The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tipsuda2195, 2023-02-17 01:47:47

วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

๔๓ Kagan, S. (1994). Cooperative Learning. San Juan Capistrano : Resources for Teach. Slavin, Robert E. (1987). Cooperative Learning and the Cooperative School. Education Leadership. 45 (November 1987), 7-13.


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก - รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัย


รายนามผู้เชี่ยวชาญ การตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาการตรวจสอบคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ สืบเสาะแบบ (5E) เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 2 ว31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1. นายเอนก มั่นกันนาน ตำแหน่ง วิทยาฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนทองแสนขันวิทยา อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. นางสาวกุลชา แก้วน้ำอ่าง ตำแหน่ง วิทยาฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนทองแสนขันวิทยา อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3. นางสาวรัตนาพร ขาวจ้อย ตำแหน่ง วิทยาฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนทองแสนขันวิทยา อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


แบบตอบรับของผู้เชี่ยวชาญ การตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาชีววิทยา 2 เรื่อง การศึกษา พันธุกรรมของเมนเดล โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม รายวิชาชีววิทยา 2 ว31242 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทำโดย นางสาวทิพย์สุดา แหยมไทย ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ชื่อ นายเอนก มั่นกันนาน ตำแหน่ง วิทยาฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนทองแสนขันวิทยา อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โปรดทำเครื่องหมาย ✔ หน้าข้อความ ยินดีรับเป็นผู้เชี่ยวชาญ ขัดข้องในการเป็นผู้เชี่ยวชาญ ลงชื่อ (นายเอนก มั่นกันนาน ) ครู โรงเรียนทองแสนขันวิทยา


แบบตอบรับของผู้เชี่ยวชาญ การตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาชีววิทยา 2 เรื่อง การศึกษา พันธุกรรมของเมนเดล โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม รายวิชาชีววิทยา 2 ว31242 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทำโดย นางสาวทิพย์สุดา แหยมไทย ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ชื่อ นางสาวกุลชา แก้วน้ำอ่าง ตำแหน่ง วิทยาฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนทองแสนขันวิทยา อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โปรดทำเครื่องหมาย ✔ หน้าข้อความ ยินดีรับเป็นผู้เชี่ยวชาญ ขัดข้องในการเป็นผู้เชี่ยวชาญ ลงชื่อ (นางสาวกุลชา แก้วน้ำอ่าง) ครู โรงเรียนทองแสนขันวิทยา


แบบตอบรับของผู้เชี่ยวชาญ การตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาชีววิทยา 2 เรื่อง การศึกษา พันธุกรรมของเมนเดล โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม รายวิชาชีววิทยา 2 ว31242 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทำโดย นางสาวทิพย์สุดา แหยมไทย ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ชื่อ นางสาวรัตนาพร ขาวจ้อย ตำแหน่ง วิทยาฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนทองแสนขันวิทยา อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โปรดทำเครื่องหมาย ✔ หน้าข้อความ ยินดีรับเป็นผู้เชี่ยวชาญ ขัดข้องในการเป็นผู้เชี่ยวชาญ ลงชื่อ (นางสาวรัตนาพร ขาวจ้อย) ครู โรงเรียนทองแสนขันวิทยา


ภาคผนวก ข ผลการประเมินเครื่องมือเพื่อการวิจัย - ผลการประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม - ผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ - ผลการประเมินความสอดคล้องของข้อคำถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4


ผลการประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นและเกณฑ์การพิจารณาความเหมาะสมของ ผู้เชี่ยวชาญต่อแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมน เดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม รายการประเมิน ระดับความคิดเห็นเฉลี่ย S.D. ระดับความเหมาะสม 1. หน่วยการเรียนรู้มีองค์ประกอบครบถ้วนเหมาะสม และมีรายละเอียดที่สอดคล้องสัมพันธ์กัน 5.00 0.00 มากที่สุด 2.การเขียนสาระสำคัญในแผน กระชับ ครอบคลุม ตามเป้าหมาย 5.00 0.00 มากที่สุด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้มีความชัดเจนถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหาสาระ 5.00 0.00 มากที่สุด 4. การนำเข้าสู่บทเรียนสอดคล้องกับเนื้อหา 4.67 0.58 มากที่สุด 5. เนื้อหา/กิจกรรมการสอนเหมาะสมกับจำนวนเวลา ที่กำหนด 5.00 0.00 มากที่สุด 6. เนื้อหาสาระในแผนถูกต้องตามหลักวิชาการ 5.00 0.00 มากที่สุด 7. กิจกรรมการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและ สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง 5.00 0.00 มากที่สุด 8. กิจกรรมการสอนตามแผนเน้นกระบวนการคิด 4.33 0.58 มาก 9. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้สรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอรูปแบบต่าง ๆ 4.33 0.00 มาก 10. นักเรียนทุกคนได้ทำงานที่มอบหมายได้ด้วยตนเอง 4.67 0.58 มากที่สุด 11. สรุปบทเรียนได้ตรงตามเนื้อหา 5.00 0.00 มากที่สุด 12. นักเรียนมีส่วนร่วมในการสรุปบทเรียน 4.67 0.58 มากที่สุด 13. มีการใช้สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยและ เนื้อหาสาระ 4.67 0.58 มากที่สุด 14. นักเรียนได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรมเป็นส่วนใหญ่ 5.00 0.00 มากที่สุด 15. มีการวัดผลและประเมินผลที่สอดคล้องกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.00 0.00 มากที่สุด รวม 4.83 0.29 มากที่สุด


ผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์วิชา ชีววิทยา 2 เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยพิจารณาความสอดคล้องของข้อคำถามกับผลการเรียนรู้ที่ต้องการวัด โดยใช้เกณฑ์การพิจารณาความสอดคล้องดังนี้ ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามนั้นวัดได้ตรงตามผลการเรียนรู้ ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคำถามนั้นวัดได้ตรงตามผลการเรียนรู้ ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามนั้นวัดไม่ตรงตามผลการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์วิชา ชีววิทยา 2 เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีจำนวน 20 ข้อ ซึ่งสามารถ ใช้ได้ 20 ข้อ เกณฑ์การคัดเลือกคือเลือกข้อสอบที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ถึง 1 เป็นข้อสอบที่มีความ เที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเป็นข้อคำถามที่ถือว่าใช้ได้ ตารางที่ 5 แสดงความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ ข้อที่ ผลการพิจารณาผู้เชี่ยวชาญ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 รวม IOC แปรผล 1 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 2 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 3 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 4 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 5 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 6 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 7 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้ 8 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 9 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 10 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 11 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 12 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 13 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้ 14 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้ 15 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 16 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 17 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 18 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 19 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 20 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้


ผลการประเมินความสอดคล้องของข้อคำถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คนพิจารณาลงความเห็นและให้คะแนนนำแบบวัดความพึงพอใจไปหาค่า ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียน (IOC) โดยมี เกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคำถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามนั้นไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัด ด้านความพึงพอใจ ตารางที่ 6 ความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผล ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่อง การศึกษา พันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ข้อที่ ผลการพิจารณาผู้เชี่ยวชาญ รวม IOC แปรผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 2 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 3 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 4 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 5 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 6 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 7 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 8 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 9 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 10 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 11 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 12 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 13 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 14 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 15 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 16 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 17 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 18 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 19 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 20 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้


21 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 22 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 23 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 24 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 25 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 26 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 27 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 28 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 29 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 30 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 31 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้ 32 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 33 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 34 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้ 35 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้


ภาคผนวก ค - ผลการหาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม ประสิทธิภาพด้านกระบวนการ/ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ (E1/E2) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 35 คน - ผลการหาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่อง การศึกษา พันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 35 คน


ผลการหาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษา พันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม ประสิทธิภาพด้านกระบวนการ/ ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ (E1/E2) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 35 คน ตารางที่ 7 ผลการหาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม ประสิทธิภาพด้านกระบวนการ/ ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ (E1/E2) ลำดับ ที่ เลข ประจำตัว ชื่อ - สกุล ใบงาน สอบ ก่อน เรียน สอบ หลัง เรียน 10 10 10 10 10 20 20 1 06461 นายเฉลิมชัย นางแย้ม 9 10 10 10 8 15 18 2 06464 นายตระการสินธ์ แหยมคง 10 7 9 9 8 9 15 3 06472 นายพิชญุตม์ อนุสนท์ 10 9 9 7 10 8 16 4 06474 นายสัญชัย แร่กุล 8 8 10 9 10 7 15 5 06490 นายจักรกฤษ อยู่ทิม 8 8 9 10 9 8 17 6 06492 นายโชคทวี ยังอุ่น 10 8 9 8 9 9 14 7 06494 นายธนกฤต สอนทิม 7 7 7 8 8 6 11 8 06496 นายปภินวิช พ่วงเภา 8 10 8 7 10 9 13 9 06497 นายพลภัตฆ์ สาแสง 7 10 8 7 8 8 14 10 06500 นายรัฐภูมิ แก้วพร 9 8 7 7 9 3 10 11 06502 นายศิริโชค ครุฑเพชร์ 9 8 8 8 8 10 14 12 06503 นายสืบชัย นามโนเขวา 10 7 9 8 10 8 12 13 06521 นายปรวัฒน์ ดีทา 8 10 9 10 8 9 15 14 06522 นายพรชัย เกตุเอี่ยม 8 10 9 7 9 11 16 15 06814 นายปริญญา เหล็กไทย 8 7 8 10 10 11 12 16 06894 นายธนกร อุปนันท์ 8 10 9 9 8 6 14 17 06479 นางสาวพรรณวสา รินนะสิริ 9 9 10 7 9 15 17 18 06481 นางสาวสาธิตา แร่กุล 10 8 9 8 8 9 13 19 06476 นางสาวณหฤทัย กองโต 8 9 10 7 10 10 12 20 06482 นางสาวสุกานดา นาคเกตุ 8 9 9 9 10 12 16 21 06486 นางสาวอมาราวตรี บุญปลีก 10 7 9 8 10 12 14 22 06487 นางสาวอินทุพา เทียนสว่าง 8 10 9 10 8 8 13 23 06507 นางสาวชนานันท์ เพ็งรอด 8 10 9 7 9 9 15 24 06510 นางสาวเบญจพร ติอินทร์ 8 7 8 10 10 4 10 25 06512 นางสาวปรียาพรรณ ปัญญาแพง 8 10 9 9 8 10 14 26 06513 นางสาวพัชราพันธุ์ พรมรักษา 9 9 10 7 9 9 11 27 06514 นางสาวไพลิน พูดฉลาด 10 8 9 8 8 3 10 28 06517 นางสาวอัญญานี ใจยา 8 9 10 7 10 12 15


29 06540 นางสาวปิยธิดา อโครตมี 8 9 9 9 10 11 15 30 06543 นางสาวมนัชนันท์ ยะเพ็ง 10 7 9 8 10 1 11 31 06544 นางสาวยุพารัตน์ เหลือผล 8 10 9 10 8 5 10 32 06545 นางสาววรัชยา เมายศ 8 10 9 7 9 10 15 33 06546 นางสาวสุภามิตร มงคล 8 7 8 10 10 7 11 34 06895 นางสาวสุภัสสร มูลน้ำอ่าง 8 10 9 9 8 5 12 35 06923 นางสาวพรลินี กาวี 9 9 10 7 9 8 12 รวม 300 304 312 291 315 297 472


ผลการหาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 35 คน ตารางที่ 10 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คนที่ ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 1 5 5 5 5 4 4 5 5 5 5 5 4 4 5 5 2 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3 5 5 5 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 4 5 5 3 5 5 5 5 5 5 6 5 5 5 4 5 5 5 4 5 5 3 4 4 5 5 7 4 5 5 5 5 3 4 4 5 5 5 5 5 4 5 8 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 9 5 5 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 10 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 11 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 12 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 13 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 4 5 5 14 5 5 5 3 5 5 5 5 4 3 5 5 5 4 5 15 5 5 5 5 4 4 5 5 5 5 5 4 4 5 5 16 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 17 5 5 5 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 18 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 19 5 5 4 5 5 4 5 5 3 5 5 5 5 5 5 20 5 5 5 4 5 5 5 4 5 5 3 4 4 5 5 21 4 5 5 5 5 3 4 4 5 5 5 5 5 4 5 22 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 23 5 5 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 24 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 25 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 26 5 5 5 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 27 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 28 5 5 4 5 5 4 5 5 3 5 5 5 5 5 5 29 5 4 5 4 5 5 5 4 5 5 3 4 4 5 5 30 4 5 5 5 5 3 4 4 5 5 5 5 5 4 5 31 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5


ตารางที่ 10 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คนที่ ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 32 5 5 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 33 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 34 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 35 4 5 5 5 5 5 3 5 5 5 4 5 5 5 5 รวม 171 174 166 167 170 161 170 163 168 173 167 169 169 171 175 เฉลี่ย 4.7 4.8 4.6 4.7 4.8 4.6 4.9 4.7 4.9 5.0 44 5.0 5.0 5.1 5.2 S.D. .322 .169 .443 .490 .355 .650 .429 .639 .584 .338 .598 .382 .382 .322 0


ภาคผนวก ง แบบประเมิน - แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม - แบบประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการเรียนรู้ - แบบประเมินข้อคำถามของความพึงพอใจ


แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม แบบประเมินความเหมาะสมในองค์ประกอบต่าง ๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (สำหรับผู้เชี่ยวชาญ) คำชี้แจง โปรดพิจารณาว่าแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การศึกษา พันธุกรรมของเมนเดลร่วมกับการใช้เทคนิคเกม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความเหมาะสมตาม องค์ประกอบด้านต่าง ๆ ที่กำหนดหรือไม่โดยใส่เครื่องหมาย (/) ลงในช่อง “ระดับความเหมาะสม” ตามความคิดเห็นพร้อมเขียนข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ในการนำไปพิจารณาปรับปรุงต่อไป ดังนี้ 5 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด 4 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับน้อยที่สุด รายงานการประเมิน ระดับความเหมาะสม 5 4 3 2 1 ด้านเนื้อหา 1. มีความถูกต้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 3. การจัดเรียงลำดับขั้นตอนการสอน ทำให้นักเรียนเข้าใจง่าย 4. ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้สำหรับการเรียน 5. มีความยากง่ายเหมาะสมกับนักเรียน 6. การใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสมกับนักเรียน 7. การใช้ภาษาสื่อความหมายได้ชัดเจน 8. เนื้อหามีปริมาณเพียงพอที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ 9. เนื้อหาไม่ขัดต่อความมั่นคงของชาติและคุณธรรมจริยธรรม 10. มีการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ด้านสื่อ 11. ให้อิสระในการแสดงความคิดสร้างสรรค์ 12. มีกลยุทธ์ในการถ่ายทอดเนื้อหาน่าสนใจ 13. มีความยืดหยุ่น สนองความแตกต่างระหว่างบุคคลครอบคลุมลำดับ เนื้อหา ลำดับการเรียนและแบบทดสอบได้


14. ออกแบบด้วยระบบที่ดี ส่งเสริมการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 15. สร้างความแปลกใหม่ทางการเรียน ทำให้สนใจเรียนมากขึ้น ด้านปฏิสัมพันธ์ 16. ให้อิสระในการแสดงความคิดสร้างสรรค์ 17. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการเรียนการสอน 18. กระตุ้นความสนใจของนักเรียน 19. นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับกลุ่มเพื่อน 20. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้สอนเพื่อนภายในกลุ่ม ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ ...................................... ผู้ประเมิน (.....................................) ตำแหน่ง....................................................


แบบประเมินสำหรับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ แบบทดสอบรายวิชาชีววิทยา 2 เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คำชี้แจง : แบบประเมินฉบับนี้ใช้สำหรับท่านซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบว่าข้อคำถามแต่ละข้อ มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่ โดยมีเกณฑ์การประเมินดังนี้ ให้คะแนน +1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์/เนื้อหานั้น ให้คะแนน 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์/เนื้อหานั้น ให้คะแนน -1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบไม่วัดจุดประสงค์/เนื้อหานั้น คำถาม คะแนน ประเมินจาก ผู้เชี่ยวชาญ ข้อเสนอ แนะ 1 0 -1 จุดประสงค์ : นักเรียนสามารถอธิบายกฎแห่งการแยกของเมนเดลได้ 1. ถ้าทำการผสมถั่วลันเตาต้นสูงพันธุ์แท้กับถั่วลันเตาต้นเตี้ยพันธุ์แท้ จะได้ อัตราส่วนของ Genotype ในลูกรุ่น F2 เท่ากับเท่าใด ก. 1 : 2 : 1 ข. 1 : 1 ค. 3 : 1 ง. 1 : 0 เฉลย : ก. 1 : 2 : 1 จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการทดลองของเมนเดลได้ 2. ผสมถั่วฝักสีเขียว (YY) กับฝักสีเหลือง (yy) ลูกที่ได้ในรุ่นที่ 1 (F1) จะมี ลักษณะอย่างไร ก. ได้ถั่วฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง = 1 : 1 ข. ได้ถั่วฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง = 2 : 1 ค. ได้ถั่วฝักสีเขียวทั้งหมด ง. ได้ถั่วฝักสีเหลืองทั้งหมด เฉลย : ค. ได้ถั่วฝักสีเขียวทั้งหมด จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการทดลองของเมนเดลได้ 3. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. Tt ฟีโนไทป์จะแสดงลักษณะเด่น ข. TT ฟีโนไทป์จะแสดงลักษณะเด่น ค. tt ฟีโนไทป์จะแสดงลักษณะด้อย ง. tt ฟีโนไทป์จะแสดงลักษณะเด่น เฉลย : ง. tt ฟีโนไทป์จะแสดงลักษณะเด่น จุดประสงค์: นักเรียนสามารถสรุปการทดลองของเมนเดลได้ 4. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎของเมนเดล ก. กฎข้อที่ 1 คือ กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ ข. กฎแห่งการแยก คือ กฎข้อที่ 1 ค. low of segregation คือ กฎแห่งการแยก


ง. low of independent assortment คือ กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ เฉลย : ก. กฎข้อที่ 1 คือ กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายกฎแห่งการแยกของเมนเดลได้ 5. ในแมลงหวี่ กำหนดให้ L เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกยาว และ l เป็นยีน ควบคุมลักษณะปีกสั้น เมื่อผสมพันธุ์แมลงหวี่ปีกยาว และแมลงหวี่ปีกสั้น จะได้ลูกที่มีปีกยาวและลูกที่มีปีกสั้นในอัตราส่วน 1 : 1 จงหาจีโนไทป์ของ พ่อ แม่ และลูก ก. พ่อ (Ll), แม่ (ll), ลูก (Ll, ll) ข. พ่อ (Ll), แม่ (ll), ลูก (LL, ll) ค. พ่อ (Ll), แม่ (Ll), ลูก (Ll, ll) ง. พ่อ (LL), แม่ (Ll), ลูก (Ll, ll) เฉลย : ก. พ่อ (Ll), แม่ (ll), ลูก (Ll, ll) จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการทดลองของเมนเดลได้ 6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะที่เมนเดลนำมาศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม ก. ความสูงของลำต้น, รูปร่างของฝัก ข. สีของเมล็ด, สีของฝัก ค. รูปร่างของเมล็ด, สีของดอก ง. ตำแหน่งของดอก, สีของลำต้น เฉลย : ง. ตำแหน่งของดอก, สีของลำต้น จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายกฎแห่งการแยกของเมนเดลได้ 7. จากตารางข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ก คือ Homozygous dominant, ค คือ Tt, จ คือ Tt ข. ส คือ B, b, น คือ Homozygous recessive, ม คือ y ค. ข คือ T, ค คือ TT, ช คือ Homozygous dominant ง. ม คือ y, น คือ Heterozygote, ข คือ t เฉลย : ข. ส คือ B, b, น คือ Homozygous recessive, ม คือ y จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายกฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระของเมนเดลได้ 8. มะเขือเทศผลสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูงเป็นลักษณะเด่น (T) ต้นเตี้ยเป็นลักษณะด้อย (t) เมื่อนำมะเขือ เทศต้นหนึ่งมีจีโนไทป์ RrTT ผสมกับต้นที่มีจีโนไทป์ rrTt ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ถูกต้อง ก. จีโนไทป์ของลูกมีทั้งหมด 4 แบบ ข. ฟีโนไทป์ของลูกมีทั้งหมด 4 แบบ ค. จีโนไทป์ที่ได้คือ RrTT, rrTT, RrTt, rrTt


ง. อัตราส่วนของฟีโนไทป์คือ 1 : 1 เฉลย : ข. ฟีโนไทป์ของลูกมีทั้งหมด 4 แบบ จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายกฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระของเมนเดลได้ 9. ในการผสมถั่วเมล็ดกลมฝักสีเหลืองกับถั่วเมล็ดขรุขระฝักสีเขียวจะได้ถั่ว เมล็ดขรุขระฝักสีเขียวในอัตราส่วนเท่าใด ก. 9/16 ข. 4/16 ค. 3/16 ง. 1/16 เฉลย : ง. 1/16 จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายกฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระของเมนเดลได้ 10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการผสมเพื่อทดสอบ ก. เป็นการทดสอบเพื่อหาจีโนไทป์ของต้นที่เป็นลักษณะเด่นว่าเป็นเด่นพันธุ์ แท้ หรือเด่นพันธุ์ทาง ข. ในการทดสอบจะทดสอบกับต้นทดสอบที่มีลักษณะด้อยพันธุ์แท้เท่านั้น ค. ถ้าทำการผสมทดสอบแล้วลูกที่ได้มีอัตราส่วนของจีโนไทป์เป็น 1 : 1 แสดง ว่าพืชที่เราต้องการศึกษามีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส ง. ในการผสมเพื่อทดสอบ ต้นทดสอบที่ใช้อาจมีสภาพจีโนไทป์เป็นฮอโม ไซกัส หรือเฮเทอโรไซกัสก็ได้ เฉลย : ง. ในการผสมเพื่อทดสอบ ต้นทดสอบที่ใช้อาจมีสภาพจีโนไทป์เป็นฮอโม ไซกัสหรือเฮเทอโรไซกัสก็ได้ จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์ ของเมนเดลได้ 11. เหตุใดการถ่ายทอดลักษณะของเส้นผมในคนจึงเป็นการข่มไม่สมบูรณ์ ก. เพราะแอลลีลที่ควบคุมลักษณะเส้นผมในคนมีมากกว่า 2 แอลลีลใน 1 ลักษณะ ข. เพราะแอลลีลของผมตรง ผมหยิก และผมหยักศกต่างเป็นแอลลีลด้อย ทั้งหมด ค. เพราะแอลลีลที่ควบคุมลักษณะผมต่างก็แสดงลักษณะเท่าๆ กัน ง. เพราะแอลลีลแต่ละแอลลีลเป็นลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ เฉลย : ง. เพราะแอลลีลแต่ละแอลลีลเป็นลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์ ของเมนเดลได้


12. พ่อมีเลือดหมู่ A กับแม่มีเลือดหมู่ B มีบุตรคนแรกเป็นเลือดหมู่ O จงหา genotype ของพ่อและแม่และมีโอกาสมีบุตรที่มีเลือดหมู่ตรงตามข้อใด ก. พ่อ I A I A , แม่ I B i, ลูก AB และ A ข. พ่อ I A i, แม่ I B I B , ลูก A และ B ค. พ่อ I A i, แม่ I B i, ลูก A, B และ O ง. พ่อ I A i, แม่ I B i, ลูก AB, A, B และ O เฉลย : ง. พ่อ I A i, แม่ I B i, ลูก AB, A, B และ O จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์ ของเมนเดลได้ 13. เพราะเหตุใดเมื่อผสมดอกลิ้นมังกรสีแดงกับดอกลิ้นมังกรสีขาวลูกในรุ่น F1 จึงมีสีชมพู ก. เพราะดอกลิ้นมังกรสีแดงกับดอกลิ้นมังกรสีขาวไม่สามารถข่มกันได้อย่าง สมบูรณ์ ข. เพราะเกิดการข่มร่วมกันระหว่างดอกลิ้นมังกรสีแดงและสีขาว ค. เพราะดอกลิ้นมังกรสีชมพูเป็นลักษณะด้อยต่อดอกลิ้นมังกรสีแดงและ สีขาว ง. เพราะดอกลิ้นมังกรมียีนควบคุมลักษณะอยู่หลายยีนทำให้เกิดลักษณะสี ดอก ได้หลายสี เฉลย : ก. เพราะดอกลิ้นมังกรสีแดงกับดอกลิ้นมังกรสีขาวไม่สามารถข่มกันได้ อย่างสมบูรณ์ จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศได้ 14. พันธุกรรมจำกัดเพศ ให้นักเรียนบอกลักษณะขนหางของไก่ถึงความ แตกต่างระหว่างเพศผู้กับเพศเมีย พร้อมแสดงจีโนไทป์และฟีโนไทป์ด้วย ข้อ ใดแสดงไม่ถูกต้อง ก. HH ไก่เพศผู้ ขนหางสั้น ข. Hh ไก่เพศเมีย ขนหางสั้น ค. hh ไก่เพศผู้ ขนหางยาว ง. HH ไก่เพศเมีย ขนหางยาว เฉลย : ง. HH ไก่เพศเมีย ขนหางยาว จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศได้ 15. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. B+ B + จะแสดงอาการศีรษะล้านทั้งในเพศหญิงและเพศชาย ข. BB จะแสดงอาการศีรษะล้านเฉพาะในเพศชายเท่านั้น ค. BB+ จะไม่แสดงอาการศีรษะล้านในเพศหญิง ง. BB+ จะไม่แสดงอาการศีรษะล้านในเพศชาย เฉลย : ค. BB+ จะไม่แสดงอาการศีรษะล้านในเพศหญิง


จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์ ของเมนเดลได้ 16. เมล็ดข้าวสาลีถูกควบคุมด้วยพอลียีน นักเรียนคิดว่าสาเหตุใดที่ส่งผลต่อ ความเข้มของเมล็ดข้าวสาลี ก. จำนวนแอลลีลในจีโนไทป์ ข. อุณหภูมิของสภาพแวดล้อม ค. จำนวนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะของสี ง. จำนวนแอลลีลเด่นในจีโนไทป์ เฉลย : ง. จำนวนแอลลีลเด่นในจีโนไทป์ จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศได้ 17. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ โรคที่เกิดจากยีนด้อยบนโครโมโซม X ก. โรคผิวเผือก ข. โรคฮีโมฟีเลีย ค. อาการพร่องเอนไซม์ G-6-PD ง. อาการตาบอดสี เฉลย : ก. โรคผิวเผือก จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศได้ 18. โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนเด่นบนโครโมโซม X ข้อใดถูกต้อง ก. โรคตาบอดสี ข. โรคภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-PD ค. โรคฮีโมฟิเลีย ง. มนุษย์หมาป่า เฉลย : ง. มนุษย์หมาป่า จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการแปรผันแบบต่อเนื่องได้ 19. ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นการแปรผันแบบต่อเนื่อง ก. ความสูง, การมีลักยิ้ม ข. น้ำหนัก, สีผิวของคน ค. การมีติ่งหู, การงอนิ้ว ง. การห่อลิ้น, สติปัญญา เฉลย : ข. น้ำหนัก, สีผิวของคน จุดประสงค์: นักเรียนสามารถอธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศได้ 20. ลูกสาวของครอบครัวใดที่เป็นพาหะทุกคน เพราะเหตุใด ก. ครอบครัวที่ 1 เพราะพ่อเป็นโรคตาบอดสี ข. ครอบครัวที่ 1 เพราะแม่เป็นพาหะของโรคนี้ ค. ครอบครัวที่ 2 เพราะพ่อมีปู่เป็นโรคตาบอดสี ง. ครอบครัวที่ 2 เพราะแม่เป็นพาหะของโรคนี้ เฉลย : ก. ครอบครัวที่ 1 เพราะพ่อเป็นโรคตาบอดสี


ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (..............................................) ………../................../.............


แบบประเมินข้อคำถามของความพึงพอใจ แบบประเมินข้อคำถามของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้วิชาชีววิทยา 2 เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม คำชี้แจง โปรดพิจารณาความสอดคล้องของข้อคำถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ เพื่อนำแบบวัดความพึงพอใจไปหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับพฤติกรรมชี้วัด ด้านความพึงพอใจของนักเรียน (IOC) เมื่อพิจารณาแล้วให้ใส่เครื่องหมาย (/) ลงในช่องความคิดเห็น พร้อมเขียนข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ในการนำไปพิจารณาปรับปรุงต่อไปโดยใช้เกณฑ์การ พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคำถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามนั้นไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ รายการประเมิน คะแนนประเมินจากผู้ เชียวชาญ หมายเหตุ +1 0 -1 ด้านบรรยากาศ 1. บรรยากาศของการเรียนเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำ กิจกรรม 2. บรรยากาศของการเรียนทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเอง และกลุ่ม 3. บรรยากาศของการเรียนทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการ เรียน 4. บรรยากาศของการเรียนเปิดโอกาสให้นักเรียนทำกิจกรรมได้อย่าง อิสระ 5. บรรยากาศของการเรียนทำให้นักเรียนเกิดความคิดที่หลากหลาย ด้านกิจกรรมการเรียน 1. กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา 2. กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด 3. กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการคิดและตัดสินใจ


รายการประเมิน คะแนนประเมินจากผู้ เชียวชาญ หมายเหตุ +1 0 -1 ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ทำให้นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น ๕. กิจกรรมการเรียนรู้ทำให้นักเรียนเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น ๖. กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. การจัดการเรียนรู้ทำให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย 2. การจัดการเรียนรู้ทำให้จำเนื้อหาได้นาน 3. การจัดการเรียนรู้ช่วยให้นักเรียนสร้างความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง ได้ 4. การจัดการเรียนรู้ทำให้นักเรียนนำวิธีการเรียนรู้ไปใช้ในวิชาอื่นๆ 5. การจัดการเรียนรู้ทำให้นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดที่สูงขึ้น 6. การจัดการเรียนรู้ช่วยให้นักเรียนตัดสินใจโดยใช้เหตุผล 7. การจัดการเรียนรู้ทำให้เข้าใจและรู้จักเพื่อนมากขึ้น 8. กิจกรรมการเรียนการสอนนี้ทำให้ได้ทำงานร่วมกับผู้อื่น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ ...................................... ผู้ประเมิน (.....................................) ตำแหน่ง .................................................


ภาคผนวก จ - แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล วิชา ชีววิทยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้สืบเสาะแบบ (5E) ร่วมกับการใช้เกม วิทยาศาสตร์


แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล วิชา ชีววิทยา 2 (ว31242) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ครูผู้สอน นางสาวทิพย์สุดา แหยมไทย (20 คะแนน) ให้นักเรียน () ทับคำตอบที่ถูกต้อง เพียงคำตอบเดียว 1. ถ้าทำการผสมถั่วลันเตาต้นสูงพันธุ์แท้กับถั่วลันเตาต้นเตี้ยพันธุ์แท้ จะได้อัตราส่วนของ Genotype ในลูกรุ่น F2 เท่ากับเท่าใด ก. 1 : 2 : 1 ข. 1 : 1 ค. 3 : 1 ง. 1 : 0 2. ผสมถั่วฝักสีเขียว (YY) กับฝักสีเหลือง (yy) ลูกที่ได้ในรุ่นที่ 1 (F1) จะมีลักษณะอย่างไร ก. ได้ถั่วฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง = 1 : 1 ข. ได้ถั่วฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง = 2 : 1 ค. ได้ถั่วฝักสีเขียวทั้งหมด ง. ได้ถั่วฝักสีเหลืองทั้งหมด 3. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. Tt จะแสดงลักษณะเด่น ข. TT จะแสดงลักษณะเด่น ค. tt จะแสดงลักษณะด้อย ง. tt จะแสดงลักษณะเด่น 4. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎของเมนเดล ก. กฎข้อที่ 1 คือ กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ ข. กฎแห่งการแยก คือ กฎข้อที่ 1 ค. low of segregation คือ กฎแห่งการแยก ง. low of independent assortment คือ กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ 5. ในแมลงหวี่ กำหนดให้ L เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกยาว และ l เป็นยีนควบคุมลักษณะปีกสั้น เมื่อผสมพันธุ์แมลงหวี่ปีกยาว และแมลงหวี่ปีกสั้น จะได้ลูกที่มีปีกยาวและลูกที่มีปีกสั้น ในอัตราส่วน 1 : 1 จงหาจีโนไทป์ของพ่อ แม่ และลูก ก. พ่อ (Ll), แม่ (ll), ลูก (Ll, ll) ข. พ่อ (Ll), แม่ (ll), ลูก (LL, ll) ค. พ่อ (Ll), แม่ (Ll), ลูก (Ll, ll) ง. พ่อ (LL), แม่ (Ll), ลูก (Ll, ll)


6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะที่เมนเดลนำมาศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ก. ความสูงของลำต้น, รูปร่างของฝัก ข. สีของเมล็ด, สีของฝัก ค. รูปร่างของเมล็ด, สีของดอก ง. ตำแหน่งของดอก, สีของลำต้น 7. จากตารางข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ก คือ Homozygous dominant, ค คือ Tt, จ คือ Tt ข. ส คือ B, b, น คือ Homozygous recessive, ม คือ y ค. ข คือ T, ค คือ TT, ช คือ Homozygous dominant ง. ม คือ y, น คือ Heterozygote, ข คือ t 8. มะเขือเทศผลสีแดงเป็นลักษณะเด่น (R) ผลสีเหลืองเป็นลักษณะด้อย (r) และต้นสูง เป็นลักษณะเด่น (T) ต้นเตี้ยเป็นลักษณะด้อย (t) เมื่อนำมะเขือเทศต้นหนึ่งมีจีโนไทป์ RrTT ผสมกับต้นที่มีจีโนไทป์ rrTt ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. จีโนไทป์ของลูกมีทั้งหมด 4 แบบ ข. ฟีโนไทป์ของลูกมีทั้งหมด 4 แบบ ค. จีโนไทป์ที่ได้คือ RrTT, rrTT, RrTt, rrTt ง. อัตราส่วนของฟีโนไทป์คือ 1 : 1 9. ในการผสมถั่วเมล็ดกลมฝักสีเหลืองกับถั่วเมล็ดขรุขระฝักสีเขียวจะได้ถั่วเมล็ดขรุขระฝักสีเขียว ในอัตราส่วนเท่าใด ก. 9/16 ข. 4/16 ค. 3/16 ง. 1/16 10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการผสมเพื่อทดสอบ ก. เป็นการทดสอบเพื่อหาจีโนไทป์ของต้นที่เป็นลักษณะเด่นว่าเป็นเด่นพันธุ์แท้หรือเด่นพันธุ์ทาง ข. ในการทดสอบจะทดสอบกับต้นทดสอบที่มีลักษณะด้อยพันธุ์แท้เท่านั้น ค. ถ้าทำการผสมทดสอบแล้วลูกที่ได้มีอัตราส่วนของจีโนไทป์เป็น 1 : 1 แสดงว่าพืชที่เราต้องการ ศึกษามีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส ง. ในการผสมเพื่อทดสอบ ต้นทดสอบที่ใช้อาจมีสภาพจีโนไทป์เป็นฮอโมไซกัสหรือเฮเทอโรไซกัส ก็ได้


11. เหตุใดการถ่ายทอดลักษณะของเส้นผมในคนจึงเป็นการข่มไม่สมบูรณ์ ก. เพราะแอลลีลที่ควบคุมลักษณะเส้นผมในคนมีมากกว่า 2 แอลลีลใน 1 ลักษณะ ข. เพราะแอลลีลของผมตรง ผมหยิก และผมหยักศก ต่างเป็น แอลลีลด้อยทั้งหมด ค. เพราะแอลลีลที่ควบคุมลักษณะผมต่างก็แสดงลักษณะเท่าๆ กัน ง. เพราะแอลลีลแต่ละแอลลีลเป็นลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ 12. พ่อมีเลือดหมู่ A กับแม่มีเลือดหมู่ B มีบุตรคนแรกเป็นเลือดหมู่ O จงหา genotype ของพ่อ และแม่ และมีโอกาสมีบุตรที่มีเลือดหมู่ตรงตามข้อใด ก. พ่อ I A I A , แม่ I B i, ลูก AB และ A ข. พ่อ I A i, แม่ I B I B , ลูก A และ B ค. พ่อ I A i, แม่ I B i, ลูก A, B และ O ง. พ่อ I A i, แม่ I B i, ลูก AB, A, B และ O 13. เพราะเหตุใดเมื่อผสมดอกลิ้นมังกรสีแดงกับดอกลิ้นมังกรสีขาวลูกในรุ่น F1 จึงมีสีชมพู ก. เพราะดอกลิ้นมังกรสีแดงกับดอกลิ้นมังกรสีขาวไม่สามารถข่มกันได้อย่างสมบูรณ์ ข. เพราะเกิดการข่มร่วมกันระหว่างดอกลิ้นมังกรสีแดงและสีขาว ค. เพราะดอกลิ้นมังกรสีชมพูเป็นลักษณะด้อยต่อดอกลิ้นมังกรสีแดงและสีขาว ง. เพราะดอกลิ้นมังกรมียีนควบคุมลักษณะอยู่หลายยีนทำให้เกิดลักษณะสีดอกได้หลายสี 14. พันธุกรรมจำกัดเพศ ให้นักเรียนบอกลักษณะขนหางของไก่ถึงความแตกต่างระหว่างเพศผู้กับ เพศเมีย พร้อมแสดงจีโนไทป์และฟีโนไทป์ด้วย ข้อใดแสดงไม่ถูกต้อง ก. HH ไก่เพศผู้ ขนหางสั้น ข. Hh ไก่เพศเมีย ขนหางสั้น ค. hh ไก่เพศผู้ ขนหางยาว ง. HH ไก่เพศเมีย ขนหางยาว 15. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. B+ B + จะแสดงอาการศีรษะล้านทั้งในเพศหญิงและเพศชาย ข. BB จะแสดงอาการศีรษะล้านเฉพาะในเพศชายเท่านั้น ค. BB+ จะไม่แสดงอาการศีรษะล้านในเพศหญิง ง. BB+ จะไม่แสดงอาการศีรษะล้านในเพศชาย 16. เมล็ดข้าวสาลีถูกควบคุมด้วยพอลียีน นักเรียนคิดว่าสาเหตุใดที่ส่งผลต่อความเข้มของเมล็ด ข้าวสาลี ก. จำนวนแอลลีลในจีโนไทป์ ข. อุณหภูมิของสภาพแวดล้อม ค. จำนวนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะของสี ง. จำนวนแอลลีลเด่นในจีโนไทป์


17. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ โรคที่เกิดจากยีนด้อยบนโครโมโซม X ก. โรคผิวเผือก ข. โรคฮีโมฟีเลีย ค. อาการพร่องเอนไซม์ G-6-PD ง. อาการตาบอดสี 18. โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนเด่นบนโครโมโซม X ข้อใดถูกต้อง ก. โรคตาบอดสี ข. โรคภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-PD ค. โรคฮีโมฟิเลีย ง. มนุษย์หมาป่า 19. ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นการแปรผันแบบต่อเนื่อง ก. ความสูง, การมีลักยิ้ม ข. น้ำหนัก, สีผิวของคน ค. การมีติ่งหู, การงอนิ้ว ง. การห่อลิ้น, สติปัญญา 20. ลูกสาวของครอบครัวใดที่เป็นพาหะทุกคน เพราะเหตุใด ก. ครอบครัวที่ 1 เพราะพ่อเป็นโรคตาบอดสี ข. ครอบครัวที่ 1 เพราะแม่เป็นพาหะของโรคนี้ ค. ครอบครัวที่ 2 เพราะพ่อมีปู่เป็นโรคตาบอดสี ง. ครอบครัวที่ 2 เพราะแม่เป็นพาหะของโรคนี้


แผนการจัดการเรียนรู้ชีววิทยา ชื่อรายวิชา ชีววิทยา 2 รหัส ว31242 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ปีการศึกษา 2565 แผนการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล เวลา 2 ชั่วโมง ชื่อผู้สอน นางสาวทิพย์สุดา แหยมไทย โรงเรียนทองแสนขันวิทยา สาระชีววิทยา 2. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหน้าที่ ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี–ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมทั้งนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อธิบายและสรุปผลการทดลองของเมนเดล สาระสำคัญ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะซึ่งสามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้ เมนเดลศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมโดยการผสมพันธุ์ถั่วลันเตาจนสรุปเป็นกฎการแยก และกฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ กฎการแยกมีใจความว่าแอลลีลที่อยู่เป็นคู่จะแยกออกจากกัน ในระหว่างการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์จะมีเพียงแอลลีลใดแอลลีลหนึ่ง กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระมีใจความว่า หลังจากคู่ของแอลลีลแยกออกจากกัน แต่ละแอลลีลจะจัด กลุ่มอย่างอิสระกับแอลลีลอื่น ๆ ที่แยกออกจากคู่เช่นกันในการเข้าไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนสามารถ 1.1 อธิบายการทดลองของเมนเดลได้ 1.2 สรุปการทดลองของเมนเดลได้ 2. ด้านทักษะ / กระบวนการ (Process / Products) นักเรียนสามารถ 2.1 สืบค้นข้อมูลการทดลองของเมนเดลได้ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) 3.1 มีความสนใจในการเรียน 3.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย สมรรถนะนักเรียน 1. สมรรถนะทางด้านการแก้ปัญหา


2. สมรรถนะทางด้านทักษะการคิด 3. สมรรถนะทางด้านทักษะการใช้เทคโนโลยี 4. สมรรถนะทางด้านทักษะการใช้ชีวิต 5. สมรรถนะทางด้านการสื่อสาร สาระการเรียนรู้ การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล รูปแบบวิธีการจัดประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ รูปแบบวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ใช้วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 ขั้นตอน (5E) ลำดับขั้นการจัดประสบการณ์เรียนรู้ 1. ขั้นสังเกต 1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียน 2. ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการทำงานของยีนที่ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตผ่านกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งทำให้เกิดลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต บางลักษณะจะปรากฏให้เห็นได้ เช่น สีตา สีผิว ความสูง บางลักษณะจะไม่สามารถสังเกตเห็นได้จาก ภายนอกแต่สามารถตรวจสอบได้ เช่น หมู่เลือด ตาบอดสี 3. ครูใช้คำถามเพื่อนำไปสู่การสืบค้นและอภิปรายว่า ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลานได้อย่างไร (นักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ) โดยใช้คำถามดังต่อไปนี้ - นักเรียนมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับใครในครอบครัว - ลักษณะทางพันธุกรรมที่นักเรียนได้รับถ่ายทอดมา สามารถถ่ายทอดไป ยังลูกหลานได้เท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด 2. ขั้นสำรวจและค้นหา 1. ครูอธิบายเรื่องการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล โดยอธิบายเกี่ยวกับประวัติ ของเมนเดล การทดลองผสมถั่วลันเตาของเมนเดล โดยใช้ Power Point เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ ของเมนเดล 2. แจกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล พร้อมทั้งอธิบาย และทำความเข้าใจร่วมกัน 3. ให้นักเรียนลงมือทำใบกิจกรรม ขณะที่นักเรียนทำใบกิจกรรม 4. เมื่อทำกิจกรรมเสร็จครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เฉลยใบกิจกรรมร่วมกัน 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 1. ครูอธิบายคำศัพท์พื้นฐานที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยครู อธิบายคำศัพท์ ดังต่อไปนี้ 1.1 ยีน (Gene) 1.2 ลักษณะเด่น, ลักษณะด้อย


1.3 ฮอมอไซกัส (Homozygous), เฮเทอโรไซกัส (Heterozygous) เป็นต้น 2. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม ข้อสงสัยต่าง ๆ 4. ขั้นขยายความรู้ ให้นักเรียนดูวีดีโอเรื่อง ประวัติของเมนเดล 5. ขั้นประเมิน 1. ครูทำการสุ่มจากรายชื่อ หรือความสมัครใจของนักเรียน ให้นักเรียนอย่างน้อย 3 คน กล่าวสะท้อนการเรียนรู้โดยกล่าวถึงประสบการณ์วิธีการเรียนรู้ ความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะ ที่ควรปรับปรุง ๒. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้ของนักเรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. หนังสือเรียนรายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3. ใบกิจกรรม เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล 4. Power Point เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล 5. วีดีโอเรื่อง ประวัติเมนเดลจาก การวัดและประเมินผล 1. กรอบการวัดและประเมินผล กำหนดกรอบการวัดและประเมินผลดังตาราง ตาราง : แสดงกรอบการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือการวัด เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ (K) 1.1 อธิบายการทดลองของ เมนเดลได้ 1.2 สรุปการทดลองของเมน เดลได้ ตรวจใบงาน ใบงาน ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ ระดับ 2 ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 สืบค้นข้อมูลการทดลอง ของเมนเดลได้ ตรวจใบงาน ใบงาน ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ ระดับ 2 ขึ้นไป 3. คุณลักษณะ (A) ๓.1 มีความสนใจในการ เรียน ๓.2 มีความรับผิดชอบต่อ งานที่ได้รับมอบหมาย การสังเกต คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ ระดับ 2 ขึ้นไป


2. เกณฑ์การประเมิน 2.1 เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (K) สามารถอธิบายการทดลองของเมนเดล และสรุปการทดลองของเมนเดลได้ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1.1 อธิบายการทดลอง ของเมนเดลได้ 1.2 สรุปการทดลองของ เมนเดลได้ เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด ตอบคำถามได้ ตรงประเด็น และถูกต้องทุก คำถาม เนื้อหา ครบถ้วน ตามที่กำหนด ตอบคำถามได้ ตรงประเด็น และตอบ ถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ เนื้อหาบางส่วนไม่ สมบูรณ์ตามที่ กำหนด ตอบ คำถามได้ไม่ค่อย ตรงประเด็น และ ตอบถูกต้องน้อย ข้อ เนื้อหาไม่ สมบูรณ์ คำถามได้ไม่ตรง ประเด็น และ ตอบคำถามไม่ ถูกต้อง เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน


2.2 เกณฑ์การประเมินด้านทักษะกระบวนการ (P) สืบค้นข้อมูลการทดลองของเมนเดลได้ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 สืบค้นข้อมูลการ ทดลองของเมนเดลได้ เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด ตอบคำถามได้ตรง ประเด็น และ ถูกต้องทุกคำถาม เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด ตอบคำถามได้ ตรงประเด็น และตอบถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ เนื้อหาบางส่วน ไม่สมบูรณ์ตามที่ กำหนด ตอบ คำถามได้ไม่ค่อย ตรงประเด็น และ ตอบถูกต้องน้อย ข้อ เนื้อหาไม่สมบูรณ์ คำถามได้ไม่ตรง ประเด็น และตอบ คำถามไม่ถูกต้อง เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน


2.3 เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความสนใจและตั้งใจในการทำกิจกรรม ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 3.1 มีความสนใจในการ เรียน 3.2 มีความรับผิดชอบต่อ งานที่ได้รับมอบหมาย ตั้งใจและ รับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการ ทำงานให้ดีขึ้น ด้วยตนเอง ตั้งใจและ รับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการ ทำงานให้ดีขึ้น รับผิดชอบใน การปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนา การทำงานดี ขึ้น รับผิดชอบใน การปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายไม่ สำเร็จ เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน


แบบประเมินความรู้(Knowledge) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล รหัสวิชา ว31242 รายวิชา ชีววิทยา ๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/1 ตารางประเมินความรู้ (K) สามารถอธิบายการทดลองของเมนเดล และสรุปการทดลองของเมนเดลได้ เลขที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นหัวข้อที่ประเมิน ผ่าน ไม่ ผ่าน สามารถสามารถอธิบายการทดลองของเมนเดล และสรุปการทดลองของเมนเดลได้ 4 3 2 1 1 นายเฉลิมชัย นางแย้ม √ √ 2 นายตระการสินธ์ แหยมคง √ √ 3 นายพิชญุตม์ อนุสนท์ √ √ 4 นายสัญชัย แร่กุล √ √ 5 นายจักรกฤษ อยู่ทิม √ √ 6 นายโชคทวี ยังอุ่น √ √ 7 นายธนกฤต สอนทิม √ √ 8 นายปภินวิช พ่วงเภา √ √ 9 นายพลภัตฆ์ สาแสง √ √ 10 นายรัฐภูมิ แก้วพร √ √ 11 นายศิริโชค ครุฑเพชร์ √ √ 12 นายสืบชัย นามโนเขวา √ √ 13 นายปรวัฒน์ ดีทา √ √ 14 นายพรชัย เกตุเอี่ยม √ √ 15 นายปริญญา เหล็กไทย √ √ 16 นายธนกร อุปนันท์ √ √ 17 นางสาวพรรณวสา รินนะสิริ √ √ 18 นางสาวสาธิตา แร่กุล √ √ 19 นางสาวณหฤทัย กองโต √ √ 20 นางสาวสุกานดา นาคเกตุ √ √ 2๑ นางสาวอมาราวตรี บุญปลีก √ √ 2๒ นางสาวอินทุพา เทียนสว่าง √ √ ๒๓ นางสาวชนานันท์ เพ็งรอด √ √ ๒๔ นางสาวเบญจพร ติอินทร์ √ √ ๒๕ นางสาวปรียาพรรณ ปัญญาแพง √ √ ๒๖ นางสาวพัชราพันธุ์ พรมรักษา √ √ ๒๗ นางสาวไพลิน พูดฉลาด √ √ ๒๘ นางสาวอัญญานี ใจยา √ √ ๒๙ นางสาวปิยธิดา อโครตมี √ √


เลขที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นหัวข้อที่ประเมิน ผ่าน ไม่ ผ่าน สามารถสามารถอธิบายการทดลองของเมนเดล และสรุปการทดลองของเมนเดลได้ 4 3 2 1 ๓๐ นางสาวมนัชนันท์ ยะเพ็ง √ √ ๓๑ นางสาวยุพารัตน์ เหลือผล √ √ ๓๒ นางสาววรัชยา เมายศ √ √ ๓๓ นางสาวสุภามิตร มงคล √ √ ๓๔ นางสาวสุภัสสร มูลน้ำอ่าง √ √ ๓๕ นางสาวพรลินี กาวี √ √ เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3 หมายถึง ดี คะแนน 2 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน : ผ่านระดับ ดี ขึ้นไป


แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ (Process/Products) เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล รหัสวิชา ว31242 รายวิชา ชีววิทยา ๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/1 ตารางประเมินทักษะ/กระบวนการ (P) สืบค้นข้อมูลการทดลองของเมนเดลได้ เลขที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นหัวข้อที่ประเมิน ผ่าน ไม่ ผ่าน สืบค้นข้อมูลการทดลองของเมนเดลได้ 4 3 2 1 1 นายเฉลิมชัย นางแย้ม √ √ 2 นายตระการสินธ์ แหยมคง √ √ 3 นายพิชญุตม์ อนุสนท์ √ √ 4 นายสัญชัย แร่กุล √ √ 5 นายจักรกฤษ อยู่ทิม √ √ 6 นายโชคทวี ยังอุ่น √ √ 7 นายธนกฤต สอนทิม √ √ 8 นายปภินวิช พ่วงเภา √ √ 9 นายพลภัตฆ์ สาแสง √ √ 10 นายรัฐภูมิ แก้วพร √ √ 11 นายศิริโชค ครุฑเพชร์ √ √ 12 นายสืบชัย นามโนเขวา √ √ 13 นายปรวัฒน์ ดีทา √ √ 14 นายพรชัย เกตุเอี่ยม √ √ 15 นายปริญญา เหล็กไทย √ √ 16 นายธนกร อุปนันท์ √ √ 17 นางสาวพรรณวสา รินนะสิริ √ √ 18 นางสาวสาธิตา แร่กุล √ √ 19 นางสาวณหฤทัย กองโต √ √ 20 นางสาวสุกานดา นาคเกตุ √ √ 21 นางสาวอมาราวตรี บุญปลีก √ √ 22 นางสาวอินทุพา เทียนสว่าง √ √ 23 นางสาวชนานันท์ เพ็งรอด √ √ ๒๔ นางสาวเบญจพร ติอินทร์ √ √ ๒๕ นางสาวปรียาพรรณ ปัญญาแพง √ √ ๒๖ นางสาวพัชราพันธุ์ พรมรักษา √ √ ๒๗ นางสาวไพลิน พูดฉลาด √ √ ๒๘ นางสาวอัญญานี ใจยา √ √ ๒๙ นางสาวปิยธิดา อโครตมี √ √


เลขที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นหัวข้อที่ประเมิน ผ่าน ไม่ ผ่าน สืบค้นข้อมูลการทดลองของเมนเดลได้ 4 3 2 1 ๓๐ นางสาวมนัชนันท์ ยะเพ็ง √ √ ๓๑ นางสาวยุพารัตน์ เหลือผล √ √ ๓๒ นางสาววรัชยา เมายศ √ √ ๓๓ นางสาวสุภามิตร มงคล √ √ ๓๔ นางสาวสุภัสสร มูลน้ำอ่าง √ √ ๓๕ นางสาวพรลินี กาวี √ √ เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3 หมายถึง ดี คะแนน 2 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน : ผ่านระดับ ดี ขึ้นไป


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล รหัสวิชา ว31242 รายวิชา ชีววิทยา ๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/1 ตารางประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มีความสนใจในการเรียน และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย เลขที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นหัวข้อที่ประเมิน ผ่าน ไม่ ผ่าน มีความสนใจในการเรียน และมีความรับผิดชอบ ต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4 3 2 1 1 นายเฉลิมชัย นางแย้ม √ √ 2 นายตระการสินธ์ แหยมคง √ √ 3 นายพิชญุตม์ อนุสนท์ √ √ 4 นายสัญชัย แร่กุล √ √ 5 นายจักรกฤษ อยู่ทิม √ √ 6 นายโชคทวี ยังอุ่น √ √ 7 นายธนกฤต สอนทิม √ √ 8 นายปภินวิช พ่วงเภา √ √ 9 นายพลภัตฆ์ สาแสง √ √ 10 นายรัฐภูมิ แก้วพร √ √ 11 นายศิริโชค ครุฑเพชร์ √ √ 12 นายสืบชัย นามโนเขวา √ √ 13 นายปรวัฒน์ ดีทา √ √ 14 นายพรชัย เกตุเอี่ยม √ √ 15 นายปริญญา เหล็กไทย √ √ 16 นายธนกร อุปนันท์ √ √ 17 นางสาวพรรณวสา รินนะสิริ √ √ 18 นางสาวสาธิตา แร่กุล √ √ 19 นางสาวณหฤทัย กองโต √ √ 20 นางสาวสุกานดา นาคเกตุ √ √ 21 นางสาวอมาราวตรี บุญปลีก √ √ 22 นางสาวอินทุพา เทียนสว่าง √ √ 23 นางสาวชนานันท์ เพ็งรอด √ √ ๒๔ นางสาวเบญจพร ติอินทร์ √ √ ๒๕ นางสาวปรียาพรรณ ปัญญาแพง √ √ ๒๖ นางสาวพัชราพันธุ์ พรมรักษา √ √ ๒๗ นางสาวไพลิน พูดฉลาด √ √ ๒๘ นางสาวอัญญานี ใจยา √ √


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล รหัสวิชา ว31242 รายวิชา ชีววิทยา ๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/1 ตารางประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มีความสนใจในการเรียน และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย เลขที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นหัวข้อที่ประเมิน ผ่าน ไม่ ผ่าน มีความสนใจในการเรียน และมีความรับผิดชอบ ต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4 3 2 1 ๒๙ นางสาวปิยธิดา อโครตมี √ √ ๓๐ นางสาวมนัชนันท์ ยะเพ็ง √ √ ๓๑ นางสาวยุพารัตน์ เหลือผล √ √ ๓๒ นางสาววรัชยา เมายศ √ √ ๓๓ นางสาวสุภามิตร มงคล √ √ ๓๔ นางสาวสุภัสสร มูลน้ำอ่าง √ √ ๓๕ นางสาวพรลินี กาวี √ √ เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3 หมายถึง ดี คะแนน 2 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การตัดสิน : ผ่านระดับ ดี ขึ้นไป


ที่ ชื่อ-สกุล รายการประเมิน รวม คะแนน แปล ผล หมายเหตุ ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) ด้านคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ (A) 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 12 1 นายเฉลิมชัย นางแย้ม 12 ดีมาก ด้าน (K) ผ่านเกณฑ์ ระดับ 2 ขึ้นไป ด้าน (P) ผ่านเกณฑ์ ระดับ 2 ขึ้นไป ด้าน (A) ผ่านเกณฑ์ ระดับ 2 ขึ้นไป 2 นายตระการสินธ์ แหยมคง 12 ดีมาก 3 นายพิชญุตม์ อนุสนท์ 12 ดีมาก 4 นายสัญชัย แร่กุล 12 ดีมาก 5 นายจักรกฤษ อยู่ทิม 12 ดีมาก 6 นายโชคทวี ยังอุ่น 12 ดีมาก 7 นายธนกฤต สอนทิม 12 ดีมาก 8 นายปภินวิช พ่วงเภา 12 ดีมาก 9 นายพลภัตฆ์ สาแสง 12 ดีมาก 10 นายรัฐภูมิ แก้วพร 12 ดีมาก 11 นายศิริโชค ครุฑเพชร์ 12 ดีมาก 12 นายสืบชัย นามโนเขวา 12 ดีมาก 13 นายปรวัฒน์ ดีทา 12 ดีมาก 14 นายพรชัย เกตุเอี่ยม 12 ดีมาก 15 นายปริญญา เหล็กไทย 12 ดีมาก 16 นายธนกร อุปนันท์ 12 ดีมาก 17 นางสาวพรรณวสา รินนะสิริ 12 ดีมาก 18 นางสาวสาธิตา แร่กุล 12 ดีมาก 19 นางสาวณหฤทัย กองโต 12 ดีมาก 20 นางสาวสุกานดา นาคเกตุ 12 ดีมาก 21 นางสาวสุธิดา โพธิ์สาพิมพ์ 12 ดีมาก 22 นางสาวอมาราวตรี บุญปลีก 12 ดีมาก 23 นางสาวอินทุพา เทียนสว่าง 12 ดีมาก ๒๔ นางสาวชนานันท์ เพ็งรอด 12 ดีมาก ๒๕ นางสาวเบญจพร ติอินทร์ 12 ดีมาก ๒๖ นางสาวปรียาพรรณ ปัญญาแพง 12 ดีมาก ๒๗ นางสาวพัชราพันธุ์ พรมรักษา 12 ดีมาก 2๘ นางสาวไพลิน พูดฉลาด 12 ดีมาก ตารางสรุปผลการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล


เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 1-3 = ปรับปรุง 4-6 = พอใช้ 7-9 = ดี 10-12 = ดีมาก ๒๙ นางสาวอัญญานี ใจยา 12 ดีมาก ๓๐ นางสาวปิยธิดา อโครตมี 12 ดีมาก ๓๑ นางสาวมนัชนันท์ ยะเพ็ง 12 ดีมาก ๓๒ นางสาวยุพารัตน์ เหลือผล 12 ดีมาก ๓๓ นางสาววรัชยา เมายศ 12 ดีมาก ๓๔ นางสาวสุภามิตร มงคล 12 ดีมาก ๓๕ นางสาวสุภัสสร มูลน้ำอ่าง 12 ดีมาก ๓๖ นางสาวพรลินี กาวี 12 ดีมาก


บันทึกผลหลังการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ รายวิชา ชีววิทยา 2 รหัส ว31242 เรื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ผลการจัดการเรียนการสอน 1. นักเรียนที่มีความรู้ ตั้งแต่ 70-100% อยู่ในระดับ 3 (ดี) จำนวน .....๓๕...คน คิดเป็นร้อยละ...๑๐๐.... ตั้งแต่ 51-69% อยู่ในระดับ 2 (ปานกลาง) จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ต่ำกว่า 50% อยู่ในระดับ 1 (ต้องซ่อมเสริม) จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ 2. นักเรียนที่มีทักษะ ตั้งแต่ 70-100% อยู่ในระดับ 3 (ดี) จำนวน .....๓๕...คน คิดเป็นร้อยละ...๑๐๐.... ตั้งแต่ 51-69% อยู่ในระดับ 2 (ปานกลาง) จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ต่ำกว่า 50% อยู่ในระดับ 1 (ต้องซ่อมเสริม) จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ 3. นักเรียนที่มีคุณลักษณะ ตั้งแต่ 70-100% อยู่ในระดับ 3 (ดี) จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ..๑๐๐.... ตั้งแต่ 51-69% อยู่ในระดับ 2 (ปานกลาง) จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ต่ำกว่า 50% อยู่ในระดับ 1 (ต้องซ่อมเสริม) จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ นักเรียนที่ไม่ผ่านด้านความรู้ได้แก่ เลขที่ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... วิธีการแก้ปัญหา □ สอนซ่อมเสริม □ ฝึกด้วยแบบฝึกต่าง ๆ คือ ………............................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... นักเรียนที่ไม่ผ่านด้านทักษะ ได้แก่ เลขที่ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... วิธีการแก้ปัญหา □ สอนซ่อมเสริม □ ฝึกด้วยแบบฝึกต่าง ๆ คือ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... นักเรียนที่ไม่ผ่านด้านคุณลักษณะ ได้แก่ เลขที่ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... วิธีการแก้ปัญหา □ สอนซ่อมเสริม □ ฝึกด้วยแบบฝึกต่าง ๆ คือ ...................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... เลขที่ 10 นายรัฐภูมิ แก้วพร แบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อทบบวนความรู้ - - - -


ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ................................................. ผู้สอน ( นางสาวทิพย์สุดา แหยมไทย ) ............... / ..................... / .............. ทิพย์สุดา แหยมไทย ๓๐ พ.ย. ๒๕๔


ความเห็นของผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวทิพย์สุดา แหยมไทย แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. รูปแบบของการจัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยังเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 5. การประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 6. ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ........................................................ครูพี่เลี้ยง (นางสาวกุลชา แก้วน้ำอ่าง) ............/............../..............


Click to View FlipBook Version