The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ_2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kew_k0712, 2024-02-14 22:35:35

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ_2566

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ_2566

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ปงบประมาณ 2566 กลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร เอกสารวิชาการเลขที่ 02/03/2566 กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กันยายน 2566 กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ


สารบัญ หนา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญตารางภาคผนวก บทสรุปสําหรับผูบริหาร (1) (2) (7) (8) บทที่ 1 บทนํา 1-1 1.1 หลักการและเหตุผล 1-1 1.2 วัตถุประสงค 1-1 1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินงาน 1-1 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน 1-2 1.5 นิยามศัพท 1-6 บทที่ 2 ขอมูลทั่วไป 2-1 2.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร 2-1 2.2 การใชประโยชนที่ดินทางการเกษตร (ขาวนาป) ตามระดับความเหมาะสม ของที่ดิน 2-6 2.3 การถือครองที่ดินของเกษตรกร 2-7 2.4 สถานภาพของครัวเรือนเกษตร 2-10 2.5 การแนะนําความรูเกี่ยวกับโครงการ 2-30 บทที่ 3 ผลการดําเนินงาน 3-1 3.1 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิต 3-1 3.2 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิต 3-7 3.3 กิจกรรมที่ไดรับการสนับสนุน 3-21 3.4 การประเมินผลโครงการ 3-25 3.5 ความพึงพอใจที่มีตอโครงการ 3-30 3.6 ปญหาและขอเสนอแนะ 3-34 บทที่ 4 สรุปผลและขอเสนอแนะ 4-1 4.1 สรุปผล 4-1 4.2 ขอเสนอแนะ 4-2 เอกสารอางอิง อ-1 ภาคผนวก ผ-1 ภาคผนวก ก การกําหนดขนาดตัวอยางและจํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป 2564 ผ-2 ภาคผนวก ข สถานที่สํารวจขอมูลของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ผ-3


(2) สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 2-1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 2-5 ตารางที่ 2-2 การใชประโยชนที่ดินทางการเกษตร ป 2564/65 2-6 ตารางที่ 2-3 พื้นที่เพาะปลูกขาวนาปตามระดับความเหมาะสมของที่ดินในพื้นที่ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 ป 2564/65 2-6 ตารางที่ 2-4 การถือครองที่ดินของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 2-9 ตารางที่ 2-5 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 2-10 ตารางที่ 2-6 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 2-11 ตารางที่ 2-7 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 2-11 ตารางที่ 2-8 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 2-12 ตารางที่ 2-9 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 2-13 ตารางที่ 2-10 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 2-13 ตารางที่ 2-11 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 2-14 ตารางที่ 2-12 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 2-14 ตารางที่ 2-13 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 2-15 ตารางที่ 2-14 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 2-16 ตารางที่ 2-15 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 2-16 ตารางที่ 2-16 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 2-17


(3) สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตารางที่ 2-17 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 2-18 ตารางที่ 2-18 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 2-19 ตารางที่ 2-19 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 2-19 ตารางที่ 2-20 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 2-20 ตารางที่ 2-21 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 2-21 ตารางที่ 2-22 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 2-21 ตารางที่ 2-23 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 2-22 ตารางที่ 2-24 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 2-23 ตารางที่ 2-25 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 2-23 ตารางที่ 2-26 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 2-24 ตารางที่ 2-27 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 2-25 ตารางที่ 2-28 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 2-25 ตารางที่ 2-29 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 2-26 ตารางที่ 2-30 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 2-27 ตารางที่ 2-31 สถานภาพดานแรงงานของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 2-29 ตารางที่ 2-32 การแนะนําความรูเกี่ยวกับโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 2-32


(4) สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตารางที่ 3-1 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 3-1 ตารางที่ 3-2 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 3-2 ตารางที่ 3-3 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 3-2 ตารางที่ 3-4 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 3-3 ตารางที่ 3-5 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 3-3 ตารางที่ 3-6 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 3-4 ตารางที่ 3-7 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 3-4 ตารางที่ 3-8 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 3-5 ตารางที่ 3-9 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 3-5 ตารางที่ 3-10 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 3-6 ตารางที่ 3-11 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 3-6 ตารางที่ 3-12 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 3-7 ตารางที่ 3-13 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 3-7 ตารางที่ 3-14 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 3-8 ตารางที่ 3-15 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 3-8 ตารางที่ 3-16 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 3-9


(5) สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตารางที่ 3-17 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 3-9 ตารางที่ 3-18 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 3-10 ตารางที่ 3-19 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 3-10 ตารางที่ 3-20 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 3-11 ตารางที่ 3-21 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 3-11 ตารางที่ 3-22 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 3-12 ตารางที่ 3-23 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 3-12 ตารางที่ 3-24 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 3-13 ตารางที่ 3-25 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 3-13 ตารางที่ 3-26 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 3-14 ตารางที่ 3-27 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 3-14 ตารางที่ 3-28 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 3-15 ตารางที่ 3-29 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 3-15 ตารางที่ 3-30: ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 3-16 ตารางที่ 3-31 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 3-16 ตารางที่ 3-32 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 3-17


(6) สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตารางที่ 3-33 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 3-17 ตารางที่ 3-34 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 3-18 ตารางที่ 3-35 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 3-18 ตารางที่ 3-36 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 3-19 ตารางที่ 3-37 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 3-19 ตารางที่ 3-38 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 3-20 ตารางที่ 3-39 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 3-21 ตารางที่ 3-40 กิจกรรมที่เกษตรกรไดรับการสนับสนุนจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 3-24 ตารางที่ 3-41 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 3-25 ตารางที่ 3-42 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 3-25 ตารางที่ 3-43 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 3-26 ตารางที่ 3-44 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 3-26 ตารางที่ 3-45 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 3-26 ตารางที่ 3-46 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 3-27 ตารางที่ 3-47 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 3-27 ตารางที่ 3-48 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 3-28


(7) สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตารางที่ 3-49 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 3-28 ตารางที่ 3-50 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 3-28 ตารางที่ 3-51 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 3-29 ตารางที่ 3-52 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 3-29 ตารางที่ 3-53 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ เฉลี่ยรวม ป2566 3-30 ตารางที่ 3-54 ความพึงพอใจที่มีตอโครงการของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 3-33 ตารางที่ 3-55 ปญหาและขอเสนอแนะของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 3-38 ตารางที่ 4-1 สรุปการประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 4-2 สารบัญตารางภาคผนวก หนา ตารางภาคผนวก ก การกําหนดขนาดตัวอยาง ผ-2 ตารางภาคผนวก ข รายละเอียดสถานที่สํารวจขอมูลของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ผ-3


บทสรุปสําหรับผูบริหาร รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม ปงบประมาณ 2566 มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาขอมูลทั่วไปของเกษตรกร และวิเคราะห ตนทุนและผลตอบแทนสําหรับพืชเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนเปนเกษตรผสมผสานของเกษตรกรที่เขารวม โครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป 2564 ซึ่งไดทําการศึกษา และรวบรวมขอมูลการผลิตในพื้นที่ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต1-12 จํานวน 371 รายแลวดําเนินการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลของเกษตรกร กอนและหลังเขารวมโครงการ จากนั้นนํารายไดสุทธิกอนและหลังมาประเมินผล ผลการประเมิน ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร ในภาพรวม พบวา เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย56 ป สวนใหญจบการศึกษา ระดับประถมศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาขั้นพื้นฐานของระบบการศึกษาในอดีต ลักษณะครอบครัว เปนครอบครัวเดี่ยว มีสมาชิกเฉลี่ย 6 คนตอครัวเรือน โดยอยูในภาคการเกษตรเฉลี่ย 2 คนตอครัวเรือน มีพื้นที่เขารวมโครงการเฉลี่ย 10.22 ไรตอครัวเรือน โดยมีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินเปนโฉนดมากที่สุด รอยละ62.23 ซึ่งไดกูยืมเงินรอยละ 38.54เปนลูกหนี้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรมากที่สุด รอยละ 75.52 มีรายไดในครัวเรือนเฉลี่ย 179,188.08 บาทตอป คาใชจายในครัวเรือนเฉลี่ย 115,245.85 บาทตอป และมีเงินคงเหลือในครัวเรือนเฉลี่ย 63,942.23 บาทตอป ตนทุนและผลตอบแทนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตพืชเศรษฐกิจ (ขาว) เปนเกษตรผสมผสาน พบวา กอนเขารวมโครงการมีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 3,627.85 บาทตอไร ตนทุน การผลิตเฉลี่ย 2,518.93 บาทตอไร และไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 1,108.92 บาทตอไร หลังเขารวม โครงการมีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 9,171.29 บาทตอไร ตนทุนการผลิตเฉลี่ย 3,796.49 บาทตอไร และไดรับ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 5,374.80 บาทตอไร ซึ่งเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 4,265.88 บาทตอไร โดยอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) จาก 1.44 เพิ่มขึ้นเปน 2.42 เมื่อเปรียบเทียบกันแลวหลังเขารวมโครงการ มีอัตราสวนที่เพิ่มขึ้นแสดงวามีความคุมคาในการลงทุน ผลการประเมินโครงการ พบวา เกษตรกรที่เขารวมโครงการ รอยละ 89.76ของจํานวนเกษตรกร กลุมตัวอยาง มีรายไดสุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 โดยมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 11,000.52 บาทตอครัวเรือน และรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการเฉลี่ย 47,190.81 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 36,190.29 บาทตอครัวเรือน ในสวนความพึงพอใจของโครงการในภาพรวม พบวา เกษตรกร มีความพึงพอใจตอโครงการอยูในระดับมากที่สุด มีคะแนนเฉลี่ย 3.73 จากคะแนนเต็ม 4.00 ขอเสนอแนะ ควรใชแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ควบคูไปกับ แผนการผลิต การตลาดสินคาเกษตร ใหคําแนะนําหรือประชาสัมพันธเรื่องการผลิตพืชที่มีความเหมาะสม กับสภาพพื้นที่ และสภาพตลาด อีกทั้งใหเกษตรกรรุนใหมชวยพัฒนาคุณภาพและระบบการผลิต ทางการเกษตร พรอมกับถายทอดเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมการผลิตพืชใหม ๆ ใหเกษตรกรผูสูงอายุ สนับสนุนใหเกษตรกรลดตนทุนการผลิต สรางมูลคาเพิ่มในการผลิตพืช สงเสริมการรวมกลุมของเกษตรกร ในรูปแบบระบบสหกรณ และปรับปรุงระบบการปลอยสินเชื่อ


บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล ปจจุบันการทําเกษตรกรรมในประเทศไทย มีการผลิตสินคาเกษตรที่ไมสมดุลระหวางอุปสงค อุปทาน ไมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจทั้งภายในประเทศ และการเชื่อมโยงในระดับโลก สงผลกระทบตอราคาและปริมาณผลผลิต ประกอบกับกระบวนการผลิตไมเหมาะสมกับสภาพทางกายภาพ สินคาเกษตรบางชนิดผลิตอยูในพื้นที่เหมาะสมนอยหรือไมเหมาะสม เกษตรกรมีลักษณะการผลิต แบบดั้งเดิม ทําใหมีตนทุนในการผลิตสูงขาดโอกาสในการไดรับผลตอบแทนที่สูงกวา ขาดศักยภาพ ในการแขงขันกับประเทศอื่น กระทรวงเกษตรและสหกรณไดผลักดันนโยบายการลดตนทุนและเพิ่มทางเลือก ในการปรับเปลี่ยนเปนพืชที่เหมาะสม ซึ่งการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมจะเปนเครื่องมือที่สําคัญ ในการบรรลุผลตามนโยบายดังกลาว ทั้งนี้ กรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ มีภารกิจที่สําคัญในดานการพัฒนาดิน ที่ดิน การอนุรักษดินและน้ํา การกําหนดนโยบาย วางแผนการใชที่ดิน การบริหารจัดการดินและที่ดินใหมีประสิทธิภาพ การใชประโยชนที่ดินถูกตองและ เหมาะสม สรางรายไดเพิ่มและลดตนทุนการผลิตทางการเกษตรไดอยางยั่งยืน ดังนั้น กลุมเศรษฐกิจที่ดิน ทางการเกษตร ซึ่งมีหนาที่หลักในการวิเคราะหทางเศรษฐกิจและสังคมตามเขตการใชที่ดิน จึงจําเปนตอง ดําเนินงาน เพื่อใหไดขอมูลใชประกอบในการตัดสินใจวางแผนการใชที่ดินใหเกิดประโยชนสูงสุด 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1 เพื่อศึกษาขอมูลทั่วไปของเกษตรกร 1.2.2 เพื่อประเมินตนทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม 1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินงาน 1.3.1 ระยะเวลาดําเนินงาน ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566) 1.3.2 สถานที่ดําเนินงาน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12


1-2 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน 1.4.1 แผนการดําเนินงาน ขั้นตอนการดําเนินงาน ระยะเวลา ป 2565 ป 2566 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. ศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับ การปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม 2. ประสานขอขอมูลเบื้องตน เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. รวบรวมขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับ การปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม 4. จัดทําขอมูลการปฏิบัติงาน ภาคสนามไดจํานวนเกษตรกร ตัวอยาง/พื้นที่ปรับเปลี่ยน/ กิจกรรมการผลิตนาขาว/กิจกรรม การผลิตพืชปรับเปลี่ยน และ เครื่องมือในการเก็บขอมูล เปนตน 5. สํารวจและหรือรวบรวมขอมูล ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม 6. วิเคราะหและประเมิน ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม 7. จัดทําขอมูลผลตอบแทน ทางเศรษฐกิจของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม 8.จัดทํารายงานการประเมิน ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม 9. สงมอบรายงานการประเมิน ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ใหกับผูใชประโยชน


1-3 1.4.2 กรอบแนวคิดในการศึกษา ลักษณะของการศึกษา เปนการเปรียบเทียบผลประโยชนที่เกิดขึ้นในพื้นที่กอนเขารวม โครงการและหลังเขารวมโครงการ (without vs. with project) 1.4.3 วิธีการดําเนินงาน 1) ศึกษาขอมูลและจัดทําเครื่องมือ ศึกษาขอมูลเบื้องตนตามวัตถุประสงคของโครงการ เชน พืชในพื้นที่โครงการ พื้นที่ ที่เขารวมโครงการ เปนตน และจัดทําเครื่องมือ เชน แบบสอบถาม แผนที่ เครื่องคํานวณระบบกําหนด ตําแหนงบนพื้นโลก (Global Positioning System: GPS) เปนตน พรอมทั้งวางแผนการปฏิบัติงาน และประสาน ขอความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ 2) การเก็บรวบรวมขอมูล รวบรวมขอมูลจากหนวยงานตาง ๆ โดยสามารถจัดประเภทขอมูลได 2 ประเภท คือ (2.1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือขอมูลที่เก็บรวบรวมดวยวิธีการสัมภาษณ เกษตรกร โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaires) (2.2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ขอมูลตาง ๆ ที่ทําการเก็บรวบรวม จากเอกสารวิชาการ ผลงานวิจัย รายงาน บทความ และระบบสืบคนทางอินเตอรเน็ต เพื่อนําขอมูล ดังกลาวมาอางอิงและประกอบการศึกษา 3) ประชากรและกลุมตัวอยาง (3.1) ประชากรที่ใชในการศึกษา เปนเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม กิจกรรมการผลิตในป 2564 ในพื้นที่สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 ที่ทํานาขาว เกษตรกรในพื้นที่เปาหมาย สภาพเศรษฐกิจและสังคมของ เกษตรกรกอนเขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม (without project) (1) การปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสมเปนเกษตร ผสมผสาน (2) สภาพเศรษฐกิจและสังคมของ เกษตรกรหลังเขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม (with project) (3) การประเมินโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม -เกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น (4)


1-4 ในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3, N) และปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกพืชเปนเกษตรผสมผสาน จํานวนประชากรเปาหมาย 4,682 ราย (กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2565) (3.2) กลุมตัวอยาง คือ การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางจากประชากรที่ใช ในการศึกษาดวยวิธีการคํานวณจากสูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 ซึ่งมีขนาด ตัวอยางจํานวน 369ตัวอยาง แตสามารถดําเนินการเก็บขอมูลเกษตรกรตัวอยางได 371ตัวอยาง (ภาคผนวก ก) เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นมากขึ้น โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบใชความนาจะเปน (Probability sampling) ดวยการ สุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster sampling)ซึ่งการดําเนินการไดมีการนําแบบสอบถามทดสอบหาความเที่ยงตรง (Validity) โดยผูมีความเชี่ยวชาญชวยตรวจสอบความเหมาะสมและความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) เพื่อปรับปรุงแกไขใหกระชับ ชัดเจน เขาใจงาย และทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) นําแบบสอบถาม ที่ไดแกไขและปรับปรุงเรียบรอยแลวไปทดสอบ (Pilot test) ซึ่งไมไดเปนกลุมตัวอยางที่ใชศึกษาโดยใช สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach , s alpha coefficient) ทั้งนี้ไดคาระดับความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เทากับ 0.988 ถือไดวาอยูระดับดีมาก นั่นคือแบบสอบถามมีความนาเชื่อถือและสามารถนําไปศึกษา กับกลุมตัวอยางจริงได 4) การวิเคราะหขอมูล ขอมูลที่เก็บรวบรวมจะนํามาตรวจสอบ เพื่อแกไขความผิดพลาดที่เกิดขึ้น แลวนํามาประมวลผลในสํานักงาน โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป (Microsoft Excel) และตรวจสอบความถูกตอง อีกครั้ง จากนั้นจึงวิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีการวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) แสดงผล เปนคาความถี่ (Frequency) และหรือรอยละ (Percentage) และหรือคาเฉลี่ย (Mean) แบงการ วิเคราะหขอมูล ดังนี้ (4.1) การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของเกษตรกร การถือครองที่ดินของเกษตรกร ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตร สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตร สถานภาพดาน แรงงานของครัวเรือนเกษตร และการแนะนําความรูเกี่ยวกับโครงการ จําแนกตามสํานักงานพัฒนาที่ดิน เขต 1-12 โดยใชคาเฉลี่ย (Mean) และคารอยละ (Percentage) (4.2) การวิเคราะหสภาพการผลิตและการกระจายผลผลิต ตนทุนและ ผลตอบแทนการผลิต กิจกรรมที่ไดรับการสนับสนุน การประเมินผลโครงการ ความพึงพอใจที่มีตอ โครงการ ปญหาและขอเสนอแนะในการดําเนินโครงการ จําแนกตามสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 โดยวิเคราะหและสรุปขอมูลมาเปนคาเฉลี่ยตอหนวยพื้นที่หรือตอพื้นที่ 1 ไร ไดแก (1) สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิต โดยใชคาเฉลี่ย (Mean) และคา รอยละ (Percentage) (2) การวิเคราะหตนทุนการผลิต ประกอบดวย ตนทุนรวมทั้งหมด (Total Cost) ตนทุนผันแปร (Variable Cost) และตนทุนคงที่ (Fixed Cost) ซึ่งตนทุนรวมทั้งหมด (Total Cost: TC) เปนคาใชจายทั้งหมดในการผลิต โดยรวมตนทุนผันแปร (Total Variable Cost: TVC) และ ตนทุนคงที่ (Total Fixed Cost: TFC) การคํานวณตนทุนรวม (ดารณี, 2557) มีวิธีการดังนี้ ตนทุนรวมทั้งหมด = ตนทุนผันแปร + ตนทุนคงที่ TC = TVC + TFC


1-5 (3) การวิเคราะหผลตอบแทนการลงทุนมีวิธีการคํานวณ ดังนี้ ผลตอบแทนการลงทุน = ผลตางระหวางมูลคาผลผลิตที่ไดทั้งหมดกับ ตนทุนทั้งหมด (4) การวิเคราะหความคุมคา (ความเปนไปได) ทางเศรษฐศาสตรเปนการ วิเคราะหทางการเงิน (Financial Analysis) หมายถึง ขบวนการที่ถูกนํามาใชในการกําหนดหรือวัด ความสามารถในการทํากําไร (Profitability) ของการลงทุนในโครงการหนึ่งหรือเพื่อใชเปรียบเทียบ ความสามารถในการทํากําไรระหวางโครงการลงทุนที่มีโอกาสเลือกตั้งแตสองโครงการขึ้นไป (สมศักดิ์, 2531) ใชหลักการวิเคราะห ดังนี้ อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (Benefit-cost Ratio: B/C Ratio) เปนเกณฑ วัดประสิทธิภาพการผลิต (Productivity) และเปรียบเทียบผลไดหรือผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน วาเปนสัดสวนเทาไร เมื่อเทียบกับเงินลงทุนและคาใชจายที่เกิดขึ้นในการลงทุน กลาวคือเปนการ เปรียบเทียบมูลคาของผลตอบแทนที่ไดรับจากการผลิตพืชกับคาใชจายหรือตนทุนทั้งหมด ขนาดของ B/C Ratio ที่ไดอาจจะมีคาเทากับ 1 มากกวา 1 หรือนอยกวา 1 ก็ได คาที่ไดแสดงถึงประสิทธิภาพของทุน ที่ใช กลาวคือ B/C Ratio แสดงใหทราบวาจํานวนเงิน 1 หนวยที่ใชเพื่อการลงทุน (ตนทุน) ใหคาปจจุบัน ของผลตอบแทนเทากับเทาไร และหลักเกณฑการตัดสินใจพิจารณา จากคา B/C Ratio ถามีคามากกวา หรือเทากับ 1 จึงจะคุมคากับการลงทุน และไมควรลงทุนเมื่อ B/C Ratio มีคานอยกวา 1 (5) การประเมินผลเกษตรกรผูเขารวมโครงการ โดยการอธิบาย เปรียบเทียบเกษตรกรที่เขารวมโครงการวามีรายไดสุทธิเพิ่มขึ้นกี่ราย และมีรายไดสุทธิเพิ่มขึ้นจํานวน เทาไร คิดเปนรอยละเทาไร โดยใชคาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ย (Mean) (6) การวิเคราะหความพึงพอใจ ใชคารอยละ และคาเฉลี่ย โดยการ วิเคราะหความพึงพอใจที่มีตอโครงการ ไดใหเกณฑการใหคะแนน (ภูวดล, 2559) ดังนี้ มากที่สุด ใหคะแนน 4 คะแนน มาก ใหคะแนน 3 คะแนน นอย ใหคะแนน 2 คะแนน นอยที่สุด ใหคะแนน 1 คะแนน จากนั้นนําคาคะแนนความพึงพอใจไปวิเคราะหขอมูล และกําหนด เกณฑคาเฉลี่ยในการประเมิน ดังนี้ คาเฉลี่ย ความหมาย 3.26 – 4.00 ความพึงพอใจมากที่สุด 2.51 – 3.25 ความพึงพอใจมาก 1.76 – 2.50 ความพึงพอใจนอย 1.00 – 1.75 ความพึงพอใจนอยที่สุด 5) การเสนอรายงานการวิเคราะหทางเศรษฐกิจ นําเสนอในรูปแบบของการบรรยายประกอบตาราง โดยใชผลการวิเคราะห ขอมูลปฐมภูมิ ที่ไดจากการสํารวจในภาคสนาม รวมกับขอมูลทุติยภูมิที่เก็บรวบรวมจากหนวยงานตาง ๆ


1-6 ที่เกี่ยวของ แลวนํามาเขียนรายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เขารวม โครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เพื่อนําเสนอผูบริหารและผูที่เกี่ยวของรับทราบขอมูลและ นําไปใชประโยชนตอไป 1.5 นิยามศัพท โครงการปรับเปลี่ยน หมายถึง เกษตรกรที่เขารวมการโครงการปรับเปลี่ยนการ ผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม กิจกรรมการผลิต ในป 2564 ของกรมพัฒนาที่ดินจากเดิมเปนพื้นที่ เพาะปลูกขาวในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3 ) แ ล ะ พื้ น ที่ที่ไมมี ค ว าม เหมาะสม (N) ปรับเปลี่ยนเปนเกษตรผสมผสาน พื้นที่ที่เขารวมโครงการ หมายถึง พื้นที่ที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต ในพื้นที่ไมเหมาะสม จากเดิมเปนพื้นที่เพาะปลูก ขาวที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) และพื้นที่ที่ ไมมีความเหมาะสม (N) ปรับเปลี่ยนเปนเกษตร ผสมผสาน เกษตรผสมผสาน หมายถึง การผลิตทางการเกษตรตั้งแต 2 กิจกรรมขึ้นไป (ขาว พืช ประมง และปศุสัตว) สพข. หมายถึง สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต เกษตรกร หมายถึง เกษตรกรกลุมตัวอยางที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน การผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสมจากเดิมเปนพื้นที่ เพาะปลูกขาวในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3 ) แ ล ะพื้ น ที่ ที่ ไม มี ค วาม เหมาะสม (N) ปรับเปลี่ยนเปนเกษตรผสมผสาน ครัวเรือน/ครัวเรือนเกษตร หมายถึง ครัวเรือนเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสมจากเดิม เปนพื้นที่เพาะปลูกขาวในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม เล็กนอย (S3) และพื้นที่ที่ไมมีความเหมาะสม (N) ปรับเปลี่ยนเปนเกษตรผสมผสาน รายได หมายถึง มูลคาผลผลิตจากการผลิตทางการเกษตร รายไดสุทธิ หมายถึง ผลตอบแทนสุทธิ โดยการนํามูลคาผลผลิตหักออก ดวยตนทุนทั้งหมด


1-7 ผลิตภัณฑ พด. หมายถึง ผลิตภัณฑของกรมพัฒนาที่ดิน โฉนด หมายถึง หนังสือสําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่รับรอง ถูกตองตาม พ.ร.บ. ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) น.ส.3/น.ส.3ก. หมายถึง หนังสือรับรองการทําประโยชนในที่ดินและสามารถ นําไปใชในการทํานิติกรรมตาง ๆ ได เชน การจํานอง ขายฝาก โอน เปนตน แตตองรอประกาศภายใน 30 วัน สําหรับ น.ส.3 และไมตองรอประกาศสําหรับ น.ส.3ก. (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) ส.ค.1 หมายถึง หนังสือแสดงสิทธิ์การครอบครองที่ดินมือเปลา ที่แสดงวาบุคคลนั้นไดแจงการครอบครองตาม พ.ร.บ.ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 5 ซึ่งทําให ผูครอบครองมีโอกาสที่จะไดรับโฉนดหรือ น.ส.3 จากทางราชการตอไป (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) ส.ป.ก.4-01 หมายถึง หนังสือแสดงสิทธิ์การทําประโยชนเพื่อการเกษตร ตามกฎหมายการปฏิรูปที่ดินที่ออกใหโดยสํานักงาน การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ซึ่งเกษตรกร มีสิทธิ์นําไปใชเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูกับ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ได แตไมมีสิทธิ์ที่จะนําไปขายหรือยกใหผูอื่น เวนแต จะตกทอดเปนมรดกใหลูก-หลาน เพื่อทําการเกษตร เทานั้น (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) ภ.บ.ท.5 หมายถึง ใบเสร็จเสียภาษีบํารุงทองที่ซึ่งเปนเพียงหลักฐาน แสดงวาผูมีชื่อในใบเสร็จเปนผูเสียบํารุงทองที่ เทานั้น มิใชสิทธิ์ครอบครองที่ดิน (ศูนยสารสนเทศ การเกษตร, 2565) คทช. หมายถึง การจัดที่ดินของรัฐโดยไมใหกรรมสิทธิ์ แตอนุญาต ใหเขาทําประโยชนในที่ดินของรัฐเปนกลุมตามที่ คทช. กําหนด และสงเสริมการประกอบอาชีพตาม ศักยภาพของพื้นที่


2-1 บทที่ 2 ขอมูลทั่วไป การศึกษาภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม ประกอบดวย ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร การถือครองที่ดินของเกษตรกร สถานภาพของ ครัวเรือนเกษตร และการแนะนําความรูเกี่ยวกับโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 59 ป สวนใหญอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 57.14ของเกษตรกร ทั้งหมด และรองลงมาอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 28.58 อยูในชวงอายุ 30-39 ป และอยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 7.14เทากัน แบงเปนเพศชายรอยละ 35.71และเพศหญิงรอยละ 64.29 ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรรอยละ85.71ของเกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษา รอยละ 50.00 ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับปริญญาตรีรอยละ 21.43 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับอนุปริญญาและหรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง รอยละ 7.14 เทากัน นอกจากนี้ยังมีผูที่ไมรูหนังสือรอยละ 14.29 สถานภาพ การเปนหมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมไดเปนหมอดินอาสา (ตารางที่ 2-1) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 47 ป สวนใหญอยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 37.50ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 25.00 อยูในชวงอายุ ต่ํากวา 30 ป 30-39 ป และ อยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 12.50 เทากัน แบงเปนเพศชายรอยละ37.50และเพศหญิงรอยละ 62.50 ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรรอยละ 87.50ของเกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษา สวนใหญจบการศึกษา ระดับประถมศึกษารอยละ37.50ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ รอยละ 25.00 เทากัน นอกจากนี้ ยังมีผูที่อานออกเขียนไดโดยไมไดเรียนหนังสือรอยละ 12.50สถานภาพการเปนหมอดินอาสาเกษตรกรที่เขารวม โครงการทั้งหมดไมไดเปนหมอดินอาสา (ตารางที่ 2-1) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 57 ป สวนใหญอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 47.50ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 40.00 และอยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 12.50 แบงเปนเพศชายรอยละ 52.50และเพศหญิงรอยละ 47.50ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรรอยละ 97.50 ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ 42.50ของเกษตรกร ทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพรอยละ 27.50 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับปริญญาตรี รอยละ 12.50 เทากัน และสูงกวา ปริญญาตรีรอยละ 2.50 นอกจากนี้ยังมีผูที่ไมรูหนังสือรอยละ 2.50สถานภาพการเปนหมอดินอาสา เกษตรกร ที่เขารวมโครงการไมไดเปนหมอดินอาสารอยละ 87.50 และเปนหมอดินอาสารอยละ 12.50 (ตารางที่ 2-1)


2-2 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 56 ปสวนใหญอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 48.00ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 32.00 อยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 16.00 และ อยูในชวงอายุ 30-39 ป รอยละ 4.00แบงเปนเพศชายรอยละ44.00และเพศหญิงรอยละ 56.00 ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ60.00 ของเกษตรกร ทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ รอยละ 24.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 12.00 และระดับปริญญาตรีรอยละ 4.00 สถานภาพการเปน หมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวมโครงการไมไดเปนหมอดินอาสารอยละ 84.00 และเปนหมอดินอาสา รอยละ 16.00 (ตารางที่ 2-1) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 57 ปสวนใหญอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 44.00ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 28.00 อยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 24.00 และ อยูในชวงอายุ 30-39 ป รอยละ 4.00แบงเปนเพศชายรอยละ48.00และเพศหญิงรอยละ 52.00 ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ52.00 ของเกษตรกร ทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ รอยละ 28.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 12.00 ระดับอนุปริญญาและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรีรอยละ 4.00 เทากัน สถานภาพการเปนหมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวมโครงการ ไมไดเปนหมอดินอาสารอยละ 88.00 และเปนหมอดินอาสารอยละ 12.00 (ตารางที่ 2-1) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 54 ปสวนใหญอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 50.00 ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 30.00 อยูในชวงอายุต่ํากวา 30 ป และอยูในชวงอายุ 30-39 ป รอยละ 10.00เทากัน แบงเปนเพศชายรอยละ70.00และเพศหญิงรอยละ 30.00 ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ50.00 ของเกษตรกร ทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพรอยละ 30.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนและระดับปริญญาตรีรอยละ 10.00 เทากัน สถานภาพ การเปนหมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวมโครงการไมไดเปนหมอดินอาสารอยละ 80.00 และเปนหมอดิน อาสารอยละ 20.00 (ตารางที่ 2-1) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 60 ปสวนใหญอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 46.66ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 40-49 ป และอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 26.67 เทากัน แบงเปน เพศชายรอยละ 40.00 และเพศหญิงรอยละ 60.00 ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษา สวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ 73.33 ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพรอยละ 13.33 ระดับมัธยมศึกษา ตอนตนและระดับอนุปริญญาและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง รอยละ 6.67เทากัน สถานภาพการเปน หมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมไดเปนหมอดินอาสา (ตารางที่ 2-1)


2-3 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 53 ป สวนใหญอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 41.18ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 29.41 อยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 17.65 และ อยูในชวงอายุ 30-39 ปรอยละ 11.76แบงเปนเพศชายรอยละ52.94และเพศหญิงรอยละ 47.06ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ35.29ของเกษตรกร ทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ รอยละ 23.53เทากัน ระดับปริญญาตรีรอยละ 11.77และระดับอนุปริญญา และหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงรอยละ 5.88 สถานภาพการเปนหมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวม โครงการไมไดเปนหมอดินอาสารอยละ 76.47 และเปนหมอดินอาสารอยละ 23.53 (ตารางที่ 2-1) 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 57 ป สวนใหญอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 46.67ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 40.00อยูในชวงอายุ 30-39 ป รอยละ 6.67 ต่ํากวา 30 ป และอยูในชวงอายุ 40-49 ปรอยละ 3.33เทากัน แบงเปนเพศชายรอยละ53.33และเพศหญิงรอยละ46.67 ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ 53.33 ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพรอยละ 23.33 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 16.67 และระดับปริญญาตรีรอยละ6.67 สถานภาพการเปนหมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวมโครงการไมไดเปนหมอดินอาสารอยละ 93.33 และเปนหมอดิน อาสารอยละ 6.67 (ตารางที่ 2-1) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 58 ป สวนใหญอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ80.00ของเกษตรกร ทั้งหมด และรองลงมาอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 20.00แบงเปนเพศชายรอยละ40.00และเพศหญิง รอยละ 60.00ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษา รอยละ 40.00ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับ ปริญญาตรี และสูงกวาระดับปริญญาตรีรอยละ 20.00 เทากัน สถานภาพการเปนหมอดินอาสา เกษตรกร ที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมไดเปนหมอดินอาสา (ตารางที่ 2-1) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 61 ปสวนใหญอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 70.00 ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 20.00 และอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 10.00 แบงเปน เพศชายรอยละ10.00และเพศหญิงรอยละ 90.00ระดับการศึกษา พบวาเกษตรกรรอยละ90.00 ของเกษตรกร ทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ80.00ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 10.00 นอกจากนี้ยังมีผูที่อานออกเขียนไดโดยไมได เรียนหนังสือรอยละ 10.00 สถานภาพการเปนหมอดินอาสา เกษตรกรผูเขารวมโครงการไมไดเปนหมอดิน อาสารอยละ 90.00 และเปนหมอดินอาสารอยละ 10.00 (ตารางที่ 2-1)


2-4 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 52 ปสวนใหญอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 33.33ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 40-49 ป และอยูในชวงอายุ 60 ป ขึ้นไป รอยละ 26.67เทากัน และอยูในชวง อายุ 30-39 ป รอยละ 13.33แบงเปนเพศชายรอยละ53.33และเพศหญิงรอยละ 46.67ระดับการศึกษา พบวา เกษตรกรทั้งหมดจบการศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ60.00ของเกษตรกรทั้งหมด ที่จบการศึกษา รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ รอยละ 33.33และระดับปริญญาตรีรอยละ 6.67 สถานภาพการเปนหมอดินอาสาเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ทั้งหมดไมไดเปนหมอดินอาสา (ตารางที่ 2-1) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 56 ปสวนใหญอยูในชวงอายุ 50-59 ป รอยละ 39.35 ของเกษตรกร ทั้งหมด รองลงมาอยูในชวงอายุ 60 ปขึ้นไป รอยละ 38.82อยูในชวงอายุ 40-49 ป รอยละ 16.44อยูในชวง อายุ30-39 ปรอยละ 4.58 และอยูในชวงอายุต่ํากวา 30 ป รอยละ 0.81 แบงเปนเพศชายรอยละ 47.71 และเพศหญิงรอยละ 52.29ระดับการศึกษา พบวาเกษตรกรรอยละ 98.38ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา สวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ 51.48ของเกษตรกรทั้งหมดที่จบการศึกษา รองลงมาจบ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพรอยละ 23.99ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รอยละ12.67ระดับปริญญาตรีรอยละ 7.55ระดับอนุปริญญาและหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงรอยละ1.89 และสูงกวาระดับปริญญาตรีรอยละ0.80 นอกจากนี้ยังมีผูที่ไมไดรับการศึกษารอยละ 1.62เปนผูที่ไมรูหนังสือ รอยละ 1.08 และอานออกเขียนไดโดยไมไดเรียนหนังสือรอยละ 0.54 สถานภาพการเปนหมอดินอาสา เกษตรกรที่เขารวมโครงการไมไดเปนหมอดินอาสารอยละ 88.14 และเปนหมอดินอาสารอยละ 11.86 (ตารางที่ 2-1)


2-1 ตารางที่ 2-1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 อายุเฉลี่ย (ป) 59 47 57 56 57 54 60 53 57 58 61 52 56 ชวงอายุ (รอยละ) ต่ํากวา 30 ป - 12.50 - - - 10.00 - - 3.33 - - - 0.81 30 -39 ป 7.14 12.50 - 4.00 4.00 10.00 - 11.76 6.67 - - 13.33 4.58 40 – 49 ป 7.14 37.50 12.50 16.00 24.00 - 26.67 17.65 3.33 - 20.00 26.67 16.44 50 – 59 ป 28.58 25.00 47.50 48.00 28.00 30.00 26.67 41.18 46.67 80.00 10.00 33.33 39.35 60 ป ขึ้นไป 57.14 12.50 40.00 32.00 44.00 50.00 46.66 29.41 40.00 20.00 70.00 26.67 38.82 เพศ (รอยละ) ชาย 35.71 37.50 52.50 44.00 48.00 70.00 40.00 52.94 53.33 40.00 10.00 53.33 47.71 หญิง 64.29 62.50 47.50 56.00 52.00 30.00 60.00 47.06 46.67 60.00 90.00 46.67 52.29 ระดับการศึกษา (รอยละ) ไมไดเรียนหนังสือ 14.29 12.50 2.50 - - - - - - - 10.00 - 1.62 ไมรูหนังสือ 14.29 - 2.50 - - - - - - - - - 1.08 อานออกเขียนไดโดยไมไดเรียนหนังสือ - 12.50 - - - - - - - - 10.00 - 0.54 จบการศึกษา 85.71 87.50 97.50 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 90.00 100.00 98.38 ระดับประถมศึกษา 50.00 37.50 42.50 60.00 52.00 50.00 73.33 35.29 53.33 40.00 80.00 60.00 51.48 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน - 25.00 12.50 12.00 12.00 10.00 6.67 23.53 16.67 20.00 10.00 - 12.67 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 7.14 25.00 27.50 24.00 28.00 30.00 13.33 23.53 23.33 - - 33.33 23.99 ระดับอนุปริญญา /ปวส. 7.14 - - - 4.00 - 6.67 5.88 - - - - 1.89 ระดับปริญญาตรี 21.43 - 12.50 4.00 4.00 10.00 - 11.77 6.67 20.00 - 6.67 7.55 สูงกวาระดับปริญญาตรี - - 2.50 - - - - - - 20.00 - - 0.80 สถานภาพการเปนหมอดินอาสา (รอยละ) เปน - - 12.50 16.00 12.00 20.00 - 23.53 6.67 - 10.00 - 11.86 ไมเปน 100.00 100.00 87.50 84.00 88.00 80.00 100.00 76.47 93.33 100.00 90.00 100.00 88.14 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1–12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2-5


2-6 2.2 การใชประโยชนที่ดินทางการเกษตร(ขาวนาป) ตามระดับความเหมาะสมของที่ดิน 1) การใชประโยชนที่ดินทางการเกษตร ป 2564/65 มีพื้นที่ใชประโยชนทางการเกษตรรวมทั้งประเทศ153,184,527.00ไร มีจํานวน ครัวเรือนเกษตรในประเทศ 7,363,226.00 ครัวเรือน พื้นที่ทําการเกษตรเฉลี่ย 20.80 ไรตอครัวเรือน และ มีพื้นที่ใชประโยชนในการเพาะปลูกขาวนาปจํานวน 62,580,747.54 ไร หรือรอยละ 40.85 ของพื้นที่ ทําการเกษตรทั้งหมด มีครัวเรือนเกษตรที่เพาะปลูกขาวนาปจํานวน 4,676,464.00ครัวเรือน พื้นที่เพาะปลูก ขาวนาปเฉลี่ย 13.38 ไรตอครัวเรือน (ตารางที่ 2-2) ตารางที่ 2-2 การใชประโยชนที่ดินทางการเกษตร ป 2564/65 รายการ จํานวนพื้นที่ รอยละ จํานวนครัวเรือนเกษตร2/ พื้นที่เฉลี่ย (ไร) (ครัวเรือน) (ไร/ครัวเรือน) พื้นที่เขตเกษตรกรรมทั้งประเทศ 153,184,527.001/ 100.00 7,363,226.00 20.803/ พื้นที่เพาะปลูกขาวนาป 62,580,747.542/ 40.853/ 4,676,464.00 13.383/ ที่มา: 1/ กรมพัฒนาที่ดิน (2564) 2/ ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมสงเสริมการเกษตร (2565) 3/จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2) พื้นที่เพาะปลูกขาวนาปตามระดับความเหมาะสมของที่ดิน ป 2564/65 มีพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปตามระดับความเหมาะสมของที่ดินทั้งหมด 66,303,652.76 ไร แบงออกเปนพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปที่เหมาะสม (S1, S2) จํานวน 41,850,942.65 ไร หรือรอยละ 63.12 ของพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปทั้งหมด และพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปที่ไมเหมาะสม (S3, N) จํานวน 24,452,710.11 ไร หรือรอยละ 36.88 (ตารางที่ 2-3) ตารางที่ 2-3 พื้นที่เพาะปลูกขาวนาปตามระดับความเหมาะสมของที่ดินในพื้นที่ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 ป 2564/65 รายการ จํานวนพื้นที่ (ไร) รอยละ พื้นที่เพาะปลูกขาวนาป 66,303,652.76 100.00 พื้นที่เหมาะสมสําหรับเพาะปลูกขาวนาป (S1, S2) 41,850,942.65 63.12 พื้นที่ไมเหมาะสมสําหรับเพาะปลูกขาวนาป (S3, N) 24,452,710.11 36.88 ที่มา: Agri map online กระทรวงเกษตรและสหกรณ (2565)


2-7 2.3 การถือครองที่ดินของเกษตรกร 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์เปนโฉนด (ตารางที่ 2-4) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 68.72 ของที่ดินของตนเอง และรองลงมาเปนโฉนดรอยละ 31.28 (ตารางที่ 2-4) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรรอยละ 98.82 มีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญเปนโฉนดรอยละ 68.90 ของที่ดินของตนเอง รองลงมาเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 20.97 น.ส.3ก. รอยละ 5.18 และ ส.ค.1 รอยละ 3.77 นอกจากนี้ยังมีเกษตรกรรอยละ 1.18 ไมมีเอกสารสิทธิ์โดยเปน ภ.บ.ท.5 (ตารางที่ 2-4) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปนโฉนดรอยละ 70.46 ของที่ดินของตนเอง รองลงมาเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 19.22 น.ส.3 รอยละ 7.47 และ น.ส.3ก. รอยละ 2.85 (ตารางที่ 2-4) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปนโฉนดรอยละ 75.18 ของที่ดินของตนเอง รองลงมาเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 16.68 ส.ค.1 รอยละ 3.25 น.ส.3ก. รอยละ 2.85 และ น.ส.3 รอยละ 2.04 (ตารางที่ 2-4) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรมีเอกสารสิทธิ์เปนโฉนดรอยละ 90.80 ของที่ดินของตนเอง และไมมีเอกสารสิทธิ์โดยเปน คทช. รอยละ 9.20 (ตารางที่ 2-4) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 59.50ของที่ดินของตนเอง รองลงมาเปน น.ส.3ก. รอยละ19.84 โฉนดรอยละ 12.40 และ น.ส.3 รอยละ 8.26 (ตารางที่ 2-4) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปนโฉนดรอยละ 51.44 ของที่ดินของตนเอง และรองลงมาเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 48.56 (ตารางที่ 2-4)


2-8 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปน ส.ป.ก.4-01รอยละ 71.19ของที่ดินของตนเอง รองลงมาเปน น.ส.3 รอยละ 12.11 โฉนดรอยละ 11.86 และ น.ส.3ก.รอยละ 4.84 (ตารางที่ 2-4) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปนโฉนดรอยละ 85.00 ของที่ดินของตนเอง และรองลงมาเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 15.00 (ตารางที่ 2-4) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปนโฉนดรอยละ 82.61ของที่ดินของตนเอง และรองลงมาเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 17.39 (ตารางที่ 2-4) 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญ เปนโฉนดรอยละ 93.04 ของที่ดินของตนเอง รองลงมาเปน น.ส.3ก. รอยละ 5.22และ น.ส.3 รอยละ 1.74 (ตารางที่ 2-4) 13) เฉล ี่ยรวม ลักษณะการถือครองที่ดินของเกษตรกร พบวา เกษตรกรรอยละ 99.54 มีเอกสารสิทธิ์ สวนใหญเปนโฉนดรอยละ 62.23 ของที่ดินของตนเอง รองลงมาเปน ส.ป.ก.4-01 รอยละ 28.57 น.ส.3 รอยละ 3.67 น.ส.3ก. รอยละ 3.59 และ ส.ค.1 รอยละ 1.48 นอกจากนี้ยังมีเกษตรกรรอยละ 0.46 ไมมี เอกสารสิทธิ์โดยเปน ภ.บ.ท.5 รอยละ 0.26 และ คทช. รอยละ 0.20 (ตารางที่ 2-4)


2-1 ตารางที่ 2-4 การถือครองที่ดินของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 หนวย: รอยละ รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 เอกสารการถือครองที่ดิน มีเอกสารสิทธิ์ 100.00 100.00 98.82 100.00 100.00 90.80 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 99.54 โฉนด 100.00 31.28 68.90 70.46 75.18 90.80 12.40 51.44 11.86 85.00 82.61 93.04 62.23 น.ส.3 - - - 7.47 2.04 - 8.26 - 12.11 - - 1.74 3.67 น.ส.3ก. - - 5.18 2.85 2.85 - 19.84 - 4.84 - - 5.22 3.59 ส.ค.1 - - 3.77 - 3.25 - - - - - - - 1.48 ส.ป.ก.4-01 - 68.72 20.97 19.22 16.68 - 59.50 48.56 71.19 15.00 17.39 - 28.57 ไมมีเอกสารสิทธิ์ - - 1.18 - - 9.20 - - - - - - 0.46 ภ.บ.ท.5 - - 1.18 - - - - - - - - - 0.26 คทช. - - - - - 9.20 - - - - - - 0.20 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1–12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2-9


2-10 2.4สถานภาพของครัวเรือนเกษตร 2.4.1 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตร 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 21.43 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 78.57สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 96,666.67 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินคือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณการเกษตร และกองทุนหมูบาน รอยละ 66.67 เทากัน ของเกษตรกรที่กูยืมเงินทั้งหมด มีอัตรา ดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 5.93 บาทตอป(ตารางที่ 2-5) ตารางที่ 2-5 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 21.43 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 78.57 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 96,666.67 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 66.67 กองทุนหมูบาน 66.67 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 5.93 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 12.50 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 87.50สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 10,000.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 7.00 บาทตอป(ตารางที่ 2-6)


2-11 ตารางที่ 2-6 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 12.50 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 87.50 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 10,000.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 100.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 7.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตรกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 35.00 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 65.00สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 19,500.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินมากที่สุดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรรอยละ 71.43ของเกษตรกรที่กูยืมเงินทั้งหมด รองลงมาเปนกองทุนหมูบาน รอยละ 14.29 สหกรณการเกษตรและโครงการโคขุนระยะที่ 2 รอยละ7.14เทากัน มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ6.14 บาท ตอป(ตารางที่ 2-7) ตารางที่ 2-7 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 35.00 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 65.00 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 19,500.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 71.43 สหกรณการเกษตร 7.14 กองทุนหมูบาน 14.29 โครงการโคขุนระยะที่ 2 7.14 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 6.14 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-12 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 64.00 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 36.00สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 28,750.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูในระบบที่เกษตรกรกูยืมเงินมากที่สุดคือ ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรรอยละ 75.00ของเกษตรกรที่กูยืมเงินทั้งหมด รองลงมาเปนกองทุน หมูบานรอยละ 12.50สหกรณการเกษตร และองคการทหารผานศึก รอยละ 6.25 เทากัน มีอัตราดอกเบี้ย เงินกูเฉลี่ยรอยละ 6.31 บาทตอป(ตารางที่ 2-8) ตารางที่ 2-8 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 64.00 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 36.00 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 28,750.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 75.00 สหกรณการเกษตร 6.25 กองทุนหมูบาน 12.50 องคการทหารผานศึก 6.25 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 6.31 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 40.00 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 60.00สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 39,150.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินมากที่สุดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรรอยละ 80.00 ของเกษตรกรที่กูยืมเงินทั้งหมด รองลงมาเปนสหกรณการเกษตร และกองทุนหมูบาน รอยละ 10.00 เทากัน มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 7.00 บาทตอป(ตารางที่ 2-9)


2-13 ตารางที่ 2-9 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 40.00 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 60.00 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 39,150.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู(รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 80.00 สหกรณการเกษตร 10.00 กองทุนหมูบาน 10.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 7.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 60.00 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 40.00สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 20,000.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 7.00 บาทตอป(ตารางที่ 2-10) ตารางที่ 2-10 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 60.00 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 40.00 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 20,000.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 100.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 7.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-14 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 6.67 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 93.33สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 10,000.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ กลุมแมบาน มีอัตรา ดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 12.00 บาทตอป(ตารางที่ 2-11) ตารางที่ 2-11 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 6.67 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 93.33 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 10,000.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) กลุมแมบาน 100.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 12.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 23.53 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 76.47สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 16,250.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 7.00 บาทตอป(ตารางที่ 2-12) ตารางที่ 2-12 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 23.53 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 76.47 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 16,250.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 100.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป(บาท) 7.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-15 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 46.67 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 53.33สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 45,000.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบรอยละ92.86โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินมากที่สุดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรรอยละ 57.14ของเกษตรกรที่กูยืมเงินทั้งหมด รองลงมาเปนโรงงานน้ําตาลรอยละ21.43 และกองทุนหมูบานรอยละ 14.29 นอกจากนี้มีการกูยืมเงินนอกระบบรอยละ 7.14 โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกร กูยืมเงินทั้งหมดคือ ญาติพี่นอง มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 6.07 บาทตอป(ตารางที่ 2-13) ตารางที่ 2-13 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 46.67 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 53.33 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 45,000.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 92.86 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 57.14 กองทุนหมูบาน 14.29 โรงงานน้ําตาล 21.43 เงินกูนอกระบบ (รอยละ) 7.14 แหลงเงินกู (รอยละ) ญาติพี่นอง 7.14 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 6.07 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 40.00 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 60.00สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 8,750.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 7.00 บาทตอป(ตารางที่ 2-14)


2-16 ตารางที่ 2-14 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 40.00 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 60.00 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 8,750.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 100.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 7.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 10.00 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 90.00สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 30,000.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ กองทุนหมูบาน มีอัตรา ดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 5.00 บาทตอป(ตารางที่ 2-15) ตารางที่ 2-15 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 10.00 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 90.00 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 30,000.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) กองทุนหมูบาน 100.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 5.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-17 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 6.67 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ 93.33สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 10,000.00 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบทั้งหมด โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 6.50 บาทตอป(ตารางที่ 2-16) ตารางที่ 2-16 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 6.67 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 93.33 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 10,000.00 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 100.00 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 100.00 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 6.50 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีการกูยืมเงินรอยละ 38.54 ของเกษตรกรทั้งหมด และไมมี การกูยืมเงินรอยละ61.46สําหรับเกษตรกรที่มีการกูยืมเงินมีจํานวนเงินกูเฉลี่ย 30,405.59 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบรอยละ 99.32โดยแหลงเงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินมากที่สุดคือธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรรอยละ 75.52ของเกษตรกรที่กูยืมเงินทั้งหมด รองลงมาเปนกองทุนหมูบานรอยละ 12.59 สหกรณการเกษตรรอยละ5.59โรงงานน้ําตาลและองคการทหารผานศึก รอยละ 2.10เทากัน โครงการโคขุน ระยะที่ 2รอยละ 1.40และกลุมแมบานรอยละ 0.70 นอกจากนี้มีการกูยืมเงินนอกระบบรอยละ 0.68โดยแหลง เงินกูที่เกษตรกรกูยืมเงินทั้งหมดคือ ญาติพี่นองรอยละ 0.70 มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ6.51 บาทตอป (ตารางที่ 2-17)


2-18 ตารางที่ 2-17 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 รายการ จํานวน จํานวนครัวเรือนที่มีการกูยืมเงิน (รอยละ) 38.54 จํานวนครัวเรือนที่ไมมีการกูยืมเงิน (รอยละ) 61.46 จํานวนเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 30,405.59 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ (รอยละ) 99.32 แหลงเงินกู (รอยละ) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 75.52 สหกรณการเกษตร 5.59 กองทุนหมูบาน 12.59 กลุมแมบาน 0.70 โรงงานน้ําตาล 2.10 องคการทหารผานศึก 2.10 โครงการโคขุนระยะที่ 2 1.40 เงินกูนอกระบบ (รอยละ) 0.68 แหลงเงินกู (รอยละ) ญาติพี่นอง 0.70 อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยตอป (บาท) 6.51 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.4.2 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตร 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 18,893.42 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 11,036.28 บาท หรือรอยละ 58.41 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 7,857.14 บาท หรือรอยละ 41.59 มีคาใชจายในครัวเรือน 13,463.89 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 5,429.53 บาท (ตารางที่ 2-18) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 226,721.04 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 132,435.36 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 94,285.68 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 161,566.68 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 65,154.36 บาท (ตารางที่ 2-18)


2-19 ตารางที่ 2-18 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ (บาท/เดือน) (บาท/ป) รายไดในครัวเรือน 18,893.42 226,721.04 - ในภาคการเกษตร 11,036.28 132,435.36 58.41 นอกภาคการเกษตร 7,857.14 94,285.68 41.59 คาใชจายในครัวเรือน 13,463.89 161,566.68 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 5,429.53 65,154.36 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 9,533.85 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 5,908.85 บาท หรือรอยละ 61.98 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 3,625.00 บาท หรือรอยละ 38.02 มีคาใชจายในครัวเรือน 6,433.33 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 3,100.52 บาท (ตารางที่ 2-19) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 114,406.20 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 70,906.20 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 43,500.00 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 77,199.96 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 37,206.24 บาท (ตารางที่ 2-19) ตารางที่ 2-19 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 9,533.85 114,406.20 - ในภาคการเกษตร 5,908.85 70,906.20 61.98 นอกภาคการเกษตร 3,625.00 43,500.00 38.02 คาใชจายในครัวเรือน 6,433.33 77,199.96 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 3,100.52 37,206.24 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 15,218.07 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 10,462.86 บาท หรือรอยละ 68.75 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ)


2-20 4,755.21 บาท หรือรอยละ 31.25 มีคาใชจายในครัวเรือน 6,860.48 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 8,357.59 บาท (ตารางที่ 2-20) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 182,616.84 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 125,554.32 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 57,062.52 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 82,325.76 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือเพื่อใชจาย ในครัวเรือน 100,291.08 บาท (ตารางที่ 2-20) ตารางที่ 2-20 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 15,218.07 182,616.84 - ในภาคการเกษตร 10,462.86 125,554.32 68.75 นอกภาคการเกษตร 4,755.21 57,062.52 31.25 คาใชจายในครัวเรือน 6,860.48 82,325.76 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 8,357.59 100,291.08 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 10,047.52 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 6,856.60 บาท หรือรอยละ 68.24 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 3,190.92 บาท หรือรอยละ 31.76 มีคาใชจายในครัวเรือน 8,559.38 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 1,488.14 บาท (ตารางที่ 2-21) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 120,570.24 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 82,279.20 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 38,291.04 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 102,712.56 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือเพื่อใชจาย ในครัวเรือน 17,857.68 บาท (ตารางที่ 2-21)


2-21 ตารางที่ 2-21 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 10,047.52 120,570.24 - ในภาคการเกษตร 6,856.60 82,279.20 68.24 นอกภาคการเกษตร 3,190.92 38,291.04 31.76 คาใชจายในครัวเรือน 8,559.38 102,712.56 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 1,488.14 17,857.68 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 20,809.59 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 13,867.59 บาท หรือรอยละ 66.64 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 6,942.00 บาท หรือรอยละ 33.36 มีคาใชจายในครัวเรือน 12,931.54 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 7,878.05 บาท (ตารางที่ 2-22) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 249,715.08 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 166,411.08 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 83,304.00 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 155,178.48 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือเพื่อใชจาย ในครัวเรือน 94,536.60 บาท (ตารางที่ 2-22) ตารางที่ 2-22 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 20,809.59 249,715.08 - ในภาคการเกษตร 13,867.59 166,411.08 66.64 นอกภาคการเกษตร 6,942.00 83,304.00 33.36 คาใชจายในครัวเรือน 12,931.54 155,178.48 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 7,878.05 94,536.60 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-22 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 15,659.42 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 11,501.08 บาท หรือรอยละ 73.45 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 4,158.34 บาท หรือรอยละ 26.55 มีคาใชจายในครัวเรือน 12,916.67 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 2,742.75 บาท (ตารางที่ 2-23) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 187,913.04 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 138,012.96 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 49,900.08 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 155,000.04 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 32,913.00 บาท (ตารางที่ 2-23) ตารางที่ 2-23 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 15,659.42 187,913.04 - ในภาคการเกษตร 11,501.08 138,012.96 73.45 นอกภาคการเกษตร 4,158.34 49,900.08 26.55 คาใชจายในครัวเรือน 12,916.67 155,000.04 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 2,742.75 32,913.00 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 7,402.78 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 4,719.45 บาท หรือรอยละ 63.75 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 2,683.33 บาท หรือรอยละ 36.25 มีคาใชจายในครัวเรือน 6,440.00 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 962.78 บาท (ตารางที่ 2-24) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 88,833.36 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 56,633.40 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 32,199.96 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 77,280.00 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 11,553.36 บาท (ตารางที่ 2-24)


2-23 ตารางที่ 2-24 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 7,402.78 88,833.36 - ในภาคการเกษตร 4,719.45 56,633.40 63.75 นอกภาคการเกษตร 2,683.33 32,199.96 36.25 คาใชจายในครัวเรือน 6,440.00 77,280.00 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 962.78 11,553.36 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 15,831.37 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 11,978.43 บาท หรือรอยละ 75.66 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 3,852.94 บาท หรือรอยละ 24.34 มีคาใชจายในครัวเรือน 9,841.85 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 5,989.52 บาท (ตารางที่ 2-25) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 189,976.44 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 143,741.16 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 46,235.28 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 118,102.20 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 71,874.24 บาท (ตารางที่ 2-25) ตารางที่ 2-25 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 15,831.37 189,976.44 - ในภาคการเกษตร 11,978.43 143,741.16 75.66 นอกภาคการเกษตร 3,852.94 46,235.28 24.34 คาใชจายในครัวเรือน 9,841.85 118,102.20 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 5,989.52 71,874.24 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-24 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 14,285.36 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 11,177.58 บาท หรือรอยละ 78.25 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเของดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 3,107.78 บาท หรือรอยละ 21.75 มีคาใชจายในครัวเรือน 10,365.81 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 3,919.55 บาท (ตารางที่ 2-26) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 171,424.32 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 134,130.96 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 37,293.36 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 124,389.72 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 47,034.60 บาท (ตารางที่ 2-26) ตารางที่ 2-26 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 14,285.36 171,424.32 - ในภาคการเกษตร 11,177.58 134,130.96 78.25 นอกภาคการเกษตร 3,107.78 37,293.36 21.75 คาใชจายในครัวเรือน 10,365.81 124,389.72 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 3,919.55 47,034.60 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 9,120.25 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 3,710.25 บาท หรือรอยละ 40.68 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 5,410.00 บาท หรือรอยละ 59.32 มีคาใชจายในครัวเรือน 7,051.04 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 2,069.21 บาท (ตารางที่ 2-27) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 109,443.00 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 44,523.00 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 64,920.00 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 84,612.48 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 24,830.52 บาท (ตารางที่ 2-27)


2-25 ตารางที่ 2-27 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 9,120.25 109,443.00 - ในภาคการเกษตร 3,710.25 44,523.00 40.68 นอกภาคการเกษตร 5,410.00 64,920.00 59.32 คาใชจายในครัวเรือน 7,051.04 84,612.48 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 2,069.21 24,830.52 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 15,180.84 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 10,866.67 บาท หรือรอยละ 71.58 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 4,314.17 บาท หรือรอยละ 28.42 มีคาใชจายในครัวเรือน 11,475.00 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 3,705.84 บาท (ตารางที่ 2-28) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 182,170.08 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 130,400.04 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 51,770.04 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 137,700.00 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 44,470.08 บาท (ตารางที่ 2-28) ตารางที่ 2-28 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 15,180.84 182,170.08 - ในภาคการเกษตร 10,866.67 130,400.04 71.58 นอกภาคการเกษตร 4,314.17 51,770.04 28.42 คาใชจายในครัวเรือน 11,475.00 137,700.00 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 3,705.84 44,470.08 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


2-26 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 15,701.20 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 12,406.76 บาท หรือรอยละ 79.02 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือน และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 3,294.44 บาท หรือรอยละ 20.98 มีคาใชจายในครัวเรือน 9,240.83 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 6,460.37 บาท (ตารางที่ 2-29) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 188,414.40 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 148,881.12 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 39,533.28 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 110,889.96 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 77,524.44 บาท (ตารางที่ 2-29) ตารางที่ 2-29 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 15,701.20 188,414.40 - ในภาคการเกษตร 12,406.76 148,881.12 79.02 นอกภาคการเกษตร 3,294.44 39,533.28 20.98 คาใชจายในครัวเรือน 9,240.83 110,889.96 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 6,460.37 77,524.44 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน โดยมี รายไดในครัวเรือน 14,932.34 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 10,336.49 บาท หรือรอยละ 69.22 ของรายไดทั้งหมดในครัวเรือนภาคการเกษตร และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือรับจางอื่น ๆ) 4,595.85 บาท หรือรอยละ 30.78 มีคาใชจายในครัวเรือน 9,603.82 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 5,328.52 บาท (ตารางที่ 2-30) สวนสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเฉลี่ยตอปมีรายไดในครัวเรือน 179,188.08 บาท แบงออกเปนรายไดในภาคการเกษตร 124,037.88 บาท และรายไดนอกภาคการเกษตร (เงินเดือน และหรือ รับจางอื่น ๆ) 55,150.20 บาท มีคาใชจายในครัวเรือน 115,245.84 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือ เพื่อใชจายในครัวเรือน 63,942.24 บาท (ตารางที่ 2-30)


2-27 ตารางที่ 2-30 สถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 รายการ จํานวนเงิน รอยละ บาท/เดือน บาท/ป รายไดในครัวเรือน 14,932.34 179,188.08 - ในภาคการเกษตร 10,336.49 124,037.88 69.22 นอกภาคการเกษตร 4,595.85 55,150.20 30.78 คาใชจายในครัวเรือน 9,603.82 115,245.84 - เงินคงเหลือในครัวเรือน 5,328.52 63,942.24 - ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดินกรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.4.3 สถานภาพดานแรงงานของครัวเรือนเกษตร 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 6.36คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.29 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 67.44 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.07คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 32.56 (ตารางที่ 2-31) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 4.01คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 2.63 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 65.67 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 1.38คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 34.33 (ตารางที่ 2-31) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 6.08คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.05 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 66.67 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.03คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 33.33 (ตารางที่ 2-31) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 6.88คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.52 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 65.70 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.36คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 34.30 (ตารางที่ 2-31) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 6.92คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.32 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 62.43 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.60คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 37.57 (ตารางที่ 2-31)


2-28 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 5.40คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.70 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 68.52 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 1.70คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 31.48 (ตารางที่ 2-31) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 5.80คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.53 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 60.90 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.27คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 39.10 (ตารางที่ 2-31) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 4.94คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 2.88 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 58.31 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.06คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 41.69 (ตารางที่ 2-31) 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 5.83คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.83 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 65.69 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.00คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 34.31 (ตารางที่ 2-31) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 4.40คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 2.40 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 54.55 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.00คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 45.45 (ตารางที่ 2-31) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 6.30คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.40 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 69.84 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 1.90คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 30.16 (ตารางที่ 2-31) 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 7.40คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.87 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 65.78 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.53คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 34.22 (ตารางที่ 2-31) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 6.26 คนตอครัวเรือน โดยแบงเปนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.04 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 64.58 ของสมาชิกและแรงงาน ในครัวเรือน และเปนแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.22คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 35.42 (ตารางที่ 2-31)


Click to View FlipBook Version