรายบคุ คล DMC (Data Management Center) ปีการศึกษา 2564
รอบที่ 3 (ยนื ยันขอ้ มูล ณ วนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

5

1.3 ผลการทดสอบระดับชาติ
1.3.1. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test : RT)

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 – 2564
1) คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ ปีการศกึ ษา 2562– 2564 เปรียบเทียบระดบั ตา่ งๆ

คะแนนเฉล่ียร้อยละ คะแนนเฉล่ียร้อยละ รวม 2 สมรรถนะ

ที่ ระดบั การอา่ นออกเสยี ง การอา่ นรเู้ ร่ือง

1 ระดบั โรงเรยี น 2563 2564 ผลตา่ ง 2563 2564 ผลต่าง 2563 2564 ผลตา่ ง
2 ระดับเขตพ้นื ที่ (+/-) (+/-) (+/-)
3 ระดบั ประเทศ
84.40 80.50 -3.90 80.00 64.50 -15.50 82.20 72.50 -9.70

76.59 70.60 -5.99 71.65 71.86 +0.21 74.13 71.24 -2.89

74.14 69.95 -4.19 71.86 72.79 +0.93 73.02 71.38 -1.64

คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ ปี การศึกษา 2562 – 2564 เปรียบเทยี บระดับต่างๆ

100 84.476.5974.14 80.5 80 71.6571.86 64.571.8672.79 82.274.1373.02 72.571.2471.38
80 70.669.95

60

40

20

0 2564 2563 2564 2563 2564
2563

การอา่ นออกเสยี ง การอ่านรูเ้ ร่อื ง รวม 2 สมรรถนะ

ระดบั โรงเรียน ระดบั เขตพนื้ ท่ี ระดบั ประเทศ

2) รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี น ปกี ารศึกษา 2562 -2564 จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ท่ี สมรรถนะ ร้อยละของจำนวนนกั เรียน รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี น รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียน
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
1 การอ่านออก
ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ดีมาก ดี พอใช้ ปรับ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั
เสียง ปรุง ปรงุ ปรุง

2 การอา่ นรูเ้ รื่อง - 87.50 12.50 - 80.00 20.00 - - 75.00 25.00 - -

รวม 2 สมรรถนะ 37.50 62.50 - - 80.00 20.00 - - 12.50 87.50 - -
66.66 12.50 87.50 - - 80.00 20.00 - 37.50 62.50 - -

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

6

จากตารางแสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test:
RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา2562 – 2564 พบว่า ในภาพรวมคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ
ความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test : RT) รวม 2 สมรรถนะในปกี ารศึกษา 2562 อยใู่ นเกณฑร์ ะดบั ดี
มาก คิดเป็นร้อยละ 12.50 เกณฑ์ระดบั ดี คิดเป็นร้อยละ 87.50 ปกี ารศึกษา 2563 อยู่ในเกณฑ์ระดบั ดีมาก
คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 เกณฑ์ระดบั ดี คดิ เป็นร้อยละ 20.00 โดยพจิ ารณาเปน็ รายดา้ นสมรรถนะ และ ปี
การศกึ ษา 2564 อยู่ในเกณฑ์ระดบั ดมี าก คิดเปน็ ร้อยละ 37.50 เกณฑร์ ะดับดี คิดเป็นร้อยละ 62.50 โดย
พจิ ารณาเป็นรายดา้ นสมรรถนะ ดงั น้ี ปกี ารศึกษา 2562 การอ่านออกเสยี งอย่ใู นเกณฑ์ระดับดี 87.50 และ
เกณฑ์ระดับพอใช้ 12.50 และการอา่ นร้เู รอื่ งอยู่ในเกณฑร์ ะดับดมี าก 37.50 และเกณฑ์ระดับดี 62.50 และ ปี
การศึกษา 2563 การอ่านออกเสียงอยู่ในเกณฑร์ ะดับดีมาก 80.00 และเกณฑ์ระดับดี 20.00 และการอ่านรู้
เร่อื งอยู่ในเกณฑ์ระดบั ดีมาก 80.00 และเกณฑร์ ะดับดี 20.00 และปีการศึกษา 2564 การอ่านออกเสียงอยู่ใน
เกณฑ์ระดบั ดีมาก 75.00 และเกณฑร์ ะดบั ดี 25.00 และการอ่านรูเ้ ร่อื งอยใู่ นเกณฑ์ระดับดมี าก 12.50 และ
เกณฑ์ระดับดี 87.50

แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ น
(Reading Test : RT)ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564

ร้อยละของจานวนนักเรียน ปี การศึกษา 2562 -2564 จาแนกตามระดบั คุณภาพ

100 87.5 87.5 87.5
90 8080 80 75

80 66.66 62.5 62.5
70

60

50 37.5 2020 20 37.5
40 25

30 12.5
20 12.5 12.5

10 0 0 000 0 00 000 000 000

0

ีดมาก
ีด

พอใช้
ปรับป ุรง

ีดมาก
ีด

พอใช้
ปรับป ุรง

ีดมาก
ีด

พอใช้
ปรับป ุรง

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
การอ่านรูเ้ ร่อื ง รวม 2 สมรรถนะ
การอา่ นออกเสยี ง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

7

1.3.2 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ NT
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 – 2564

คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ

สมรรถนะ ปี 2562 ปี 2563 ผลตา่ ง ปี 2563 ปี 2564 ผลตา่ ง
(+/-) (+/-)
45.56 57.12
ความสามารถด้านภาษา 39.50 30.00 +6.06 45.56 47.87 11.56
ความสามารถด้านคำนวณ 33.14 37.78 52.50 17.87
รวมคะแนนเฉล่ีย 2 ดา้ น 36.32 -3.14 30.00
14.72
+1.46 37.78

แผนภูมิ แสดงการเปรยี บเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ
(NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562– 2564 จำแนกตามรอ้ ยละของระดับคณุ ภาพ

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ NT ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3
ปี การศึกษา 2562 – 2564

60 45.56 57.12
37.78 52.5
50
40 39.5 33.14 36.32 30 47.87
30

20

10

0 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

ความสามารถดา้ นภาษา ความสามารถดา้ นคานวณ รวมคะแนนเฉล่ยี 2 ดา้ น

จากตารางผลแผนภมู กิ ารประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ
(NT)ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 – 2564 พบว่า ในภาพรวมคะแนนเฉล่ีย 2 ด้าน ในปี
การศกึ ษา 2563 มคี ะแนนเฉลีย่ ต่ำกว่าปีการศึกษา 2562 อยูท่ ่ี 1.46 และปีการศึกษา 2564 มีคะแนน
เฉลี่ยสงู กวา่ ปกี ารศึกษา 2563 อยู่ท่ี 14.72 โดยพิจารณาเปน็ รายดา้ น ดังนี้ ความสามารถด้านภาษา
ปีการศกึ ษา 2563 มีคะแนนเฉล่ยี สงู กวา่ ปกี ารศึกษา 2562 อยู่ท่ี 6.06 สว่ นปีการศึกษา 2564 มีคะแนน
เฉล่ียสูงกว่าปกี ารศึกษา 2563 อยูท่ ี่ 11.56 ความสามารถดา้ นการคำนวณ ปีการศึกษา 2563 มคี ะแนน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

8
เฉลีย่ ตำ่ กวา่ ปกี ารศกึ ษา 2562 อยทู่ ่ี 3.14 ส่วนปีการศึกษา 2564 มคี ะแนนเฉลีย่ สูงกวา่ ปีการศกึ ษา 2563

อยทู่ ่ี 17.87

1.3.3. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

ปกี ารศึกษา 2562– 2564

คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

สมรรถนะ ปี 2562 ปี 2563 ผลต่าง ปี 2563 ปี 2564 ผลตา่ ง
(+/-) (+/-)

ภาษาไทย 50.48 57.40 +6.92 57.40 63.68 +6.28

คณิตศาสตร์ 36.54 21.00 -15.54 21.00 37.86 +16.86

วทิ ยาศาสตร์ 36.46 41.89 +5.43 41.89 38.93 -2.96

ภาษาอังกฤษ 29.81 41.00 +11.19 41.00 43.30 -2.30

รวมคะแนนเฉลย่ี ท้งั หมด 38.32 40.32 +2.00 40.32 45.94 -5.62

แผนภมู ิ

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี
6

80 57.4 63.68
60 50.48 41.89 41 37.86 38.93 43.3
40 36.54 36.46 29.81
21 ปี 2564
20
ปี 2563
0
ปี 2562

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

จากแผนภมู ิ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O - NET)
ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 พบวา่ คะแนนเฉลย่ี ท้ังหมด ปกี ารศกึ ษา 2563
มคี ะแนนสงู กว่า ปีการศึกษา 2562 อยู่ท่ี 2.00 ปีการศึกษา 2564 มีคะแนนเฉลยี่ ต่ำกวา่ ปีการศกึ ษา 2563
อยทู่ ่ี 5.62 มรี ายละเอียดดงั น้ี

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ ปกี ารศึกษา 2562
อยู่ที่ 6.92 ปกี ารศึกษา 2564 มีคะแนนเฉล่ียสูงกวา่ ปีการศึกษา 2563 อยู่ที่ 6.28 กลมุ่ สาระการเรียนรู้
วชิ าคณติ ศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ยี ร้อยละต่ำกว่า ปีการศึกษา 2562 อยู่ที 15.54 คะแนน
ปกี ารศกึ ษา 2564 มคี ะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ ปกี ารศึกษา 2563 อยทู่ ่ี 16.86 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา
วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าปีการศึกษา 2562 อยู่ท่ี 5.43 ปกี ารศึกษา 2564
มีคะแนนเฉลย่ี ตำ่ กว่าปีการศึกษา 2563 อยู่ที่ 2.96 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ชิ าภาษาตา่ งประเทศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

(ภาษาอังกฤษ) ปกี ารศกึ ษา 2563 มีคะแนนเฉลย่ี สูงกวา่ ปีการศึกษา 2562 อยู่ท่ี 11.19 ปกี ารศึกษา 9
2564 มีคะแนนเฉลี่ยสงู กว่า ปีการศกึ ษา 2563 อยู่ที่ 2.30

1.4ขอ้ มูลผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา

1) ระดับการศกึ ษาปฐมวัยผลการพัฒนาเด็กช้นั อนุบาลปีท่ี1

ปี ปี 2563 นกั เรียน 8 คน ปี 2564 นักเรียน 5 คน ผลต่าง
2562 ระดับดี
นักเรียน ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง(1) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)
7 คน (+/-)
พัฒนาด้าน ระดับดี จำนวน
ร้อยละ ้รอยละ ร้อยละ
ร่างกาย จำนวน
อารมณ์ 85.71 ้รอยละ
สังคม จำนวน
สตปิ ัญญา 57.14 ้รอยละ
จำนวน
57.14 ้รอยละ
จำนวน
57.14 ้รอยละ
จำนวน
้รอยละ

4 50.00 4 50 0 4 4 80.00 1 20.00 0 0 +30.00
4 50 4 50 0 4 5 100 0 0 0 0 +50.00
3 37.50 3 37.50 2 3 4 80.00 1 20.00 0 0 +42.50
2 25.00 3 37.50 3 2 3 60.00 2 40.00 0 0 +35.00

รวมเฉลี่ยทง้ั หมด 3.25 40.63 3.5 50.00 1.25 14.88 4 80.00 1 20.00 0 0 +39.38

หมายเหตุ สดมภผ์ ลต่าง (+/-) รอ้ ยละ คดิ ค่าระดบั ดีของปี2563 และปี 2564

2) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ผลการพฒั นาเด็กชั้นอนุบาลปีท่ี 2

ปี 2562 ปี 2563 นกั เรียน 9 คน ปี 2564นกั เรียน 10 คน ผลต่าง
นักเรียน ระดับดี
พัฒนาดา้ น 8 คน ดี (3) พอใช้(2) ปรบั ปรุง ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง(1)
(1) (+/-)
ระดบั ดีร้อยละ
จำนวน รอ้ ยละ
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ

รา่ งกาย 87.50 6 66.67 3 33.33 0 0 8 80.00 2 20.00 0 0 +13.33

อารมณ์ 100 7 77.78 2 22.22 0 0 9 90.00 1 10.00 0 0 +12.22

สงั คม 100 7 77.78 2 22.22 0 0 4 70.00 3 30.00 0 0 - 7.78

สติปญั ญา 62.50 6 66.67 1 11.11 2 22.2 4 40.00 6 60.00 0 0 - 6.67
2

รวมเฉลยี่ 87.50 6.5 72.22 2 25.57 0.5 7.14 7 70.00 3 30.00 0 0 - 2.22
ทงั้ หมด

หมายเหตุ สดมภ์ผลตา่ ง (+/-) ร้อยละ คิดค่าระดับดีของปี2563 และปี 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

10

3) ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ผลการพฒั นาเด็กชน้ั อนบุ าลปีท่ี 3

ปี 2562 ปี 2563 นักเรยี น 10 คน ปี 2564นักเรยี น 10 คน ผลตา่ ง
ระดบั ดี
พัฒนาดา้ น นักเรียน ดี (3) พอใช้(2) ปรับปรงุ ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
11คน (1) (+/-)

ระดับดรี ้อยละ จำนวน ร้อยละ
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ
จำนวน
้รอยละ

ร่างกาย 90.91 8 80 1 10 1 10 5 50.00 5 50.00 0 0 -30.00

อารมณ์ 90.91 9 90 1 10 1 10 9 90.00 1 10.00 0 0 0

สังคม 90.91 10 100 0 0 0 0 8 80.00 2 20.00 0 0 -20.00

สติปญั ญา 90.91 8 80 1 10 1 10 8 80.00 2 20.00 0 0 0

รวมเฉล่ีย 90.91 8.75 87.50 0.75 7.50 0.75 7.5 7.50 70.50 2.5 25.50 0 0 -12.50
ทัง้ หมด

หมายเหตุ สดมภผ์ ลต่าง (+/-) รอ้ ยละ คดิ ค่าระดบั ดีของปี2563 และปี 2564

4) ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
4.1) ผลการประเมินผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นระดับคุณภาพ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6

สาระการเรยี นรู้ วิชา / ระดบั คณุ ภาพ รวม ค่า
จำนวน นกั เรียน เฉล่ยี
ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาส สังคมฯ ประวัติ สุขศกึ ษา ศิลปะ การงาน อังกฤษ
ตร์ ศาสตร์ อาชพี

ประถมศึกษาปีที่ 1 11 3.23 3.23 3.14 3.41 3.36 3.59 3.73 3.68 3.59 31.00 3.44
ประถมศึกษาปีท่ี 2 10
3.00 2.80 3.00 3.25 3.00 3.25 3.15 3.05 3.25 27.75 3.08

ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 12 3.50 3.38 3.33 3.46 3.54 3.58 3.67 3.58 3.46 31.50 3.50
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 13
3.73 3.65 3.73 3.54 3.69 3.50 3.88 3.88 3.42 33.00 3.70

ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 9 3.44 3.11 3.44 3.39 3.44 3.61 3.94 3.83 3.28 28.20 3.50

ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 10 3.15 2.95 3.40 3.25 3.25 3.35 3.75 3.45 3.20 29.75 3.31
รวมจำนวนนกั เรยี น 65
20.05 19.12 20.04 20.30 20.28 20.88 22.12 21.47 20.20 181.2 20.53

คา่ เฉล่ีย 3.34 3.19 3.34 3.38 3.38 3.48 3.69 3.58 3.37 30.2 3.42

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

11

4.2) รอ้ ยละของผ้เู รยี นทม่ี ีผลการเรยี นระดบั ดี(เกรด3) ขึน้ ไป แตล่ ะวิชาระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6

สาระการ จำนวน ป.1 ระดับคุณภาพดขี ้ึนไป (คน) ป.6 รวม ร้อยละ
เรยี นรู้ นกั เรียน (11 คน) (10 คน)
ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 50 76.92
1. ภาษาไทย 65 10 (10 คน) (12 คน) (13 คน) (9 คน) 7 45 69.23
2. คณิตศาสตร์ 65 9 5 49 75.38
3. วิทยาศาสตร์ 65 9 5 9 12 7 8 51 78.46
4. สังคมศึกษา 65 9 5 8 12 6 7 50 76.92
5. ประวัตศิ าสตร์ 65 9 5 8 12 7 7 58 89.23
6. สขุ -พลศกึ ษา 65 10 7 8 12 8 10 60 92.31
7. ศิลปะ 65 10 5 9 12 8 10 58 89.23
8. การงานอาชพี 65 10 7 10 12 9 10 52 80.00
9.ภาษาตา่ งประเทศ 65 10 7 11 13 9 6 472 80.68
รวมจำนวนคน 585 85 6 10 13 9 70
100 14.53 8 10 11 7 11.97 80.69
รอ้ ยละ 55 83 109 70
9.40 14.19 18.63 11.97

4.3) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา 2564

ระดับชั้น จำนวน ดเี ย่ยี ม ระดบั คณุ ภาพ
ทัง้ หมด จำนวน รอ้ ยละ ดี ผา่ น ไม่ผ่าน
ประถมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2
ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 11 11 100 - - - - - -
ประถมศึกษาปที ่ี 4
ประถมศึกษาปีที่ 5 10 10 100 - - - - - -
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
12 10 83.33 2 16.67 - - - -
รวม
13 10 76.92 3 23.07 - - - -

9 9 100 - - - - - -

10 10 100 - - - - - -

65 60 93.38 5 6.62 - - - -

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

12

4.4) ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนปีการศกึ ษา 2564

ระดับชัน้ จำนวน ดเี ย่ียม ระดบั คณุ ภาพ ไม่ผ่าน
ทงั้ หมด จำนวน รอ้ ยละ ดี ผ่าน จำนวน ร้อยละ
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 11 2 18.18 3 27.27 6 54.54 - -

ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 10 4 40.00 3 30.00 3 30.00 - -

ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 12 5 41.67 4 33.33 - - 3 25.00

ประถมศึกษาปีที่ 4 13 5 38.46 7 53.84 1 7.69 - -

ประถมศึกษาปีที่ 5 9 4 44.44 5 55.55 - - - -

ประถมศึกษาปีที่ 6 10 8 80.00 2 20.00 - - - -

รวม 65 28 43.07 24 36.92 10 15.38 3 4.62

4.5) ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ปกี ารศึกษา 2564

ระดบั ช้นั จำนวน ระดับคุณภาพ
ทง้ั หมด (คน)
ประถมศึกษาปที ี่ 1 ผา่ น ไม่ผา่ น
ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 11
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 10 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ประถมศึกษาปที ่ี 4 12
ประถมศึกษาปีที่ 5 13 11 100 - -
ประถมศึกษาปที ่ี 6 9
10 10 100 - -
รวม 65
12 100 - -

13 100 - -

9 100 - -

10 100 - -

65 100 - -

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

13

4.6) ผลการประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทีส่ ถานศกึ ษากำหนด

ระดบั ชน้ั จำนวน ดเี ยยี่ ม ระดับคณุ ภาพ ไม่ผ่าน
ทั้งหมด จำนวน รอ้ ยละ ดี ผา่ น จำนวน รอ้ ยละ
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

ประถมศึกษาปีท่ี 1 11 11 100 - - - - - -

ประถมศกึ ษาปีที่ 2 10 10 100 - - - - - -

ประถมศึกษาปที ี่ 3 12 10 83.33 2 3.08 - - - -

ประถมศึกษาปีท่ี 4 13 10 76.92 3 4.62 - - - -

ประถมศึกษาปีที่ 5 9 9 100 - - - - - -

ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 10 10 100 - - - - - -

รวม 65 60 92.31 5 7.69 - - - -

4.7) ผลการประเมินสมรรถนะของผู้เรียน (ผลประเมนิ ระดับดีข้ึนไป) ปกี ารศึกษา 2564

สมรรถนะของผเู้ รยี น

ระดับช้นั จำนวน 1.ความสามารถ 2. ความสามารถ 3.ความสามารถ 4. ความสามารถ 5. ความสามารถ
ท้ังหมด ในการส่ือสาร ในการคิด ในการแกป้ ญั หา ในการใชท้ กั ษะ ในการใช้

ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 11 10 9 5 ชวี ิต เทคโนโลยี
ประถมศึกษาปที ่ี 2 10 5 5 7
ประถมศึกษาปที ี่ 3 12 9 8 9 10 9
ประถมศกึ ษาปีที่ 4 13 12 12 12 65
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 9 8 7 9 10 8
ประถมศึกษาปีที่ 6 10 7 7 10 13 12
51 48 52 97
รวม 65 78.46 73.85 80.00 10 8
รอ้ ยละ 58 49
89.23 75.38

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

14

4.8 ผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับปฐมวยั รอบ 2 ปีการศึกษาทผี่ า่ นมา (ปีการศึกษา 2562-2563)

มาตรฐานประเด็นการพจิ ารณา ปกี ารศึกษาระดับคุณภาพ สรุปผลการ
2562 2563 เปรียบเทยี บ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยยี่ ม ยอดเยีย่ ม เท่าเดมิ

1.1 มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ที่ดีและ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม เท่าเดมิ
ดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้

1.2 มีพฒั นาการ ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และ ยอดเยย่ี ม ยอดเยยี่ ม เท่าเดมิ
แสดงออกทางอารมณ์ได้

1.3 มพี ัฒนาการ ดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ ยอดเยยี่ ม ยอดเยย่ี ม เทา่ เดมิ
สมาชกิ ทีด่ ขี องสงั คม

1.4 มีพัฒนาการ ด้านสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มีทกั ษะการคดิ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม เทา่ เดมิ
พ้ืนฐานและแสวงหาความรู้ได้

มาตรฐานท่ี 2กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ ดเี ลศิ เท่าเดมิ

2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้งั 4 ดา้ น สอดคลอ้ ง ดีเลิศ ดีเลิศ เทา่ เดมิ

กบั บริบทของทอ้ งถิน่

2.2 จัดครเู พียงพอกับช้นั เรยี น ดีเลิศ ดีเลิศ เทา่ เดิม

2.3 สง่ เสริมให้ครมู ีความเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ดีเลิศ ดีเลิศ เทา่ เดิม

2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพอ่ื การเรียนรู้ อยา่ ง ดีเลิศ ดีเลิศ เท่าเดมิ
ปลอดภัยและเพียงพอ

2.5 ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้ ดีเลิศ ดีเลิศ เทา่ เดิม

เพื่อสนบั สนนุ การจัดประสบการณส์ ำหรับครู

2.6 มรี ะบบบริหารคุณภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วขอ้ งทกุ ดีเลิศ ดีเลิศ เทา่ เดิม

ฝ่ายมีสว่ นร่วม

มาตรฐานที่ 3การจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเป็ นสาคัญ ดเี ลศิ ดเี ลิศ เทา่ เดิม

3.1 จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทกุ ด้าน ดีเลิศ ดีเลิศ เทา่ เดิม
อยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ

3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ และ ดีเลิศ ดีเลิศ เท่าเดิม
ปฏบิ ัติอยา่ งมคี วามสขุ

3.3 จัดบรรยากาศทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ใชส้ ่อื และเทคโนโลยี ดีเลิศ ดีเลิศ เทา่ เดมิ

ที่เหมาะสมกับวัย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

15

3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการ ดีเลิศ ดีเลิศ เท่าเดิม

ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณแ์ ละ

พฒั นาเด็ก

สรุป ดเี ลศิ ดีเลศิ เท่าเดมิ

4.9) ผลการประเมนิ คุณภาพภายใน ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน รอบ 2 ปีการศึกษาที่ผ่านมา (ปี
การศึกษา 2562-2563)

มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ปกี ารศึกษา/ระดับ สรุปผลการ
คุณภาพ เปรียบเทียบ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
ประเด็นพิจารณาที่ 1.1 2562 2563 เทา่ เดิม
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ ดีเลศิ เท่าเดมิ
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการ ดีเลศิ ดเี ลศิ
คิดคำนวณ
2) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ ดีเลิศ ดเี ลศิ เท่าเดมิ
อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา
3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ดีเลศิ ดเี ลศิ เทา่ เดมิ
4) มคี วามสามารถในการการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสาร ดีเลิศ ดี ต่ำกวา่
5) มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ดีเลิศ ยอด สงู กวา่
6) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ
ประเด็นพจิ ารณาที่ 1.2 เยีย่ ม สงู กว่า
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผู้เรียน ดี ดเี ลศิ เทา่ เดมิ
1) การมีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรียน เทา่ เดมิ
ดีเลศิ ดีเลศิ
2) ความภูมใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย ดเี ลศิ ดีเลศิ
3) การยอมรับทจี่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม ดีเลิศ ยอด สูงกว่า
เยี่ยม
เท่าเดมิ
ดีเลศิ ดีเลศิ เทา่ เดิม
ดเี ลศิ ดเี ลิศ เทา่ เดมิ
ดเี ลศิ ดเี ลิศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

16

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลศิ ยอด ดีขน้ึ
เย่ียม เท่าเดิม
2.1 การมีเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากำหนด ยอด ยอด ดขี น้ึ
ชดั เจน เยย่ี ม เยี่ยม ดีขนึ้
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ดเี ลิศ ยอด ดีข้ึน
เย่ยี ม ดีขน้ึ
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเี่ น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตาม ดเี ลศิ ยอด ดขี น้ึ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลุม่ เปา้ หมาย ดีเลิศ เยย่ี ม เท่าเดมิ
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ ยอด ตำ่ กวา่
เยย่ี ม
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อ้ือตอ่ การจดั การ ดีเลศิ ยอด เท่าเดิม
เรียนรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ เยี่ยม เท่าเดิม
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ าร ยอด ยอด เทา่ เดิม
จดั การและการจดั การเรียนรู้ เยยี่ ม เยีย่ ม เท่าเดิม
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี น ดเี ลิศ ดีเลศิ เทา่ เดิม
เป็นสำคัญ
3.1 จดั การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และ ยอด ดีเลศิ
สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ เยย่ี ม
ในชีวิตได้ ยอด
3.2 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเี่ อ้ือต่อการ ยอด เย่ยี ม
เรียนรู้ เยย่ี ม ดีเลศิ
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชิงบวก ดเี ลศิ ดีเลศิ
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมา ดเี ลิศ
พฒั นาผเู้ รยี น ดีเลศิ
3.5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพฒั นา ดเี ลศิ
และปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ ดเี ลศิ
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ดเี ลิศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

17

ผลงานดีเด่นของสถานศึกษาในรอบปที ี่ผา่ นมา

ประเภท ระดบั รางวลั /ชื่อรางวัลที่ไดร้ ับ หนว่ ยงานท่ีมอบรางวลั

สถานศึกษา

โรงเรยี นบำรุงราษฎร์วทิ ยาคม ได้รับการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ. สํานกั งานรบั รองมาตรฐาน

๒๕๖๔-๒๕๖๔) จากสาํ นักงานรบั รอง และประเมินคุณภาพ

มาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา การศกึ ษา (องค์การมหาชน)

(องคก์ ารมหาชน)

โรงเรียนบำรุงราษฎร์วิทยาคม สถานศกึ ษาสนบั สนุนโครงการประกวด จังหวดั พจิ ิตร

บรรยายธรรมประจำปีพ.ศ.2564 ระดับ

จังหวดั ณ สำนกั งานวฒั นธรรมจงั หวัด

พิจิตร

โรงเรียนบำรงุ ราษฎรว์ ิทยาคม ได้เข้าร่วมโครงการสวดบทธมั มจักกปั ปวัต ศนู ยป์ ฏิบัตธิ รรมกัลยาณมิตร

ตนสูตรถวายเป็นพุทธบชู า ทำความดีเพ่ือ พิจิตร ร่วมกบั

แผน่ ดินหน่ึงในโครงการหมบู่ า้ นรกั ษาศีล 5 สพป.พิจิตร เขต 2

ปกี ารศึกษา 2564

ครู (ระบชุ ่ือ)

1. นางสุวรรณา เขม็ เพชร ไดผ้ ่านการพัฒนาตามหลักสตู รการพฒั นา มหาวิทยาลยั นเรศวร

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ก่อนแต่งตั้งให้มแี ละเลื่อนเป็นวิทยฐานะรอง

ผ้อู าํ นวยการและผู้อํานวยการเชย่ี วชาญ

1. นางสุวรรณา เขม็ เพชร ไดผ้ ่านการอบรมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนา สาํ นักงานคณะกรรมการ

2. นางสาวลำดวน มงคล ทกั ษะการจัดการเรยี นรรู้ ปู แบบออนไลน์ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

3. นายสมพงษ์ พันวงั สาํ หรบั ครูสงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการ

4. นางกนั ยารตั น์ วลั ลิภากร การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

5. นางสาวเสาวลกั ษณ์ รักดี

6. นางอรุณรัตน์ บุญอมุ้

1. นางสาวลำดวน มงคล ไดผ้ า่ นการอบรมหลักเกณฑ์ และวธิ กี าร สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

2. นางราตรี กาหวงั ประเมินตําแหน่งและวทิ ยฐานะแบบ ว. PA ประถมศึกษาพิจติ ร เขต ๒
3. นายธรี พัฒน์ หวาดเปยี
(Performance Appraisal) ผา่ นสื่อ รว่ มกับ สมาคมผ้ปู ระกอบ

อเิ ล็กทรอนิกสแ์ บบออนไลน์ด้วยโปรแกรม วชิ าชีพครูอําเภอบางมลู นาก

Zoom Cloud Meeting

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

18

1. นางสาวลำดวน มงคล ไดผ้ า่ นการอบรมหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการ โรงเรียนอนบุ าลสุโขทัย
2. นางราตรี กาหวงั
ประเมินตาํ แหนง่ และวิทยฐานะแบบ (ว.PA)
1. นางสาวลำดวน มงคล
2. นางราตรี กาหวัง (PA : Performance Agreement) โดย
1. นายธรี พัฒน์ หวาดเปีย
ระบบออนไลน์
1. นายสมพงษ์ พันวงั
2. นางกนั ยารตั น์ วลั ลิภากร ไดเ้ ขา้ รับอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาทกั ษะ โรงเรียนบาํ รุราษฎรว์ ทิ ยาคม
3. นางสาวเสาวลักษณ์ รักดี
1. นางราตรี กาหวงั ทางด้านเทคโนโลยี สําหรับบคุ ลากร
2. นางกนั ยารัตน์ วลั ลิภากร
โรงเรยี นบาํ รุราษฎร์วิทยาคม
1. นางราตรี กาหวงั
2. นายธรี พัฒน์ หวาดเปยี ไดเ้ ป็นวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการพฒั นา โรงเรยี นบาํ รุราษฎรว์ ิทยาคม

1. นางกนั ยารัตน์ วัลลิภากร ทักษะทางด้านเทคโนโลยี สาํ หรบั บคุ ลากร
2. นางสาวมณีจันทร์ พจน์เลขา
โรงเรยี นบํารรุ าษฎรว์ ิทยาคม

ไดเ้ ข้ารบั การอบรมและผา่ นการทดสอบ กระทรวงศึกษาธกิ าร

การใชง้ านระบบมาตรฐานด้านความ สาํ นกั งานคณะกรรมการ

ปลอดภยั ( MOE Safety Platform) การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ดว้ ยคะแนนมากกวา่ ๗๐%

ไดส้ าํ เรจ็ การอบรมหลักสตู รครูกบั การ สำนกั งานกองทุนสนับสนนุ

จัดการเรยี นรู้เพศวิถศี ึกษา“การสอนเพศวิถี การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ

ศึกษา : การพัฒนาการเรียนรู้แบบ E -

Learning เพ่อื พัฒนาสมรรถนะครใู หส้ อน

เพศวิถีศกึ ษาและทกั ษะชวี ติ ในระบบ

การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน”

ไดผ้ า่ นการอบรมหลักสูตรสง่ เสริมการ สํานกั งานคณะกรรมการ

เรียนรูห้ นา้ ทพ่ี ลเมืองดจิ ทิ ลั สําหรับครรู ะดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน คณะครุ

ประถมศกึ ษา ศาสตร์อุตสาหกรรมและ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั

เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี

ไดเ้ ขา้ รว่ มการคดั เลือกรปู แบบ/แนวทาง สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด

ปฏบิ ัตทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) ในการ พิจติ ร

พฒั นาเด็กปฐมวยั ระดบั จงั หวัดพิจติ ร

ดา้ นครผู ้สู อน ภายใตโ้ ครงการขบั เคลือ่ น

การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวยั ในระดบั

พ้นื ที่จงั หวดั พจิ ิตร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

19

1. นางสาวเสาวลักษณ์ รักดี ไดเ้ ข้าร่วมโครงการสง่ เสรมิ สถานศกึ ษาและ สมศ สาํ นักงานรบั รอง

1. นางสาวเสาวลกั ษณ์ รักดี ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานตน้ สงั กัด มาตรฐานและประเมิน

1. นางสาวเสาวลักษณ์ รักดี เพ่ือสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับ คุณภาพการศึกษา (องคก์ าร
2. นางสาวมณีจันทร์ พจนเ์ ลขา
1. นางสาวเสาวลกั ษณ์ รกั ดี แนวทางการประกันคุณภาพภายนอก มหาชน)
1. นางสาวเสาวลักษณ์ รักดี
ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19
1. นางสาวเสาวลกั ษณ์ รักดี
ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางวชิ าการ เนอื่ งในงาน สาํ นักงานเลขาธิการคุรุสภา
1. นางสาวมณจี ันทร์ พจน์เลขา
วนั ครู คร้ังที่ 66 พ.ศ. 2565 “พลงั ครูยุค

ใหม่ สร้างคณุ ภาพคนไทยส่สู ากล” The

Power of New Generation Teachers:

Creating Thais to the Global World

ผา่ น Platform วันครู (www.วันคร.ู com)

ผ่านการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การจัดทําขอ สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา

ตกลงในการพฒั นางาน (Performance ประถมศกึ ษาพิจติ ร เขต ๒

Agreement : PA) ผา่ นระบบออนไลน์

ไดท้ าํ หนา้ ทคี่ ณุ ครูประสานงานร่วมทีม ชมรมพทุ ธศาสตรส์ ากล

โครงการตอบปัญหาธรรมะ “ทางกา้ วหนา้ ”

คร้ังท่ี ๓๙ รูปแบบ D-School : Offline

เปน็ ผผู้ า่ นการอบรมครูดว้ ยระบบออนไลน์ สํานักงานคณะกรรมการ

หลักสตู ร อบรมออนไลนก์ ารจัดการเรยี นรู้ การศึกษาข้ันพื้นฐาน สถาบนั

วิทยาการคํานวณสาํ หรบั ครูประถมศึกษาปี ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์

ท่ี ๑-๓ Coding Online for Grade ๑-๓ และเทคโนโลยี

Teacher (C๔T-5)

เป็นผู้ผ่านการอบรมครูดว้ ยระบบออนไลน์ สํานกั งานคณะกรรมการ

หลกั สตู ร อบรมออนไลนก์ ารจัดการเรยี นรู้ การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สถาบัน

วิทยาการคาํ นวณสําหรับครูมัธยมศึกษาปีท่ี ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์

๑ - ๓ Coding Online for Grade ๗-๙ และเทคโนโลยี

Teacher (C๔T - ๘)

ได้ผ่านการอบรมโครงการอบรมเชงิ กระทรวงศึกษาธิการ

ปฏบิ ัตกิ ารเสริมสร้างศักยภาพ ขา้ ราชการ

ครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วย

กระบวนการ Active Learning ผา่ นระบบ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

20

ออนไลน์

กิจกรรมที่ ๑ คุณธรรมสร้างสุขสําหรบั ครสู ู่

ผเู้ รียน

1. นางสาวมณจี นั ทร์ พจนเ์ ลขา ได้ผา่ นการอบรมโครงการอบรมเชิง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. นางสาวมณีจนั ทร์ พจน์เลขา
1. นางสาวเสาวลักษณ์ รักดี ปฏบิ ัตกิ ารเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ข้าราชการ
1. นางสาวมณจี นั ทร์ พจน์เลขา
1. นายธรี พฒั น์ หวาดเปีย ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาดว้ ย

กระบวนการ Active Learning ผ่านระบบ

ออนไลน์

กิจกรรมที่ ๒ การสรา้ งวินยั สู่ความเป็นเลศิ

ทางกีฬา

ไดผ้ า่ นการอบรมโครงการอบรมเชงิ กระทรวงศกึ ษาธิการ

ปฏบิ ัติการเสรมิ สร้างศักยภาพ ขา้ ราชการ

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาดว้ ย

กระบวนการ Active Learning ผ่านระบบ

ออนไลน์ กจิ กรรมท่ี ๓ เปดิ โลกการศึกษาไร้

ขีดจาํ กัดในยุคจักรวาลนฤมติ

ไดผ้ า่ นการอบรมโครงการอบรมเชิง กระทรวงศกึ ษาธิการ

ปฏบิ ตั ิการเสริมสร้างศักยภาพ ขา้ ราชการ

ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาด้วย

กระบวนการ Active Learning ผา่ นระบบ

ออนไลน์

กจิ กรรมท่ี ๔ ค่านยิ มที่ดงี ามของเด็กและ

เยาวชน

เข้าร่วมในการประชุมการวจิ ยั ทาง สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภา

การศึกษาระดับชาติ ครง้ั ท่ี 16 “นวตั กรรม การศกึ ษา

การศึกษา : กล้าเปลย่ี น สรา้ งสรรค์

ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาไทย”

ไดร้ ับรางวัลระดบั ดีมาก กจิ กรรมการ สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

คัดเลอื กแนวทางการดําเนินงานพฒั นา ประถมศกึ ษาพิจติ ร เขต ๒

คณุ ภาพการศึกษา ดา้ นการจัดการเรยี นรู้

วทิ ยาการคาํ นวณของโรงเรยี นทีเ่ ป็นเลิศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

21

โครงการนเิ ทศ กาํ กบั ติดตามการจัดการ
เรียนรวู้ ทิ ยาการคํานวณ

1. นายธรี พัฒน์ หวาดเปยี เป็นผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรอบรมการ สํานกั งานคณะกรรมการ
จดั การเรียนรวู้ ิทยาการคาํ นวณ สําหรบั ครู การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สถาบัน
1. นายธีรพัฒน์ หวาดเปีย ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๓ Coding for สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์
Grade ๑ - ๓ Teacher (C๔T - ๒)
นักเรยี น (ระบชุ ื่อ) เป็นผู้ผา่ นการอบรมหลักสตู รอบรมการ และเทคโนโลยี
1. หญิงชุตกิ าญจน์ คาํ ทะเนตร จดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคาํ นวณ สําหรับครู สํานกั งานคณะกรรมการ
2. เดก็ ชายวศิ รุติ แสงอารณุ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ - ๖ Coding for การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน สถาบนั
1. เดก็ ชายชนนน บัวนวน Grade ๔ - ๖ Teacher (C๔T - ๓) ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์
2. เดก็ ชายชยพล บวั โพธิ์
และเทคโนโลยี
1. เด็กชายกติ ตพิ ง บรู ณะพันธ์
2. เดก็ ชายชยั รตั น์ คงสขุ สอบไล่ไดธ้ รรมศกึ ษาชัน้ โท ประถมศกึ ษา สมเด็จพระสังฆราช
3. เดก็ ชายโชตพิ งษ์ มาแต่ไกล สกลมหาสังฆปริณายก
ไดร้ บั เขา้ รว่ มสอบแข่งขัน ระดับอนุบาล ชมรมพทุ ธศาสตรส์ ากล
ประจําโรงเรยี น จังหวัดพิจิตร โครงการ
ตอบปญั หาธรรมะ “ทางกา้ วหนา้ ” คร้งั ที่ ชมรมพทุ ธศาสตร์สากล
๓๙ รปู แบบ D-School : Offline
ได้รบั เขา้ รว่ มสอบแข่งขนั ระดับ
ประถมศึกษา ป.๑ - ป.๒
ประจําโรงเรียน จังหวัดพจิ ิตร โครงการ
ตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครัง้ ที่
๓๙ รูปแบบ D-School : Offline

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

22

สว่ นท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ระดบั การศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก
ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเย่ียม
สถานศกึ ษาจดั ประสบการณ์ท่คี รอบคลมุ พัฒนาการทั้ง 4 ดา้ นไดแ้ ก่ ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ

สังคมและสติปัญญา มสี ุขนสิ ัยท่ดี ี ดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ โดยครูประจำชนั้ อยดู่ แู ลอย่าง
ใกลช้ ดิ จดั บรกิ ารอาหารกลางวันอย่างเพยี งพอและมีคุณค่าทางโภชนาการครบถว้ น สะอาดถูก
สขุ ลักษณะ มีอาหารเสริมนมใหด้ ่มื ทุกวันมกี ารประเมินภาวะโภชนาการเป็นประจำทุกภาคเรียน มีการ
ประสานความรว่ มมือจากเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุขมาช่วยตรวจและดูแลสขุ ภาพช่องปากและฟนั มเี จ้าหนา้ ท่ี
อสม. ประจำตำบลมาชว่ ยคัดกรองดูแลชว่ ง โรค โควดิ -19 ระบาด รวมทง้ั มีการปลูกฝังจิตสำนึกในการ
ดุแลสุขภาพและออกกำลังกายอยา่ งสม่ำเสมอ รู้จักป้องกนั ตนเองจากโรคภยั อบุ ตั ิเหตุและสิง่ เสพตดิ ให้
โทษ ได้รบั การสง่ เสริมทักษะดา้ นการเคล่ือนไหวเต็มตามศักยภาพ มีการทดสอบสมรรถภาพเปน็ ประจำ
ทุกภาคเรยี นสถานศึกษาจดั โครงการเพื่อพฒั นาผู้เรยี น ส่งเสริมพฒั นาการท้ัง 4 ด้าน ไดแ้ ก่

1)โครงการสร้างเสรมิ สขุ นสิ ัยทดี่ ี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ใหน้ กั เรยี นมนี ำ้ หนักส่วนสูง และมี
สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ มสี ขุ นสิ ยั ที่ดีปฎบิ ตั ิตนจนเปน็ นิสัยและช่วยเหลือตนเองได้ สามารถปฏบิ ตั ิ
ตนตามข้อตกลง รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อ่ืนได้ นกั เรียนสามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายอย่าง
คล่องแคล่วและทรงตัวได้ดี ใชม้ อื และตาประสานสัมพันธ์กัน รจู้ กั โทษของสิ่งเสพติดใหโ้ ทษและส่งิ มอม
เมาและหลกี เล่ยี งภาวะที่เสีย่ งต่ออันตรายได้

2)โครงการเสรมิ สร้างสุนทรียภาพศิลปะ ดนตรแี ละการเคล่ือนไหวโดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือ ให้
นักเรียนแสดงออกทางอารมณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม มีความรู้สึกทีด่ ีต่อตนเองและผู้อื่น มีความสนใจและมี
ความสุข แสดงออกผา่ นงานศิลปะ ดนตรแี ละการเคลื่อนไหว มีความน้ำใจ

3)โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อ ใหน้ กั เรยี นช่วยเหลอื ตนเอง
ปฏบิ ัคกิ ิจวตั รประจำวนั ได้ มีวินัยในตนเอง มคี วามซื่อสัตยส์ จุ รติ มคี วามประหยัดและเพยี งพอ รูจ้ ักดแู ล
ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเปน็ ไทย นักเรยี นยอมรับความ
เหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล รูจ้ กั บทบาทผ้นู ำผ้ตู าม มปี ฏสิ มั พนั ธ์ทีด่ ีกับผ้อู ื่นปฏิบัติตนใหเ้ ป็น
สมาชิกท่ดี ขี องสงั คม

4)โครงการสง่ เสรมิ การพัฒนาด้านสติปัญญาและการเรียนรู้ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือ ส่งเสริมให้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

23

นกั เรียนสนทนาโตต้ อบและเล่าเรือ่ งใหผ้ ู้อื่นเข้าใจได้ อ่านเขียนภาพและสญั ลกั ษณ์ มีความสามารถในการ
คิดรวบยอด คดิ เชงิ เหตุผล คิดแก้ปญั หาและตัดสนิ ใจ เล่นหรือทำงานศลิ ปะ แสดงท่าทางเคลอ่ื นไหวตาม
จนิ ตนาการอย่างสร้างสรรค์ มเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ การเรยี นรแู้ ละมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

5)โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา การเรยี นรู้โดยวทิ ยากรทอ้ งถ่นิ
โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ ใหน้ ักเรยี นมที ักษะในการแสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นร้ตู า่ งๆ ภายในโรงเรยี น
ได้แก่ ห้องสมดุ หอ้ งพยาบาล แปลงเกษตร ฯลฯ แหล่งเรียนรนู้ อกโรงเรียนทั้งในชุมชน นอกชมุ ชน
และ วทิ ยากรท้องถิ่น หรอื บุคลากรท่ีมีความรู้ ต่างๆ

6) กิจกรรมวันสำคญั ต่างๆ เช่น วันแม่แหง่ ชาติ วนั พอ่ แห่งชาติ วนั ภาษาไทย วันสนุ ทรภู่
วันไหวค้ รู วันลอยกระทง วันปีใหม่ วันคริตมาส ฯลฯ กิจกรรมกฬี าการเคล่ือนไหวออกกำลังกาย
กจิ กรรมสร้างสรรค์และศิลปะ การทัศนศึกษาหรือศึกษายัง
7) กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้สถานศกึ ษาได้ดำเนนิ กิจกรรมต่างๆกิจกรรมบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย
กิจกรรมโครงงานนักเรียน กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้ ทฤษฎสี มองเปน็ ฐาน (BBL) กิจกรรมนง่ั สมาธติ ้น
คาบเรียนฯลฯ

ข้อมูลหลักฐานและเอกสารสนับสนนุ

สถานศกึ ษาได้รวบรวมข้อมลู พฒั นาการของนักเรยี นระดับปฐมวยั ทุกคนจำนวน 27 คน แลว้
นำมาประเมนิ ตามเกณฑ์ของสถานศึกษาพบว่า

1) การประเมนิ พัฒนาการด้านร่างกาย พบว่าไดค้ ะแนนคิดเปน็ รอ้ ยละ 98.52 ระดบั 5
คุณภาพยอดเย่ียมสูงกวา่ ค่าเปา้ หมายของสถานศกึ ษา(คา่ เป้าหมายสถานศึกษา ร้อยละ 75 คณุ ภาพ ดี )

2) การประเมนิ พฒั นาการด้านอารมณ์ พบวา่ ได้คะแนนคิดเป็นรอ้ ยละ 96.15 ระดบั 5
คุณภาพยอดเยี่ยม สูงกว่าคา่ เปา้ หมายของสถานศึกษา(ค่าเป้าหมายสถานศึกษา ร้อยละ 80 คณุ ภาพ ดี
เลศิ )

3) การประเมินพฒั นาการดา้ นสังคม พบว่าได้คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ 98.15 ระดบั 5 คุณภาพ
ยอดเยี่ยม สงู กว่าค่าเปา้ หมายของสถานศกึ ษา(คา่ เปา้ หมายสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 80 คุณภาพ ดเี ลิศ)

4) การประเมนิ พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา พบวา่ ได้คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ 94.65 ระดบั 5
คณุ ภาพยอดเย่ียม สงู กวา่ ค่าเป้าหมายของสถานศกึ ษา(ค่าเปา้ หมายสถานศึกษา ร้อยละ 70 คณุ ภาพ ดี)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

24

120 แผนภูมแิ สดงพฒั นาการดา้ นต่างๆของนักเรียน

ค่ารอ้ ยละ

100

80 ปีการศกึ ษา 2561
60 ปีการศึกษา 2562

ปีการศกึ ษา 2563
40

คา่ เปา้ หมายสถานศกึ ษา
20

0
1234

พฒั นาการทางด้านร่างกาย พฒั นาการทางด้านอารมณ์ พฒั นาการทางด้านสังคม พัฒนาการทางด้านสติปญั ญา

แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด้ ีขนึ้ กวา่ เดมิ

1. ในชว่ งทโ่ี รคโควิด – 19 ระบาด ควรจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสริมและสนับสนุนใหน้ ักเรยี นมี

พฤติกรรมทรี่ ะมดั ระวังตวั เองใหป้ ลอดภัยจากโรคระบาดต่างๆดว้ ยวิถีชวี ติ แบบ NEW Normal

2. เน่ืองจากนักเรยี นสว่ นใหญผ่ ปู้ กครองที่ดแู ลจะเปน็ ปู่ ย่า ตา ยาย ผสู้ ูงอายุ บางคนครอบครวั

แตกแยก นกั เรยี นจงึ ขาดการดแู ลและเอาใจใสเ่ รื่องระเบียบวินัย การดำรงชีวติ ท่ีบา้ น การเรยี นรู้ทีบ่ ้าน

ครตู อ้ งเยีย่ มบา้ น และตดิ ตอ่ กับผ้ปู กครองของนักเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ระดบั คุณภาพ : ดเี ลิศ
มีการประเมนิ และพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยและ

บริบทของท้องถนิ่ ครูประจำช้ันมี 2 คน แต่จัดชน้ั เรยี น 3 ชัน้ นกั เรียนรวม 27 คน เม่อื เทียบ
อัตราส่วนเป็นครู 1 : 13ซึง่ สามารถดูแลนกั เรยี นได้อย่างท่วั ถงึ มีการสง่ เสริมให้ครูมีความเชีย่ วชาญด้าน
การจัดประสบการณ์ที่ส่งผลค่อคณุ ภาพนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล ตรงตามความต้องการของครสู ถานศึกษา
และชมุ ชน สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื่อตอ่ การเรยี นร้ขู องนักเรียนโดยไดม้ ีการพฒั นา
ห้องเรยี นโดยเขา้ ประกวดโครงการหอ้ งเรยี นคุณภาพของสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร
เขต 2 จนไดร้ บั รางวัลห้องเรยี นคุณภาพระดับ ยอดเยย่ี ม สภาพแวดล้อมภายในบรเิ วณโรงเรยี นสะอาดร่ม
รืน่ และปลอดภยั ได้มสี อื่ เพ่ือการเรยี นรูอ้ ย่างเพียงพอและเหมาะสม มรี ะบบบริหารจัดการคณุ ภาพของ
สถานศึกษาทเี่ หมาะสมและต่อเนือ่ ง มีการช้แี นะระหว่างการปฏบิ ตั งิ านที่สง่ ผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน
ของสถานศึกษา บรู ณาการการปฏบิ ตั ิงานและเปิดโอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มไดร้ ับการยอมรับ
จากชุมชนและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

25

ขอ้ มูลหลกั ฐานและเอกสารสนบั สนุน

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดำเนนิ งาน
1.มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้ัง 4 - ได้มกี ารดำเนิการโครงการพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการจดั
ดา้ น ประสบการณ์การเรยี นรู้ เพื่อท่ีจะมีการจัดทำหลักสตู รใหส้ อดคล้อง
กบั หลักสตู รปฐมวัย 2560 และครอบคลมุ พัฒนาการนักเรียนทง้ั 4
2.จัดครูใหเ้ พยี งพอกับชน้ั เรียน ดา้ น
- สถานศกึ ษาไดจ้ ดั ทำหลกั สูตรท้องถนิ่ ของสถานศึกษา เพื่อใหส้ อด
รับกบั บริบทของชุมชนและท้องถ่นิ
- สถานศึกษาไดจ้ ดั การสอนชั้น อนุบาล 1 – 3 มีครู 2 คน
นักเรียนช้นั อนุบาล รวม 27 คน เฉลีย่ ครู กบั นักเรยี น 1 : 13
- ครูอนุบาล 1 และ 2 นางสาวมณจี นั ทร์ พจน์เลขา
มวี ฒุ ปิ ริญญาตรี สงั คมศกึ ษา ประสบการณใ์ นการสอนปฐมวยั 8 ปี

- ครอู นบุ าล 3 นางกนั ยารตั น์ วัลลภิ ากร

มวี ฒุ ิปริญญาตรี การศึกษาปฐมวยั วุฒิปริญญาโท เทคโนโลยี

การศกึ ษา ประสบการณ์การสอนปฐมวยั 16 ปี

3.สง่ เสรมิ ให้มีความเช่ยี วชาญดา้ นการ ครู วนั ท่ี เรือ่ ง ชม. หลักฐาน
จดั ประสบการณ์
ครูกันยารตั น์ 5 /5/63 การประชมุ ทางไกลเชงิ ปฏิบตั กิ าร 10 - รายงานการ
วัลลิภากร บ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยประเทศ อบรม
7 /5/63 ไทย

การประชุมทางไกลในสถานการณ์ 3 - เกียรติบัตร

การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรน่า - รายงานการ

อบรม

1/3/63 ถึง อบรมหลักสตู รออนไลน์ 14 - เกียรตบิ ัตร
1/6/63 (14 หลกั สตู ร) - รายงานการ
อบรม
18/12/63
การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการจดั 6 - เกยี รติบัตร
กิจกรรมป้องกันโรคระบาดใน - รายงานการ
เดก็ แรกเกดิ – 6 ปี อ.บางมลู นาก อบรม

23/3/64 การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ การ 6 รายงานการอบรม

วดั ผลและประเมินผลนกั เรียนปี

การศกึ ษา 2564 หลักสูตรปบมวัย

2560

รวม 39

ครมู ณีจนั ทร์ 5 /5/63 การประชมุ ทางไกลเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 10 รายงานการอบรม
บ้านนกั วิทยาศาสตร์น้อยประเทศ
พจน์เลขา ไทย

7 /5/63 การประชมุ ทางไกลในสถานการณ์ 3 - เกียรติบัตร
การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา่ - รายงานการ
อบรม

17 /5/63 การจดั การเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ 3 - เกยี รติบัตร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

26

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1

4/9/63 การอบรมโครงการคัดกรองคน 6 - เกยี รติบัตร

พิการทางการศึกษา - รายงานการ

อบรม

1/3/63 ถงึ อบรมหลกั สูตรออนไลน์ 5 - เกยี รติบัตร

1/6/63 ( 7 หลักสูตร ) - รายงานการ

อบรม

รวม 9

4. จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการ - สถานศกึ ษาไดด้ ำเนนิ โครงการพัฒนาสอ่ื เทคโนโลยี ห้องเรยี น
เรยี นรู้
และบรรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรยี นรู้ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อจดั

สภาพแวดล้อมและสอ่ื การเรยี นรอู้ ยา่ งปลอดภัย นักเรียนได้เรยี นรู้

และรบั ประสบการณโ์ ดยตรงอยา่ งมีความสุข สร้างบรรยากาศทเ่ี อื้อ

ตอ่ การเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีเหมาะสมกับวัย

- หอ้ งเรียนระดับปฐมวยั ท้ัง 2 ชน้ั ได้เข้าร่วมโครงการประกวด

หอ้ งเรยี นคุณภาพของสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ประถมศึกษา

พิจติ รเขต 2 ได้รบั รางวลั ยอดเย่ยี มและดีเด่น

5. ให้บริการสือ่ เทคโนโลยี สารสนเทศ - สถานศกึ ษาได้ดำเนนิ โครงการพฒั นาสื่อ เทคโนโลยี หอ้ งเรยี น
และสื่อการเรยี นรเู้ พื่อสนับสนุนการจัด และบรรยากาศทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ
ประสบการณ์สำหรบั ครู จัดบริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้ สรา้ ง
บรรยากาศที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีเหมาะสมกับวยั
6. มรี ะบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปิด - สถานศกึ ษามคี ู่สายโทรศัพท์ ไว้บรกิ ารครูและนกั เรียน 2 คู่สายคือ
ของ TOT และ TURE ซงึ่ เพียงพอสำหรบั การใชง้ าน
- สถานศึกษาได้จัดตั้งกลุม่ ไลน์ สำหรับดำเนินงานต่างๆด้วยระบบ
อินเทอร์เนต็ อย่างรวดเร็ว เชน่ ไลนบ์ ุคลากร ไลนก์ จิ กรรม ไลน์
ปฐมวัย ไลน์สื่อการสอน ไลน์ศษิ ยเ์ กา่ ผูป้ กครอง ฯลฯ
- สถานศกึ ษาไดร้ ับจัดใหน้ ักเรียนระดับอนบุ าลเขา้ เรียน
คอมพวิ เตอรส์ ปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง
- จัดประชุมผ้ปู กครองภาคเรียนละ 1 คร้งั
- จัดประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานทกุ ภาคเรยี น
- จัดกจิ กรรมเปิดรว้ั โรงเรียน
- จัดกจิ กรรมนเิ ทศชั้นเรยี นอยา่ งสม่ำเสมอโดยผนู้ ิเทศ เป็นผ้บู ริหาร
เพอ่ื นครู ศกึ ษานิเทศ ฯลฯ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

27

แนวทางพฒั นาคุณภาพให้ดขี ึน้ กว่าเดมิ
1. อาคารสถานที่ พฒั นาท่แี ปรงฟันทีเ่ หมาะสมสำหรับเด็กอนุบาล อา่ งล้างจาน(เด็กนกั เรยี น
ล้างจาน ถาดอาหารเอง) ปรับขนาดความสงู ให้เหมาะสมกบั เด็กนกั เรยี น พน้ื สนามเด็กเลน่ ในหอ้ งของ
เล่นเป็นพ้ืนแขง็ ปรบั ปรงุ ใหป้ ลอดภยั มากย่ิงขน้ึ
2. การใช้เทคโนโลยี นกั เรยี นชน้ั อนุบาลส่วนใหญ่ อาศยั อยู่กับปู่ ยา่ ตา ยาย ซ่ึงใชเ้ ทคโนโลยี
ไม่ค่อยสะดวกในชว่ งปดิ เพราะโรคไวรัส โควดิ -19 ใชแ้ อบปเิ คช่ันต่างๆในการเรียนรู้ หรอื ส่ือสารไม่ได้ ครู
พัฒนาวธิ ีการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกับสภาพและบริบท

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคญั
ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ
ครจู ัดประสบการณ์ให้เด็กที่มีประสิทธภิ าพโดยผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ ตามาตรฐานการ

เรียนรู้ ตัวชว้ี ัดของหลกั สตู รสถานศกึ ษา มแี ผนการจดั การเรียนรู้ท่สี ามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชิวิตได้ สรา้ งสรรคนวัตกรรมการเรียนรู้ สามารถใช้ส่ือเทคโนโลยีและ
แหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสมกระตุ้นการเรยี นร้ขู องเด็ก จนทำให้เด็กมีพฒั นาการทง้ั 4 ด้าน
เป็นไปตามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษากำหนด ครูทุกคนจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กป็นสำคญั เพอื่ ใหเ้ ด็กมี
พัฒนาการสมบูรณ์ครบ 4 ด้าน ครรู ู้จักเดก็ เปน็ รายบุคคล มีการจัดกจิ กรรมที่สร้างโอกาสให้เด็กทุกคนไดร้ ับ
ประสบการณ์ผา่ นการเล่นและการลงมือปฏิบัติ ครูมีการประเมินผลเดก็ อยา่ งเปน็ ระบบมีขั้นตอน โดยใช้
เครอ่ื งมอื และวธิ กี ารวัดท่เี หมาะสม ประเมนิ ผลเด็กเป็นรายบุคคลและนำผลมาพฒั นาการจัดประสบการณใ์ ห้
เดก็ เพ่ือบรรลุตามเป้าหมายสถานศกึ ษากำหนดไว้

มกี ารบริหารเชงิ บวก เด็กรักทีจ่ ะเรียนรู้ และเรียนรว่ มกนั อย่างมีความสุข สถานศึกษา ครู ชมุ ชน
และผเู้ กย่ี วข้องชว่ ยพฒั นาและปรบั ปรุงกระบวนการจดั การเรยี นรู้ มีการแลกเปลีย่ นการเรียนรู้และข้อมลู
สะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

28

ขอ้ มูลหลกั ฐานและเอกสารสนับสนนุ

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดำเนนิ งาน

3.1 มจี ดั ประสบการณท์ ีส่ ง่ เสริมใหเ้ ด็กมี - สถานศึกษาจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์ตามหลกั สูตรการศกึ ษา

พฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 และมีหลกั สตู รท้องถิ่นทีส่ อดคล้องกับ

ศกั ยภาพ สภาพชมุ ชนและท้องถนิ่

- สถานศึกษามีการดำเนนิ โครงการเพ่ือสง่ เสรมิ พัฒนาการทัง้ 4

ด้านไดแ้ ก่ โครงการเสรมิ สรา้ งสุขนสิ ัยที่ดี โครงการเสรมิ สรา้ ง

สนุ ทรยี ภาพศลิ ปะ ดนตรีและการเคลอ่ื นไหว โครงการส่งเสริม

คุณธรรมและจรยิ ธรรม โครงการพฒั นาด้านสติปญั ญาและการ

เรียนรู้

- สถานศึกษาเข้ารว่ มโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย รุ่นท่ี 7 ได้

มกี ารจดั กิจกรรมต่างๆเพื่อส่งเสริมทกั ษะกระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์

- นอกจากจดั กจิ กรรมหลัก 6 กจิ กรรมแลว้ ยังไดม้ ีการดำเนนิ การ

จัดทำโครงงานนักเรียนทุกๆภาคเรยี น ปีการศึกษา 2564 ได้

ดำเนนิ ดังนี้ 1) โครงงาน ป.ปลาพาเรยี นรู้ โดยนักเรียนดำเนนิ

โครงงานโดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะ 2) โครงงานวางโทรศัพทจ์ บั

สกี ันดีกวา่ เพ่ือลดการเลน่ โทรศพั ท์ของนกั เรยี นท่บี ้านมาทำกจิ กรรม

สรา้ งสรรคแ์ ทน

ประเด็นการพิจารณา ผลการดำเนินงาน
3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั - ได้ดำเนนิ โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรูภ้ ายในและภายนอก
ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอย่าง สถานศึกษาและภูมิปญั ญาท้องถน่ิ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นได้รับ
มคี วามสุข ประสบการณจ์ ริงในการเรยี นรู้ยังแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ
- ดำเนนิ กิจกรรมทำดมี ดี าว เป็นการใชแ้ รงเสริมทางบวกกระตุ้นให้
นกั เรียนมพี ฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์อย่างเต็มใจและมีความสุขในการ
ทำ
- กิจกรรมวันสำคัญตา่ งๆนกั เรียนไดเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมอย่างสนกุ สนาน
เชน่ วันสัปดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ วันภาษาไทย วนั คริตมาส วนั ปีใหม่
วนั เด็ก ฯลฯ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

29

3.3จัดบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ - ไดด้ ำเนินโครงการพัฒนาสื่อ เทคโนโลยีห้องเรียนและบรรยากาศท่ี
และใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับวยั เอ้ือต่อการเรียนรู้
- หอ้ งเรียนระดับปฐมวัย ทงั้ 2 ช้ันไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการประกวด
3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพ ห้องเรยี นคุณภาพของสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ประถมศึกษา
จรงิ และนำผลการประเมนิ พัฒนาเดก็ พจิ ติ รเขต 2 ไดร้ ับรางวัลยอดเยยี่ มและดีเดน่
ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และ - บรรยากาศภายในสถานศึกษาสะอาดร่มรน่ื ปลอดภยั เหมาะสม
พฒั นาเดก็ ตอ่ การเรียนรู้ของเดก็
- นกั เรยี นมีโอกาสได้เรียนรคู้ อมพวิ เตอร์ จากคุณครูคอมพิวเตอร์
สัปดาห์ละ 1 คร้ัง
- ครไู ด้มีการวดั และประเมนิ ผเู้ รียนตามสภาพจริงโดยแฟม้ สะสมงาน
และทดสอบ ประเมินผลดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหลาย
- ครไู ด้รายงานผลการประเมินแกผ่ ู้ปกครอง และประสานความ
รว่ มมอื กับผปู้ กครองในการส่งเสริมพฒั นาการเด็กอยา่ งต่อเน่ือง

- ครไู ดม้ กี ารพัฒนาผ้เู รียนเป็นรายบคุ คลดว้ ย CASE STUDY
- เมอื่ ประเมนิ ผลเด็กแลว้ ได้มีการนำกระบวนการวิจยั ในช้ันเรียนมา

ใช้แกป้ ัญหาในชั้นเรียนเพอื่ ให้เดก็ พฒั นาได้เต็มตามศักยภาพ

แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ขี น้ึ กว่าเดมิ
1. สง่ เสรมิ ให้เดก็ ได้มีการคดิ แยกแยะ คิดวเิ คราะหโ์ ดยใช้กระบวนการเรียนร้ตู ่างๆให้มากย่ิงขนึ้
2. ปกี ารศกึ ษา 2564 โรคไวรัสโควิด-19 ระบาด นกั เรียนจงึ ขาดโอกาสในการทศั นศึกษายัง
แหลง่ เรยี นรนู้ อกโรงเรียนท่ีไกลๆ ควรจัดกิจกรรมทัศนศึกษายังแหลง่ เรยี นรู้ใกล้ๆ เพื่อเพ่ิมโอกาสในการเรียนรู้
ใหแ้ กเ่ ด็กๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

30

ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก

ระดับคณุ ภาพ : ดีเลศิ
สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และกำหนดโครงการกิจกรรมพัฒนา

คณุ ภาพผู้เรยี นในหลากหลายวธิ ีการเช่น โครงการส่งเสรมิ พัฒนายกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
ไดแ้ ก่ กิจกรรมส่งเสรมิ รักการอา่ น กิจกรรมสอนซ่อมเสรมิ กิจกรรมแขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการ กิจกรรม
ตวิ เข้ม (O-net) (NT) กจิ กรรมสรา้ งเครื่องมือวดั ผลประเมินผล กจิ กรรมจัดหาสอ่ื จดั ทำสื่ออปุ กรณ์
การเรยี น กจิ กรรมทำแผนการสอน ทำวิจยั เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น กิจกรรมท่องสูตรคูณ กิจกรรม
คณติ คิดเร็ว กจิ กรรมเขียนตามคำบอก กจิ กรรมปรบั ปรุงระบบอินเตอร์เน็ตเพ่ือการเรียนรู้ กิจกรรม
พฒั นาทกั ษะทางภาษาองั กฤษ โดยมีครูต่างชาติมาพัฒนาการเรยี นการสอนและฝกึ สนทนา
ภาษาองั กฤษทุกวนั มีการบูรณาการตวั ช้วี ดั ของการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ การเขียน การ
สื่อสาร และการคดิ คำนวณ โครงวนั สำคัญ เช่น วันไหวค้ รู วนั สำคญั ทางศาสนา กิจกรรมวันภาษาไทย
แห่งชาติ โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน โดยมีกจิ กรรมนั่งสมาธกิ ่อนเรียน กจิ กรรม
สวดธมั มจักกัปวตั ตนสตู ร กจิ กรรมสวดมนต์ทุกวนั ศุกร์ กิจกรรมขยะบญุ โดยนำนักเรยี นเกบ็ ขยะทว่ี ัด
ทุกวนั พระ โครงการเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรเพ่ืออาหารกลางวนั โดยนำผักปลอดสารพษิ มาปรุง
อาหารใหน้ ักเรียน โครงการฟื้นฟูภมู ปิ ญั ญาไทย ดา้ นดนตรีไทย วถิ ีไทย โครงการอาหารกลางวัน โดย
นักเรียนไดร้ บั ประทานอาหารกลางวนั อาหารเสรมิ (นม) มโี ครงการส่งเสริมสุขภาพนกั เรยี น โครงการ
ประชาธปิ ไตย โดยมีการเลือกตง้ั ประธานนักเรียน และแบง่ กลุม่ ทำกิจกรรมเวรสโี ดยทำความสะอาด
โรงเรียนตอนเชา้ โครงการพัฒนาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนโดยมีการเย่ียมบ้านนักเรียน และมอบ
เงนิ อดุ หนุนปัจจยั พื้นฐานนกั เรยี นยากจน และทนุ โอชดิ ะจากประเทศญี่ปุน่ ประจำทุกปี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

31

ข้อมูลหลักฐาน และเอกสารสนับสนุน
1.1 การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน

1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ
ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ สูงกว่า

เป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด ในทุกระดับช้ัน โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเน่ืองด้วยโครงการ/กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเสริมความคิด พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน อ่านคล่อง เขียนคล่อง คัดลายมืองาม ท่องสูตรคูณ กิจกรรมเสริมทักษะภาษาอังกฤษ ฝึก
การคิดวิเคราะห์อ่านเขียน กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน กจิ กรรมภาษาไทยวันละคำ ภาษาอังกฤษวัน
ละคำ กจิ กรรมประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการภาษาไทยและภาษาองั กฤษ กิจกรรมท้าพิสูจน์ วันสำคัญ
ตา่ ง ๆ เช่น การแข่งขันคดั ลายมือ เขียนเรื่องจากภาพ เขียนเรียงความ แต่งคำขวัญ จัดกิจกรรมวันสุนทรภู่
กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ บทอาขยาน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จากอินเทอร์เน็ต กิจกรรมสอน
ภาษาต่างประเทศโดยครูต่างชาติ และการจัดนิทรรศการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตลอดจนการสอนซ่อม
เสริม เป็นตน้

2) มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ
คดิ เห็น และแก้ปัญหา

ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน
ความคิดเห็น โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้ โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการ
กำหนดให้ครูผู้สอนเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วย
วิธีการทหี่ ลากหลาย โดยมกี ารจัดการเรียนรู้ ทัง้ รูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัตจิ รงิ แบบรว่ มมือ
กันเรยี นรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลกั นอกจากนี้ยงั จดั ให้มีหลักสูตรการเรยี นรู้
แบบบูรณาการที่มีเนอื้ หาเก่ียวกับหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในทุกระดับชั้น จดั กิจกรรมชุมนุม ชมุ นุม
เศรษฐกิจพอเพียง ชุมชุมอนุรักษ์วิถีไทย ชุมนุมดนตรีไทย กิจกรรมส่งเสริมความเป็นผู้นำตามแนวทาง
ประชาธิปไตย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมจัดการเรียนรู้แบบโครงงานในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
นอกจากนีส้ ถานศึกษายงั จัดการเรยี นการสอนทางไกลมคี รูคอยควบคุมดูแล ใชส้ ่ือมัลติมีเดยี ใน ใน

3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม มีการนำไปใช้และเผยแพร่ โดยสถานศึกษา

ได้ดำเนินการ จัดกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมีการจัดการเรียนรู้ ทั้งรูปแบบ
การระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้
ที่ได้ท้ังด้วยตวั เองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรค์สิ่ง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

32

ใหม่ ๆ และส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาตนเองในการสร้างนวัตกรรม มีการนำไปใช้และการเผยแพร่ผลงาน
ด้วยโครงการ/กิจกรรม เช่น การบูรณาการไว้ในแต่ละวิชา แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้, การจัดการเรียนรู้
วิชา) กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ ฝึกทักษะการทำอาหาร การทำขนมต่าง ๆ ทำน้ำยาล้างจาน ทำ
น้ำยาซักผ้า ทำยาหม่อง กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ กิจกรรมวัน
ภาษาไทยแห่งชาติ เป็นต้น

4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพฒั นาตนเอง

และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม โดยสถานศึกษาได้
ดำเนินการส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง
ด้วยโครงการ/กิจกรรม เช่น จัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ทุกชั้นเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการ
ใช้เทคโนโลยี ได้จัดทำห้องเรียนทีม่ ีอุปกรณ์ ICT ในทุกห้องเรียน จัดให้มีอินเทอร์เนต็ ความเร็วสูงเพอื่ ให้ครู
ได้ใช้เป็นสื่อเทคโนโลยีมาช่วยจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ และให้นักเรียนใช้ค้นคว้าหาความรู้จากส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ได้ทันท่วงทีในขณะจัดการเรียนรู้ มีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยการใช้
กระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้ ICT ท่ีหลากหลายเพ่ือให้นักเรียนได้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี ใน
วิชาคอมพิวเตอร์ และบูรณาการในทุกวิชา นอกจากน้ียังจัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์สืบค้นข้อมูล สำหรับ
นักเรียนไปค้นคว้าในเวลาว่าง โดยการฝึกให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีท่ีมีอยู่ใกล้ตัวในการส่ือสารและทำ
กิจกรรม อย่างมีประโยชน์และคุ้มค่าท่ีสุดในชีวิตประจำวัน เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการ
เรยี นรู้ การสื่อสาร การทำงานอย่างสรา้ งสรรค์ และมีคณุ ธรรม

5) มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด
ในทุกระดับชั้น และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ยกเว้นภาษาอังกฤษ โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการส่งเสริม
พัฒนาผู้เรียนบรรลุ และมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมในด้าน
ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการตา่ ง ๆ รวมท้ังมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติหรอื ผล
การทดสอบอื่น ๆ ด้วยโครงการ/กิจกรรม ได้แก่ โครงการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน,
กิจกรรมติวเขม้ O-NET NT RT กิจกรรมสอนซ่อมเสริม จัดหาสื่ออุปกรณ์การเรยี น กิจกรรมพัฒนาสู่ความ
เป็นเลิศทางวิชาการ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบโครงงาน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรมท้าพิสูจน์
กิจกรรมแข่งขันทักษะทางวิชาการในวันสำคัญต่าง ๆ กิจกรรมทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง กิจกรรมการวัดผลตามสภาพจริงจากแฟ้มสะสมงาน โครงงาน
การปฏิบัติจริง กิจกรรมการทดสอบรวบยอดระดับชาติ (RT/NT/ O-net) กิจกรรมส่งเสริมทักษะ
ความสามารถทางวชิ าการ (วนั สำคญั ต่างๆ) การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ทง้ั ภายใน และนอกโรงเรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

33

6) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชพี
ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีพร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับช้ันท่ีสูงข้ึน

และการทำงานหรอื งานอาชีพ โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานใน
การจัดการ เจตคติท่ีดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงข้ึน การทำงานหรืองานอาชีพ ด้วยโครงการ/
กจิ กรรม เช่น จดั ใหม้ ีการประชุมผู้ปกครองนักเรียน ครูประจำช้นั จัดกจิ กรรมแนะแนวในช่วั โมงเรียน และ
ขอความร่วมมือให้โรงเรียนมัธยมท่ีมีช่ือเสียงใกล้โรงเรียน เข้ามาให้ความรู้และให้คำแนะนำที่จะเข้าศึกษา
ต่อในโปรแกรมต่าง ๆ ตามความสามารถของนักเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ฝึกทักษะการ
ทำอาหาร การทำขนมต่าง ๆ กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานอาชีพ กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง มีการประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนรู้จักคุณค่าของการประหยัด ลดค่าใช้จ่ายตามความ
จำเป็นจึงจัดให้มีการฝากเงินไว้กับครูประจำชั้นและนำฝากกับสหกรณ์ออมทรัพย์ครู ปลูกฝังให้นักเรียน
ร้จู ักอดออม ประหยัด รูค้ ุณค่าของเงนิ มีการศึกษาดงู านแหลง่ เรยี นรู้เกี่ยวกับการเกษตร การพัฒนาผู้เรียน
ให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เช่น ด้านศิลปะ กีฬา ดนตรี
งานประดิษฐ์ เป็นต้น กิจกรรมส่งเสริมการทำงานและช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน เช่น การจัดกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนโดย กิจกรรมเดินทางไกลลูกเสือ-เนตรนารี ในระดับชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1 – ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 6 ณ หมู่1 หม2ู่ ตำบลหอไกร จงั หวัดพิจิตร การนำแสดงดนตรีไทยไปร่วมงานของชมุ ชน
เช่น งานศพ การแต่งงาน ฯลฯ และมีรายได้ระหว่างเรยี น

การนำเสนอขอ้ มูลเป็นสถติ และแผนภมู ิ
1. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
1.1 สถานศึกษาได้ตั้งคณะกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษาข้ึนและรวบรวม

ข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียนดา้ นต่างๆ ตามแผนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ของนักเรยี นทกุ คน
(จำนวน 65 คน) ชองสถานศึกษาแลว้ นำมาประเมินตามเกณฑข์ องสถานศึกษา พบว่า

1. การประเมินด้านการอ่าน พบวา่ นักเรียนจำนวน 64 คน มผี ลการทดสอบการ
อา่ นในระดบั ดีขึ้นไป คิดเปน็ ร้อยละ 98.46 (สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายร้อยละ 80.00)

2. การประเมนิ การเขียน พบว่านักเรยี นจำนวน 65 คน มผี ลการทดสอบกรเขยี นใน
ระดบั ดขี ้ึนไป คดิ เป็นร้อยละ 100 (สูงกว่าคา่ เปา้ หมายร้อยละ 80.00)

3. การประเมนิ ด้านการสอ่ื สาร พบวา่ ผูเ้ รยี นมีผลการประเมนิ การสอื่ สารระดบั ดีขน้ึ
ไป จำนวน 51 คน คิดเปน็ ร้อยละ 78.41 (สงู กว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 80.00)

4. การประเมนิ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ พบวา่ ผู้เรยี นมีผลการ
ประเมินในระดับดีข้นึ ไป จำนวน 49 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 75.38 (สูงกวา่ ค่าเป้าหมายรอ้ ยละ 70.00)

5. ผลการประเมินด้านดา้ นคิดคำนวณ พบวา่ ผูเ้ รียนมีผลการประเมินในระดบั ดีขน้ึ
ไป จำนวน 48 คน คิดเปน็ ร้อยละ 73.85 (สงู กว่าคา่ เป้าหมายร้อยละ 70.00)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

34

6. ผลการประเมนิ ดา้ นความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมพบว่าผู้เรยี นมีผลการ
ประเมินระดบั ดขี ้นึ ไปจำนวน 58 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 89.23 (สงู กว่าค่าเปา้ หมายรอ้ ยละ 70.00)

7. ผลการประเมนิ ด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผูเ้ รียนโดยเฉล่ยี ทุกคนทุก
ระดับชั้นเพราะวา่ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายผ้เู รยี นร้อยละ 60
มีผลการเรียนเฉลีย่ ตั้งแต่ 2.50 ข้ึนไปส่วนกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยสาระการเรียนรู้สงั คม
ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศสถานศกึ ษาต้งั คา่ เปา้ หมายผู้เรยี นร้อยละ 60 มผี ลการเรียนเฉล่ียตงั้ แต่ 3.00
ขึน้ ไปสว่ นกลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาพลศึกษา และกลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชพี สถานศึกษาตง้ั ค่าเป้าหมายผ้เู รียนร้อยละ 60 มีผลการเรียนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.50
ขึ้นไปโดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรมู้ ีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นทส่ี ูงกว่าค่าเปา้ หมายแต่
ผลสมั ฤทธใ์ิ นแต่ละปยี ังไม่มีพัฒนาการในทางบวกติดต่อกันทงั้ 3 ปยี อ้ นหลงั

8. ส่วนผลการประเมินระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 พบวา่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยเปน็ กล่มุ สาระการ
เรียนรู้เดยี ว ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบ (63.68 คะแนน) ท่ีสูงกว่าเกณฑผ์ ่านการประเมนิ
(50คะแนน) นอกนนั้ มคี ะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบที่ต่ำกว่าเกณฑ์การผ่านท้ังสนิ้ (กลมุ่ สาระการ
เรยี นรภู้ าษาองั กฤษ ได้ 43.30 คะแนนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ 37.86 คะแนน กลมุ่
สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ได้ 38.93 คะแนน) กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยมีการพฒั นาเชิง
บวก 3 ปยี ้อนหลงั นอกน้ันมีการพัฒนาเชิงบวก 2 ปีย้อนหลัง

ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการ 1) มคี วามสามารถในการอา่ น
การเขยี น การสอื่ สาร และการ
คดิ คานวณ
9087.68
6) มคี วามรู ้ ทักษะพน้ื ฐาน และ 85 2) มคี วามสามารถในการคดิ
เจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชพี วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
80 80 75.95
อภปิ รายแลกเปลย่ี น ความ
75 คดิ เห็น และแกป้ ัญหา

70

65

5) มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตาม 77.24 3) มคี วามสามารถในการสรา้ ง
หลักสตู รสถานศกึ ษา
76.92 89.23 นวตั กรรม

4) มคี วามสามารถในการการใช ้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ

สอ่ื สาร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

35

ผลการประเมินความสามารถของนักเรียนดา้ นการอ่าน ดา้ นการเขยี น ด้านการสอ่ื สาร ด้าน
การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคดิ คำนวณ ดา้ นความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมของ
สถานศกึ ษาทุกด้านสูงกวา่ ค่าเป้าหมายทีส่ ถานศึกษากำหนด โดยผลการประเมินความสามารถในการ
อ่าน ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 85.89 มีผลการประเมนิ ระดับดขี ึ้นไป ผลการประเมินความสามารถในการเขียน
ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 100 มผี ลการประเมนิ ระดับดีข้ึนไป ผลการประเมินความสามารถในการส่ือสาร ผ้เู รียน
รอ้ ยละ 78.46 มีผลการประเมนิ ระดับดีขน้ึ ไป ผลการประเมนิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ผเู้ รยี นร้อยละ 75.38 มผี ลการประเมินระดับดขี ึ้นไป ผลการประเมินความสามารถในการ

คดิ คำนวณ ผู้เรยี นรอ้ ยละ 73.84 มีผลประเมนิ ระดับดขี ้นึ ไป ผลการประเมนิ ความสามารถใน
การสร้างนวตั กรรม ผเู้ รียนรอ้ ยละ 89.23 มีผลการประเมินระดับดขี ึน้ ไป

ผลการประเมินดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ปี การศึกษา 2562 - 2564

3.8 3.56 3.72 3.56 3.65 3.732.69 3.633.58
3.7 3.34 3.63 3.44 3.49 3.48 3.57 3.49
3.6
3.5 3.28 3.338.34 3.38 3.38 3.363.37
3.4 3.28 3.26
3.3 3.232.233.19

3.2

3.1

3

2.9

ปี2562 ปี2563 ปี2564

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ NT ช้ันประถมศึกษาปี ที่

3

ปี การศึกษา 2562 – 2564

60 57.12
52.5
50 45.56
40 37.78 47.87

39.5 33.14 36.32 30

30

20

10

0 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

ความสามารถดา้ นภาษา ความสามารถดา้ นคานวณ รวมคะแนนเฉล่ยี 2 ดา้ น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

36

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ 6

70 63.68
43.3
60 50.48 57.4
41.89 41 37.86 38.93
50
21 ปี 2564
40 36.54 36.46
29.81 ปี 2563

30

20

10

0
ปี 2562

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 1) คณุ ลัก1ษ00ณะอนั พงึ 2)1คแ0ลว0าะมคภวามู มใิ เจปใ็ นนไททอ้ ยงถน่ิ
ประสงค์
4) สขุ ภาวะสทงั าคงมรา่ งกา1ย00จติ
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่
รว่ มกันบนค10ว0ามแตกตา่ ง

และหลากหลาย

ผลการประเมินด้านคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีงามตามท่ีสถานศึกษากำหนดน้ัน ผู้เรียน
ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกคุณลักษณะในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 100 ผู้เรียน
ร้อยละ 100 มีความภมู ิใจในทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย โดยประเมนิ จากการเข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ
ท่ีสถานศึกษาจัดข้ึน ผู้เรียนร้อยละ 100 มีการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ
หลากหลาย และผู้เรียนร้อยละ 100 มสี ขุ ภาวะทางรา่ งกาย จิตสงั คมผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรม
อนามัย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

37

2. การพัฒนาคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผูเ้ รียน
1) ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมทีด่ ี ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด
ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านยิ มท่ีดี ตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนดเป็นแบบอย่างได้

มีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดขี อง
สังคม โดยสถานศกึ ษาไดด้ ำเนินการส่งเสริมให้ผเู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ี การปลกู ฝังความรกั ชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ความซื่อสตั ย์สุจริต มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง ม่งุ ม่ันในการทำงาน รกั ความเป็นไทย
และมีจิตสาธารณะ ค่านิยม 12 ประการ ลงสู่ตัวนักเรียนอย่างต่อเน่ือง โดยเน้นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้
เกิดกับผู้เรียน เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกและคุณลักษณะให้ติดตัวนักเรียน โดยให้มีการสอนสอดแทรกใน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ทุกหน่วยการเรียนรู้ทุกหน่วยการเรียนรู้และสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ ปรัชญา
พันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียน โดยการจัดโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ โครงการส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมนักเรียน ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน จัดให้นักเรียนนั่งสมาธิต้นคาบเรียน 6 นาที
กจิ กรรมครูพระสอนธรรมะ กิจกรรมสวดธรรมจักรกปั วัตตนสูตร กิจกรรมขยะบุญ ซ่ึงนกั เรยี นร่วมกิจกรรม
จิตสาธารณะโดยเก็บขยะท่ีสาธารณะเช่น วัด ถนน ทุกวันพระ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมน้อง
ไหว้พี่ กิจกรรมออมทรัพย์ จัดกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา เช่น การตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง การ
ทำบุญเลี้ยงพระ การทอดผ้าป่าสามัคคี การเวียนเทียน การถวายเทียนพรรษา การสวดมนต์ทำนอง
สรภัญญะทุกวันศุกร์ นอกจากน้ียังมีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีหลากหลาย เช่น กิจกรรมแนะแนว กิจกรรม
ลูกเสือ – เนตรนารี กิจกรรมกิจกรรมท่ีปลูกฝังความกตัญญูกตเวที และความอ่อนน้อม เช่น กิจกรรมไหว้
ครู กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ การฝึกมารยาทไทย การไหว้ การเดินผ่านผู้ใหญ่ โครงการโรงเรียนสีขาว
กิจกรรมเกี่ยวกับรณรงค์ตอ่ ตา้ นยาเสพติด กิจกรรมส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยและวินัยนักเรยี น ไดป้ ลูกฝังการมี
เหตุผลและการแก้ปัญหาด้วยกิจกรรมเลือกตั้งประธานนักเรียน ประธานสี จัดให้มีคณะกรรมการสภา
นักเรียน เพื่อเป็นผู้นำในการดำเนินกิจกรรมนักเรียนในโรงเรียน เช่น การเสริมสร้างวินัยนักเรียน ได้แก่
กิจกรรมหน้าเสาธง ระเบียบการเดินแถว ระเบียบการแต่งกาย การรักษาความสะอาดของห้องเรียน การ
คัดแยกขยะ การจัดการขยะในสถานศึกษา การรณรงค์ประหยัดน้ำประหยัดไฟฟ้า เป็นการฝึกให้นักเรียน
เห็นคุณคา่ ของการรักษาสิง่ แวดล้อม ปลูกฝงั การอนรุ ักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม เป็นตน้

2) ผเู้ รียนมคี วามภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย
ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์

วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาไทย โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความภูมิใจใน
ท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทย รวมทั้งภูมิ
ปัญญาไทย ด้วยโครงการ/กิจกรรม เช่น กิจกรรมหน้าเสาธงแสดงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ รวมทั้งการเข้ารว่ มกิจกรรมในท้องถิ่น และชุมชนจัดขึ้น เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมวันลอย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

38

กระทง การถวายเทียนพรรษา การจัดกิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
ช่วยกันสืบสานให้คงอยู่ตลอดไป การร่วมกิจกรรมดนตรีไทย กิจกรรมภูมิปัญญาท้องถ่ิน กิจกรรมสืบสาน
ศิลปะวัฒนธรรมไทย ให้มีการแต่งชุดด้วยผ้าไทยทุกวันศุกร์ มีการจัดกิจกรรมบูรณาการท่ีเชื่อมโยงกับ
บริบทของท้องถิ่น โดยร่วมแสดงดนตรีไทยในงานต่าง ๆ ของชุมชน เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักรู้คุณค่าของ
วัฒนธรรมและชุมชนที่ตนอาศยั อยู่

3) ผู้เรียนยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
ผเู้ รียนสามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการสง่ เสริม
ให้ผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา
วัฒนธรรม ประเพณี ด้วยโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การพัฒนาผู้เรียนให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ด้วยการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ เช่น ด้านศิลปะ กีฬา ดนตรี งานประดิษฐ์ และสิ่งแวดล้อม
เป็นต้น กิจกรรมส่งเสริมการทำงานและชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกนั เช่น กิจกรรมระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
การจัดกจิ กรรมค่ายลูกเสือ – เนตรนารี ในทุกระดบั ช้ัน กจิ กรรมลูกเสือ-ยุวกาชาด กิจกรรมวันสำคญั ทาง
ภาษาอังกฤษ กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ กิจกรรม
วันคริสต์มาส กิจกรรมวันเด็ก การตักบาตรขา้ วสาร การเวียนเทียน การถวายเทียนจำนำพรรษา กจิ กรรม
ไหวค้ รู กจิ กรรมวนั แมแ่ หง่ ชาติ และกจิ กรรมจติ สาธารณะ ขยะบุญ

4) ผู้เรียนมีสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม
ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด โดยสถานศึกษา
ได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต
อารมณ์ และสงั คม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละชว่ งวยั สามารถอยู่รว่ มกับคนอืน่ อย่างมีความสุข
เข้าใจผู้อ่ืน ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อ่ืน โครงการป้องกันและเฝ้าระวังป้องกันแพร่ระบาดของโรคติดต่อใน
โรงเรียน (ไวรัสโคโรน่า 2019) เช่น มีการอบรมณ์ให้ความรู้ มีอาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้านมา
ช่วยคัดกรองตรวจวัดอุณภูมิผู้ท่ีเข้ามาในโรงเรียนทุกคน เว้นระยะห่างทางสังคม ล้างมือด้วยแอลกอฮอล์
ใส่หน้ากากอนามัยทุกคน ทุกวันศุกร์ทำความห้องเรียน อาคารเรียน บริเวณต่างๆในโรงเรียนด้วย
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเช้ือ โครงการอาหารกลางวัน จัดให้มีการให้บริการน้ำด่ืมสะอาด บริการ
โภชนาการอาหารปลอดภัย ให้ความรู้เรื่องสร้างเสริมสุขนิสัย สุขบัญญัติ 10 ประการ จัดให้มีการส่งเสริม
พัฒนา และทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายให้กับนักเรียน มีการบริการตรวจสุขภาพร่างกายนักเรียนทุก
คน การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน การฝึกทักษะการล้างมืออย่างถูกวิธี การเลือกซ้ือและรับประทาน
อาหารอยา่ งถูกต้อง ประสานงานกับเจ้าหน้าท่ีอนามัยโรงพยาบาลบางมูลนาก มาตรวจสุขภาพ ฉีดวัคซีน
เพ่ือป้องกันโรคให้กับนักเรียน ส่งเสริมการแปรงฟังอยา่ งถูกวิธี และพานักเรียนไปเคลือบหลุมรอ่ งฟัน ถอน
ฟนั ทโี่ รงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลหอไกร กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อนักเรยี นสงู ดีสมส่วน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

39

โครงการต้องกันเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรน่า2019 และโครงการโรงเรียนสีขาว จัด
นิทรรศการให้ความรู้เรื่องการหลีกเลี่ยงสารเสพติด โดยการเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เขียนเรียงความ
วาดภาพ และคำขวัญในวันต่อต้านยาเสพติด ร่วมมือกับสถานีตำรวจภูธรบางมูลนาก จัดโครงการครู
D.A.R.E. หรือโครงการการศึกษาเพ่ือต่อต้านการใช้ยาเสพติดในเด็กนักเรียน โดยเชิญตำรวจมาให้ความรู้
กบั นักเรียนชั้น ป.5 และเสรมิ สรา้ งมาตรการการป้องกันอบุ ัติเหตใุ ห้กับนกั เรียน ความปลอดภัยในชวี ิตและ
การถูกล่วงละเมิดทางเพศ จัดให้มีโครงการอาหารกลางวัน และอาหารเสริมนมทุกวัน มีการติดตามภาวะ
โภชนาการและรายงานผลเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาทุพภาวะโภชนาการ มีการจัดต้ังเวรตรวจสุขภาพร่างกาย
ทุกวัน โดยคณะกรรมการอนามัยโรงเรียน มีการจัดนิทรรศการให้นักเรียนรับรู้ข้อมูล ข่าวสารด้านบริการ
ด้านสุขภาพ การพัฒนาการเรียนในด้านศิลปะ ดนตรี/ กีฬา/นันทนาการ เช่น การประกวดวาดภาพ การ
ประกวดในวันสำคัญต่าง ๆ การประกวดร้องเพลงในกิจกรรมวันสำคัญ ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วม
กิจกรรมดนตรี ทั้งดนตรีไทย การแสดงท้ังในและนอกสถานท่ี มีการพัฒนาผู้เรียนให้ใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์ โดยส่งเสรมิ การออกกำลังกาย โครงการส่งเสรมิ การออกกำลงั กายเพื่อนักเรยี นสูงดีสมสว่ น โดย
การกระโดดเชือก มีวิทยาการภายนอกมาให้ความรู้แนะนำ จัดให้เล่นกีฬา เช่น ฟุตบอล ตะกร้อ เปตอง
แบตมนิ ตัน เปน็ ต้น

แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ขี นึ้ กวา่ เดิม
1. มกี ารพัฒนาผเู้ รยี นใหศ้ ึกษาคน้ ควา้ หาความรู้และอภิปรายแลกเปลยี่ นเรียนรู้ นำเสนออย่าง

สมเหตุสมผล การสร้างนวัตกรรม และต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่าง
เหมาะสม

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมอย่างเป็นระบบมีการใช้
กระบวนการวจิ ยั ในการดำเนินงาน และมกี ารสร้างเวทใี ห้ผเู้ รียนเผยแพร่ในช่องทางต่างๆอยา่ งต่อเน่ือง

3. ดำเนินงานยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบตั้งแต่ระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ระดับคณุ ภาพ : ยอดเย่ียม
2.1 มีเป้าหมายวิสยั ทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดอย่างชัดเจน
สถานศึกษามีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจนสอดคล้องกับ

บริบทของสถานศกึ ษา ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ใน
การปฏิบตั ิ ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการวเิ คราะห์สภาพปญั หา ผลการจัด
การศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัด

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

40

การศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา จัดให้มีการประชุมครูและบุคลากรเป็นประจำทุก
เดือน การจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในโรงเรียนเพื่อวางแผนร่วมกันกำหนด
เปา้ หมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกจิ กลยุทธ์ ในการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น

มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับ
สภาพปญั หา และความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษาพรอ้ มท้ังจดั หาทรัพยากร
จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบตรงกับความถนัด ความรู้
ความสามารถให้ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ มีการประชุม
วางแผน สร้างความตระหนัก ความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินงานต่างๆ มีการดำเนินการนิเทศ
กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ือง
โดยจัดให้มีโครงการต่างๆ จำนวน 16 โครงการ เพื่อขับเคลื่อนและพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นที่
ยอมรบั ของผปู้ กครอง และชุมชน

สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวสิ ัยทัศน์ และพันธกิจอยา่ งชัดเจนสอดคล้องกับสภาพ
ปัญหาความต้องการในการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาพิจิตร เขต 2 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ความต้องการ
ของผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามแผนการ
ศึกษาแหง่ ชาติ

ข้อมูลหลกั ฐาน และเอกสารสนับสนุน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา

สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อ
คุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนำ
ข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่องและเป็นแบบอย่างได้โดยสถานศึกษาใช้
หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม และหลักการบริหารสถานศึกษารูปแบบนิติบุคคล มีรูปแบบการ
บริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา มีแผนพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุก
กลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตาม
มาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถว้ น ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ มี
การดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีกระตุ้น
ผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้อยู่เสมอ มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถ่ิน และ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

41

นโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการวางแผน ให้ข้อเสนอแนะ
รว่ มกันรับผิดชอบในการพัฒนาให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและได้มาตรฐานที่ต้ังไว้ มีการนิเทศ
กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงาน อย่างเป็นระบบและ
ต่อเน่ือง ผู้เกีย่ วขอ้ งทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา คือ คณะกรรมการสถาน
ศกึ ษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบำรุงราษฎร์วทิ ยาคมเข้ามามสี ่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการ
จัดการศึกษา และรบั ทราบต่อผลการจดั การศึกษา

2.3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
และทุกกลุ่มเป้าหมาย

สถานศึกษาดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตร
สถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง และเป็นแบบอย่างได้ โดยสถานศึกษามี
หลักสูตรสถานศึกษาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียน
การสอนท่ีสร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริง ใช้เทคโนโลยีในการ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ นักเรียนสามารถสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง
จัดการเรียนการสอนที่เนน้ ทกั ษะการคิด และทกั ษะการใช้เทคโนโลยี มีการจัดแขง่ ขันทางวิชาการ
กับหน่วยงานภายนอก และภายใน เพื่อเสริมประสบการณ์ให้กับผู้เรียน นักเรียนร่วมกันแสดง
ความคิดเหน็ และมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทกุ กจิ กรรมที่ทางโรงเรยี นจัดข้นึ

2.4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี
สถานศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โดย
จัดต้ังงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรอย่างเพียงพอตรงตามความต้องการของครูและ
สถานศึกษา ตลอดจนส่งเสริมให้ครูทกุ คนไดพ้ ัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ เข้าร่วมประชุม/อบรม/สมั มนา
ทั้งตามที่หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เก่ียวข้องจัดข้ึน จัดให้มีครูต่างชาติเสริมทักษะด้าน
ภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนและบุคลากร มีการศึกษาดูงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา
และส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ให้กับเพื่อนครูและ
หน่วยงานที่เก่ียวข้อง มีการสอน การบูรณาการทุกกลุ่มสาระ ภาระงาน ช้ินงาน ส่ือการสอน และ
ใช้เทคโนโลยีอย่างมืออาชีพ สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี
การนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมการพัฒนาเครื่องมอื การวดั ผลและประเมินผล
ผ้เู รียนอย่างหลากหลาย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม

42

2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรยี น และสังคม

ท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อ
ประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียน ทุกห้องเรียน มีอุปกรณ์ สื่อ แหล่งเรียนรู้ และมุมอ่านหนังสือ จัด
หอ้ งเรียนพิเศษต่าง ๆ เชน่ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล หอ้ งดนตรี ท่ีเอ้ือต่อ
การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้รอบบริเวณสถานศึกษา การจัดถัง
ขยะเพื่อคัดแยกขยะ อย่างเป็นระเบียบ ปรับปรุงต้นไม้และสภาพแวดล้อมให้ร่มร่ืน สะอาด
ปลอดภัย จัดห้องน้ำ พื้นท่ีสำหรับแปรงฟัน ล้างมือและทำความสะอาดสำหรับนักเรียนแต่ละ
ระดับชั้น

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการ
เรียนรู้

สถานศึกษาจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการ
จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียน และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการท่ี
ทันสมัย เพื่อความรวดเร็วและการบริหารจัดการท่ีมีคุณภาพ จัดให้มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
สำหรับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ และทีวี ทุกห้องเรียน
สนับสนุนให้ครูใช้โปรแกรมระบบ ปพ. ในงานวิชาการช้ันเรียน รวมท้ังใช้ระบบออนไลน์ในการ
ส่ือสาร และการจัดการเรียนการสอนตามความเหมาะสม

แนวทางพฒั นาคณุ ภาพใหด้ ีข้นึ กว่าเดิม
1. มีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ และชัดเจนโรงเรียนได้ใช้เทคนิคการ

ประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประกันคุณภาพภายใน การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุม
ระดมสมอง เพื่อใหท้ ุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ มในการกำหนดวิสยั ทศั น์ พันธกจิ เปา้ หมาย ทชี่ ดั เจน

2. จัดระบบให้มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และ
จัดทำรายงานผลการจดั การศกึ ษา อย่างตอ่ เนือ่ ง

3. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่
ทันสมยั และมีประสิทธภิ าพ เช่น ห้องเรียนท่ีมีระบบ ICT ครบทุกห้องเรียน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม

43

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ทผี่ ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลศิ
สถานศึกษาได้ดำเนินการส่งเสริมครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ

และเกิดประสิทธิผลมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
สถานศึกษา ส่งเสริมให้ครูสร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ
ปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดี สนับสนุนให้ครูรู้จักผู้เรียน
เป็นรายบุคคล มีการดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนำผลมาพัฒนา
ผูเ้ รียนอย่างตอ่ เน่ือง รวมทัง้ รว่ มกันแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และนำผลที่ได้มาให้ข้อมูล มีวจิ ัยในช้ันเรยี น
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

ขอ้ มูลหลักฐานและเอกสารเชงิ ประจักษส์ นบั สนุน
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน

ชวี ติ ได้
สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ของ

หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เพ่ือมุ่งเน้นให้ครูมีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายของ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มกี ารปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกบั บริบท จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ี
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานในสาระการเรียนรู้ท่ีสอน ใช้
วิธีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ตามศักยภาพของผู้เรียนอย่างหลากหลาย โดยผ่าน
กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา ครูมี
แผนการจัดการเรียนรู้ตามโครงการศึกษทางไกลผ่านดาวเทียมที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง
สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การฝึกทกั ษะแสดงออก การแสดงความคิดเหน็ สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน
และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชิวิตได้โดยมีโครงการและกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการส่งเสริมพัฒนา
ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการ โดยมกี ารจัดทำหน่วยการเรียนรแู้ บบบูรณาการทุกระดบั ชั้น ไดแ้ ก่ การบูร
ณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการบูรณาการคุณธรรมและจริยธรรม ได้มีการกำหนด
ภาระงาน ชิ้นงาน มีการปรับโครงสร้างเวลาเรียนรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ กำหนดสัดส่วนคะแนนแต่
ละหน่วยการเรียนรู้ กำหนดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ทส่ี อดคล้องกบั หนว่ ยการเรยี นรู้ รวมท้ังโครงการ
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม
ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนถึงการสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ตลอดจนกำหนดให้มีโครงการพัฒนาทักษะ
กระบวนการคิด จัดการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิด โดยการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง เช่น โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญาไทยด้านดนตรี อาหาร
ไทย และงานเกษตรโครงการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ กิจกรรมส่งเสริม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปี การศกึ ษา 2564 โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม


Click to View FlipBook Version