The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปสาระสำคัญ-กม.-กรมฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lilnestz19, 2021-12-17 01:59:19

สรุปสาระสำคัญ-กม.-กรมฯ

สรุปสาระสำคัญ-กม.-กรมฯ

สรปุ สาระสำคญั กฎหมาย

กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

กองนติ ิการ
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน

กฎหมายในความรับผิดชอบ
กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน

1 พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
2 พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
3 พ.ร.บ. แรงงานรัฐวสิ าหกิจสมั พันธ์ พ.ศ. 2543

4 พ.ร.บ. ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงาน พ.ศ. 2554

5 พ.ร.บ. คุ้มครองผู้รับงานไปทำท่บี า้ น พ.ศ. 2553
6 พ.ร.บ. คมุ้ ครองแรงงานในงานประมง พ.ศ. 2562
7 พ.ร.บ. แรงงานทางทะเล พ.ศ.2558

กฎหมายในความรับผิดชอบ
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

1 พ.ร.บ. คมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

พระราชกฤษฎีกา
กำหนดงานท่ีใหม้ ีการคุ้มครองแรงงานแตกต่างไปจากพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2541

กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวง (พ.ศ. 2541)

-มิใหใ้ ชบ้ ังคับแก่ครูโรงเรยี นเอกชน
-มิให้ใช้บังคับบางมาตราแก่ลูกจ้างทำงานเก่ียวกับงานบ้านอันมิได้ประกอบธรุ กิจรวมอยู่ด้วย
-มิให้ใชบ้ ังคับบางมาตราแก่กจิ การท่มี ิได้แสวงหากำไรทางเศรษฐกจิ
2. กฎกระทรวง ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2541)
-ให้งานทุกประเภทมีเวลาทำงานปกติไม่เกนิ 8ช่ัวโมง/วัน
-งานท่ีอาจเป็นอนั ตราย
3. กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2541)
-ชั่วโมงการทำงานลว่ งเวลา และการทำงานในวนั หยุด
4. กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2541)
-งานที่ไม่อาจใหล้ ูกจ้างหยดุ ทำงานในวนั หยุดตามประเพณี
5. กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2541)
-สทิ ธิลาเพ่ือการฝึกอบรม
6. กฎกระทรวง ฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2551)
-งานท่หี ้ามลูกจ้างอายุต่ำกว่า 18 ปที ำ
7. กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 254)
- กำหนดเวลาทำงานในงานในกจิ การปโิ ตรเลียม (ยกเลิก ใช้กฎฯ 13)
- กำหนดเวลาทำงานในงานท่ีใชว้ ิชาชพี วิชาการ บริหารเสมียน การค้า บริการผลิตร้านอาหาร
- กำหนดเวลาพักงานขายอาหาร
-ลกู จ้างหญิงมีครรภ์ทำงานไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทำงานล่วงเวลาได้
-ค่าลว่ งเวลางานเร่ขายหรือชักชวนซื้อสนิ ค้า
8. กฎกระทรวง ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2541)
- การคุ้มครองแรงงานในงานบรรทุกหรือขนถ่ายสินค้าเรือเดินทะเล

9. กฎกระทรวง ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2541)
- การคุ้มครองงานขนส่งทางบก

10. กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2541)
- กำหนดเวลาทำงานในงานปโิ ตรเลียมวันหน่ึงไม่เกิน 12 ชัว่ โมง แตส่ ัปดาห์หนึ่งไม่เกิน 48ชั่วโมง
- กำหนดค่าตอบแทนกรณีกำหนดเวลาทำงานเกิน 8 ช่ัวโมง

11. กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 14 (พ.ศ.2555)
- ไม่ใช้บงั คับบางมาตราแกล่ ูกจ้างทำงานเก่ียวกับงานบ้านอันมิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยดู่ ้วย

12. กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2557
13. กฎกระทรวงกำหนดสถานทที่ ี่ห้ามลูกจ้างเด็กอายตุ ่ำกวา่ 18ปีทำงาน พ.ศ.2559
14. กฎกระทรวง กำหนดอตั ราน้ำหนกั ให้ลูกจ้างทำงานได้ พ.ศ. 2547
15. กฎกระทรวงวา่ ด้วยการจัดสวัสดกิ ารในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2548
16. กฎกระทรวง กำหนดงานทล่ี ูกจ้างไม่มีสิทธิไดร้ ับค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุด พ.ศ. 2552
17. กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานทรี่ บั ไปทำทีบ่ า้ น พ.ศ. 2547
18. กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานเกษตร พ.ศ. 2557
19. กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2561

2 พ.ร.บ. แรงงานสมั พันธ์ พ.ศ. 2518

พระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎกี า กำหนดกจิ การท่ีพระราชบัญญัติแรงงานสมั พันธ์ พ.ศ. 2518 ไม่ใช้บงั คับ พ.ศ. 2523

- สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ในมูลนธิ ิจุฬาภรณ์
กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวง ฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2518)

- กำหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการเลือกต้ังผ้แู ทนลูกจา้ ง
- กำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้ได้คะแนนเสียงเลือกต้ังเท่ากัน
2. กฎกระทรวง ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2519)
- กำหนดกิจการตามมาตรา 23 (8)
3. กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2527)
- กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการเลือกต้งั ผู้แทนลูกจ้างต่างสถานทห่ี รือต่างเวลา
- เพ่ิมหลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้ได้คะแนนเสียงเลือกตั้งเท่ากัน

3 พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2543

พระราชกฤษฎกี า
พระราชกฤษฎีกากำหนดรฐั วิสาหกจิ ท่ีพระราชบัญญตั ิแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 ไม่ใช้บงั คับ พ.ศ. 2544

- ธนาคารแหง่ ประเทศไทย

ประกาศคณะกรรมการแรงงานรฐั วสิ าหกิจสัมพันธ์ เรอ่ื ง มาตรฐานขัน้ ต่ำของสภาพการจา้ งในรัฐวสิ าหกจิ

4 พ.ร.บ. ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทำงาน พ.ศ. 2554

พระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎีกาจัดตงั้ สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554

กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเก่ียวกับการป้องกนั และระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555
2. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเก่ยี วกับการป้องกันและระงับอัคคีภยั (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
3. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเกย่ี วกบั สารเคมอี ันตราย พ.ศ. 2556
4. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเก่ียวกบั ไฟฟ้า พ.ศ. 2558
5. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเก่ยี วกบั ความร้อน แสงสว่าง และเสยี ง พ.ศ. 2559
6. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเก่ยี วกับทอี่ ับอากาศ พ.ศ. 2562
7. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเก่ียวกับงานประดาน้ำ พ.ศ. 2563
8. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการตรวจสขุ ภาพลูกจา้ งซ่ึงทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสย่ี ง พ.ศ. 2563
9. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเก่ียวกบั นั่งร้านและค้ำยัน พ.ศ. 2564
10. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเกย่ี วกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2564

11. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงาน ในสถานที่ท่ีมีอันตรายจากการตกจากท่ีสูงและท่ีลาดชัน จากวัสดุกระเด็น ตกหล่น พังทลาย
และจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรบั วสั ดุ พ.ศ. 2564

12. กฎกระทรวงการข้ึนทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2564

13. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานเกี่ยวกบั เครอ่ื งจกั ร ปน้ั จัน่ และหมอ้ น้ำ พ.ศ. 2564

14. กฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทำงาน พ.ศ. 2564

15. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับรังสี พ.ศ. 2564

5 พ.ร.บ. คุ้มครองผู้รับงานไปทำทบ่ี า้ น พ.ศ. 2553

กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวง กำหนดงานท่ีมีลักษณะอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของหญิงมีครรภ์ หรอื เด็กซึ่งมีอายุ
ต่ำกวา่ สิบห้าปี พ.ศ. 2560
2. กฎกระทรวง กำหนดลักษณะของงานที่ห้ามผจู้ า้ งงานจา้ งผู้รับงานไปทำท่ีบ้าน พ.ศ. 2564
3. กฎกระทรวงกำหนดค่ารักษาพยาบาล ค่าฟื้นฟสู มรรถภาพ และคา่ ทำศพของผู้รับงานไปทำท่ีบา้ น พ.ศ. 2564

6 พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานในงานประมง พ.ศ. 2562

กฎกระทรวง พ.ร.บ. แรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558
- ไม่มี

7

กฎกระทรวง
1. กฎกระทรวงกำหนดเรืออื่นที่ไดร้ ับการยกเว้นไม่อยู่ภายใตบ้ ังคับพระราชบัญญตั ิแรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2561
2. กฎกระทรวงการระงับข้อพิพาทแรงงานทางทะเล การปิดงาน การนัดหยุดงาน และการกระทำอันไม่เป็นธรรมท่ีเก่ียวข้อง
กบั คนประจำเรือและเจ้าของเรือ พ.ศ. 2564

1

สรปุ สาระสำคญั พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 1

เรือ่ ง รายละเอียด มาตรา 1

ขอบเขตการ ใช้บังคับกับการจ้างงาน/สถานประกอบกจิ การเอกชน ท่ีมกี ารจ้างงานระหวา่ งนายจ้างและ
บงั คบั ใช้ ลกู จ้าง

เวลาทำงานปกติ งานทวั่ ไป ไม่เกนิ 8 ชวั่ โมง/วนั และไม่เกนิ 48 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ม.23
งานอันตราย ไม่เกิน 7 ชัว่ โมง/วัน และไม่เกนิ 42 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

เวลาพกั ระหวา่ งการทำงานปกติ วันละ 1 ชั่วโมง แตไ่ ม่เกิน 2 ช่วั โมง หลังจากทำงานมาแลว้ ไม่เกนิ 5 ชว่ั โมง ม.27

โดยตกลงกันจัดเวลาพกั เปน็ ช่วง ๆ ได้ ม.28, ม.56(1)

กอ่ นทำงานล่วงเวลา ทำงานล่วงเวลาต่อไมน่ ้อยกว่า 2 ชม. ต้องพักกอ่ นไมน่ ้อยกวา่ 20 นาที ม.29 ,ม.56(2)
ม.30,ม.56(3)
วันหยุด วันหยุดประจำสปั ดาห์ สปั ดาหล์ ะไม่นอ้ ยกว่า 1 วนั โดยมรี ะยะหา่ งไม่เกิน 6 วนั ม.32, ม.57
ม.33, ม.57
โดยลกู จา้ งรายเดอื นมีสทิ ธิได้รบั ค่าจ้าง ม.34, ม.57/1
ม.35, ม.57
วนั หยุดตามประเพณี ปีละไม่นอ้ ยกว่า 13 วัน โดยไดร้ ับคา่ จ้าง ม.36
ม.41, ม.59
วันหยุดพักผ่อนประจำปี ทำงานครบ 1 ปี มสี ทิ ธิหยุดปลี ะไมน่ อ้ ยกว่า 6 วัน โดยไดร้ บั ค่าจ้าง ม. 24 ม.26

วนั ลา ลาปว่ ย : ได้เทา่ ทป่ี ว่ ยจรงิ ไดร้ บั คา่ จ้างปีละไมเ่ กิน 30 วัน ม. 63, ม.26
+กฎกระทรวง
ลาทำหมนั : ไดต้ ามท่ีแพทยก์ ำหนด โดยไดร้ ับคา่ จ้าง ม.61
ม.63
ลากจิ : ปลี ะไม่น้อยกว่า 3 วนั โดยไดร้ ับค่าจา้ ง ม.62
ม.62
ลารบั ราชการทหาร : ตามทท่ี างราชการเรียก โดยไดร้ บั ค่าจ้างปลี ะไมเ่ กิน 60 วนั
ม.17
ลาฝึกอบรม : ได้ตามระเบียบขอ้ บงั คับ
ม.118
ลาคลอด : ครรภ์ละ 98 วัน โดยไดร้ ับคา่ จา้ ง 45 วนั
ม.119
การทำงานล่วงเวลา ทำไดโ้ ดยได้รับความยนิ ยอมจากลูกจา้ ง เว้นแตง่ านทีม่ ีลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำ

การทำงานใน ติดต่อกนั ไป ถ้าหยดุ จะเสียหายแกง่ าน หรืองานฉุกเฉนิ

วนั หยุด ชว่ั โมงการทำงานล่วงเวลา การทำงานในวนั หยุด และการทำงานลว่ งเวลาในวันหยดุ

รวมแล้วตอ้ งไม่เกนิ 36 ชม./สปั ดาห์

ค่าลว่ งเวลา คา่ ลว่ งเวลาในวนั ทำงานปกติ ไมน่ อ้ ยกว่า 1.5 เท่า

คา่ ลว่ งเวลาในวนั หยุด ไมน่ อ้ ยกว่า 3 เทา่

คา่ ทำงานใน ลูกจา้ งทม่ี สี ทิ ธิได้รบั คา่ จา้ งในวันหยุด ได้รับคา่ ทำงานในวนั หยดุ 1 เท่า

วันหยุด ลกู จ้างทไี่ ม่มสี ทิ ธิได้รับค่าจา้ งในวนั หยุด ไดร้ บั ค่าทำงานในวันหยดุ 2 เท่า

(ของอตั ราคา่ จา้ งตอ่ ชั่วโมงในวันทำงานปกติ)

การบอกเลกิ สัญญา ตอ้ งบอกกล่าวล่วงหน้าไมน่ อ้ ยกว่า 1 งวดการจ่ายค่าจ้าง หากนายจา้ งเลกิ จ้างโดยลูกจ้างไม่ได้ทำ

ความผดิ และไม่ได้บอกกลา่ วล่วงหนา้ ต้องจา่ ยค่าจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ ถึงวนั ที่มีผล

เป็นการเลกิ จา้ ง

ค่าชดเชยปกติ ทำงานครบ 120 วนั แต่ไมค่ รบ 1 ปี = ค่าจ้างอตั ราสดุ ทา้ ย 30 วนั

กรณีเลกิ จา้ ง ครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี = ค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน

ครบ 3 ปี แตไ่ มค่ รบ 6 ปี = ค่าจา้ งอัตราสดุ ทา้ ย 180 วนั

ครบ 6 ปี แต่ไมค่ รบ 10 ปี = ค่าจ้างอัตราสดุ ท้าย 240 วนั

ครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี = ค่าจ้างอตั ราสุดท้าย 300 วัน

ครบ 20 ปีขึน้ ไป = ค่าจ้างอตั ราสุดทา้ ย 400 วัน

นายจา้ งไม่ตอ้ งจ่าย 1. ลกู จ้างทุจริตตอ่ หนา้ ทห่ี รือกระทำความผดิ อาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง

ค่าชดเชย 2. จงใจทำใหน้ ายจา้ งได้รับความเสยี หาย

3. ประมาทเลนิ เล่อเปน็ เหตุใหน้ ายจา้ งไดร้ ับความเสยี หายอยา่ งรา้ ยแรง

4. ฝ่าฝนื ขอ้ บงั คับฯหรอื คำสงั่ อนั ชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม และนายจา้ งได้เตือน

เป็นหนงั สอื แลว้ เว้นแต่กรณที ่ีรา้ ยแรง นายจ้างไมต่ ้องเตอื น โดยหนังสือเตือนมผี ลบังคับ

ไมเ่ กิน 1 ปนี ับแต่วนั ทำผิด

5. ละทง้ิ หน้าท่ี 3 วันทำงานติดต่อกนั โดยไม่มีเหตอุ ันสมควร

6. ไดร้ ับโทษจำคกุ ตามคำพิพากษาถึงทส่ี ดุ ให้จำคกุ

เรื่อง รายละเอียด มาตรา

ลูกจา้ งหญิง ห้ามมิใหน้ ายจา้ งใหล้ ูกจ้างหญิงมคี รรภ์ทำงานระหวา่ งเวลา 22.00 – 06.00 น. ทำงานล่วงเวลา ม.39/1
มีครรภ์ ทำงานในวันหยุด และห้ามเลิกจ้างลกู จา้ งหญงิ เพราะเหตมุ คี รรภ์ ม.43

แรงงานเดก็ ห้ามจ้างเด็กต่ำกวา่ 15 ปี ม.44
จา้ งเด็กอายตุ ่ำกว่า 18 ปี นายจา้ งตอ้ งแจง้ การจา้ งตอ่ พนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วนั ม.45
หยดุ กจิ การ ห้ามให้ทำงานระหว่างเวลา 22.00 – 06.00 น. ม.47
ชั่วคราว
นายจ้างมีความจำเป็นซึ่งมไิ ดเ้ กดิ จากเหตสุ ดุ วสิ ยั แจง้ ลกู จา้ งและพนกั งานตรวจแรงงานก่อนหยุด ม.75
ไม่นอ้ ยกว่า 3 วันทำการ จา่ ยเงนิ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 ของคา่ จา้ ง

ห้ามหกั คา่ จ้าง ห้ามนายจ้างหักคา่ จ้าง คา่ ลว่ งเวลา ค่าทำงานในวันหยดุ และค่าล่วงเวลาในวันหยดุ ม.76

เว้นแต่เป็นการหักเพื่อ 1) ชำระภาษีเงินได้ 2) ชำระค่าบำรุงสหภาพแรงงาน 3) ชำระหน้ีสหกรณ์/

หนส้ี วัสดกิ ารที่เป็นประโยชน์แก่ลูกจา้ งฝ่ายเดียวโดยได้รับความยนิ ยอมจากลูกจ้าง 4) เป็นเงนิ ประกัน

หรอื ชดใชค้ ่าเสียหายโดยไดร้ บั ความยนิ ยอมจากลูกจ้าง 5) เปน็ เงินสะสมตามขอ้ ตกลง

หา้ มเรียก เว้นแต่ลูกจ้างทำงานเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพย์สิน เช่น งานสมุห์บัญชี งานพนักงานเก็บและหรือ ม.10

หลักประกนั การ จา่ ยเงิน เป็นต้น

ทำงาน

คณะกรรมการ มีลูกจ้างตัง้ แต่ ๕๐ คนขึ้นไป ให้นายจ้างจดั ให้มคี ณะกรรมการสวสั ดกิ ารประกอบดว้ ยผแู้ ทนฝา่ ยลูกจ้าง ม.96

สวสั ดิการแรงงาน อย่างน้อย 5 คน โดยมาจากการเลอื กต้ัง

การพกั งานเพ่ือ หา้ มพักงานเพ่อื สอบสวนความผิดเว้นแต่มีขอ้ บงั คบั กำหนดไว้ แตจ่ ะสงั่ พกั งานไดไ้ ม่เกิน 7 วนั ม.116
ม.120
สอบสวนความผดิ โดยตอ้ งจา่ ยเงนิ ในชว่ งพักงานไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 50
ม.121
การย้ายสถาน - ใหน้ ายจ้างปิดประกาศแจ้งให้ลูกจา้ งทราบไม่น้อยกวา่ 30 วนั กอ่ นยา้ ย ม.122
ม.139
ประกอบกจิ การ - หากไม่ปิดประกาศใหล้ กู จ้าง ให้นายจ้างจา่ ยคา่ ชดเชยพิเศษแทนการบอกกลา่ วล่วงหน้า = ค่าจ้าง ม.144 -
159
สุดท้าย 30 วัน

- หากลกู จา้ งเหน็ ว่ากระทบสำคัญตอ่ การดำรงชวี ติ ตามปกติ ให้แจง้ นายจา้ งเป็นหนังสอื ภายใน 30 วนั

โดยลกู จ้างมีสทิ ธิได้รับค่าชดเชยพเิ ศษตามมาตรา 118 ภายใน 7 วัน นับแต่วันทส่ี ัญญาสนิ้ สุด

- หากนายจา้ งไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั เหตผุ ลของลูกจ้าง ให้ยนื่ คำร้องต่อคณะกรรมการสวัสดกิ ารแรงงาน

ภายใน 30 วนั นบั แตว่ ันได้รบั แจ้งเป็นหนังสอื

เลิกจา้ งเพราะ - ใหน้ ายจา้ งแจ้งลกู จา้ งทราบล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 60 วัน หากไม่แจ้งหรอื แจ้งไม่ครบ 60 วัน ให้จ่าย

ปรับปรงุ หนว่ ยงาน ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวลว่ งหนา้ 60 วัน

- ให้จ่ายค่าชดเชยตามาตรา 118

- หากลกู จา้ งทำงานเกนิ 6 ปี ให้จ่ายคา่ ชดเชยพเิ ศษเพม่ิ อกี ไมน่ อ้ ยกว่าค่าจ้างสุดท้าย 15 วัน

ตอ่ การทำงานครบ 1 ปี แต่รวมแล้วไม่เกิน 360 วนั

อำนาจพนกั งาน 1) เข้าไปในสถานประกอบกจิ การ/สำนกั งานของนายจา้ ง เพอื่ ตรวจสภาพการจ้าง

ตรวจแรงงาน 2) มีหนังสอื สอบถาม/เรียกนายจ้าง ลูกจ้าง/บุคคลท่เี กยี่ วขอ้ ง มาช้แี จงข้อเท็จจริง

3) มคี ำสง่ั ให้นายจ้าง/ลูกจ้าง ปฏบิ ัติใหถ้ ูกตอ้ ง

บทลงโทษ อัตราโทษสูงสุดจำคุกไมเ่ กิน 4 ปี หรือปรับไม่เกนิ 2,000,000 บาท หรอื ท้ังจำทง้ั ปรบั

โทษต่ำสดุ ปรับไมเ่ กนิ 5,000 บาท

พระราชกฤษฎีกา
กำหนดงานท่ีให้มีการคุ้มครองแรงงานแตกตา่ งไปจาก

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
พ.ศ. 2541

เรอ่ื ง รายละเอยี ด มาตรา

งานท่ใี หก้ าร (1) งานกจิ การปิโตรเลียมรวมถงึ งานซ่อมบำรงุ และงานบริการ เฉพาะท่ีทำ 3
คุ้มครองแรงงาน ในแปลงสำรวจและพน้ื ที่ผลติ
แตกต่างพ.ร.บ.
คมุ้ ครองแรงงาน (2) งานวิชาชพี หรือวชิ าการ งานด้านบริหารและงานจัดการ งานเสมียนพนกั งาน
งานอาชพี เกยี่ วกบั การค้า งานอาชพี ด้านบริการ งานท่ีเกย่ี วกบั การผลติ
พ.ศ. 2541 หรือทเี่ กี่ยวขอ้ งกับงานดงั กล่าว

(3) งานร้านขายอาหารหรอื รา้ นขายเครื่องดม่ื ทเ่ี ปิดจำหนา่ ยหรือให้บริการ
ไมต่ ดิ ตอ่ กนั ในแต่ละวันที่มีการทำงาน

(4) งานวิชาชพี หรือวิชาการเก่ียวกบั สำรวจ การขุดเจาะ การกลนั่ แยกและ
การผลติ ผลติ ภณั ฑจ์ ากปโิ ตรเลยี ม หรอื ปิโตรเคมี

(5) งานในตำแหน่งผู้บริหาร งานวิชาการ งานธรุ การ รวมทั้งงานทเ่ี ก่ียวกบั การเงนิ
หรือบัญชี

(6) งานเร่ขายหรอื ชักชวนซือ้ สินค้า

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564

กฎกระทรวง (พ.ศ. 2541) 1
ออกตามความในพระราชบัญญตั ิคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรือ่ ง รายละเอยี ด ข้อ

โรงเรียนเอกชน มใิ ห้ใช้พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 บังคับแก่นายจ้าง (1)
เฉพาะในส่วนทเ่ี ก่ียวกับครใู หญ่และครู
*ดูพ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 ม.86 ประกอบ (2)

งานอนั มิได้มี ยกเลิกโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 14 (3)
การประกอบธรุ กิจ

รวมอยู่ดว้ ย

งานที่มิไดแ้ สวงหา มใิ หใ้ ช้
กำไรในทางเศรษฐกจิ หมวด 1 บทท่วั ไป ม. 12 นายจ้างเปน็ ผ้รู ับเหมาช่วง

ม. 16 หา้ มล่วงเกินทางเพศ
ม.18 การแจ้งการดำเนินการ
ม.22 งานทมี่ ีการคุม้ ครองแตกตา่ ง
หมวด 2 การใช้แรงงานทั่วไป ม.23 – 37
หมวด 3 การใช้แรงงานหญิง ม.38 - 43
หมวด 4 การใชแ้ รงงานเดก็ ม.44 - 52
หมวด 5 ค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยดุ และค่าล่วงเวลาในวนั หยดุ
ม.53 – 77 เวน้ แต่การจ่ายคา่ จา้ ง ม.53 , ม.54, ม.55 และ ม.70
หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ม.78 - 91
หมวด 7 สวัสดิการ ม. 92 – 99
หมวด 9 การควบคุม ม.108 - 115
หมวด 10 การพักงาน ม.116 - 117
หมวด 11 ค่าชดเชย ม.118 - 122
หมวด 13 กองทุนสงเคราะห์ลกู จา้ ง ม.126 - 138

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564

2

กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความในพระราชบัญญตั ิคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรอ่ื ง รายละเอียด ข้อ

เวลาทำงานปกติ ให้งานทกุ ประเภทมีเวลาทำงานปกติวันหน่ึงไม่เกิน 8 ชว่ั โมง 1
2
งานทีอ่ าจเปน็ อันตราย งานทอี่ าจเปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง ไดแ้ ก่
ต่อสุขภาพและความ (1) งานท่ีต้องทำใต้ดนิ ใต้นำ้ ในถำ้ ในอโุ มงค์ หรือในทอี่ บั อากาศ

ปลอดภัย (2) งานเกย่ี วกบั กมั มนั ตภาพรังสี
(3) งานเชือ่ มโลหะ
(4) งานขนส่งวัตถอุ ันตราย
(5) งานผลิตสารเคมีอนั ตราย
(6) งานทต่ี ้องทำด้วยเครอ่ื งมือหรือเคร่ืองจักรซึ่งผูท้ ำไดร้ ับความส่ันสะเทอื นอันอาจเปน็
อนั ตราย
(7) งานทีต่ อ้ งทำเก่ียวกับความร้อนจดั หรือเย็นจดั อันอาจเปน็ อันตราย
ทั้งน้ี โดยสภาพของงานมีความเสี่ยงอันตรายสูง หรือมีภาวะแวดล้อมในการทำงานเกิน
มาตรฐานความปลอดภัยที่กำหนดไว้ ซ่ึงไม่สามารถปรับปรงุ แก้ไขท่แี หล่งกำเนิดได้ และต้อง
จดั ใหม้ กี ารป้องกันท่ีตัวบุคคล*

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564

3

กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรอ่ื ง รายละเอยี ด ขอ้

ชวั่ โมงทำงาน ช่ัวโมงทำงานล่วงเวลาตาม ม. 24 วรรคหน่ึง และชั่วโมงทำงานในวันหยุดตาม -
ลว่ งเวลา ม. 25 วรรคสอง และวรรคสาม รวมแลว้ สปั ดาหห์ นึ่งต้องไม่เกิน 36 ชัว่ โมง
และในวันหยุด
ชั่วโมงทำงานในหยุด หมายความรวมถึง ช่ัวโมงทำงานล่วงเวลาในวนั หยดุ ด้วย

กองนิติการ
1 ตลุ าคม 2564

4

กฎกระทรวง ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความในพระราชบัญญตั คิ ุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรื่อง รายละเอียด ขอ
งานที่มลี ักษณะ งานในกิจการโรงแรม สถานมหรสพ รานขายอาหาร รานขายเครื่องดื่ม สโมสร
หรือสภาพของงาน สมาคม สถานพยาบาล และสถานบรกิ ารการทอ งเทย่ี ว (1)
ท่ไี มอาจใหลูกจาง (2)
หยดุ ทำงานใน งานในปา งานในที่ทุรกนั ดาร งานขนสง งานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานตองทำ
วันหยดุ ตาม ตดิ ตอ กันไปถาหยุดจะเสียหายแกงาน

ประเพณไี ด

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564

5

กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความในพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรอื่ ง รายละเอียด ขอ้

สทิ ธิลาเพ่อื (1) เพ่อื ประโยชนต์ อ่ การแรงงานและสวสั ดกิ ารสังคม หรอื การเพ่ิมทกั ษะความ 1
ฝกึ อบรมหรือ ชำนาญเพ่อื เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทำงานของลูกจา้ ง
พัฒนาความรู้ 2
ความสามารถ (2) การสอบวัดผลทางการศึกษาที่ทางราชการจดั หรอื อนญุ าตให้จัดขึ้น 3
การแจง้ เหตุทล่ี าฯ
ให้ลูกจ้างแจ้งถึงเหตุที่ลาโดยชัดแจ้งพร้อมแสดงหลักฐานที่เก่ียวข้องให้
กรณนี ายจา้ งอาจ นายจา้ งทราบลว่ งหนา้ ไมน่ ้อยกวา่ 7 วันก่อนวนั ลา
ไมอ่ นุญาตใหล้ าฯ (1) ในปีที่ลาเคยได้รับอนุญาตให้ลาเพ่ือฝึกอบรมฯ แล้วไม่น้อยกว่า 30 วันหรือ

3 คร้ัง หรือ
(2) การลาอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายหรือกระทบต่อการประกอบธรุ กจิ ของ

นายจ้าง

กองนติ ิการ
1 ตลุ าคม 2564

6

กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 6 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

งานซึ่งหา้ มลูกจ้างเด็ก งานเกี่ยวกับความร้อน ความเย็น ความสั่นสะเทือน และเสียงอันอาจเป็น (1)
อายุต่ำกว่า 18 ปีทำ อันตราย ดงั นี้
(2)
(ก) งานท่ีมอี ณุ หภมู ิในสภาวะแวดลอ้ มการทำงานสูงกวา่ 45 องศาเซลเซียส
(ข) งานในหอ้ งเย็นในอตุ สาหกรรมการผลิตหรือการถนอมอาหารโดยการทำ (3)

เยือกแข็ง (4)
(ค) งานทใ่ี ช้เครอ่ื งเจาะกระเทก (5)
(ง) งานท่ีมีระดับเสียงที่ได้รับติดต่อกันเกิน 85 เดซิเบล (เอ) ในการทำงาน

วันละ 8 ช่ัวโมง

งานเกีย่ วกับสารเคมที เ่ี ปน็ อนั ตราย วตั ถุมีพิษ วตั ถรุ ะเบดิ หรือวตั ถุไวไฟ
(ก) งานผลิตหรือขนสง่ สารกอ่ มะเร็ง
(ข) งานทเี่ กย่ี วข้องกบั สารไซยาไนด์
(ค) งานผลติ หรอื ขนสง่ พลุ ดอกไม้เพลิง หรอื วัตถุระเบดิ อื่น ๆ
(ง) งานสำรวจ ขุดเจาะ กลั่น บรรจุ หรือขนถ่ายน้ำมันเช้ือเพลิง หรือก๊าซ

เว้นแต่ งานสถานบี ริการน้ำมันเช้อื เพลงิ

งานเกยี่ วกบั จลุ ชีวันเป็นพษิ ซ่ึงอาจเป็นเชอื้ ไวรสั แบคทีเรีย รา หรอื เช้ืออน่ื
(ก) งานท่ีทำในห้องปฏบิ ตั ิการ ชนั สูตรโรค
(ข) งานดแู ลผปู้ ว่ ยด้วยโรคติดต่อตามกฎหมายว่าดว้ ยโรคติดต่อ
(ค) งานทำความสะอาดเคร่ืองใช้ และเครือ่ งนุ่งห่มผูป้ ว่ ยในสถานพยาบาล
(ง) การเกบ็ ขน กำจัดมลู ฝอย หรอื สิง่ ปฏิกลู ในสถานพยาบาล

งานขบั หรือบังคับรถยกหรอื ปน้ั จัน่

งานเกย่ี วกบั กัมมันตภาพรังสที กุ ชนดิ

กองนติ ิการ
1 ตลุ าคม 2564

กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 7 (พ.ศ. 2541) 7
ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรอื่ ง รายละเอยี ด ขอ้

งานในกจิ การ (1) นายจา้ งและลูกจา้ งตกลงกนั กำหนดเวลาทำงานปกติวันหนงึ่ ไมเ่ กิน 12 1

ปิโตรเลยี ม ชว่ั โมง ยกเลกิ โดยกฎกระทรวงฉบับท่ี 13 2
3
(2) นายจ้างและลูกจา้ งอาจกำหนดเวลาทำงานติดต่อกันเป็นช่วง แตห่ ้ามตกลง 4
5
กนั กำหนดเวลาทำงานเกินช่วงละ ๒๘ วัน ติดตอ่ กัน 6

(3) ต้องจดั ให้ลูกจ้างมวี ันหยดุ ประจำช่วงเวลาทำงานตามความเหมาะสม

เวน้ แต่กรณกี ำหนดวนั ทำงานติดตอ่ กนั ชว่ งละไม่น้อยกวา่ ๑๔ วัน นายจ้าง

ตอ้ งจัดใหม้ ีวนั หยดุ ตดิ ต่อกนั ไม่น้อยกว่ากง่ึ หน่งึ ของวนั ทำงาน ติดต่อกนั

* วันหยุดประจำช่วงเวลา หมายความรวมถงึ วันหยดุ ประจำสปั ดาหด์ ว้ ย *

(4) วันหยุดตามประเพณตี รงกบั วันหยดุ ช่วงเวลาทำงานให้หยดุ ชดเชยในวนั

ทำงานถัดไป หรือจา่ ยคา่ ทำงานในวนั หยดุ ก็ได้

(5) ใหน้ ายจา้ งแจง้ การฝกึ อบรมเกี่ยวกับการยังชีพในทะเลและผจญเพลงิ ซ่ึง

ตอ้ งอบรมในวันหยดุ ให้ลูกจ้างทราบลว่ งหน้าตามสมควร เวน้ แต่ การฝกึ

อบรมกรณอี ่นื ในวนั หยุดตอ้ งได้รับความยนิ ยอมจากลกู จ้างก่อน ใหน้ ายจ้าง

จา่ ยคา่ ทำงานในวันหยุดสำหรบั วนั ฝึกอบรม และวันที่ กำหนดให้ลูกจา้ ง

เตรียมพรอ้ มก่อนการฝกึ อบรมพร้อมค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทาง

งานท่ใี ช้วิชาชีพหรือ เวลาทำงานปกติในวันหน่ึงๆ เป็นจำนวนก่ีช่ัวโมงก็ได้ แต่เมื่อรวมเวลา

วชิ าการ งานดา้ นบริหาร ทำงานทงั้ สน้ิ แล้ว สัปดาห์หนง่ึ ต้องไม่เกิน 48 ช่ัวโมง
และงานจดั การ งาน
ค่าตอบแทนกรณีทำงานเกินวนั ละ 8 ช่ัวโมง ยกเลกิ โดยกฎกระทรวง
เสมียนพนักงาน งาน ฉบับที่ 13
อาชพี การค้า งานดา้ น

บริการ งานการผลติ

ร้านขายอาหาร/ เวลาพกั ระหว่างการทำงานเกิน 2 ชั่วโมงกไ็ ด้

เคร่ืองด่ืมเปิดจำหนา่ ย

ไมต่ ดิ ต่อกนั

นายจา้ งอาจให้ลูกจ้าง งานวิชาชีพหรือวิชาการเกี่ยวกับสำรวจ การขุดเจาะ การกล่ันแยก และการ
หญิงทำงาน ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี ถ้าสภาพหรือลักษณะของงานไม่เป็น
อันตรายต่อรา่ งกาย

นายจ้างอาจใหล้ ูกจา้ ง ตำแหน่งผู้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ รวมท้ังงานเกี่ยวกับการเงินหรือ

หญงิ มคี รรภท์ ำงาน บัญชีทำงานลว่ งเวลาในวันทำงานได้โดยไดร้ ับความยนิ ยอม

งานเรข่ ายหรอื ชักชวน นายจ้างได้จ่ายค่านายหน้าให้แล้วลูกจ้างไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าล่วงเวลา และค่า

ซ้ือสินคา้ ลว่ งเวลาในหยดุ เวน้ แต่ นายจ้างตกลงจา่ ย

กองนิติการ
1 ตลุ าคม 2564

กฎกระทรวง ฉบบั- 2ท-่ี 11 (พ.ศ. 2541) 8
ออกตามความในพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรอ่ื ง รายละเอยี ด ขอ้

ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง นอกจากทีก่ าํ หนดไวในกฎกระทรวงนใ้ี หเปนไปตามทน่ี ายจางและลกู จางตกลงกนั 1

แรงงานในงาน *เวนแตก่ ารคมุ ครองแรงงานตอ่ ไปน้ี 2

บรรทุกหรอื หมวด 1 บทท่ัวไป ม.7 – 21 3
4
ขนถา่ ยสินคา หมวด 2 การใชแ้ รงงานท่ัวไป ม.27 – 30 และ ม.32 -37 5

เรอื เดนิ ทะเล หมวด 3 การใชแ้ รงงานหญงิ ม.39 - 43

หมวด 4 การใช้แรงงานเดก็ ม.45 – 52

หมวด 5 คา่ จ้าง คา่ ลว่ งเวลา ค่าทำงานในวนั หยุดและคา่ ล่วงเวลาในวนั หยุด

ม. 53 – 60 ม. 67 ม. 71 และ ม.76-77

หมวด 10 การพักงาน ม. 116 – 117

หมวด 11 ค่าชดเชย ม.118 – 122

หมวด 12 การยนื่ คำรอ้ ง ม. 123 – 125

หมวด 13 กองทนุ สงเคราะห์ลกู จา้ ง ม.134 – 135

หมวด 14 พนักงานตรวจแรงงาน ม.139 – 142

หมวด 15 การส่งหนงั สือ ม. 143

ให้นายจา้ งและลูกจา้ งปฏิบัตติ าม พ.ร.บ.คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

คำนิยาม “บรรทุกหรือขนถ่ายสนิ ค้าเรือเดินทะเล” หมายความว่า

(1) การกระทําใด ๆ ที่เก่ียวกับการผูกมัดรวมกัน แยกออก จัดเรียง

หรือเคลื่อนยายซ่ึงสินคาเรือเดินทะเล การใหสัญญาณเพ่ือความปลอดภัยในการ

เคล่ือนยายสินคา การควบคุมปนจ่ันหรือเครื่องกวาน หมายความรวมถึงการทํา

ความสะอาดระวางกอนหรอื หลงั จากการบรรทุกหรือขนถาย

(2) การกระทําใด ๆ ที่เปนการบริการเสริมหรือเกี่ยวเนื่องกับการบรรทุกหรือ

ขนถายสินคาเรอื เดนิ ทะเล หรอื การกระทําอน่ื ตามทอี่ ธบิ ดีประกาศกาํ หนด

“นายจ้าง” หมายความว่า ผู้ประกอบกิจการบรรทุกหรือขนถายสินคา

เรอื เดินทะเลซ่งึ ตกลงรบั ลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให

เวลาทาํ งานปกติ “แรง” หมายความว่า ชวงเวลาการทํางานในวันทํางานปกติและในวันหยุดโดย
แรงงานเด็ก คํานึงถงึ ขอตกลงระหวางนายจางกับลูกจางตามประเพณี

การจ่ายค่าจา้ ง แตละวนั ใหเปนไปตามทอ่ี ธิบดีประกาศกําหนด
หามมิใหนายจางรับเด็กอายุต่ำกวา 18 ปีทํางานเวนแตงานทําความสะอาดเรือ
งานผูกมัดจัดเรียง หรืองานอ่ืนท่ีอธิบดีประกาศกําหนดนายจางอาจรับเด็กอายุ
ไมตำ่ กวา 16 ปเขาทาํ งานดังกลาวได
ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างตามจํานวนแรง โดยไมมีการเหมาจายคาจาง ท้ังนี้
ตามหลักเกณฑทอี่ ธบิ ดีประกาศกาํ หนด

-2-

เรอื่ ง รายละเอียด ข้อ

คา่ จา้ งในวันหยุด กรณนี ายจ้างมิได้จดั ให้หยุดหรือจดั น้อยกวา่ ที่กฎหมายกำหนดไว้ใหนายจางจายคาจางให 6
7
แกลูกจางตามอตั ราท่ีอธบิ ดีประกาศกาํ หนด 8
9
การจัดอาหาร ให้นายจ้างจัดอาหารท่ีมีคุณคาทางโภชนาการและมีปริมาณเพียงพอแกลูกจาง
10
ทท่ี ํางาน หากนายจางไมจัดให้จายเงินคาอาหารแกลูกจาง คนละไมนอยกวา 1 ใน 5 11

ของคาจาง 1 แรงตอ 1 มอื้ 12

การทํางานนอก ใหนายจางจัดพาหนะรับสงลูกจางในการไปและกลับ ถานายจางไมจัดใหจาย 13

สถานท่ีทาํ งาน คาพาหนะเทาทจี่ ายจรงิ ตามความจาํ เปน

ปกติ

ความปลอดภยั - ใหนายจางจดั ใหมเี ครือ่ งมือหรอื อุปกรณเพ่ือความปลอดภัยในการทาํ งาน และ

ในการทาํ งาน กาํ หนดมาตรการเพื่อความปลอดภัยในการทาํ งาน ตามมาตรฐานและหลกั เกณฑ์

ที่รฐั มนตรปี ระกาศกำหนด

- ลกู จางตองใชเครื่องมือหรืออปุ กรณเพ่ือความปลอดภยั ในการทํางานและตอง

ปฏิบัตติ ามมาตรการเพ่อื ความปลอดภัยในการทาํ งานทีน่ ายจางจัดหรือกําหนด

อำนาจ พตร. พนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจออกคําส่ังเปนหนังสือใหนายจางปฏิบัติใหถูกตอง

ภายในระยะเวลาทีก่ ำหนด

กรณีสภาพแวดล้อมในการทำงาน อาคาร สถานที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ไม่ปลอดภัย

หรือนายจ้างไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง พตร.ตามข้อ 10 เม่ือไดรับอนุมัติจากอธิบดีหรือ

ผูซึง่ อธบิ ดมี อบหมาย พตร.มีอํานาจส่งั ใหนายจางหยดุ การใชเครื่องจกั รหรอื อุปกรณ

ดงั กลาวท้ังหมดหรอื บางสวนเปนการชัว่ คราวได

- ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจางซ่ึงพนักงานตรวจแรงงานสั่งใหนายจางหยุดการใช

เค ร่ือ งจั ก รห รื อ อุ ป ก รณ์ เท ากั บ ค าจ างใน วัน ทํ างาน ต ล อ ด ระย ะเว ล าท่ี ลู ก จ าง

หยดุ ทาํ งาน จนกวานายจางจะไดดาํ เนนิ การใหถูกตอง

การอุทธรณ์คำสั่ง - คำสั่งของ พตร. ตามข้อ 10 หรือข้อ 11 ใหอุทธรณตอคณะกรรมการความปลอดภัย

พ นั ก งาน ต รว จ อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ทราบ

แรงงาน คาํ สั่ง คาํ วินจิ ฉัยของคณะกรรมการน้นั ใหเปนท่สี ดุ

- การอุทธรณยอมไมเปนการทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน

เวนแตคณะกรรมการความปลอดภัยฯ มีคําสงั่ เปนอยางอ่นื

การตรวจรางกาย - ใหนายจางจัดใหลูกจางไดรับการตรวจรางกายอยางนอยปละ 1 ครั้ง โดยนายจา้ ง

จากแพทย์ เปนผูออกคาใชจาย

- กรณที ี่ลักษณะหรอื สภาพของงานอาจทาํ ใหเกิดโรค หรือเปนอนั ตรายอยางใด

ตอสขุ ภาพของลกู จาง ใหลูกจางไดรับการตรวจรางกายเพือ่ ทราบสาเหตุของการ

เกิดโรคหรืออนั ตรายนัน้ โดยเฉพาะดวย

- ใหนายจางเก็บบนั ทกึ ผลการตรวจไว้ ณ ท่ที าํ การของนายจางไมนอยกวา 2 ป

นบั แตวนั สิ้นสดุ ของการจางลูกจางแตละราย กรณีทม่ี ีการฟองคดีเกย่ี วกบั โรค หรอื

อนั ตรายตอสขุ ภาพของลกู จางใหนายจางเก็บบันทึกผลการตรวจไวจนกวาจะมี

คําสงั่ หรือคาํ พพิ ากษาถึงทีส่ ุด

-2-

เรอ่ื ง รายละเอียด ข้อ

เอกสารค่าจา้ ง - ใหน้ ายจ้างจดั ให้มีเอกสารเกี่ยวกับการจ่ายคา่ จา้ งตามรายการท่ีกำหนด 15
- ใหล้ กู จา้ งลงลายมอื ชือ่ ในเอกสารการจา่ ยคา่ จา้ ง
- กรณีโอนเงินเข้าบญั ชธี นาคาร ไม่ต้องให้ลกู จา้ งลงลายมอื ช่ือกไ็ ด้

- ให้นายจ้างเก็บเอกสารเก่ียวกับการจ่ายค่าจ้าง ค่าอาหาร และค่าพาหนะ 16
ใหแ้ กล่ ูกจา้ ง ไม่น้อยกว่า 2 ปี นบั แตว่ ันจา่ ยเงินดงั กลา่ ว

- กรณีมีการย่ืนคำร้อง หรือมีข้อพิพาทแรงงาน หรอื มีการฟ้องคดีแรงงาน ให้
เก็บไวจ้ นกวา่ จะมีคำสั่ง หรอื คำพิพากษาถึงทส่ี ุด

กองนติ ิการ
1 ตลุ าคม 2564

9

กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรื่อง รายละเอยี ด ขอ้

คำนิยาม “งานขนส่งทางบก” หมายความว่า การลำเลียงหรือเคล่ือนย้ายบุคคล สัตว์ หรือ 1
ส่ิงของด้วยยานพาหนะขนส่งทางบก ไม่รวมถึงการเคลื่อนย้ายบุคคลหรือสัตว์ที่
เจบ็ ป่วย และการขนส่งในงานดบั เพลงิ หรืองานบรรเทาสาธารณภยั 2
3
เวลาทำงานปกติ วนั หนึ่งไม่เกนิ 8 ชวั่ โมง
4
การทำงานลว่ งเวลา - หา้ มลกู จา้ งซ่ึงทำหนา้ ท่ีขบั ขย่ี านพาหนะทำงานล่วงเวลา เว้นแตไ่ ดร้ ับความยินยอมเป็น
หนังสอื จากลูกจา้ ง 5
- ทำงานล่วงเวลาวันหนึง่ ไมเ่ กิน 2 ชว่ั โมง เวน้ แต่มเี หตจุ ำเปน็ อันเกดิ จากเหตุสุดวสิ ยั 6
อบุ ัติเหตุ หรือปัญหาการจราจร

เวลาพัก - ลูกจ้างซึ่งทำหน้าท่ีขับขี่ยานพาหนะมีเวลาพักติดต่อกันวันหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
หลงั จากทำงานมาแล้วไม่เกนิ 4 ช่ัวโมง
- เวลาพักน้อยกว่า 1 ชั่วโมงก็ได้ แต่ต้องไม่น้อยกว่า ครั้งละ 20 นาที และรวมกันแลว้ ไม่น้อย
กวา่ วนั ละ 1 ชั่วโมง

การเริม่ ตน้ ทำงาน ห้ามให้ลูกจ้างซ่ึงทำหน้าที่ขับขี่ยานพาหนะเริ่มต้นทำงานในวันทำงานถัดไปก่อนครบ
ระยะเวลา 10 ช่วั โมง หลังจากส้นิ สดุ การทำงานในวนั ทำงานที่ล่วงมาแลว้

ล่วงเวลาในวัน ให้นายจ้างจ่ายค่าตอบแทนเป็นเงินเท่ากับอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทำงานตามจำนวน
ทำงานและใน ชั่วโมงท่ีทำ เว้นแตน่ ายจ้างตกลงจา่ ยค่าลว่ งเวลาและค่าลว่ งเวลาในวันหยุด

วนั หยดุ

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

10

กฎกระทรวง ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรอ่ื ง รายละเอียด ข้อ

เวลาทำงาน นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกัน วันหน่ึงไม่เกิน 12 ช่ัวโมง และเมื่อรวมเวลาทำงาน 1

ปกติ ทงั้ สิน้ แล้วสปั ดาหห์ น่งึ ไม่เกิน 48 ชั่วโมง

การจ่ายคา่ จา้ ง - กรณีกำหนดเวลาทำงานปกติเกินวนั ละ 8 ช่ัวโมง สำหรับลูกจ้างซ่ึงไม่ได้รับค่าจ้างเป็น 2
และค่าตอบแทน รายเดือน ให้จ่ายค่าจ้างสำหรับ การทำงาน 8 ชั่วโมง และจ่ายค่าตอบแทน
แก่ลกู จ้างซ่ึง ไมน่ ้อยกว่า 1.5 เทา่ ของอัตราค่าจ้างต่อชว่ั โมงในวนั ทำงานตามจำนวนชว่ั โมงทท่ี ำเกิน
ไมไ่ ดร้ บั คา่ จา้ ง - การทำงานในวันหยุดให้จา่ ยค่าทำงานในวันหยุดสำหรับการทำงาน 8 ช่ัวโมง และจ่าย
เปน็ รายเดือน คา่ ตอบแทนไม่น้อยกว่า 3 เท่าของอัตราค่าจ้างตอ่ ช่ัวโมงในวนั ทำงานตามจำนวนชั่วโมง

ทที่ ำเกนิ

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 14 (พ.ศ. 2555) ออกตามความใน 11
พระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

ผลใชบ้ ังคับ วนั ท่ี 9 พฤศจิกายน 2555 (2)

ขอบเขตการใชบ้ งั คบั ใช้บงั คับกับนายจา้ งซ่ึงจ้างลูกจ้างทำงานบ้านอันมิไดม้ ีการประกอบธรุ กจิ รวมอยู่ดว้ ย

การบงั คับใช้ ไม่ใชบ้ ทบัญญัตติ าม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานฯ ต่อไปน้ี
หมวด 1 บทท่ัวไป ม.11/1 , 12, 18, 21, 22
สาระสำคัญการ หมวด 2 การใชแ้ รงงานทั่วไป ม.23 – 27 ม.31 และ ม.33 - 37
บังคับใช้ หมวด 3 การใชแ้ รงงานหญิง ม.38 – 43
หมวด 4 การใช้แรงงานเด็ก ม.45 – 50 และ ม. 52
หมวด 5 คา่ จา้ ง ฯ ม.53 – 55 ม. 70 เฉพาะท่ไี มเ่ ก่ียวกับคา่ จา้ งและคา่ ทำงาน

ในวันหยดุ ม. 57 – 61 ม.63 ม. 65 – 66 ม. 68 – 69 และ ม. 71 – 77
หมวด 6 คณะกรรมการคา่ จ้าง ม.78 – 91
หมวด 7 สวัสดกิ าร ม. 92 – 99
หมวด 9 การควบคมุ ม. 108 – 115/1
หมวด 10 การพักงาน ม.116 – 117
หมวด 11 คา่ ชดเชย ม. 118 – 122
หมวด 13 กองทุนสงเคราะห์ลกู จ้าง ม. 126 - 138

- หา้ มนายจ้างเรยี กหรอื รับหลักประกนั การทำงาน
- ให้นายจา้ งปฏบิ ตั ิตอ่ ลกู จา้ งชายและหญิงโดยเทา่ เทียมกันในการจ้างงาน
- ห้ามนายจา้ ง หัวหน้างาน ผคู้ วบคุมงาน หรือผ้ตู รวจงาน ล่วงเกนิ ทางเพศตอ่ ลกู จา้ ง
- การเลกิ สัญญาจา้ ง ให้บอกกล่าวล่วงหน้าไมน่ อ้ ยกวา่ 1 งวดการจ่ายค่าจา้ ง
- ใหน้ ายจ้างจดั ให้ลกู จ้างมวี นั หยุดประจำสัปดาห์ วนั หยดุ ตามประเพณี และวันหยุด
พกั ผ่อนประจำปี โดยได้รบั ค่าจ้าง
- ลกู จ้างลาปว่ ยไดเ้ ท่าทป่ี ่วยจรงิ โดยไดร้ บั ค่าจา้ งไมเ่ กนิ 30 วันทำงาน/ปี
- หา้ มจ้างเด็กอายตุ ่ำกวา่ 15 ปี เปน็ ลกู จ้าง
- หา้ มนายจา้ งเรยี กหรอื รบั หลักประกนั จากลูกจ้างซึง่ เป็นเดก็ และห้ามหักคา่ จ้าง
ลูกจา้ งซ่งึ เป็นเดก็
- ให้จา่ ยคา่ จา้ งและคา่ ทำงานในวนั หยุดเป็นเงนิ ตราไทย
- ให้จ่ายคา่ จ้างและคา่ ทำงานในวนั หยดุ ณ สถานทที่ ำงานของลกู จา้ ง
- ให้จ่ายคา่ ทำงานในวนั หยดุ กรณที น่ี ายจ้างมิไดจ้ ดั ให้ลูกจ้างหยดุ
- ให้จา่ ยคา่ จา้ งสำหรบั วันหยุดพกั ผอ่ นประจำปใี นปที ่เี ลิกจา้ งตามส่วนกรณีลูกจ้างไมไ่ ด้
กระทำความผิด
- ให้จา่ ยคา่ จ้างและคา่ ทำงานในวนั หยดุ ใหถ้ กู ต้องและตามกำหนดเวลา
- ลูกจา้ งมสี ิทธยิ ่ืนคำรอ้ งตอ่ พนักงานตรวจแรงงานเพือ่ เรียกรอ้ งเงินที่นายจ้างจ่าย
ไม่ถกู ตอ้ งตามพระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

สรุปกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล พ.ศ. 2557 12
และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม

เรื่อง รายละเอยี ด ข้อ

การ การค้มุ ครองให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวงนี้ เวน้ แต่การคุ้มครองตาม ขอ้ 3
บังคบั ใช้ หมวด 1 บททัว่ ไป ม.7 – 21

หมวด 5 คา่ จา้ ง ค่าล่วงเวลา คา่ ทำงานในวนั หยดุ และคา่ ล่วงเวลาในวันหยดุ ม. 76 – 77

หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ม. 89-90

หมวด 12 การยนื่ คำร้อง ม. 123 -125

หมวด 13 กองทุนสงเคราะห์ลกู จา้ ง ม.134 -137

หมวด 14 พนกั งานตรวจแรงงาน ม.139 – 142

หมวด 15 การส่งหนงั สือ ม.143

ใหป้ ฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541

แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยกฎกระทรวงค้มุ ครองแรงงานในงานประมงทะเล (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2561

แรงงานเด็ก หา้ มจา้ งลกู จา้ งทมี่ ีอายตุ ำ่ กวา่ 18 ปที ำงานในเรือประมง ข้อ 4

ใหจ้ ัดใหล้ กู จ้างมเี วลาพกั ไม่น้อยกวา่ 10 ช่ัวโมงในระยะเวลาการทำงาน 24 ช่ัวโมง และ

เวลาพัก ไม่น้อยกว่า 77 ชั่วโมง ในระยะเวลาการทำงาน 7 วนั ขอ้ 5

กรณีฉกุ เฉนิ อาจให้ลูกจา้ งทำงานในเวลาพักได้โดยตอ้ งจัดใหม้ ีเวลาพกั ชดเชยโดยเร็ว

สญั ญาจ้างต้องทำเป็นหนังสอื ตามแบบท่ีอธิบดปี ระกาศกำหนด จำนวน 2 ฉบบั โดยมอบให้

สัญญาจา้ ง ลูกจา้ งเกบ็ ไวห้ นง่ึ ฉบบั และนายจ้างนำลกู จ้างไปรายงานตวั ตอ่ พนักงานตรวจแรงงาน ขอ้ 6

ปีละหน่งึ ครง้ั นบั แต่วนั ทำสัญญาจ้าง

ทะเบยี น - นายจา้ งท่มี ลี ูกจา้ งตั้งแต่ 10 คนข้ึนไป ต้องจดั ทำทะเบียนลกู จา้ งตามแบบท่ีอธิบดี ขอ้ 7
ลูกจา้ ง ประกาศกำหนดเป็นภาษาไทยและเก็บไวท้ ี่สถานทที่ ำงานของนายจา้ งและลกู จ้าง
- ใหเ้ กบ็ ทะเบียนลูกจา้ งไวไ้ ม่นอ้ ยกว่า 2 ปี นับแตว่ นั สนิ้ สุดการจา้ งลกู จา้ งแต่ละราย

- ให้นายจา้ งจดั ทำเอกสารเก่ียวกับการจา่ ยค่าจ้างและค่าทำงานในวนั หยุด ตอ้ งมีรายการ

1) ชอ่ื ตัวและช่อื สกุล

2) ตำแหนง่ หนา้ ท่ี

เอกสารการ 3) อตั ราค่าจ้าง ค่าทำงานในวนั หยุด จำนวนค่าจ้าง และคา่ ทำงานในวันหยดุ ทีล่ ูกจ้าง ข้อ 8
จา่ ยค่าจา้ งฯ แต่ละคนจะไดร้ บั

- ให้ลกู จ้างลงลายมือช่ือในเอกสารการจ่ายค่าจ้างและค่าทำงานในวนั หยุด

- เอกสารการจ่ายค่าจ้างให้เก็บไวไ้ มน่ ้อยกวา่ 2 ปี นับแตว่ ันจา่ ยเงิน

แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยกฎกระทรวงคมุ้ ครองแรงงานในงานประมงทะเล (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2561

การจ่าย - ให้จา่ ยค่าจ้างและค่าทำงานในวนั หยุดให้ถูกต้องและตามกำหนดเวลาทตี่ กลงกนั แต่ ข้อ 10

คา่ จา้ งและ ให้จ่ายเดอื นหนงึ่ ไมน่ ้อยกวา่ 1 ครง้ั

ค่าทำงานใน - เงนิ สว่ นแบง่ ตามมลู ค่าของสัตวน์ ำ้ ใหจ้ า่ ยตามกำหนดเวลาท่ีตกลงกนั แตไ่ ม่เกิน 3

วันหยุด เดอื น/คร้งั

แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยกฎกระทรวงคมุ้ ครองแรงงานในงานประมงทะเล (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2561

ให้จ่าย ใหน้ ายจา้ งกำหนดคา่ จ้างลกู จ้างเปน็ รายเดอื น ไม่น้อยกวา่ อัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายวัน ข้อ 10/1

คา่ จ้างเป็น คูณด้วย 30

รายเดอื น แกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2561

เรอื่ ง รายละเอยี ด ขอ้

ใหจ้ า่ ยคา่ จา้ ง ใหจ้ ่ายค่าจ้างและคา่ ทำงานในวนั หยุดให้แกล่ ูกจ้างผา่ นบัญชีธนาคารของลูกจา้ ง โดย ข้อ 10/2

ผา่ นบญั ชี นายจ้างออกค่าใช้จ่ายในการโอนเงนิ เข้าบัญชธี นาคาร

ธนาคาร แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานประมงทะเล (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.

2561

ดอกเบี้ย - หากไมจ่ า่ ยค่าจา้ งและค่าทำงานในวนั หยดุ ต้องเสียดอกเบีย้ รอ้ ยละ 15 ต่อปี ขอ้ 11

- หากจงใจผดิ นดั โดยปราศจากเหตุผลอนั สมควร ให้จา่ ยเงินเพิ่มร้อยละ 15 ของเงนิ ที่

ผดิ นัด ค้างจ่ายทุกระยะเวลา 7 วัน

วนั หยุด - วนั หยดุ ประจำปีปหี นง่ึ ไม่น้อยกว่า 30 วนั โดยได้รบั ค่าจา้ งไมน่ อ้ ยกว่าค่าจา้ งขน้ั ตำ่ ขอ้ 12

ประจำปี

วันลาปว่ ย - ลูกจา้ งลาป่วยได้เทา่ ท่ีปว่ ยจริง โดยไดร้ ับคา่ จ้างตลอดระยะเวลาทล่ี าแตป่ หี นงึ่ ไมเ่ กิน ขอ้ 13

30 วันทำงาน

กรณีลกู จา้ ง ลูกจ้างตกค้างอยู่ในต่างประเทศเนื่องจากการทำงานให้แก่นายจ้าง นายจ้างจ่ายเงินไม่น้อย ข้อ 14

ตกคา้ งอยูใ่ น กว่าร้อยละ 50 ของอัตราค่าจ้างขั้นต่ำตลอดเวลาที่ลูกจ้างตกอยู่ในต่างประเทศ แต่ไม่ใช้

ต่างประเทศ บงั คบั หากนายจา้ งมีหนังสือแจง้ หน่วยงานราชการภายใน 60 วันนับแต่ลูกจา้ งตกค้างอยู่

ในต่างประเทศว่าจะรับลูกจ้างท้ังหมดกลับเข้าทำงาน และออกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง

กลับ

นายจ้างต้อง ให้นายจา้ งดำเนนิ การหรือออกค่าใชจ้ า่ ยสง่ ลูกจ้างกลบั สถานทที่ นี่ ายจ้างรับลูกจ้างเข้า ข้อ 15

ออกคา่ ใชจ้ ่าย ทำงาน กรณีตอ่ ไปน้ี

สง่ ลูกจ้างกลับ 1) เรืออบั ปางหรือไม่อาจใช้การได้โดยสิน้ เชงิ

สถานทที่ ่ี 2) ลกู จา้ งประสบอนั ตราย เจ็บป่วย หรอื เสยี ชวี ิต เนื่องจากการทำงาน

นายจ้างรับ 3) นายจา้ งบอกเลิกสญั ญาจา้ งก่อนครบกำหนดอายสุ ัญญา หรอื เปล่ียนแปลงเง่ือนไขใน

ลูกจา้ งเขา้ สญั ญาโดยลกู จา้ งไม่ยนิ ยอม

ทำงาน 4) สัญญาจา้ งครบกำหนดในระหว่างที่ลูกจ้างทำงานอยู่ในทอี่ ่ืนอันมใิ ชส่ ถานท่ีทำสัญญา

จา้ ง

หากนายจา้ งไม่ดำเนนิ การ หนว่ ยงานราชการมีสิทธิไล่เบีย้ สำหรับเงินที่ได้จ่ายเพ่ือสง่

ลูกจ้างกลบั คืนจากนายจ้างได้

การจัด ใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ีอาหาร น้ำด่มื หอ้ งส้วม เวชภณั ฑ์ และยา ให้เพียงพอ เหมาะสม ขอ้ 16

สวัสดกิ าร

ระบบการ ให้นายจ้างซ่งึ ทำการประมงนอกน่านนำ้ ไทยจัดใหม้ ีอุปกรณ์หรอื ระบบการสอ่ื สารผ่าน ขอ้ 16/1

สื่อสาร ดาวเทยี มรองรับการส่งข้อความไมต่ ่ำกวา่ 1 เมกะไบต์ ต่อคนตอ่ เดือน เพื่อใหล้ ูกจ้างไม่

น้อยกว่า 1 ใน 4 เข้าถงึ โดยนายจ้างเป็นผ้อู อกค่าใชจ้ ่าย

แกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวงคมุ้ ครองแรงงานในงานประมงทะเล (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.

2561

การใหค้ วามรู้ ให้นายจา้ งใหค้ วามรู้แก่ลูกจา้ งเกีย่ วกับสภาพการทำงาน การใชเ้ ครื่องมือ สขุ ภาพ ข้อ 17

อนามัย สภาพความเป็นอยบู่ นเรอื และอปุ กรณค์ วามปลอดภยั บนเรอื ก่อนการทำงาน

กองนิติการ
1 ตลุ าคม 2564

13

สรุปกฎกระทรวงกำหนดสถานทีท่ ีห่ า้ มนายจา้ งให้ลูกจ้าง
ซึ่งเปน็ เด็กอายตุ ่ำกวา่ สบิ แปดปที ำงาน พ.ศ. 2559

เรื่อง รายละเอยี ด ขอ้
-
หา้ มนายจา้ งให้ลูกจา้ งอายุต่ำกวา่ 18 ปี ทำงานในสถานที่ ดงั น้ี
สถานที่ทหี่ า้ มเดก็ ตำ่ (1) โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับสัตวน์ ้ำ ตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงงาน
กว่า 18 ปที ำงาน (2) สถานประกอบกจิ การทป่ี ระกอบกจิ การเกีย่ วกบั การแปรรูปสัตวน์ ้ำ

ตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558

กองนิติการ
1 ตลุ าคม 2564

14

กฎกระทรวงกำหนดอัตราน้ำหนักทน่ี ายจา้ งให้ลูกจ้างทำงานได้
พ.ศ. 2547

เรือ่ ง รายละเอียด ข้อ

นำ้ หนกั ที่ ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน ยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักไม่เกิน ข้อ 1
หา้ มทำ อัตรานำ้ หนักโดยเฉลี่ยตอ่ ลกู จา้ ง 1 คน ดังต่อไปน้ี

(1) 20 กิโลกรัม สำหรบั ลูกจา้ งเดก็ หญิงอายุตงั้ แต่ 15 ปี แตย่ ังไม่ถึง 18 ปี
(2) 25 กิโลกรัม สำหรบั ลกู จา้ งเดก็ ชายอายตุ ้ังแต่ 15 ปี แตย่ งั ไมถ่ ึง 18 ปี
(3) 25 กิโลกรัม สำหรับลูกจ้างหญิง
(4) 55 กโิ ลกรัม สำหรบั ลูกจ้างชาย
กรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน ยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนัก เกิน
กว่าอัตราน้ำหนักตาม (1) – (4) ให้นายจ้างจดั ใหม้ ีและให้ลูกจ้างใช้เคร่ืองทุนแรงท่ีเหมาะสม
และไมเ่ ปน็ อันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564

15

กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการจัดสวัสดกิ ารในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2548

เรือ่ ง รายละเอียด ขอ้

ให้นายจา้ งจดั สถานทท่ี ำงานให้นายจา้ งจดั ให้มี ขอ้ 1

สวสั ดิการ (1) นำ้ ดืม่ ไมน่ ้อยกว่า 1 ที่สำหรับลูกจ้างไม่เกนิ 40 คน และเพิ่มขน้ึ อัตราส่วน 1 ท่ี

สำหรบั ลูกจ้างทกุ ๆ 40 คน เศษของ 40 คนถ้าเกนิ 20 คนใหถ้ ือเปน็ 40 คน

(2) หอ้ งน้ำและห้องสว้ มตามแบบและจำนวนที่กำหนดในกฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ

อาคารและกฎหมายอ่นื ที่เกีย่ วขอ้ ง และมีการดูแลรกั ษาความสะอาดให้อยู่ในสภาพ

ทถ่ี กู สุขลกั ษณะเปน็ ประจำทุกวนั

ใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ีหอ้ งนำ้ และหอ้ งส้วมแยกสำหรบั ลูกจ้างชายและลูกจา้ งหญิง

กรณีท่ีมีลูกจ้างทเี่ ปน็ คนพิการใหน้ ายจ้างจัดให้มหี ้องน้ำและหอ้ งส้วมแยกไว้โดยเฉพาะ

การพยาบาล ในสถานท่ที ำงานใหน้ ายจา้ งจัดใหม้ ีสง่ิ จำเป็นในการปฐมพยาบาลและการรักษาพยาบาล ขอ้ 2

ดงั นี้

(1) มลี กู จา้ งทำงานต้งั แต่ 10 คนขึน้ ไป ต้องจัดให้มเี วชภัณฑ์และยาเพ่ือใชใ้ นการ

ปฐมพยาบาลในจำนวนท่เี พียงพออย่างน้อยตามรายการท่กี ำหนด 29 รายการ

(2) มลี ูกจ้างทำงานในขณะเดียวกนั ตั้งแต่ 200/1,000คนข้นึ ไปตอ้ งจัดให้มี

- เวชภณั ฑ์และยาเพื่อใชใ้ นการปฐมพยาบาล

- หอ้ งรักษาพยาบาลพร้อมเตยี งพักคนไข้อยา่ งนอ้ ย 1 เตียง / 2 เตยี ง

เวชภณั ฑแ์ ละยาตามความจำเปน็

-มีพยาบาลตั้งแต่ระดับพยาบาลเทคนิคขน้ึ ไปไวป้ ระจำอยา่ งน้อย 1คน/2คนตลอดเวลาทำงาน

- แพทยอ์ ยา่ งนอ้ ยหนึ่งคนเพอ่ื ตรวจรกั ษาพยาบาลไม่นอ้ ยกวา่ สัปดาหล์ ะ 2 คร้ัง / 3

ครงั้ และเมื่อรวมเวลาแล้วต้องไมน่ ้อยกวา่ สัปดาห์ละ 6 ชว่ั โมง / 12 ช่ัวโมงในเวลา

ทำงาน

- ยานพาหนะพรอ้ มทจ่ี ะนำลูกจ้างส่งสถานพยาบาลเพอื่ ให้การรักษาพยาบาลไดโ้ ดยพลัน

การตกลงกบั - นายจ้างอาจทำความตกลงเพอ่ื ส่งลูกจ้างเข้ารบั การรักษาพยาบาลกบั สถานพยาบาล ข้อ 3

สถานพยาบาล ที่เปิดบรกิ ารตลอด 24 ช่วั โมง และเป็นสถานพยาบาลท่นี ายจ้างอาจนำลกู จ้างส่งเข้ารับ

แทนการจัดให้มี การรกั ษาได้โดยสะดวกและรวดเรว็ แทนการจดั ให้มีแพทย์ได้ โดยได้รับอนุญาตจาก

แพทย์ อธิบดหี รอื ผซู้ งึ่ อธบิ ดมี อบหมาย

กองนติ ิการ
1 ตลุ าคม 2564

16

กฎกระทรวงกำหนดงานท่ลี ูกจ้างไม่มสี ิทธิไดร้ บั คา่ ล่วงเวลา
และค่าล่วงเวลาในวันหยุด พ.ศ. 2552

เรือ่ ง รายละเอยี ด ข้อ

ยกเลกิ ยกเลิกกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 8 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบญั ญัติ ข้อ 1
กฎหมายเดมิ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
ข้อ 2
งานที่ไมม่ สี ิทธิ งานที่ลกู จา้ งไมม่ ีสิทธิไดร้ ับคา่ ล่วงเวลาตามมาตรา 61 และค่าลว่ งเวลาในวนั หยุด
ไดร้ บั คา่ ตามมาตรา 63 แต่มีสทิ ธิได้รบั คา่ ตอบแทนเป็นเงินเทา่ กบั อตั ราค่าจ้างต่อชัว่ โมงในวันทำงาน
ตามจำนวนช่ัวโมงท่ที ำ ได้แก่
ลว่ งเวลาแตม่ ี
สทิ ธไิ ด้รบั - งานเฝา้ ดแู ลสถานที่หรอื ทรัพยส์ ินอันเป็นหน้าทก่ี ารทำงานปกติของลูกจ้าง
ค่าตอบแทน

กองนติ ิการ
1 ตลุ าคม 2564

กฎกระทรวงวา่ ด้วยการคมุ้ ครองแรงงาน 17
ในงานท่ีรับไปทำที่บ้าน พ.ศ. 2547

เรื่อง รายละเอยี ด ขอ้

การใชบ้ งั คับ นอกจากที่กำหนดในกฎกระทรวงนี้ ใหเ้ ป็นไปตามทีน่ ายจ้างและลูกจา้ งตกลงกนั ข้อ 2
เวน้ แตบ่ ทบญั ญัตติ ่อไปน้ี ให้ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
นิยาม ขอ้ 3
มาตรา 7 – 9 , มาตรา 11-17 , มาตรา 21 , มาตรา 44 , มาตรา 53
การแจง้ พตร. มาตรา 54 , มาตรา 123-125 , มาตรา 134-136 , มาตรา 139-143 ข้อ 4
สัญญาจา้ ง “งานทร่ี ับไปทำท่ีบ้าน” หมายความวา่ งานท่ลี กู จา้ งรับจากนายจ้างไปผลติ ประกอบ ข้อ 5
การจา่ ยคา่ จา้ ง บรรจุ ซอ่ ม หรือแปรรปู ส่งิ ของในบ้านของลกู จ้างหรือสถานท่อี ื่นท่ีมใิ ชส่ ถานประกอบ ขอ้ 6
ห้ามหักคา่ จ้าง กจิ การของนายจ้างตามทีไ่ ด้ตกลงกนั เพอ่ื รับคา่ จ้าง โดยใชว้ ัตถดุ บิ หรืออุปกรณใ์ นการ ข้อ 7
ผลิตของนายจา้ งท้งั หมดหรือบางส่วน และโดยปกตกิ ารทำงานนน้ั เป็นส่วนหนึ่งสว่ นใด
ห้ามส่งมอบงาน หรอื ทงั้ หมดในกระบวนการผลติ หรือธุรกิจในความรับผดิ ชอบของนายจา้ ง ข้อ 8
อันตราย ขอ้ 9
ให้นายจา้ งแจ้งพนักงานตรวจแรงงานทราบล่วงหนา้ ก่อนวันส่งมอบงาน
อปุ กรณ์ PPE
ใหท้ ำสญั ญาจ้างเปน็ หนงั สอื ตามรายการท่กี ำหนด 2 ฉบบั เก็บไวฝ้ า่ ยละ 1 ฉบับ

ใหจ้ ่ายคา่ จา้ งให้ถูกตอ้ ง วันที่จา่ ยค่าจ้างต้องไมเ่ กิน 15 วัน นับแต่วนั ท่ลี ูกจ้างสง่
มอบงาน
หา้ มหักคา่ จ้างเวน้ แต่เปน็ การหักเพ่อื

1) ชำระเงินตามที่กฎหมายบญั ญัตไิ ว้
2) ชำระหน้ีสหกรณห์ รือหนี้ทีเ่ ป็นไปเพ่ือสวัสดกิ ารทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ลกู จ้างฝ่าย

เดียว
3) ชดใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากความจงใจหรือประมาทเลินเล่อ โดยได้รับความ

ยนิ ยอมจากลกู จ้าง
การหักตาม 2) และ 3) แต่ละกรณีห้ามเกินร้อยละ 10 และรวมกันไม่เกิน
รอ้ ยละ 20 เว้นแตล่ ูกจา้ งได้ยินยอมไว้เปน็ หนังสือ
ห้ามส่งมอบงานผลิต ประกอบ บรรจุ แปรรูปวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ งานผลิตหรือ
บรรจสุ ารเคมีอนั ตรายหรอื วตั ถมุ พี ษิ

ให้จดั ให้มีเครื่องมอื หรืออปุ กรณเ์ พ่อื ความปลอดภยั ในการทำงานและใหล้ ูกจ้างใช้

กองนติ ิการ
1 ตลุ าคม 2564

18

กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. 2557

เร่อื ง รายละเอียด ขอ้

ยกเลิก ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. 2547 ข้อ 1
กฎหมายเดิม ขอ้ 2
“งานเกษตรกรรม” หมายความว่า งานท่เี ก่ียวกบั การเพาะปลกู การเลยี้ งสตั ว์ ขอ้ 3
นิยาม
การป่าไม้ การทำนาเกลือสมุทร และการประมงท่ีมิใช่การประมงทะเล ข้อ 4
การบงั คบั ใช้
ใหน้ ายจ้างซง่ึ จ้างลูกจ้างทำงานเกษตรกรรมตลอดปีปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญัติ ข้อ 5
วันหยดุ พกั ผ่อน ข้อ 6
ประจำปี ค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ข้อ 7
ข้อ 8
สทิ ธลิ าปว่ ย งานเกษตรกรรม ซึง่ มิได้จา้ งลกู จา้ งตลอดปีและมิไดใ้ หล้ ูกจ้างทำงานในลักษณะ
สวัสดกิ าร
ทเี่ ป็นงานอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากงานดังกล่าว ให้นายจา้ งปฏิบัติ

ตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม ดงั นี้

มาตรา 7 – 11/1 มาตรา 12 – 21 มาตรา 37 – 44

มาตรา 46 – 47 มาตรา 49 มาตรา 51

มาตรา 53 – 55 มาตรา 70 มาตรา 76

มาตรา 112 – 115 มาตรา 123 – 129 มาตรา 134 – 137

มาตรา 139 – 141 มาตรา 142 – 143

- ลกู จ้างทำงานครบ 180 วนั มีสทิ ธหิ ยดุ พักผ่อนได้ไมน่ ้อยกว่า 3 วันทำงาน

โดยได้รับคา่ จา้ ง

- ถ้านายจา้ งใหล้ ูกจ้างทำงานในวันหยุดพกั ผ่อน ให้จา่ ยคา่ ทำงานในวนั หยุดเพ่ิมขนึ้

ไม่น้อยกวา่ 1 เทา่ ของอตั ราค่าจา้ งต่อชัว่ โมงในวนั ทำงานตามจำนวนช่วั โมงทที่ ำ

นายจา้ งมิได้จดั ให้ลกู จา้ งหยุดพักผอ่ นหรือจดั ให้ลูกจ้างหยดุ พักผ่อนน้อยกว่า

ทกี่ ำหนดไว้ให้นายจา้ งจา่ ยค่าทำงานในวนั หยดุ เพม่ิ ขึ้นไม่น้อยกว่า 1 เท่าของอัตรา

ค่าจา้ งในวันทำงานเสมอื นวา่ นายจ้างใหล้ ูกจ้างทำงานในวันหยุด

- ลกู จ้างมสี ทิ ธลิ าปว่ ยได้เท่าท่ีปว่ ยจริง โดยนายจา้ งจ่ายคา่ จ้างตลอดระยะเวลา

ทล่ี า แต่ไมเ่ กนิ 15 วนั ทำงาน

ใหน้ ายจา้ งจัดให้มนี ้ำสะอาดปริมาณเพียงพอแก่ลูกจา้ ง

กรณลี ูกจา้ งพักอาศยั อยู่กบั นายจ้าง นายจ้างตอ้ งจัดหาที่พกั อาศัยท่สี ะอาด

ถกู สุขลกั ษณะและ ปลอดภัยใหแ้ ก่ลกู จ้าง ให้นายจ้างจัดสวัสดกิ ารอ่นื ๆ ตามท่ี

อธิบดีประกาศกำหนด

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

กฎกระทรวงคุ้มครองแรงงาน 19
ในงานประมงทะเล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561

เรื่อง รายละเอยี ด ขอ้

การยกเลกิ ยกเลิกข้อ 3 แหง่ กฎกระทรวงฯ พ.ศ.2557 ข้อ 2

การคุ้มครองแรงงาน นอกจากที่กำหนดไวใ้ นกฎกระทรวงฉบับน้ี ใหใ้ ช้บงั คับตามพระราชบญั ญตั ิคุ้มครอง ขอ้ 3

แรงงาน พ.ศ. 2541 ดงั นี้

- หมวด 1 บททัว่ ไป มาตรา 7 – 21 ยกเวน้ มาตรา 22 (งานอ่นื ๆ ทกี่ ำหนดใน

กฎกระทรวง)

- หมวด 5 คา่ จา้ ง ค่าลว่ งเวลา ค่าทำงานในวนั หยดุ และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

มาตรา 76 – 77

- หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง มาตรา 89

- หมวด 12 การย่นื คำร้องและการพิจารณาคำร้อง มาตรา 123 – 125

- หมวด 13 กองทนุ สงเคราะห์ลูกจ้าง มาตรา 134 – 137

- หมวด 14 พนักงานตรวจแรงงาน มาตรา 139 – 142

- หมวด 15 การส่งหนังสือ มาตรา 143

อัตราคา่ จ้าง ให้จ่ายค่าจ้างเป็นรายเดือน ไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายวันที่คณะกรรมการ ข้อ 10/1

ค่าจ้างประกาศกำหนดคูณด้วย 30

ค่าใชจ้ า่ ยการโอน นายจ้างเปน็ ผ้อู อกค่าใช้จา่ ยในการโอนเงินเขา้ บญั ชธี นาคารของลูกจา้ ง ขอ้ 10/2
ค่าจา้ งและคา่ ทำงาน

อุปกรณ์หรอื ใหจ้ ัดใหม้ ีอปุ กรณห์ รือระบบส่อื สารผ่านดาวเทยี มไม่ต่ำกว่า 1 เมกกะไบต์ (MB) ข้อ 16/1

ระบบส่ือสาร คน/เดือน เพ่ือให้ลูกจ้างสามารถเข้าถึงและใช้งานในการติดต่อหรือประสานงานกับ

เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐ สามี ภริยา หรือญาติ ไดต้ ลอดเวลา

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

พระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 2

1

1

เรื่อง รายละเอียด มาตรา

ขอบเขต ใชบ้ งั คบั ในกิจการทีม่ กี ารจา้ งแรงงานในภาคเอกชน
การบังคับใช้

ข้อตกลงเกย่ี วกับ สถานประกอบกิจการท่ีมลี กู จ้างตง้ั แต่ 20 คนขึ้นไป ใหน้ ายจา้ งจัดใหม้ ีขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั สภาพการจ้าง ม.10
สภาพการจ้าง เปน็ หนังสอื ข้อบังคบั เกยี่ วกับการทำงานเปน็ ข้อตกลงเกย่ี วกับสภาพการจา้ งตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
ม.12
อายขุ ้อตกลง ข้อตกลงเก่ยี วกับสภาพการจา้ งมีผลใช้บังคับเกนิ กว่า 3 ปไี มไ่ ด้ ถ้าไมไ่ ด้กำหนดระยะเวลาไว้ ม.13
เกี่ยวกับสภาพการ ใหถ้ อื วา่ มผี ลใชบ้ ังคับ 1 ปี
จา้ ง

การแจง้ ขอ้ การเรยี กรอ้ งให้มกี ารกำหนดข้อตกลงเกย่ี วกับสภาพการจ้างหรอื การแกไ้ ขข้อตกลงฯ ตอ้ งแจ้ง
เรียกรอ้ ง ขอ้ เรียกร้องเปน็ หนังสือ กรณีนายจา้ งเป็นผูแ้ จ้งข้อเรยี กรอ้ งต้องระบชุ อ่ื ผ้เู ข้ารว่ มในการเจรจา

และต้องมีจำนวนไมเ่ กิน 7 คน กรณีลูกจา้ งเป็นผู้แจ้งข้อเรยี กร้องตอ้ งมรี ายชื่อและลายมอื ชอื่

ของลกู จา้ งซ่ึงเกยี่ วขอ้ งกับข้อเรยี กร้อง ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของลูกจา้ งทง้ั หมด ซึง่ ใหล้ กู จ้างเรยี ก

ผแู้ ทนเข้ารว่ มในการเจรจาและระบุชอ่ื ผูแ้ ทนจำนวนไม่เกนิ 7 คน

การเจรจา เมื่อไดร้ บั ขอ้ เรยี กรอ้ งแล้วใหท้ ้ังสองฝา่ ยเรมิ่ เจรจากันภายใน 3 วัน นบั แต่วนั ทไี่ ดร้ บั ข้อเรียกร้อง ม.16
นายจ้างหรือลูกจ้างจะแต่งตั้งที่ปรกึ ษากไ็ ดไ้ ม่เกินฝ่ายละ 2 คน ม.17
ท่ีปรึกษา
ถ้าสามารถตกลงเกยี่ วกับขอ้ เรยี กรอ้ งได้แล้วใหท้ ำเปน็ หนังสอื ลงลายมอื ช่ือและให้นายจ้าง ม.18
การจดทะเบยี น ประกาศข้อตกลงโดยเปดิ เผยอยา่ งนอ้ ย 30 วัน โดยประกาศภายใน 3 วัน นับแตว่ นั ท่ตี กลงกัน
ข้อตกลงเก่ียวกับ และใหน้ ายจา้ งนำขอ้ ตกลงมาจดทะเบียนภายใน 15 วนั
สภาพการจ้าง

กรณไี ม่มีการเจราจาภายในกำหนดหรือเจรจาแล้วตกลงกนั ไมไ่ ด้ใหถ้ อื ว่ามีข้อพิพาทแรงงานเกดิ ข้ึน และ
ข้อพิพาทแรงงาน ให้ฝ่ายที่แจง้ ขอ้ เรยี กรอ้ งแจง้ เปน็ หนังสือให้พนักงานประนอมข้อพพิ าทแรงงานทราบภายใน 24 ชวั่ โมง ม.21

นบั แต่เวลาทก่ี ำหนดตามมาตรา 16 หรือที่ตกลงกันไมไ่ ด้

ขอ้ พิพาทแรงงาน เม่ือพนกั งานประนอมขอ้ พิพาทไดร้ บั แจ้ง ตามมาตรา 21 แล้ว ให้ดำเนนิ การไกล่เกลีย่ ตกลงกนั ภายใน
ทต่ี กลงกนั ไม่ได้ กำหนด 5 วัน ถ้าตกลงกันไมไ่ ด้ใหถ้ ือวา่ เปน็ ข้อพิพาทแรงงานทีต่ กลงกันไมไ่ ด้ นายจา้ งและลูกจา้ งอาจต้ัง ม.22

ผ้ชู ข้ี าดขอ้ พิพาทแรงงาน หรือนายจา้ งจะปดิ งาน หรอื ลูกจา้ งจะนัดหยดุ งานโดยไมข่ ดั ต่อมาตรา 34 ก็ได้

การคมุ้ ครอง ถา้ ข้อเรยี กรอ้ งอยู่ระหว่างการเจรจา การไกล่เกลยี่ หรือการช้ขี าดข้อพิพาทแรงงาน ห้ามมใิ หน้ ายจา้ ง ม.31
ลูกจ้างระหว่าง เลิกจ้าง หรือโยกยา้ ยหนา้ ทีก่ ารงานลูกจา้ งซงึ่ เก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ เรียกรอ้ ง เวน้ แต่
การเจรจา 1) ทจุ ริตตอ่ หน้าทหี่ รอื กระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแกน่ ายจ้าง ม.34
2) จงใจทำใหน้ ายจา้ งได้รบั ความเสยี หาย ม.35
การปิดงานและ 3) ฝา่ ฝนื ขอ้ บังคับ ระเบยี บ คำส่ังอันชอบด้วยกฎหมาย โดยนายจ้างได้ตักเตือนเปน็ หนงั สือแล้ว
การนัดหยุดงาน 4) ละทงิ้ หน้าท่ีเป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกนั โดยไม่มเี หตุอันสมควร

หา้ มมใิ หน้ ายจา้ งปดิ งานหรอื ลกู จ้างหยุดงาน เวน้ แต่เข้าขอ้ ยกเว้น ตาม (1) – (6)
อำนาจรฐั มนตรสี ัง่ กรณีมีการปิดงาน/หยุดงาน

เรอ่ื ง รายละเอยี ด มาตรา

คณะกรรมการ สถานประกอบกิจการทม่ี ลี ูกจา้ งตงั้ แต่ 50 คนขึน้ ไป อาจจัดตง้ั คณะกรรมการลูกจา้ ง ม.45
ลูกจ้าง ในสถานประกอบกจิ การได้ กรณลี กู จ้างเกนิ 1 ใน 5 เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน ให้คณะกรรมการ
ลกู จ้างมีจำนวนมากกวา่ กรรมการอน่ื ทไ่ี มไ่ ด้เปน็ สมาชกิ สหภาพแรงงาน 1 คน ถา้ ลกู จ้างเกินกงึ่ หน่ึงของลูกจา้ ง
ทั้งหมดเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน ซ่งึ สหภาพแรงงานนนนั้ จะแตง่ ตง้ั
ทงั้ คณะก็ได้

วาระคณะ กรรมการลูกจา้ งอยใู่ นตำแหนง่ คราวละ 3 ปี แต่อาจไดร้ บั เลือกตงั้ หรอื แตง่ ตั้งใหมไ่ ด้ ม.47
กรรมการลกู จ้าง
หา้ มเลิกจา้ ง/ ห้ามนายจ้างเลิกจ้าง ลดคา่ จ้าง ลงโทษ ขัดขวางการปฏิบตั ิหนา้ ทขี่ องกรรมการลูกจา้ งหรือกระทำการใด ม.52
ขัดขวาง ๆอันอาจเปน็ ผลใหก้ รรมการลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานต่อไปได้ เวน้ แต่ ไดร้ ับอนญุ าตจากศาลแรงงาน
คณะกรรมการ
ลูกจ้าง สมาคมนายจ้างต้องมีข้อบงั คับและต้องจดทะเบยี นต่อนายทะเบยี น ให้สมาคมนายจา้ งเป็นนติ ิบุคคล ม.55
ม.56
สมาคมนายจา้ ง ผมู้ สี ิทธิขอจดั ตง้ั สมาคมนายจ้างตอ้ งเปน็ นายจา้ งท่ปี ระกอบกจิ การประเภทเดยี วกนั บรรลนุ ติ ิภาวะ ม.57
และมสี ัญชาตไิ ทย

การขอจดทะเบยี นสมาคมนายจา้ ง ใหน้ ายจา้ งผูม้ สี ทิ ธิจัดตั้งสมาคมนายจ้างไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คน
เป็นผู้เริ่มก่อการโดยยน่ื หนังสอื ตอ่ นายทะเบยี นพรอ้ มร่างขอ้ บังคับอย่างน้อย 3 ฉบับ

สหภาพแรงงาน สหภาพแรงงานต้องมีขอ้ บงั คบั และตอ้ งจดทะเบยี นต่อนายทะเบียนแลว้ ใหเ้ ป็นนิติบุคคล ม.87
ม.88
สหพนั ธน์ ายจ้าง ผมู้ สี ทิ ธขิ อจดั ต้ังสหภาพแรงงานต้องเปน็ ลกู จ้างของนายจา้ งคนเดียวกันหรอื ในกจิ การประเภทเดียวกัน ม.89
สหพนั ธแ์ รงงาน
การขอจดทะเบยี นสหภาพแรงงานให้ลกู จ้างผู้มสี ทิ ธขิ อจดั ต้งั ไม่น้อยกว่า 10 คน เปน็ ผู้เริม่ ก่อการ ม.98
ย่นื คำขอเป็นหนงั สือต่อนายทะเบยี น พร้อมด้วยรา่ งขอ้ บงั คับ 3 ฉบับ
ม.112
สภาพแรงงานมีอำนาจหน้าท่ี ดงั นี้ (1) เรียกร้องเจรจาทำความตกลง และรับทราบคำชข้ี าด ม.113
หรือทำข้อตกลงกับนายจ้าง หรือสมาคมนายจา้ งในกจิ การของสมาชกิ ได้ (2) จัดการและดำเนินการ
เพื่อใหส้ มาชิกไดร้ บั ประโยชน์ ท้ังนี้ ภายใตบ้ ังคับตามวตั ถุประสงค์ของสหภาพแรงงาน (3) จดั ใหม้ ี
บริการสนเทศ (4) จดั ให้มีบริการใหค้ ำปรึกษา (5) จดั ให้มีบริการเกย่ี วกับการจดั สรรเงินหรอื ทรัพยส์ ิน
เพอื่ สวัสดกิ ารของสมาชิก หรือสาธารณประโยชน์ตามทีป่ ระชุมใหญเ่ ห็นสมควร
(6) เรยี กเกบ็ เงินคา่ สมัครสมาชิกและเงนิ ค่าบำรงุ

สมาคมนายจ้างตั้งแต่ 2 สมาคมขนึ้ ไป ท่มี ีสมาชกิ ประกอบกจิ การประเภทเดยี วกนั อาจรว่ มกันจดั ต้งั
สหพันธน์ ายจา้ ง

สหภาพแรงงานตั้งแต่ 2 สหภาพขน้ึ ไป อาจรว่ มกนั จดั ตง้ั เปน็ สหพนั ธแ์ รงงาน

เร่ือง รายละเอียด มาตรา
การกระทำอนั
ไมเ่ ปน็ ธรรม หา้ มมิให้นายจา้ ง (1) เลิกจา้ งหรอื กระทำการใด ๆ อันอาจเปน็ ผลใหล้ กู จ้างกรรมการสภาพแรงงานไม่ ม.121

อตั ราโทษ สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปไดเ้ พราะเหตทุ ไ่ี ดช้ มุ นมุ ย่ืนข้อเรียกร้อง เจรจา หรอื ดำเนนิ การฟ้องรอ้ ง

หรือใหห้ ลกั ฐานต่อพนกั งานเจ้าหน้าที่ (2) เลิกจา้ งหรือกระทำการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจา้ งไม่

สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เพราะเหตเุ ป็นสมาชกิ ของสหภาพแรงงาน (3) ขดั ขวางในการที่ลกู จ้างเป็น

สมาชกิ สหภาพแรงงาน (4) ขัดขวางการดำเนินการของสหภาพแรงงาน สหพนั ธ์แรงงาน การใชส้ ทิ ธิของ

ลกู จา้ งในการเปน็ สมาชิกสหภาพแรงงาน (5) เขา้ แทรกแซงในการดำเนนิ การของสหภาพแรงงานสหพนั ธ์

แรงงาน โดยไม่มีอำนาจโดยชอบดว้ ยกฎหมาย

ห้ามมิใหผ้ ูใ้ ด (1) บงั คับหรือขู่เขญ็ โดยทางตรงหรือทางอ้อมให้ลกู จา้ งตอ้ งเปน็ สมาชกิ ม.122
สหภาพแรงงาน หรอื ต้องออกจากการเป็นสมาชกิ สหภาพแรงงาน (2) การกระทำใด ๆ อนั เป็นผลให้
นายจ้างฝา่ ฝนื มาตรา 121

หา้ มมใิ ห้นายจา้ งเลิกจา้ งลูกจา้ ง ผแู้ ทนลูกจา้ งซง่ึ เก่ียวกับขอ้ เรยี กร้อง เว้นแต่ (1) ทุจรติ ตอ่ หนา้ ท่ีหรือ ม.123
กระทำความผดิ อาญา (2) จงใจทำใหน้ ายจา้ งไดร้ บั ความเสียหาย (3) ฝ่าฝืนขอ้ บงั คบั ระเบยี บ หรอื คำสง่ั
อันชอบดว้ ยกฎหมายของนายจ้าง โดยนายจ้างไดว้ ่ากล่าวหรอื ตกั เตอื นเป็นหนังสอื แล้ว เว้นแตเ่ ปน็ กรณี
ร้ายแรง (4) ละทง้ิ หนา้ ทีเ่ ป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันโดยไม่มเี หตอุ ันสมควร (5) กระทำการใดๆ อัน
เป็นการยุยง สนบั สนุนให้มีการฝา่ ฝนื ขอ้ ตกลงฯ หรอื คำช้ขี าด

ผู้เสยี หายเนือ่ งจากการฝา่ ฝืน มาตรา 121 ถึงมาตรา 123 อาจยื่นคำรอ้ งตอ่ คณะกรรมการแรงงาน ม.124
สัมพันธ์ ภายใน 60 วนั นบั แต่ทมี่ ีการฝ่าฝืน

นายจ้างฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ อตั ราโทษตำ่ สุด คือ ปรับวนั ละไมเ่ กิน 50บาท
ตลอดระยะเวลาทย่ี ังไมม่ ีการปฏบิ ตั ิ อตั ราโทษสูงสดุ คือ ต้องระหว่างโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ 2 ปี
หรอื ปรับ 40,000 บาท หรือทงั้ จำท้งั ปรับ

พระราชกฤษฎีกา มาตรา
กำหนดกิจการท่ีพระราชบัญญตั ิแรงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518 ไมใ่ ช้บังคับ พ.ศ.2523
3
เรื่อง รายละเอียด
ไมใ่ ช้บังคบั กบั ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นกจิ การท่ีพระราชบัญญัตแิ รงงานสมั พนั ธ์

พ.ศ. 2518 ไม่ใชบ้ งั คบั

พระราชกฤษฎีกา
กำหนดกจิ การท่ีพระราชบัญญตั ิแรงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2518 ไมใ่ ช้บังคับ

(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2539

เร่ือง รายละเอยี ด มาตรา

ไมใ่ ช้บงั คับกับ ให้กิจการของสถาบันวจิ ัยจุฬาภรณใ์ นมูลนธิ จิ ฬุ าภรณ์ เป็นกิจการทพี่ ระราชบญั ญัติ 3
แรงงานสมั พันธ์ พ.ศ. 2518 ไมใ่ ช้บังคบั

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

สรปุ กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ. 2518) ออกตามความ 1
ในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2518

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

วธิ เี ลอื กตั้ง การเลือกต้ังผู้แทนลูกจ้างในกรณีท่ีลูกจ้างจัดการเอง ให้ทำโดยการประชุมลูกจ้าง ขอ้ 1
ผแู้ ทนลูกจา้ ง ที่เก่ียวข้องกับข้อเรียกร้องแล้วตกลงกัน หากตกลงกันไม่ได้ ให้ดำเนินการ โดยการ
เลือกต้ังและให้ผู้ไดค้ ะแนนสงู สดุ 7 ลำดับเป็นผู้แทน ข้อ 2
การเลือกต้งั
ผแู้ ทนลูกจ้าง ในกรณีที่ลูกจ้างทำการแจ้งข้อเรียกร้องโดยมีรายชื่อและลงลายมือชื่อไม่น้อยกว่า ข้อ 3
โดยอนุโลม ร้อยละ 15 ของลูกจ้างท้ังหมดท่ีเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง โดยระบุชื่อผู้แทนลูกจ้าง
ไมเ่ กนิ 7 คน ให้ถือวา่ ลูกจา้ งไดเ้ ลอื กผู้แทนแล้ว ขอ้ 4
การเลือกต้งั
ผู้แทนลูกจา้ ง ในกรณีท่ีลูกจ้างแจ้งข้อเรียกร้องโดยยังไม่ได้เลือกต้ังผู้แทนลูกจ้างจ้าง ถ้าลูกจ้าง
โดยลกู จ้าง จะดำเนินการเลือกผู้แทนเอง ให้ทำการเลือกต้ังตามวิธีการในข้อ 1 และแจ้งช่ือผู้แทน
ใหน้ ายจา้ งทราบ
การเลือกต้งั
ผแู้ ทนลูกจ้าง ในกรณีท่ีลูกจ้างประสงค์จะให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานจัดการเลือกตั้ง
โดยพนักงานฯ ตัวแทนลูกจ้างให้แทน ให้ลูกจ้างซ่ึงเก่ียวข้องกับข้อเรียกร้องไม่น้อยกว่า 10 คน
ย่นื คำขอโดยลงช่ือตามแบบ ร.ส. 1

หน้าท่ี ให้ พนั กงานประนอมข้อพิ พาทกำหนดวั น เวลาและสถานท่ี ในการเลือกตั้ ง ขอ้ 5
พนกั งาน โดยแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ร้องทราบ และปิดประกาศตามแบบ ร.ส. 2 ในสถานที่ ขอ้ 6
ประนอม ท่ลี ูกจ้างทำงานอยูไ่ มน่ ้อยกว่า 24 ช่วั โมง
ขอ้ พิพาท
แรงงาน ให้ พ นั ก ง า น ป ร ะ น อ ม ข้ อ พิ พ า ท แ ร ง ง า น จั ด ก า ร เลื อ ก ตั้ ง ต า ม ก ำ ห น ด ดั ง ก ล่ า ว
โดยให้ ลูกจ้างลงค ะแน นเลือ กผู้แ ท นไม่เกิน จำนว น ท่ี พ นั กงานป ระน อมข้ อพิ พ าท
แรงงานกำหนด ในกรณีที่ลูกจ้างท่ีเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องบางส่วนเป็นสมาชิก
ส ห ภ าพ แรงงาน แล ะลู กจ้ างซ่ึงเส น อชื่ อกรรม การส ห ภ าพ เป็ นผู้ แทนร วม อยู่ ด้ว ย
ให้ใช้วิธีการลงคะแนนลับ หลังจากเลือกต้ังเสร็จแล้วให้พนักงานประนอม
ข้อพพิ าทแตง่ ตง้ั ผแู้ ทนลูกจ้างตามจำนวนคะแนนเสยี ง

กรณี ที่สหภ าพ แรงงานเป็นผู้ยื่นข้อเรียกร้อง ห ากลูกจ้างซ่ึงเก่ียวข้องกับ ข้อ 7
ข้อเรียกร้องนั้นบางส่วนเป็นสมาชิกสหภ าพแรงงานอื่นด้วย ให้พนักงาน
ป ร ะ น อ ม ข้ อ พ า ท แ ร ง ง า น จั ด ให้ มี ก า ร ล ง ค ะ แ น น เสี ย ง เลื อ ก ต้ั ง ผู้ แ ท น ลู ก จ้ า ง
โดยวธิ ีการตามข้อ 5 และขอ้ 6

ระยะเวลา กรณีตามข้อ 6 และข้อ 7 ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานทำหนังสือแสดง ข้อ 8
เปน็ ผ้แู ทน รายชื่อผู้แทนลูกจ้างตามแบบ ร.ส. 3 มอบให้ผู้แทนลูกจ้างและนายจ้าง และให้ ข้อ 9
ลูกจ้าง พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานเก็บรักษาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องไว้เป็นหลักฐาน
ไม่น้อยกว่า 1 ปี

ระยะเวลาในการเป็นผู้แทน ให้นับตั้งแต่วันเลือกตั้งจนถึงวันที่ได้มีการเลือกตั้ง
ผู้แทนใหม่ หรอื วนั ทข่ี ้อตกลงเก่ียวกบั สภาพการจ้างส้นิ สุด แลว้ แตก่ รณี

2

สรปุ กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2519) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518

เรือ่ ง รายละเอียด ข้อ

กิจการตาม (1) กจิ การทุกประเภทของรฐั วสิ าหกิจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวิธีการงบประมาณ
มาตรา 23 (8) (2) กิจการของวิทยาลัยเอกชนและของโรงเรยี นราษฎร์ตามกฎหมายว่าด้วย วิทยาลัย

เอกชนและกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนราษฎร์
(3) กิจการสหกรณ์ตามกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์
(4) กิจการขนส่งท้ังทางบก ทางน้ำ และทางอากาศรวมตลอดถึงกิจการบริการเสริม

การขนส่ งหรื อเกี่ ยวเน่ื องกั บการขนส่ ง ณ สถานี ขนส่ ง ท่ าเที ยบเรื อ
ท่าอากาศยานและกจิ การทอ่ งเทย่ี ว
(5) กิจการจำหน่ายนำ้ มันเช้อื เพลิงตามกฎหมายวา่ ด้วยน้ำมนั เช้ือเพลิง

กองนิติการ
1 ตลุ าคม 2564

3

สรุปกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2527) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518

เรอื่ ง รายละเอียด ขอ้

แก้ไขข้อ 5 แก้ไขเพ่ิมเติมข้อ 5 โดยกำหนดให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานปิดประกาศ
กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 1 ตามแบบ ร.ส. 2 ในสถานท่ีท่ีลูกจ้างทำงานอยู่ไม่น้อยกว่า 24 ช่ัวโมงสำหรับการ

(พ.ศ. 2518) ฯ เลอื กตั้งณ สถานทแ่ี ละเวลาเดียวกนั หรอื ไม่น้อยกว่า 15 วนั สำหรับการเลือกต้ังตา่ ง
สถานท่ีหรือต่างเวลากัน

แก้ไขข้อ 6 - แก้ไขเพ่ิมเติมข้อ 6 โดยกำหนดให้ พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานจัดการ
กฎกระทรวงฉบบั ที่ 1 เลือกต้ังตามกำหนดดังกล่าวโดยให้ลูกจ้างลงคะแนนเลือกผู้แทนไม่เกินจำนวนท่ี

(พ.ศ. 2518) ฯ พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานกำหนด ในกรณที ี่มกี ารจัดการเลอื กต้ังต่างสถานที่
หรือต่างเวลากัน เพราะเหตุกิจการของลูกจ้างอยู่หลาย ท้องท่ี หรืองานต้องทำ
ต่อเนื่องกันไปหรือเพราะเหตุอ่ืน ให้ลูกจ้างเสนอรายชื่อผู้แทนลูกจ้าง โดยมีลูกจ้างท่ี
เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องไม่น้อยกว่า 10 คน รับรองต่อพนักงานประนอมข้อพิพาท
แรงงานไม่น้อยกว่า 10 วัน โดยหลังจากได้รับรายชื่อแล้ว ให้พนักงานประนอมข้อ
พิพาทแรงงานจัดทำบญั ชีรายชื่อและหมายเลขประจำตัวผู้ที่ไดร้ ับเสนอชือ่ และบัญชี
ผู้มีสิทธิลงคะแนนปิดประกาศไว้ก่อนวันเลือกต้ังไม่น้อยกว่า 3 วัน พร้อมทั้งแต่งตั้ง
คณะกรรมการดำเนินการเลือกตั้งจากผู้มีสิทธิลงคะแนนอย่างน้อย 3 คน สำหรับ
สถานที่ทำการเลือกตัง้ แต่ละแห่ง ท้งั น้ี ไม่ตัดสิทธกิ รรมการดงั กล่าว ท่ีจะลงคะแนน
- ในกรณีที่พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้กำหนดให้มีการเลือกต้ังต่างสถานท่ี
หรอื ต่างเวลากัน ใหใ้ ชว้ ิธกี ารลงคะแนนลับ

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

พระราชบัญญัตแิ รงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 3

1

1

เร่ือง รายละเอียด มาตรา

ขอบเขตการ ใชบ้ งั คบั กับการจ้างแรงงานในรัฐวิสาหกจิ ม.25
บงั คับใช้
ข้อตกลงเก่ียวกบั สภาพการจา้ งมีระยะเวลาใชบ้ ังคับตามที่นายจา้ งและสหภาพแรงงานตกลงกัน
อายขุ ้อตกลง แตเ่ กนิ กวา่ 3 ปี ไมไ่ ด้ ถา้ มไิ ด้กำหนดระยะเวลาไวใ้ ห้ถือวา่ มีผลใชบ้ ังคบั 1 ปี กรณีทร่ี ะยะเวลาทก่ี ำหนด
เกยี่ วกับสภาพการ ส้นิ สุดลงถ้ามิไดม้ ีการเจรจาตกลงกนั ใหม่ ให้ถือวา่ มผี ลใชบ้ ังคับตอ่ ไปอกี คราวละ 1 ปี
จา้ ง/การเรยี กรอ้ ง การเรยี กร้องให้มกี ารกำหนดหรอื การแกไ้ ขเพ่ิมเติมข้อตกลงฯ ต้องยนื่ ข้อเรยี กร้องเปน็ หนังสือ
ให้แก้ไขเพม่ิ เติม ใหอ้ กี ฝา่ ยทราบและสง่ สำเนาข้อเรยี กรอ้ งใหน้ ายทะเบียนทราบ ใหฝ้ า่ ยยน่ื ขอ้ เรียกรอ้ งระบชุ ่ือผู้แทน
ในการเจรจาจำนวนไม่เกนิ 7 คน ผแู้ ทนในการเจรจาฝา่ ยนายจา้ งตอ้ งแตง่ ตงั้ จากฝ่ายบรหิ ารของ
ข้อตกลงฯ รัฐวสิ าหกิจนั้น และผู้แทนในการเจรจาฝา่ ยสหภาพแรงงานตอ้ งแต่งต้ังจากกรรมการหรือสมาชิกของ
สหภาพแรงงานน้ัน

ผแู้ ทนเจรจา/ ฝา่ ยที่รับข้อเรยี กรอ้ งแจง้ ชอ่ื ผแู้ ทนในการเจรจาไมเ่ กิน 7 คน เปน็ หนังสอื ให้ฝ่ายที่ยื่นขอ้ เรียกรอ้ งทราบ ม.26
ทปี่ รกึ ษา และให้เจรจากันภายใน 5 วัน นบั แต่วันทไ่ี ด้รบั ข้อเรียกรอ้ ง นายจ้างหรอื สหภาพแรงงานจะแตง่ ตง้ั ท่ี ม.27
ปรึกษากไ็ ด้แต่ต้องมีจำนวนฝ่ายละไมเ่ กนิ 2 คน
การจดทะเบียน ถา้ สามารถตกลงเกยี่ วกบั ขอ้ เรียกรอ้ งได้แลว้ ให้ทำเป็นหนงั สอื ลงลายมือชอ่ื ผ้แู ทนในการเจราจา
ขอ้ ตกลงฯ
และให้นายจา้ งประกาศโดยเปดิ เผย ณ สถานท่ีทลี่ กู จา้ งทำงานอยา่ งนอ้ ย 30 วัน โดยเร่ิมประกาศ

ภายใน 3 วนั นบั แตท่ ่ีได้ตกลงกนั ใหน้ ายจา้ งนำไปจดทะเบียนต่อนายทะเบียนภายใน 15 วนั นบั แต่

ที่ไดต้ กลงกัน

ข้อตกลงฯเกย่ี วกับ ข้อตกลงเกย่ี วกับสภาพการจา้ งท่ีเกี่ยวกับการเงินทีอ่ ยู่นอกเหนือจากทีก่ ำหนดนายจ้างตอ้ งได้รบั ม.28
สภาพการจ้างทเี่ ปน็ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และคณะรัฐมนตรกี ่อนจงึ จะดำเนนิ การได้ ม.29

เงิน
หา้ มทำสญั ญาขัด ขอ้ ตกลงเก่ยี วกบั สภาพการจา้ งมีผลผูกพันนายจา้ งและลูกจ้างซ่งึ เปน็ สมาชิกสหภาพแรงงาน

กับขอ้ ตกลงฯ ห้ามนายจ้างทำสัญญาจา้ งแรงงานขดั หรอื แย้งกบั ขอ้ ตกลงฯ เว้นแต่จะเป็นคณุ ต่อลกู จา้ งยิง่ กว่า

ข้อพิพาทแรงงาน กรณไี มม่ ีการเจรจากันภายในกำหนดหรอื มกี ารเจรจากันแต่ตกลงกันไมไ่ ด้ ให้ถือว่ามีข้อพิพาทแรงงาน ม.30
เกิดขน้ึ และใหฝ้ า่ ยยืน่ ข้อเรยี กร้องแจ้งเปน็ หนงั สอื ใหพ้ นกั งานประนอมข้อพิพาททราบ
ภายใน 72 ชั่วโมง

ข้อพิพาทแรงงานท่ี พนักงานประนอมข้อพพิ าทได้รบั แจง้ แล้ว ใหด้ ำเนนิ การประนอมขอ้ พพิ าทภายใน 10 วนั นับแต่ ม.31
ตกลงกนั ไม่ได้ วันไดร้ ับหนังสอื แจ้ง ถา้ ตกลงกนั ไดภ้ ายในระยะเวลาให้นำ มาตรา 27 มาบงั คับใช้โดยอนุโลม กรณที ี่
ไม่อาจตกลงกันได้ ให้ถือว่าเป็นข้อพพิ าทแรงงานท่ตี กลงกันไม่ได้ และใหฝ้ า่ ยที่แจ้งขอ้ เรยี กรอ้ งนำ
ขอ้ พพิ าทส่งให้คณะกรรมการภายใน 15 วนั คณะกรรมการวนิ จิ ฉัยชี้ขาดภายใน 90 วัน

คำวนิ จิ ฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการให้เป็นทีส่ ดุ แต่ถา้ เปน็ คำวนิ ิจฉยั ช้ขี าดเกีย่ วกบั การเงนิ ม.32
ซงึ่ อยนู่ อกเหนือจากที่กำหนดตามมาตรา 13 (2) มีผลใชบ้ ังคบั เม่ือได้รับความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรี
คำช้ขี าด ครรส.
และใหม้ ีผลใชบ้ ังคับ 1 ปี

เรื่อง รายละเอียด มาตรา

การปดิ งาน/หยดุ หา้ มนายจ้างปิดงานหรือลกู จา้ งนดั หยุดงาน ม.33
งาน
นายจ้างจะเลกิ จา้ ง ลดคา่ จา้ ง หรอื ตดั คา่ จา้ ง กรรมการกจิ สมั พันธไ์ ด้ต่อเมือ่ ได้รบั อนญุ าตจากศาล ม. 24
การคมุ้ ครองลูกจ้าง แรงงาน เวน้ แต่กรรมการกิจการสมั พนั ธ์ผู้นนั้ ใหค้ วามยินยอมเปน็ หนงั สือ หรือเลิกจา้ งเพราะเหตุ
ท่เี ป็นกรรมการ เกษียณอายุ วรรคสอง
กจิ การสัมพนั ธ์
เม่ือมกี ารย่ืนข้อเรยี กร้องแลว้ ยังอยใู่ นระหวา่ งการเจรจา การประนอม การไกล่เกลี่ย หรือการชี้ขาดข้อ ม.34
การกระทำอนั ไม่ พิพาทห้ามนายจ้างเลกิ จ้างหรอื โยกย้ายหนา้ ทก่ี ารงานลกู จ้าง ผ้แู ทนลกู จา้ ง กรรมการหรือ
เปน็ ธรรม อนุกรรมการซงึ่ เก่ียวกับขอ้ เรยี กรอ้ ง เวน้ แต่ (1) ทจุ ริตตอ่ หนา้ ท่หี รอื กระทำความผิดอาญาโดยเจตนา
แก่นายจ้าง (2) จงใจทำใหน้ ายจ้างไดร้ บั ความเสยี หาย (3) ฝ่าฝืนข้อบังคับเกย่ี วกับการทำงานหรือ
ระเบียบหรือคำสั่งอันชอบดว้ ยกฎหมายโดยนายจา้ งไดว้ า่ กล่าวตกั เตอื นเปน็ หนังสือแลว้ และไมเ่ กิน
1 ปี เว้นแต่ กรณีรา้ ยแรงนายจา้ งไม่ต้องเตือน (4) ละทง้ิ หนา้ ท่ีเป็นเวลา 3 วันทำงานตดิ ตอ่ กันโดยไมม่ ี
เหตุอันสมควร หา้ มลูกจา้ ง ผแู้ ทนลกู จา้ ง กรรมการ อนุกรรมการ หรอื สมาชิกสภาพแรงงาน ซึ่ง
เกย่ี วกบั ขอ้ เรียกร้อง สนบั สนุน หรอื นดั หยุดงาน

ห้ามนายจ้าง (1) เลิกจ้างหรอื กระทำอนั ใด ๆ อนั อาจมีผลใหล้ ูกจ้างไม่อาจทนทำงานต่อไปได้ ม.35

เพราะเหตุที่ลูกจา้ งไดด้ ำเนนิ การขอจดั ตั้งสหภาพแรงงาน สหพันธ์แรงงาน หรอื เข้าเปน็ สมาชกิ หรอื

กรรมการสหภาพแรงงาน สหพันธแ์ รงงาน กิจการสัมพันธ์ แรงงานรฐั วสิ าหกิจสมั พนั ธ์ หรอื

อนุกรรมการ หรอื ดำเนนิ การฟอ้ งร้อง เปน็ พยาน หรือให้หลกั ฐานตอ่ พนักงานเจ้าหน้าที่

นายทะเบียน หรอื คณะกรรมการ หรือตอ่ ศาลแรงงาน (2) ขดั ขวางในการที่ลกู จา้ งเป็นสมาชกิ หรือ

ใหล้ ูกจา้ งออกจากการเปน็ สมาชกิ ของสหภาพแรงงาน สหพันธ์แรงงาน กรรมการกจิ การสมั พนั ธ์ หรือ

ให้หรือตกลงจะใหเ้ งินหรอื ทรัพย์สนิ เพอ่ื มใิ หส้ มัครหรอื รบั สมคั รลูกจ้างเปน็ สมาชิกหรอื ให้ออกจากการเป็น

สมาชกิ (3) ขดั ขวางการดำเนินการของสหภาพแรงงาน หรอื สหพันธ์แรงงาน หรือขัดขวางการใชส้ ทิ ธิ

ของลกู จา้ งในการเปน็ สมาชิก (4) เขา้ แทรกแซงการดำเนนิ การโดยมชิ อบดว้ ยกฎหมาย

ในระหว่างทข่ี อ้ ตกลงเก่ยี วกับสภาพการจ้างหรอื คำช้ีขาดมผี ลใช้บังคบั หา้ มนายจ้างเลกิ จา้ ง ม.37
หรือโยกยา้ ยหน้าท่กี ารงานของกรรมการ อนกุ รรมการ สมาชกิ สหภาพแรงงานซง่ึ เก่ียวกบั
ข้อเรยี กร้อง เวน้ แต่มกี ารยบุ เลิก ซงึ่ ได้กระทำการ ดังน้ี (1) ทุจรติ ต่อหน้าที่หรอื กระทำความผดิ อาญา
โดยเจตนาแกน่ ายจา้ ง (2) จงใจทำให้นายจา้ งได้รบั ความเสียหาย (3) ฝา่ ฝนื ขอ้ บังคบั เกย่ี วกบั การ
ทำงานหรือระเบยี บหรือคำส่งั อันชอบด้วยกฎหมายโดยนายจ้างได้ว่ากล่าวตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว
และยังไม่เกิน 1 ปี เวน้ แต่ กรณีร้ายแรงนายจา้ งไมต่ อ้ งเตอื น (4) ละทงิ้ หน้าท่ีเป็นเวลา 3 วัน ทำงาน
ตดิ ต่อกัน โดยไม่มีเหตุอนั สมควร (5) กระทำการใด ๆ เปน็ การยยุ ง สนับสนนุ หรือชักชวนใหม้ ีการฝา่ ฝนื
ขอ้ ตกลงเกี่ยวกับสภาพการจา้ งหรอื คำช้ีขาด

เร่ือง รายละเอียด มาตรา

สหภาพแรงงาน สหภาพแรงงานจดั ตง้ั ข้นึ ได้ต้องมสี มาชิกไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 25 ของลกู จา้ งทั้งหมดแตไ่ มร่ วมถึงลกู จ้าง ม.42
ซง่ึ ทำงานอันมีลักษณะเป็นครั้งคราว การจร ตามฤดกู าล หรอื ตามโครงการโดยต้องมีขอ้ บงั คับ
สหพันธแ์ รงงาน และเมอื่ ได้จดทะเบยี นแล้วใหส้ ภาพแรงงานเป็นนติ ิบคุ คล
แรงงาน
อตั ราโทษ การขอจดทะเบยี นสหภาพแรงงานใหล้ ูกจ้างมีสทิ ธิจดั ตง้ั สหภาพแรงงานจำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ ม.43
10 คน เปน็ ผเู้ รมิ่ กอ่ การ ยื่นคำขอเปน็ หนงั สือต่อนายทะเบยี นพรอ้ มด้วยรา่ งขอ้ บงั คบั สหภาพ
แรงงานอยา่ งนอ้ ย 3 ฉบับ บัญชีรายชอื่ และลายมอื ช่ือของผู้แสดงความจำนงเขา้ เปน็ สมาชกิ
สหภาพแรงงานไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 10 ของลูกจ้างทัง้ หมด แตไ่ มร่ วมถึงลกู จ้างซ่ึงทำงานอนั มี
ลกั ษณะเป็นครัง้ คราว เปน็ การจร เปน็ ไปตามฤดูกาลหรือเป็นงานตามโครงการ ลูกจา้ งคนหนง่ึ
จะเปน็ สมาชิกสหภาพแรงงานไดเ้ พียงแหง่ เดียว

สหภาพแรงงาน ต้งั แต่ 10 สหภาพแรงงานขึ้นไป อาจรวมกันจัดตั้งสหพนั ธแ์ รงงานได้ ม.70
เพ่อื ปกปอ้ งคุ้มครองผลประโยชน์เกีย่ วกบั สภาพการจ้าง และเพื่อส่งเสรมิ การศกึ ษาและส่งเสรมิ
ความสัมพนั ธอ์ นั ดีในรฐั วสิ าหกิจ สหพันธ์แรงงานตอ้ งมขี ้อบงั คับและต้องจดทะเบยี นตอ่ นาย
ทะเบยี น เมอื่ ไดจ้ ดทะเบยี นแล้วให้สหพันธแ์ รงงานเปน็ นติ ิบคุ คล

นายจา้ งฝ่าฝนื หรือไม่ปฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญัตินี้ อัตราโทษตำ่ สดุ คือ ปรบั วนั ละ 50 บาท
อัตราโทษสูงสุด คือ ต้องระหว่างโทษจำคุกไมเ่ กิน 5 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 60,000 บาท หรือท้งั จำ
ทงั้ ปรบั

ประกาศคณะกรรมการแรงงานรฐั วิสาหกิจสัมพนั ธ์
เรื่อง มาตรฐานข้ันต่ำของสภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจ

เรอื่ ง รายละเอยี ด ข้อ

ขอบเขตการ ใชบ้ งั คบั กับการจา้ งแรงงานในรัฐวิสาหกิจ
บังคบั ใช้
“วันทำงาน” = วนั ทก่ี ำหนดใหล้ ูกจา้ งทำงานตามปกติ ขอ้ 4
คำนิยาม

“วันหยุด” = วนั ท่ีกำหนดใหล้ กู จ้างหยุดประจำสปั ดาห์ หยดุ ตามประเพณี หรอื หยดุ พกั ผอ่ นประจำปี

“วันลา” = วนั ท่ีลูกจ้างลาป่วย ลาเพอ่ื ทำหมัน ลาเพือ่ คลอดบุตร ลาเพ่ือกิจธรุ ะอนั จำเป็น ลาเพื่อการ

ฝกึ อบรมฯ และลาเพอ่ื รับราชการทหาร

“ค่าจ้าง” = เงนิ ทกุ ประเภททน่ี ายจ้างจา่ ยใหแ้ ก่ลูกจา้ งเป็นคา่ ตอบแทนการทำงานในวนั และเวลา

ทำงานปกติ ไม่วา่ จะคำนวณตามระยะเวลาหรือคำนวณตามผลงานทล่ี กู จา้ งทำได้ และรวมถงึ เงนิ ท่ี

นายจา้ งจ่ายใหแ้ กล่ ูกจ้างในวันหยุดและวนั ลาซง่ึ ลกู จา้ งไมไ่ ด้ทำงานดว้ ย ท้งั น้ไี มว่ ่าจะกำหนด

คำนวณ หรือจา่ ยในลกั ษณะใดและโดยวธิ ีการใดและไมว่ า่ จะเรียกชอื่ อย่างไร

“ประสบอันตราย” = การท่ลี ูกจา้ งไดร้ บั อันตรายแก่กายหรือผลกระทบแกจ่ ติ ใจหรอื ถงึ แกค่ วามตาย

เนอ่ื งจากการทำงานหรือป้องกันรกั ษาประโยชน์ให้แกน่ ายจ้างหรอื การปฏบิ ตั ติ ามคำส่ังของนายจ้าง

“เจ็บป่วย” = การทลี่ กู จ้างมีความผิดปกติทเี่ กดิ ขึน้ ทางรา่ งกายหรือจติ ใจหรือถึงแกค่ วามตายดว้ ยโรค

ซึ่งเกดิ ขน้ึ ตามลักษณะหรอื สภาพของงานหรอื เน่อื งจากการทำงานตามกฎหมาย

“สวสั ดิการ” = การใหส้ ิ่งทเี่ ออื้ อำนวยใหล้ ูกจา้ งมีชวี ติ หรอื มีสภาพความเปน็ อยทู่ ดี่ ีหรอื มคี วาม

สะดวกสบายในการทำงาน

“ค่าชดเชย” = เงินท่ีนายจา้ งจ่ายใหแ้ กล่ ูกจ้างเมื่อเลกิ จ้างนอกเหนือจากเงินประเภทอน่ื ซึ่งนายจา้ ง

ตกลงจา่ ยใหแ้ กล่ ูกจ้าง

เงนิ ประกัน - หา้ มมใิ หน้ ายจา้ งเรยี กหรือรบั เงนิ ประกนั การทำงานหรอื เงนิ ประกนั ความเสยี หาย เวน้ แตล่ ักษณะ ขอ้ 6
หรือสภาพของงานตอ้ งรับผิดชอบเกีย่ วกบั การเงินหรอื ทรพั ย์สินของนายจ้าง ท้ังน้ี ลกั ษณะหรือ ข้อ 7
การคำนวณเวลา สภาพของงานท่ีให้เรยี กหรอื รบั เงนิ ประกนั เป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ีคณะกรรมการ
ทำงาน ประกาศกำหนด
- หากเรยี กหรอื รบั เงนิ ประกัน เม่ือนายจา้ งเลกิ จา้ งหรือลูกจา้ งลาออกใหน้ ายจา้ งคืนเงนิ ประกันพร้อม
เวลาทำงานปกติ ดอกเบ้ีย ภายใน 7 วนั
เวลาพกั
กรณีนายจ้างไมค่ นื เงินประกนั หรอื ไม่จ่ายคา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวันหยดุ และคา่ ล่วงเวลา

ในวันหยุด คา่ ชดเชย ภายในเวลาทก่ี ำหนด ให้นายจ้างเสยี ดอกเบยี้ ในระหว่างผดิ นัด

- การคำนวณระยะเวลาการทำงานให้นบั วนั หยดุ วนั ลา วนั ทน่ี ายจ้างอนุญาตใหห้ ยดุ งาน และวันท่ี ข้อ 11
นายจ้างส่ังใหล้ ูกจา้ งหยดุ งาน รวมเปน็ ระยะเวลาการทำงานของลูกจา้ งด้วย
- กรณที ่ีลูกจ้างไปปฏบิ ตั งิ านท่มี โี รคตดิ ต่ออนั ตรายตามทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกำหนดใหน้ ายจ้าง

อนญุ าตใหล้ ูกจา้ งหยดุ งานเพื่อเฝ้าสงั เกตอาการตามเวลาท่ีกระทรวงสาธารณสุขกำหนด ใหถ้ ือว่าการ

หยดุ งานเปน็ วันทำงานด้วย

ให้นายจ้างกำหนดเวลาทำงานปกติของลูกจา้ งไมเ่ กนิ 48 ช่วั โมง/สัปดาห์ ขอ้ 13

- ไมน่ อ้ ยกวา่ วันละ 1 ชั่วโมง หลงั จากท่ีลกู จา้ งทำงานมาแลว้ ไมเ่ กิน 5 ชัว่ โมง ข้อ 14
- มใิ หใ้ ชบ้ งั คบั กบั ลกู จา้ งทที่ ำงานในลักษณะต้องทำตดิ ตอ่ กัน

เรอ่ื ง รายละเอียด ข้อ

วันหยดุ - ไม่น้อยกว่าสปั ดาห์ละ 1 วัน มรี ะยะหา่ งไม่เกิน 6 วัน ขอ้ 15
ประจำสปั ดาห์ - งานทจ่ี ำเปน็ ต้องทำตดิ ต่อกันโดยไม่สามารถมวี ันหยุดประจำสัปดาห์ ให้ตกลงกันสะสมและเลือ่ นไป
วันหยุดตาม เม่ือใดกไ็ ด้ อยู่ในระยะเวลาไมเ่ กนิ 4 สปั ดาห์ติดต่อกัน ข้อ 16

ประเพณี - ไม่น้อยกวา่ 13 วัน/ปี
- กรณวี นั หยุดตามประเพณตี รงกับวันหยดุ ประจำสัปดาห์ ใหห้ ยดุ ชดเชยวันหยดุ ตามประเพณีในวัน
วนั หยดุ พักผ่อน ทำงานถดั ไป
ประจำปี - กรณวี ันหยดุ ชดเชยตามวรรคสองตดิ ต่อกันเกนิ 1 วัน ใหจ้ ัดวันหยดุ ชดเชยไดเ้ พียงหนง่ึ วัน และให้จัด
วันลาปว่ ย วนั หยุดชดเชยวันทย่ี งั ไมค่ รบในวันอื่นแทน

การทำงาน - ลูกจ้างทำงานติดตอ่ กันครบ 1 ปี มสี ทิ ธิหยดุ พักผ่อนประจำปี ปีหนึง่ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 วันทำงาน ข้อ 17
ล่วงเวลา
การยกของหนัก - นายจา้ งเปน็ ผกู้ ำหนดลว่ งหน้าหรือตามที่ตกลงกัน

งาน/เวลาท่ีห้าม - จะตกลงกันล่วงหนา้ สะสมและเลอื่ นวนั หยุดพักผ่อนประจำปีทย่ี ังไม่ไดห้ ยดุ รวมเขา้ กบั ปตี ่อๆไปได้
ลกู จา้ งหญิงทำ
- มีสิทธลิ าป่วยไดเ้ ท่าท่ีปว่ ยจริง ลาต้งั แต่ 3 วันทำงานขึน้ ไปอาจให้แสดงใบรบั รองแพทย์ ข้อ 18
งาน/เวลาที่ห้าม - วนั ทลี่ ูกจา้ งไม่สามารถทำงานได้เนื่องจากประสบอันตรายหรือเจบ็ ปว่ ยเนอ่ื งจากการทำงาน
หญิงมีครรภ์ทำ
และวนั ลาเพื่อคลอดบตุ ร ไม่ถอื เปน็ วันลาป่วย
สิทธขิ องหญิง
มีครรภ์ นายจ้างกำหนดใหล้ กู จา้ งทำงานลว่ งเวลาหรอื วนั หยดุ ไดเ้ ทา่ ทีจ่ ำเปน็ ต้องไดร้ บั ความยินยอมเปน็ ข้อ 19
หนังสือจากลกู จ้างกอ่ นเป็นคราวๆไป

ลกู จา้ งทำงานยก แบก หาม หาบ ทูน ลากหรือเขน็ ของหนัก ไมเ่ กนิ อัตรานำ้ หนักเฉลยี่ ต่อลกู จ้าง 1 คน ขอ้ 20
(25 กก./ลกู จ้างหญงิ , 55 กก./ลกู จ้างชาย)

ห้ามให้ลูกจา้ งหญิงทำงานอย่างหน่ึงอยา่ งใด ดังน้ี ข้อ 21

1) งานทำความสะอาดเครอื่ งจกั รหรือเครอ่ื งยนต์ขณะกำลงั ทำงาน

2) งานที่ทำบนน่ังร้านสงู กวา่ พนื้ 10 เมตร

3) งานใช้เล่อื ยวงเดือน

4) งานผลติ หรือขนส่งวตั ถุระเบิกหรือวัตถไุ วไฟ

5) งานเหมืองแรห่ รืองานกอ่ นสร้างทีต่ อ้ งทำใตด้ นิ ใตน้ ้ำ ในถ้ำ ในอโุ มงค์ หรือในปลอ่ งภเู ขา

ห้ามลูกจา้ งหญงิ ทำงานระหว่าง 24.00 น. - 06.00 น. ข้อ 22

ห้ามหญงิ มคี รรภท์ ำงานอย่างหนึ่งอยา่ งใด ดังน้ี ขอ้ 23

1) เก่ียวกับเคร่ืองจักรหรอื เคร่อื งยนตท์ ่ีมีความส่นั สะเทือน

2) งานขบั เคลอ่ื นหรอื ติดไปกับยานพาหนะ

3) งานยก แบก หาม หาบ ทนู ลาก หรอื เข็นของหนกั เกิน 15 กก.

4) งานที่ทำงานในเรอื

5) งานอืน่ ตามประกาศ

ห้ามลกู จา้ งหญิงมีครรภ์ ทำงานระหวา่ ง 22.00 น. - 06.00 น. ข้อ 24

- หญงิ มีครรภม์ สี ทิ ธลิ าคลอดบุตรโดยไดร้ ับค่าจา้ งเทา่ เวลาทล่ี า แตไ่ มเ่ กิน 90 วนั โดยนบั รวมวนั หยดุ ข้อ 25

ระหว่างวันลาดว้ ย

- ลาก่อนหรอื หลงั ก็ไดร้ วมกนั แล้วต้องไม่เกนิ 90 วนั

- ลาเลยี้ งดูบตุ รมสี ทิ ธลิ าตอ่ เน่ืองจากการคลอดบตุ รไมเ่ กนิ 150 วนั ทำงาน โดยไมม่ สี ทิ ธไิ ดร้ ับค่าจา้ ง

กรณลี ูกจ้างหญงิ มีครรภ์มใี บรบั รองแพทยว์ ่าไม่อาจทำงานใหห้ นา้ ท่ีเดมิ ได้ ให้มีสทิ ธิเปลย่ี นงานใน ขอ้ 26

หน้าทเ่ี ดิมช่วั คราวก่อนหรือหลังคลอดบุตร นายจา้ งพิจารณาตามความเหมาะสม

หา้ มเลกิ จ้างลกู จา้ งหญิงเพราะเหตมุ ีครรภ์ ข้อ 27

การจา่ ยคา่ จ้าง ใหจ้ ่ายค่าจ้างแก่ลกู จา้ งไมน่ อ้ ยกวา่ อัตราสงู สุดของคา่ จ้างข้นั ต่ำรายวนั ตาม กม.คุ้มครองฯ ขอ้ 28

เรือ่ ง รายละเอียด ข้อ

หา้ มหักค่าจ้าง ห้ามนายจา้ งหักคา่ จ้าง ค่าลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวนั หยดุ และค่าล่วงเวลาในวันหยดุ เว้นแต่ ข้อ 31
1) ชำระภาษตี ามกฎหมาย
ค่าจ้างในวันหยุด 2) ชำระคา่ บำรุงสหภาพฯ ตามข้อบังคับสหภาพฯ ข้อ 32
3) ชำระหนสี้ หกรณฯ์
คา่ จา้ งในวนั ลา 4) เงนิ ประกนั ความเสียหายหรือชดใช้ค่าเสยี หาย ข้อ 33
คา่ ล่วงเวลา 5) เงินสะสมตามขอ้ ตกลง ข้อ 34
ขอ้ 35
ใหจ้ ่ายคา่ จ้างเทา่ กบั ค่าจ้างในวนั ทำงานสำหรบั วันหยุด ดงั น้ี ขอ้ 36
1) วนั หยุดประจำสปั ดาห์ ข้อ 37
2) วันหยุดตามประเพณี ขอ้ 38
3) วนั หยดุ พกั ผ่อนประจำปี ข้อ 40

กรณีเลกิ จ้างโดยลูกจา้ งมไิ ดม้ คี วามผดิ ตามขอ้ 60 ใหจ้ ่ายคา่ จ้างวันหยดุ พกั ผอ่ นประจำปตี ามส่วนที่
ลูกจา้ งมสี ทิ ธิ

กรณลี กู จ้างไปปฏบิ ัตหิ นา้ ทีท่ ้องที่อน่ื สำหรบั การทำงานปกติในวันหยุด ใหจ้ า่ ยค่าจา้ งไมน่ อ้ ยกวา่
คา่ จา้ งในวนั ทำงานในระหวา่ งเดนิ ทาง

ใหจ้ ่ายคา่ จา้ งวนั ลาปว่ ยตามขอ้ 18 เทา่ กับค่าจา้ งในวันทำงาน ปหี น่ึงไม่เกนิ 30 วนั ทำงาน

ให้จ่ายค่าจา้ งวนั ลาเพอ่ื รับราชการทหารเทา่ กับคา่ จ้างในวันทำงาน

ใหจ้ ่ายคา่ ล่วงเวลาไมน่ ้อยกวา่ 1.5 เท่า/ชวั่ โมงในวันทำงาน หรือตามจำนวนผลงาน

ให้จา่ ยค่าล่วงเวลาในวันหยดุ ไมน่ ้อยกว่า 3 เทา่ /ช่วั โมงในวนั ทำงาน หรอื ตามจำนวนผลงาน

ลูกจา้ งทำงานอยา่ งหนง่ึ อยา่ งใด จะไมไ่ ดร้ ับคา่ ล่วงเวลา ค่าลว่ งเวลาในวันหยดุ แต่มสี ทิ ธไิ ดร้ บั
ค่าตอบแทนเทา่ กับอตั ราคา่ จ้างตอ่ ช่ัวโมงตามจำนวนช่ัวโมงทท่ี ำ ดงั น้ี
1) งานขบวนการจัดรถไฟ
2) งานขนส่ง
3) งานเปดิ ปดิ ประตูนำ้ หรอื ประตรู ะบายน้ำ
4) งานอ่านระดบั นำ้
5) งานเฝ้า ดูแลสถานทท่ี รพั ย์สนิ หรอื อยู่เวร
6) งานนอกสถานท่ีไม่อาจกำหนดเวลาทำงานแนน่ อนได้
7) งานท่ีต้องอย่ปู ระจำการ
8) งานอืน่ ตามประกาศกำหนด

กรณลี กู จา้ งปฏิบัตหิ น้าทท่ี อ้ งทีอ่ ื่นนอกท้องท่สี ำหรับการทำงานปกติ ลกู จา้ งไมม่ สี ิทธไิ ดร้ ับค่า ขอ้ 41
ล่วงเวลา และคา่ ลว่ งเวลาในวันหยดุ เว้นแต่ตกลงจา่ ยใหแ้ กล่ กู จ้าง

ค่าทำงานใน ลกู จ้างทมี่ สี ิทธไิ ด้รบั ค่าจา้ ง หากทำงานในวันหยดุ มสี ิทธไิ ด้รับค่าทำงานในวนั หยุดเพมิ่ ข้ึนอกี ข้อ 42
วันหยุด ไม่น้อยกวา่ 1 เท่า ของค่าจ้างในวนั ทำงานตามจำนวนช่ัวโมงท่ที ำ

ลูกจ้างท่ีไมม่ สี ิทธิไดร้ ับคา่ จา้ ง หากทำงานในวนั หยดุ มีสิทธิได้รบั คา่ ทำงานในวันหยุดเพิ่มขนึ้ อีก ข้อ 43
ไม่น้อยกวา่ 2 เทา่ ของคา่ จา้ งในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงท่ที ำ

กำหนดจ่ายคา่ จา้ ง กำหนดเวลาการจ่ายคา่ จ้าง ค่าลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวนั หยุด คา่ ลว่ งเวลาในวนั หยุด ดังนี้ ขอ้ 44
ขอ้ บังคับ 1) กรณีคา่ จ้างรายเดอื น รายวัน รายชว่ั โมง หรือระยะอืน่ ท่ไี มเ่ กนิ 1 เดือนหรือตามผลงาน ให้จ่าย ขอ้ 58
เดอื นละไมน่ ้อยกวา่ 1 คร้งั
2) กรณคี า่ จา้ งนอกจาก (1) ใหจ้ า่ ยตามกำหนดเวลาท่ตี กลงกนั
3) คา่ ล่วงเวลา ค่าทำงานในวนั หยดุ และค่าล่วงเวลาในวนั หยดุ ให้จา่ ยเดือนละไมน่ ้อยกวา่ 1 ครัง้

กรณเี ลกิ จา้ งใหจ้ ่ายค่าจ้าง ค่าลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวันหยุด คา่ ลว่ งเวลาในวันหยุด ภายใน 3 วัน

ให้นายจ้างจัดใหม้ ีข้อบังคบั เกย่ี วกบั การทำงานฯ โดยใหป้ ิดประกาศ ณ สถานทที่ ำงาน จดั เก็บสำเนา
และสง่ ให้อธิบดภี ายใน 7 วัน

เรื่อง รายละเอียด ขอ้

การเลกิ จ้าง ใหน้ ายจ้างจา่ ยค่าชดเชยให้แกล่ ูกจา้ ง ดงั น้ี ข้อ 59
และค่าชดเชย
1) ลูกจา้ งทำงานติดตอ่ กนั ครบ 120 วัน ไม่ครบ 1 ปี จา่ ยไม่นอ้ ยกวา่ อัตราสดุ ทา้ ย 30 วนั
เงนิ ตอบแทน
ความชอบเพราะ 2) ลกู จ้างทำงานติดต่อกันครบ 1 ไมค่ รบ 3 ปี จา่ ยไมน่ ้อยกวา่ อัตราสดุ ทา้ ย 90 วนั
เหตเุ กษยี ณอายุ
3) ลกู จา้ งทำงานติดต่อกนั ครบ 3 ไม่ครบ 6 ปี จ่ายไมน่ ้อยกวา่ อัตราสุดท้าย 180 วนั

4) ลูกจ้างทำงานตดิ ตอ่ กนั ครบ 6 ไมค่ รบ 10 ปี จ่ายไม่น้อยกว่าอัตราสดุ ทา้ ย 240 วัน

5) ลูกจ้างทำงานติดตอ่ กนั ครบ 10 ปขี ้ึนไป จ่ายไมน่ อ้ ยกวา่ อัตราสดุ ทา้ ย 300 วนั

6) ลูกจ้างทำงานตดิ ต่อกันครบ 20 ปขี น้ึ ไป จ่ายไมน่ อ้ ยกว่าอัตราสดุ ทา้ ย 400 วัน

*แกไ้ ข ฉบับที่ 4 ปี 2562

การเลกิ จา้ ง = การกระทำใดทน่ี ายจา้ งไมใ่ หล้ ูกจา้ งทำงานตอ่ ไปหรือไมจ่ า่ ยค้าจา้ งให้ ไมว่ ่าจะเปน็

เพราะเหตสุ นิ้ สดุ สัญญาจ้างหรอื อืน่ ใด รวมถงึ กรณที ลี่ กู จา้ งไมไ่ ด้ทำงานและไม่ไดร้ ับคา่ จา้ งเพราะเหตุ

ท่ีนายจา้ งไมส่ ามารถดำเนินกจิ การได้ แตไ่ มร่ วมถึงการพน้ จากตำแหน่งงเพราะเกษียณอายุ

นายจา้ งไมต่ อ้ งจา่ ยค่าชดเชยซึ่งเลกิ จา้ งในกรณหี นึ่งใด ดงั น้ี ข้อ 60

1) ทจุ ริตต่อหนา้ ที่ หรือกระทำปดิ อาญา

2) จงใจทำใหน้ ายจา้ งไดร้ ับความเสียหาย

3) ประมาทเลินเลอ่ ใหน้ ายจ้างไดร้ บั ความเสยี หายรา้ ยแรง

4) ฝา่ ฝนื ข้อบังคบั หรือคำสง่ั โดยตกั เตอื นเป็นหนงั สือแล้ว เวน้ รา้ ยแรงไมจ่ ำเป็นตอ้ งตกั เตอื น

5) ละทง้ิ หน้าท่เี ปน็ เวลา 3 วนั

6) ไดร้ บั โทษจำคุกตามคำพพิ ากษาถึงทส่ี ุดให้จำคุก เวน้ แต่ความผดิ ประมาท

ลกู จา้ งพ้นจากตำแหน่งเพราะเหตเุ กษียณอายุ ให้มสี ทิ ธไิ ด้รบั เงนิ เพอ่ื ตอบแทนความชอบ ดังน้ี ขอ้ 61

1) ลกู จา้ งผู้ปฏิบตั ิงานช่วงก่อนเกษียณอายุติดต่อกันครบ 5 ปีข้ึนไป ไดร้ บั คา่ จา้ งอตั ราสุดท้าย 180 วัน

2) ลูกจา้ งผูป้ ฏิบตั งิ านช่วงกอ่ นเกษียณอายตุ ดิ ต่อกนั ครบ 15 ปขี นึ้ ไป ได้รบั ค่าจ้างอัตราสดุ ท้าย 300 วนั

พระราชบัญญัติความปลอดภัย 4
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554
1

1

เรอ่ื ง รายละเอียด มาตรา

ขอบเขตการ ใช้บังคับสำหรับนายจ้าง/สถานประกอบกิจการทม่ี ีการจา้ งลกู จ้างทำงาน และไม่ใช้บังคบั แก่ ม.3
บงั คบั ใช้ (1) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภมู ิภาค และราชการสว่ นท้องถน่ิ
(2) กจิ การทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง

นยิ ามนายจ้าง “นายจ้าง” หมายความว่า นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และหมายความรวม ถึง ม.4
และลูกจา้ ง ผู้ประกอบกิจการซ่ึงยอมให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาทำงานหรือทำผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบ
กิจการไม่วา่ การทำงานหรือการทำผลประโยชน์นั้นจะเป็นส่วนหน่ึงสว่ นใดหรือท้งั หมดในกระบวนการผลิต
หรือธุรกิจในความรบั ผิดชอบของผ้ปู ระกอบกิจการนนั้ หรือไม่ก็ตาม
“ ลูกจา้ ง” หมายความวา่ ลกู จา้ งตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และให้หมายความรวมถึงผู้ซ่ึง
ได้รับความยินยอมให้ทำงานหรือทำประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการของนายจ้างไม่ว่าจะ
เรียกชอื่ อย่างไรก็ตาม

หนา้ ทนี่ ายจ้าง - น ายจ้ างมี ห น้ าที่ จัด แล ะดู แ ล ส ถาน ป ระกอบ กิจ การแ ล ะ ลู กจ้ างให้ มี สภ าพ การท ำงาน ม.6
และลกู จ้าง และสภาพแวดล้อมในการทำงานท่ีปลอดภยั และถูกสุขลักษณะ

- ลูกจา้ งมีหน้าท่ใี ห้ความรว่ มมอื แกน่ ายจา้ ง

การบริหาร ให้นายจ้างบริหาร จัดการและดำเนินการด้านความปลอดภั ย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ม.8
จดั การ ในการทำงานให้เปน็ ไปตามมาตรฐานทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง ม.13
และดำเนนิ การ
- ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพ่ือ
เจา้ หนา้ ทีค่ วาม ดำเนนิ การด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกจิ การ
ปลอดภัยในการ - ต้องขึน้ ทะเบียนต่อกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

ทำงาน

แจง้ ใหท้ ราบ ให้นายจ้างแจ้งให้ลูกจ้างทราบถึงอันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นจากการทำงานและแจกคู่มือการปฏิบัติงานให้แก่ ม.14
อนั ตรายและ ลกู จ้างทุกคนก่อนที่ลูกจ้างเข้าทำงาน เปล่ียนงาน หรือเปล่ียนสถานทที่ ำงาน ม.16

แจกค่มู ือ ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างานและลูกจ้างทุกคนได้รับการฝึกอบรมความปลอดภัย
ปฏิบตั ิงาน อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน

การฝึกอบรม

ติดประกาศ ให้นายจ้างติดประกาศสัญลักษณ์ เตือนอันตรายและเคร่ืองหมายเก่ียวกับความปลอดภัยฯ ม.17
สัญลักษณ์เตือน รวม ท้ังสิทธิห น้าที่ของนายจ้างและ ลูกจ้างตามที่ อธิบดี ประกาศกำหนด ในที่ท่ีเห็ นได้ ง่าย

อนั ตราย ณ สถานประกอบกจิ การ

อปุ กรณ์ - ให้นายจ้างจัดและดูแลใหล้ ูกจ้างสวมใส่อปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภัยสว่ นบคุ คลทีไ่ ดม้ าตรฐาน ม.22
คุ้มครองความ - ลูกจ้างมีหน้าทีส่ วมใสอ่ ุปกรณฯ์
ปลอดภัยสว่ น - กรณีท่ีลกู จ้างไมส่ วมใส่ให้นายจ้างส่งั ให้ลูกจา้ งหยดุ การทำงานจนกวา่ ลูกจ้างจะสวมใส่อปุ กรณด์ ังกล่าว

บุคคล

เรื่อง รายละเอยี ด มาตรา

กรณเี กิด (1) กรณีลูกจา้ งเสยี ชวี ติ ใหน้ ายจา้ งแจง้ ตอ่ พนกั งานตรวจความปลอดภยั ในทันที และให้แจ้งรายละเอียด ม.34

อุบัตเิ หตุ และสาเหตเุ ปน็ หนงั สือภายใน 7 วัน นบั แตล่ กู จา้ งเสยี ชีวิต ม.36

รา้ ยแรงหรอื (2) กรณีทสี่ ถานประกอบกิจการได้รบั ความเสียหายหรอื ต้องหยดุ การผลติ หรือมีบคุ คลในสถานประกอบ

ลกู จ้างประสบ กจิ การประสบอนั ตรายหรือไดร้ บั ความเสยี หายอนั เน่อื งมาจากเพลงิ ไหม้การระเบดิ สารเคมีรว่ั ไหล

อันตรายจาก หรืออบุ ตั ภิ ยั รา้ ยแรงอ่ืนใหน้ ายจา้ งแจ้งตอ่ พนักงานตรวจความปลอดภัยในทันที และแจ้งเปน็ หนงั สือ

การทำงาน ระบสุ าเหตกุ ารแกไ้ ข และวธิ ปี ้องกนั ภายใน 7 วัน นบั แต่วนั เกิดเหตุ

(3 ) ก ร ณี ท่ี ลู ก จ้ า ง ป ร ะ ส บ อั น ต รายห รื อ เจ็ บ ป่ วยต าม ก ฎ ห ม าย ว่ าด้ วย เงิ น ท ด แท น

เมือ่ นายจ้างแจง้ ต่อสำนกั งานประกันสังคมแล้วใหส้ ่งสำเนาหนังสือแจง้ น้นั ต่อ

พนักงานตรวจความปลอดภัย ภายใน 7 วัน

อำนาจพนกั งาน - กรณตี รวจพบว่ามีการฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏิบัติตาม พรบ.ฉบบั นี้ ใหพ้ นักงานตรวจความปลอดภัยมีอำนาจสั่ง

ตรวจความ ให้ปฏิบัติให้ถูกต้องภายใน 30 วัน กรณีมีเหตุจำเป็นไม่อาจดำเนินการได้แล้วเสร็จอาจขยายระยะเวลา

ปลอดภัย ออกไปได้ไม่เกนิ 2 ครั้ง ๆ ละ 30 วนั

อัตราโทษ อัตราโทษต่ำสดุ คือ ปรับไม่เกนิ 50,000 บาท

อัต ราโท ษ สู งสุ ด คื อ ต้ อ งระว างโท ษ จ ำคุ ก ไม่ เกิ น 2 ปี ห รือ ป รับ ไม่ เกิ น 800,000 บ าท

หรอื ท้งั จำทงั้ ปรบั และปรบั อกี เป็นรายวันๆ ละ ไมเ่ กนิ 5,000 บาท

1

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย
อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงบั อคั คภี ยั พ.ศ. 2555

เร่อื ง รายละเอยี ด ขอ้

ระบบป้องกัน - ให้นายจ้างจดั ใหม้ รี ะบบปอ้ งกันและระงบั อคั คภี ยั ให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน ข้อ 2
และระงบั มปี ระสิทธภิ าพและปลอดภัย ข้อ 4
อคั คีภัย
- สถานประกอบกิจการทีม่ ลี ูกจ้าง 10 คนขน้ึ ไป ตอ้ งจัดให้มีแผนป้องกนั และ
แผนปอ้ งกนั ระงบั อัคคีภยั ประกอบด้วย การตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอคั คภี ัย
และระงับ การดับเพลงิ การอพยพหนไี ฟ และการบรรเทาทุกข์
อคั คภี ัย

อาคารมี ให้นายจา้ งทุกรายของสถานประกอบกิจการในอาคารน้ันมีหน้าท่รี ว่ มกนั ในการ ขอ้ 5
สปก.หลาย จดั ใหม้ ีระบบป้องกันและระงับอคั คีภัย รวมท้ังแผนปอ้ งกันและระงับอัคคภี ัย
แห่ง อยู่ ข้อ 8
รวมกนั
ข้อ 9
เส้นทางหนไี ฟ - ใหจ้ ดั ใหม้ เี สน้ ทางหนไี ฟทุกชั้นอย่างน้อยช้นั ละ 2 เสน้ ทาง สามารถอพยพ ขอ้ 11
ลกู จา้ งไปสู่จุดปลอดภัยภายในเวลาไม่เกิน 5 นาที ขอ้ 12
ขอ้ 13
- เส้นทางหนไี ฟต้องปราศจากส่ิงกีดขวาง
- ประตใู นเส้นทางหนีไฟต้องทำด้วยวสั ดุทนไฟ ไมม่ ธี รณีประตหู รอื ขอบกน้ั

บานประตเู ปดิ ออกไปตามทศิ ทางการหนไี ฟ ต้องตดิ อุปกรณบ์ ังคับใหบ้ าน
ประตูปิดไดเ้ อง

สญั ญาณแจ้ง อาคาร 2 ช้ันขน้ึ ไป หรอื มีพ้นื ทต่ี ง้ั แต่ 300 ตารางเมตรข้ึนไป ตอ้ งจัดใหม้ ีระบบ
เหตเุ พลิงไหม้ สญั ญาณแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ทุกชั้น

ปา้ ยบอกทาง ให้จัดทำป้ายบอกทางหนีไฟที่มีลกั ษณะ ดงั นี้
หนีไฟ - ขนาดตวั หนงั สือ สูงไมน่ ้อยกวา่ 15 ซม.
- ป้ายมีแสงสว่างในตวั เอง หรือใช้ไฟส่องให้เห็นอยา่ งชัดเจน

ระบบน้ำ ใหม้ ีระบบน้ำดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงอย่างเพยี งพอ
ดบั เพลงิ
เครือ่ ง - ให้จัดใหม้ ีเคร่ืองดบั เพลิงแบบเคล่อื นยา้ ยได้
ดับเพลงิ แบบ - ใหต้ รวจสอบไม่น้อยกวา่ 6 เดือน/คร้ัง
เคล่ือนยา้ ยได้

เรอ่ื ง รายละเอียด ข้อ

ระบบ - ระบบดบั เพลิงอัตโนมตั ิต้องเป็นไปตามมาตรฐานสมาคมวศิ วกรรมสถานแห่ง ข้อ 14
ดบั เพลิง ประเทศไทยฯ ขอ้ 16
อัตโนมัติ - ตอ้ งเปิดวาลว์ ประธานที่ควบคุมระบบจา่ ยน้ำเขา้ ตลอดเวลา
ขอ้ 20
การปฏิบตั ิ - ตดิ ตัง้ ปา้ ยแสดงจุดติดตั้งอุปกรณ์ดบั เพลิงท่ีเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน
เก่ยี วกับ - ตดิ ตั้งอปุ กรณ์ดบั เพลิงในทเี่ หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ไมม่ ีสงิ่ กดี ขวาง ข้อ 25
อปุ กรณ์ - จัดใหม้ กี ารตรวจสอบไมน่ อ้ ยกว่าเดือนละ 1 ครง้ั ขอ้ 27
ดบั เพลงิ อยูใ่ นสภาพท่ีใชง้ านได้ดี สามารถนำมาใช้ได้สะดวกตลอดเวลา โดยใหม้ ีการ ข้อ 30
ตรวจสอบอปุ กรณไ์ มน่ ้อยกวา่ เดือนละครั้ง

การเกบ็ ถัง ให้ปฏบิ ัตดิ งั นี้

ก๊าซชนิด - กรณเี กบ็ ไว้ภายนอกอาคาร ต้องเก็บในที่เปิดโลง่

เคล่ือนย้ายได้ - กรณเี ก็บไว้ในอาคาร ต้องแยกเกบ็ ไวใ้ นห้องท่มี ผี นังทำดว้ ยวัสดุทนไฟ มี

ชนิดของเหลว ระบบตรวจจบั กา๊ ซอตั โนมตั ิ เก็บรวมกนั แหง่ ละไมเ่ กนิ 2,000 ลิตร แต่

ละแห่งห่างกันไมน่ ้อยกว่า 20 เมตร

- ห้ามเกบ็ ไวใ้ กล้วตั ถทุ ลี่ ุกไหม้ได้ง่าย

- มโี ซร่ ัดถังกนั ล้ม ติดต้งั ฝาครอบหัวถัง

ระบบป้องกัน ใหจ้ ดั ให้มีระบบปอ้ งกันอนั ตรายจากฟ้าผ่าตามมาตรฐานของสมาคมวศิ วกรรม

อนั ตรายจาก สถานแหง่ ประเทศไทย

ฟ้าผา่

การฝกึ อบรม ใหจ้ ัดให้ลูกจา้ งไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 40 ของแต่ละหน่วยงาน ฝกึ อบรมการดับเพลงิ
ดับเพลิง ขั้นต้น จากผ้ทู ่ีได้รบั ใบอนุญาตจากกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน
ขัน้ ตน้

การฝกึ ซ้อม - ให้นายจา้ งจัดใหล้ กู จา้ งทุกคนฝกึ ซอ้ มดับเพลงิ และฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ
ดบั เพลงิ และ พร้อมกันอยา่ งน้อยปีละ 1 คร้ัง โดยกอ่ นฝึกซ้อมไม่น้อยกว่า 30 วัน ให้
อพยพหนีไฟ ส่งแผนการฝกึ ซ้อมฯ ต่ออธบิ ดหี รือผ้ซู ่ึงอธบิ ดีมอบหมายเพ่ือให้ความ
เหน็ ชอบ

- กรณีนายจ้างไมส่ ามารถดำเนินการฝกึ ซ้อมได้เอง ต้องใหผ้ ู้ไดร้ บั
ใบอนุญาตจากกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงานเปน็ ผูด้ ำเนนิ การ
ฝกึ ซอ้ ม

- ใหร้ ายงานผลการฝึกซ้อมภายใน 30 วนั นับแตว่ ันเสรจ็ สิน้ การฝึกซ้อม

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564

2

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกีย่ วกบั การป้องกนั และระงับอคั คีภยั (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2561

เรอื่ ง รายละเอียด ข้อ

การยกเลกิ ใหย้ กเลิกความใน (1) ของข้อ 11 และยกเลิกข้อ 21 กฎกระทรวงกำหนด ข้อ 1 - 3
กฎเดิม และการ มาตรฐานฯเกย่ี วกับการป้องกันและระงบั อคั คภี ัย พ.ศ.2557 ข้อ 1
การเพิ่มกฎใหม่ ให้เพม่ิ ข้อ 21/1

ขนาดตัวอักษร ข้อ 11 (1) ตวั อักษรต้องมีขนาดไม่เล็กกวา่ 10 เซนตเิ มตร และมองเหน็ ได้อยา่ ง
ป้ายบอกทาง ชัดเจน

หนีไฟ

การปอ้ งกัน ขอ้ 21 การปอ้ งกันอนั ตรายจากถ่านหนิ ท่ีกองเก็บในท่ีโล่งแจง้ ใหป้ ฏิบตั ิ ดังน้ี ขอ้ 2
อันตรายจาก (1) ตอ้ งพรมน้ำเพ่ือลดการฟงุ้ กระจายของฝนุ่ ถ่านหิน ขอ้ 3
(2) ต้องอัดทับให้มโี พรงอากาศน้อยท่สี ุด เพือ่ ป้องกันการลุกไหม้
ถ่านหนิ (3) บรเิ วณที่มฝี ุ่นถา่ นหนิ ฟุ้งกระจายและมคี วามเสย่ี งต่อการเกิดระเบิดฝ่นุ ต้องจัด

ให้มมี าตรการป้องกันและลดความรุนแรงของผลกระทบจากการเกิดระเบิดฝุ่น
(4) การกองเกบ็ ถา่ นหินสงู เกิน 3 เมตร ตอ้ งตดิ ตามตรวจวัดอุณหภมู ิอย่างน้อย
สัปดาหล์ ะ 1 ครัง้ และเก็บรายงานผลการบนั ทกึ ไว้อยา่ งนอ้ ย 1 ปี
(5) หากกองถ่านหนิ มีอณุ หภูมิ ตงั้ แต่ 65 องศาเซลเซยี ส ข้นึ ไป ต้องคัดแยก ถ่าน
หนิ ออกจากกองหรือใช้มาตรการอนื่ เพือ่ ป้องกันการลุกไหม้ ท่ีเกิดได้เอง ”

ข้อ 21/1 การป้องกนั อนั ตรายจากการเกบ็ ถา่ นหิน ผงแร่ที่ลุกไหม้ได้ง่าย
เซลลูลอยด์ หรอื ของแขง็ ท่ีติดไฟไดง้ ่ายที่เก็บในไซโล ถงั หรือภาชนะ ให้ปฏบิ ัตดิ งั น้ี

1) การเก็บถ่านหนิ หรอื ผงแร่ที่ลุกไหม้ได้ง่าย ไซโล ถงั หรอื ภาชนะที่เก็บต้อง
สร้างด้วยวัสดทุ นไฟท่ีมฝี าผดิ มิดชดิ และเกบ็ ใหห้ ่างไกลจากแหลง่ ความ
ร้อน

2) การเก็บเซลลูลอยดห์ รอื ของแข็งที่ติดไฟได้ง่าย ต้องจดั ให้มีมาตรการ
ปอ้ งกันการลกุ ไหม้จากแหลง่ ความร้อนหรือการผสมกบั อากาศท่ีจะ
ก่อใหเ้ กดิ การลุกไหม้ได้

การเกบ็ ถ่านหนิ ผงแรท่ ่ีลุกไหมไ้ ดง้ ่าย เซลลูลอยด์ หรอื ของแขง็ ทตี่ ิดไฟได้ง่าย
ตาม (1) และ (2) หากมีความเส่ียงต่อการเกิดระบิดฝนุ่ ตอ้ งจดั ให้มีมาตรการ
ป้องกันและลดความรุนแรงของผลกระทบจากการเกิดระเบดิ ฝุ่นดว้ ย

กองนติ ิการ
1 ตุลาคม 2564


Click to View FlipBook Version