The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ_2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kew_k0712, 2024-02-14 22:35:35

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ_2566

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ_2566

2-1 ตารางที่ 2-31 สถานภาพดานแรงงานของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ สมาชิกและแรงงานในครัวเรือน 6.36 100.00 4.01 100.00 6.08 100.00 6.88 100.00 6.92 100.00 5.40 100.00 สมาชิกในครัวเรือน 4.29 67.44 2.63 65.67 4.05 66.67 4.52 65.70 4.32 62.43 3.70 68.52 แรงงานภาคการเกษตร 2.07 32.56 1.38 34.33 2.03 33.33 2.36 34.30 2.60 37.57 1.70 31.48 รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ คน/ ครัวเรือน รอยละ สมาชิกและแรงงานในครัวเรือน 5.80 100.00 4.94 100.00 5.83 100.00 4.40 100.00 6.30 100.00 7.40 100.00 6.26 100.00 สมาชิกในครัวเรือน 3.53 60.90 2.88 58.31 3.83 65.69 2.40 54.55 4.40 69.84 4.87 65.78 4.04 64.58 แรงงานภาคการเกษตร 2.27 39.10 2.06 41.69 2.00 34.31 2.00 45.45 1.90 30.16 2.53 34.22 2.22 35.42 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1–12 และเฉลี่ยรวม กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2-29


2-30 2.5 การแนะนําความรูเกี่ยวกับโครงการ 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรรอยละ 85.71ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม และเกษตรกรรอยละ 14.29 ไมไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เนื่องจากเปนผูสูงอายุจึงไมสะดวกในการแนะนํา และ ตองการใหประสบความสําเร็จกอน รอยละ 50.00 เทากัน (ตารางที่ 2-32) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรรอยละ 75.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม และเกษตรกรรอยละ 25.00 ไมไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เนื่องจากทั้งหมดตองการใหประสบความสําเร็จกอน (ตารางที่ 2-32) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรรอยละ97.50ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม และเกษตรกรรอยละ 2.50 ไมไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมไปเผยแพร เนื่องจากทั้งหมดพึ่งเริ่มทํากิจกรรมจึงยังไมมี ประสบการณ(ตารางที่ 2-32) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมด ไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมด ไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมด ไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมด ไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมด ไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32)


2-31 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรรอยละ 93.33ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม และเกษตรกรรอยละ 6.67 ไมไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เนื่องจากเปนผูสูงอายุจึงไมสะดวกในการแนะนํา และ ตองการใหประสบความสําเร็จกอน รอยละ 50.00 เทากัน (ตารางที่ 2-32) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32) 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม (ตารางที่ 2-32) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรรอยละ 97.84ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม และเกษตรกรรอยละ 2.16 ไมไดมีการแนะนําความรูที่ได จากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เนื่องจากตองการใหประสบความสําเร็จกอนรอยละ 50.00 เปนผูสูงอายุจึงไมสะดวกในการแนะนําและพึ่งเริ่มทํากิจกรรมจึงยังไมมีประสบการณรอยละ 25.00 เทากัน (ตารางที่ 2-32)


2-1 ตารางที่ 2-32 การแนะนําความรูเกี่ยวกับโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 หนวย: รอยละ รายการ28.57 สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 การนําความรูเกี่ยวกับโครงการไปเผยแพร แนะนํา 85.71 75.00 97.50 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 93.33 100.00 100.00 100.00 97.84 ไมแนะนํา 14.29 25.00 2.50 - - - - - 6.67 - - - 2.16 เนื่องจาก สูงอายุจึงไมสะดวกในการแนะนํา 50.00 - - - - - - - 50.00 - - - 25.00 ตองการใหประสบความสําเร็จกอน 50.00 100.00 - - - - - - 50.00 - - - 50.00 พึ่งเริ่มทํากิจกรรมจึงยังไมมีประสบการณ - - 100.00 - - - - - - - - - 25.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1–12 และเฉลี่ยรวม กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2-3 2


บทที่ 3 ผลการดําเนินงาน การประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม ปงบประมาณ 2566 ประกอบดวย สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิต ตนทุนและผลตอบแทน การผลิต กิจกรรมที่ไดรับการสนับสนุน การประเมินผลโครงการ ความพึงพอใจที่มีตอโครงการ ปญหาและ ขอเสนอแนะ ซึ่งไดจากการสํารวจขอมูลแลวนําขอมูลมาวิเคราะหเชิงลึก โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิต 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 11.29ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 10.54 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 26.32และนําไปจําหนายรอยละ 73.68 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 37.50และนําไปจําหนายรอยละ 62.50(ตารางที่ 3-1) ตารางที่ 3-1 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 11.29 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 10.54 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 26.32 37.50 จําหนาย 73.68 62.50 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 13.56ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 7.13 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 53.33และนําไปจําหนายรอยละ 46.67 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยน และนําไปจําหนาย รอยละ 50.00 เทากัน (ตารางที่ 3-2)


3-2 ตารางที่ 3-2 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 13.56 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 7.13 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 53.33 50.00 จําหนาย 46.67 50.00 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 10.68ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 9.64 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 52.31และนําไปจําหนายรอยละ 47.69 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 46.21และนําไปจําหนายรอยละ 53.79(ตารางที่ 3-3) ตารางที่ 3-3 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 10.68 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 9.64 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 52.31 46.21 จําหนาย 47.69 53.79 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 11.32ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 10.00 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 52.27และนําไปจําหนายรอยละ 47.73 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 56.38และนําไปจําหนายรอยละ 43.62(ตารางที่ 3-4)


3-3 ตารางที่ 3-4 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 11.32 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 10.00 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 52.27 56.38 จําหนาย 47.73 43.62 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 9.73ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 8.95 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 60.98และนําไปจําหนายรอยละ 39.02 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 52.26และนําไปจําหนายรอยละ 47.74(ตารางที่ 3-5) ตารางที่ 3-5 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 9.73 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 8.95 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 60.98 52.26 จําหนาย 39.02 47.74 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 7.25ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 7.20 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 55.56และนําไปจําหนายรอยละ 44.44 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 42.86และนําไปจําหนายรอยละ 57.14(ตารางที่ 3-6)


3-4 ตารางที่ 3-6 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 7.25 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 7.20 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 55.56 42.86 จําหนาย 44.44 57.14 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 7.33ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 5.97 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 35.29และนําไปจําหนายรอยละ 64.71 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 34.78และนําไปจําหนายรอยละ 65.22(ตารางที่ 3-7) ตารางที่ 3-7 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 7.33 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 5.97 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 35.29 34.78 จําหนาย 64.71 65.22 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 8.51ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 6.01 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 42.31และนําไปจําหนายรอยละ 57.69 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 39.62และนําไปจําหนายรอยละ60.38(ตารางที่ 3-8)


3-5 ตารางที่ 3-8 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 8.51 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 6.01 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 42.31 39.62 จําหนาย 57.69 60.38 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 13.83ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 12.78 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 34.88และนําไปจําหนายรอยละ 65.12 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 33.96และนําไปจําหนายรอยละ66.04(ตารางที่ 3-9) ตารางที่ 3-9 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 13.83 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 12.78 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 34.88 33.96 จําหนาย 65.12 66.04 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว)และหลังเขารวมโครงการ มีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 7.00ไรตอครัวเรือน เทากัน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยน และนําไปจําหนายรอยละ 50.00 เทากัน หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยนําไปจําหนาย ทั้งหมด (ตารางที่ 3-10)


3-6 ตารางที่ 3-10 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 7.00 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 7.00 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 50.00 - จําหนาย 50.00 100.00 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว)และหลังเขารวมโครงการ มีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 5.75ไรตอครัวเรือน เทากัน การกระจายผลผลิต กอนเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 90.00 และ นําไปจําหนายรอยละ 10.00 หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภค และหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 18.18 และนําไปจําหนายรอยละ 81.82 (ตารางที่ 3-11) ตารางที่ 3-11 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 5.75 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 5.75 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 90.00 18.18 จําหนาย 10.00 81.82 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรกอนเขารวมโครงการไมมีการเพาะปลูกพืชเดิม เนื่องจากเปนพื้นที่นาราง เฉลี่ย 3.83 ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 1.20ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต หลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปน การบริโภคและหรือแลกเปลี่ยน และนําไปจําหนาย รอยละ 50.00 เทากัน (ตารางที่ 3-12)


3-7 ตารางที่ 3-12 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (นาราง) 3.83 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 1.20 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน - 50.00 จําหนาย - 50.00 หมายเหตุ: พื้นที่กอนเขารวมโครงการเปนเนื้อที่นาราง ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชเดิม (ขาว) เฉลี่ย 9.92ไรตอครัวเรือน และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) เฉลี่ย 8.78 ไรตอครัวเรือน การกระจายผลผลิต เกษตรกรกอนเขารวมโครงการมีการกระจายผลผลิตโดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือ แลกเปลี่ยนรอยละ 51.33.และนําไปจําหนายรอยละ 48.67และหลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีการกระจาย ผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 48.72 และนําไปจําหนายรอยละ 51.28 (ตารางที่ 3-13) ตารางที่ 3-13 สภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ เนื้อที่เพาะปลูก (ไรตอครัวเรือน) พืชเดิม (ขาว) 9.92 - พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) - 8.78 การกระจายผลผลิต (รอยละ) บริโภค/แลกเปลี่ยน 51.33 48.72 จําหนาย 48.67 51.28 หมายเหตุ: พื้นที่หลังเขารวมโครงการบางสวนใชในการปรับรูปแปลงนา ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3.2 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิต 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 53,019.29 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 28,844.39 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย


3-8 24,174.90 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 133,305.36 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 70,268.22 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 63,037.14 บาท (ตารางที่ 3-14) ตารางที่ 3-14 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 53,019.29 133,305.36 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 28,844.39 70,268.22 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 24,174.90 63,037.14 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว กระเจี๊ยบแดง ออย กลวย มะมวง มะละกอ ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมงและปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2)ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและ หลังเขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 4,696.13 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 2,554.86 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 2,141.27 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.84และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 12,647.57 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 6,666.81 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 5,980.76 บาท อัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.90 (ตารางที่ 3-15) ตารางที่ 3-15 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 4,696.13 12,647.57 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 2,554.86 6,666.81 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 2,141.27 5,980.76 B/C Ratio 1.84 1.90 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว กระเจี๊ยบแดง ออย กลวย มะมวง มะละกอ ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมงและปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-9 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 41,237.25 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 38,192.25 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 3,045.00 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 32,718.75 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 18,711.88 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 14,006.87 บาท (ตารางที่ 3-16) ตารางที่ 3-16 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 41,237.25 32,718.75 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 38,192.25 18,711.88 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 3,045.00 14,006.87 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว กลวย มะมวง มะละกอ มะพราว ยูคาลิปตัส ประมง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและ หลังเขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 3,041.10 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 2,816.54 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 224.56 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.08และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 4,588.88 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 2,624.39 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 1,964.49 บาท อัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.75 (ตารางที่ 3-17) ตารางที่ 3-17 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 3,041.10 4,588.88 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 2,816.54 2,624.39 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 224.56 1,964.49 B/C Ratio 1.08 1.75 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว กลวย มะมวง มะละกอ มะพราว ยูคาลิปตัส ประมงและปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-10 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 43,818.45 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 22,171.08 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 21,647.37 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 57,632.63 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 21,653.47 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิ35,979.16 บาท (ตารางที่ 3-18) ตารางที่ 3-18 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 43,818.45 57,632.63 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 22,171.08 21,653.47 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 21,647.37 35,979.16 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัวแตงโม ถั่วลิสง มันเทศ ขาวโพด หมอน งาดํา มันสําปะหลัง ออย กลวย มะละกอ ฝรั่ง ลําไย มะพราว ไมผลอื่น ๆ หญาเนเปยร ประมง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและ หลังเขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 4,102.85 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 2,075.94 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 2,026.91 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.98และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 5,978.49 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 2,246.21 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 3,732.28 บาท อัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.66 (ตารางที่ 3-19) ตารางที่ 3-19 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 4,102.85 5,978.49 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 2,075.94 2,246.21 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 2,026.91 3,732.28 B/C Ratio 1.98 2.66 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัวแตงโม ถั่วลิสง มันเทศ ขาวโพด หมอน งาดํา มันสําปะหลัง ออย กลวย มะละกอ ฝรั่ง ลําไย มะพราว ไมผลอื่น ๆ หญาเนเปยร ประมง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-11 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 28,005.80 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 21,597.32 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 6,408.48 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 64,064.20 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 31,271.90 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 32,792.30 บาท (ตารางที่ 3-20) ตารางที่ 3-20 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 28,005.80 64,064.20 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 21,597.32 31,271.90 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 6,408.48 32,792.30 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผักถั่วลิสง กลวยแตงโม มะมวง ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและ หลังเขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 2,474.01 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 1,907.89 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 566.12 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.30และหลังเขารวมโครงการ พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย6,406.42 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 3,127.19 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 3,279.23 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.05 (ตารางที่ 3-21) ตารางที่ 3-21 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 2,474.01 6,406.42 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 1,907.89 3,127.19 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 566.12 3,279.23 B/C Ratio 1.30 2.05 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผักถั่วลิสง กลวยแตงโม มะมวง ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-12 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการฯ พืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 28,317.32 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 20,688.75 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 7,628.57 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 109,201.42 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 45,790.61 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 63,410.81 บาท (ตารางที่ 3-22) ตารางที่ 3-22 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 28,317.32 109,201.42 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 20,688.75 45,790.61 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 7,628.57 63,410.81 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง ปอเทือง กระทอม ไผ กลวย มะมวง มะละกอ ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2)ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและ หลังเขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 2,910.31 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 2,126.28 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 784.03 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.37และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 12,201.28 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,116.27 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 7,085.01 บาท อัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.38 (ตารางที่ 3-23) ตารางที่ 3-23 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 2,910.31 12,201.28 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 2,126.28 5,116.27 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 784.03 7,085.01 B/C Ratio 1.37 2.38 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง ปอเทือง กระทอม ไผ กลวย มะมวง มะละกอ ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-13 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 49,595.32 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 31,947.50 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 17,647.82 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 112,496.94 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 34,466.17 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 78,030.77 บาท (ตารางที่ 3-24) ตารางที่ 3-24 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 49,595.32 112,496.94 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 31,947.50 34,466.17 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 17,647.82 78,030.77 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย พืชผักสวนครัว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ขาวโพด ออย มะมวง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2)ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 6,840.73 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 4,406.55 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 2,434.18 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.55และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 15,624.58 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,786.97 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 10,837.61 บาท อัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 3.26 (ตารางที่ 3-25) ตารางที่ 3-25 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 6,840.73 15,624.58 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 4,406.55 4,786.97 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 2,434.18 10,837.61 B/C Ratio 1.55 3.26 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย พืชผักสวนครัว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ขาวโพด ออย มะมวง และปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-14 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 18,801.33 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 11,811.33 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 6,990.00 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 25,013.33 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 10,731.99 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 14,281.34 บาท (ตารางที่ 3-26) ตารางที่ 3-26 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 18,801.33 25,013.33 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 11,811.33 10,731.99 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 6,990.00 14,281.34 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก ขาวโพด กลวย และประมง ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน(2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 2,564.98 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 1,611.36 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 953.62 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.59และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 4,189.84 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 1,797.65 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคา ผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 2,392.19 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด (B/C Ratio) 2.33 (ตารางที่ 3-27) ตารางที่ 3-27 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 2,564.98 4,189.84 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 1,611.36 1,797.65 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 953.62 2,392.19 B/C Ratio 1.59 2.33 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก ขาวโพด กลวย และประมง ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-15 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 39,146.47 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 22,686.48 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 16,459.99 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 78,403.12 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 21,900.64 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 56,502.48 บาท (ตารางที่ 3-28) ตารางที่ 3-28 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 39,146.47 78,403.12 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 22,686.48 21,900.64 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 16,459.99 56,502.48 หมายเหตุ:*เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว ถั่วเขียว ขาวโพด กลวย มะละกอ ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมงและปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 4,600.06 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 2,665.86 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 1,934.20 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.73และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 13,045.44 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 3,644.03 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 9,401.41 บาท อัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 3.58(ตารางที่ 3-29) ตารางที่ 3-29 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 4,600.06 13,045.44 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 2,665.86 3,644.03 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 1,934.20 9,401.41 B/C Ratio 1.73 3.58 หมายเหตุ:*เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว ถั่วเขียว ขาวโพด กลวย มะละกอ ฝรั่ง ไมผลอื่น ๆ ประมงและปศุสัตว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-16 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 69,759.53 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 72,091.10 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิขาดทุนเฉลี่ย 2,331.57 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 117,923.13 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 57,211.21 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 60,711.92 บาท (ตารางที่ 3-30) ตารางที่3-30 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 69,759.53 117,923.13 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 72,091.10 57,211.21 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) -2,331.57 60,711.92 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว ถั่วเขียว ขาวโพด มันสําปะหลัง ออย กลวย ไมผลอื่น ๆ มะขามเทศ และประมง ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 5,044.07 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 5,212.66 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ ขาดทุนเฉลี่ย 168.59 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 0.97 และหลังเขารวมโครงการ พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 9,227.16 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,476.62 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 4,750.54 บาท อัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.06 (ตารางที่ 3-31) ตารางที่ 3-31 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 5,044.07 9,227.16 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 5,212.66 4,476.62 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) -168.59 4,750.54 B/C Ratio 0.97 2.06 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว ถั่วเขียว ขาวโพด มันสําปะหลัง ออย กลวย ไมผลอื่น ๆ มะขามเทศ และประมง ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-17 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 15,540.00 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 7,200.00 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 8,340.00 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 38,163.00 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 12,282.60 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 25,880.40 บาท (ตารางที่ 3-32) ตารางที่ 3-32 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 15,540.00 38,163.00 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 7,200.00 12,282.60 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 8,340.00 25,880.40 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย กลวย ไมผลอื่น ๆ และมะพราว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและ หลังเขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 2,220.00 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 1,028.57 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 1,191.43 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.16และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 5,451.86 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 1,754.66 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 3,697.20 บาท อัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 3.11 (ตารางที่ 3-33) ตารางที่ 3-33 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 2,220.00 5,451.86 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 1,028.57 1,754.66 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 1,191.43 3,697.20 B/C Ratio 2.16 3.11 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย กลวย ไมผลอื่น ๆ และมะพราว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-18 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 27,035.00 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 14,926.00 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 12,109.00 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 101,000.00 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 44,283.00 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 56,717.00 บาท (ตารางที่ 3-34) ตารางที่ 3-34 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 27,035.00 101,000.00 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 14,926.00 44,283.00 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 12,109.00 56,717.00 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย มันเทศ และขาว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2)ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 4,701.74 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 2,595.83 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 2,105.91 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.81และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 17,565.22 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 7,701.39 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคา ผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 9,863.83 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด (B/C Ratio) 2.28 (ตารางที่ 3-35) ตารางที่ 3-35 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 4,701.74 17,565.22 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 2,595.83 7,701.39 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 2,105.91 9,863.83 B/C Ratio 1.81 2.28 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย มันเทศ และขาว ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-19 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (นาราง) ไมมีมูลคาผลผลิต ไมมีตนทุนทั้งหมด และไมไดรับผลตอบแทนสุทธิเนื่องจากเปนพื้นที่นาราง และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 82,430.25 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 16,689.63 บาท ซึ่งเมื่อนํา มูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 65,740.62 บาท (ตารางที่ 3-36) ตารางที่ 3-36 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (นาราง) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) - 82,430.25 ตนทุนทั้งหมด (บาท) - 16,689.63 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) - 65,740.62 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย พืชผัก พริก แตงโม กลวย และประมง ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2)ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (นาราง) ไมมีมูลคาผลผลิต ไมมีตนทุนทั้งหมด และ ไมไดรับผลตอบแทนสุทธิ เนื่องจากเปนพื้นที่นาราง และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตร ผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 68,691.88 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 13,908.03 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคา ผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 54,783.85 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด (B/C Ratio) 4.94 (ตารางที่ 3-37) ตารางที่ 3-37 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (นาราง) พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) - 68,691.88 ตนทุนทั้งหมด (บาท) - 13,908.03 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) - 54,783.85 B/C Ratio - 4.94 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย พืชผัก พริก แตงโม กลวย และประมง ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-20 13) เฉลี่ยรวม (1) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 35,988.32 บาท ตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย 24,987.80 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 11,000.52 บาท และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 80,523.97 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 33,333.16 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมด จะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 47,190.81 บาท (ตารางที่ 3-38) ตารางที่ 3-38 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 หนวย: ตอครัวเรือน รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว)** พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 35,988.32 80,523.97 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 24,987.80 33,333.16 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 11,00.52 47,190.81 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง พริก มันเทศ แตงโม กระเจี๊ยบแดง งาดํา ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง ปอเทือง กระทอม หมอน หญาเนเปยร ไผกลวย มะมวง มะละกอ ฝรั่ง ลําไย มะขามเทศ ไมผลอื่น ๆ มะพราว ยูคาลิปตัส ประมง และปศุสัตว **ยกเวนสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 พืชเดิม (นาราง) ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอเนื้อที่เพาะปลูก 1 ไร ของเกษตรกรกอนและหลัง เขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการพืชเดิม (ขาว) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 3,627.85 บาท ตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 2,518.93 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคาผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 1,108.92 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 1.44และหลังเขารวมโครงการพืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน) มีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 9,171.29 บาท ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 3,796.49 บาท ซึ่งเมื่อนํามูลคา ผลผลิตหักออกดวยตนทุนทั้งหมดจะไดรับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 5,374.80 บาท อัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด (B/C Ratio) 2.42 (ตารางที่ 3-39)


3-21 ตารางที่ 3-39 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยน ในพื้นที่ไมเหมาะสม เฉลี่ยรวม ป2566 หนวย: ตอไร รายการ กอนเขารวมโครงการ หลังเขารวมโครงการ พืชเดิม (ขาว)** พืชปรับเปลี่ยน (เกษตรผสมผสาน)* มูลคาผลผลิต (บาท) 3,627.85 9,171.29 ตนทุนทั้งหมด (บาท) 2,518.93 3,796.49 ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 1,108.92 5,374.80 B/C Ratio 1.44 2.42 หมายเหตุ: *เกษตรผสมผสาน ประกอบดวย ขาว พืชผัก พืชผักสวนครัว ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง พริก มันเทศ แตงโม กระเจี๊ยบแดง งาดํา ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง ปอเทือง กระทอม หมอน หญาเนเปยร ไผกลวย มะมวง มะละกอ ฝรั่ง ลําไย มะขามเทศ ไมผลอื่น ๆ มะพราว ยูคาลิปตัส ประมง และปศุสัตว **ยกเวนสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 พืชเดิม (เนื้อที่นาราง) ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3.3 กิจกรรมที่ไดรับการสนับสนุน 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ สระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 50.00ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมาเปนระบบอนุรักษดินและน้ํา และปรับพื้นที่ รอยละ 28.57 เทากัน บอดักตะกอน และปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ 7.14 เทากัน (ตารางที่ 3-40) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ปรับพื้นที่และทางลําเลียงในไรนา รอยละ 87.50 เทากัน ของกิจกรรม ที่ไดรับทั้งหมด รองลงมาเปนระบบอนุรักษดินและน้ําและสระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 37.50 เทากัน และ ปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ 12.50 (ตารางที่ 3-40) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ปรับพื้นที่รอยละ 80.00 ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมาเปน ระบบอนุรักษดินและน้ํารอยละ 47.50 สระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 20.00 บอดักตะกอนรอยละ 10.00และ ปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ 7.50 (ตารางที่ 3-40) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ปรับพื้นที่รอยละ 84.00 ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมา เปนสระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 44.00 ระบบอนุรักษดินและน้ํารอยละ 12.00 ทางลําเลียงในไรนา รอยละ 8.00 และบอดักตะกอนรอยละ 4.00 (ตารางที่ 3-40)


3-22 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ระบบอนุรักษดินและน้ํารอยละ 68.00 ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมาเปนปรับพื้นที่รอยละ 56.00 สระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 12.ทางลําเลียงในไรนาและปจจัย การผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ4.00 เทากัน (ตารางที่ 3-40) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากคือ ปรับพื้นที่ และปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรง ซุปเปอรพด.) รอยละ 80.00 เทากัน ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด และรองลงมาเปนระบบอนุรักษดินและน้ํา รอยละ 20.00 (ตารางที่ 3-40) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ปรับพื้นที่รอยละ 60.00 ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมา เปนทางลําเลียงในไรนารอยละ 40.00 ระบบอนุรักษดินและน้ํา และสระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 6.67 เทากัน (ตารางที่ 3-40) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ปรับพื้นที่รอยละ 64.71 ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมาเปน ระบบอนุรักษดินและน้ํารอยละ 47.06 ปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ 29.41 สระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) และทางลําเลียงในไรนา รอยละ 11.76 เทากัน (ตารางที่ 3-40) 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ปรับพื้นที่รอยละ 66.67 ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมาเปน ระบบอนุรักษดินและน้ํารอยละ 56.66สระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 50.00 ทางลําเลียงในไรนารอยละ30.00 และปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ 10.00 (ตารางที่ 3-40) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับทั้งหมดคือ ปรับพื้นที่ (ตารางที่ 3-40) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดทั้งหมดคือ ปรับพื้นที่ และรองลงมาเปนระบบอนุรักษดินและน้ํา รอยละ 50.00 (ตารางที่ 3-40)


3-23 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดทั้งหมดคือ ปรับพื้นที่รองลงมาเปนระบบอนุรักษดินและน้ํารอยละ 66.67 และปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ 33.33 (ตารางที่ 3-40) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับการสนับสนุนในโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม กิจกรรมที่ไดรับมากที่สุดคือ ปรับพื้นที่รอยละ 72.51ของกิจกรรมที่ไดรับทั้งหมด รองลงมาเปน ระบบอนุรักษดินและน้ํารอยละ 42.05 สระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) รอยละ 23.72 ปจจัยการผลิต (ถังหมัก กากน้ําตาล ผลิตภัณฑสารเรงซุปเปอรพด.) รอยละ 9.97 ทางลําเลียงในไรนารอยละ 9.43 บอดักตะกอน รอยละ 3.23 (ตารางที่ 3-40)


ตารางที่ 3-40 กิจกรรมที่เกษตรกรไดรับการสนับสนุนจากโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 หนวย: รอยละ รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 กิจกรรมที่ไดรับการสนับสนุน ไมไดรับ - - - - - - - - - - - - - ไดรับ 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 -ระบบอนุรักษดินและน้ํา 28.57 37.50 47.50 12.00 68.00 20.00 6.67 47.06 56.66 - 50.00 66.67 42.05 -สระน้ําในไรนา (บอจิ๋ว) 50.00 37.50 20.00 44.00 12.00 - 6.67 11.76 50.00 - - - 23.72 -ปรับพื้นที่ 28.57 87.50 80.00 84.00 56.00 80.00 60.00 64.71 66.67 100.00 100.00 100.00 72.51 -ทางลําเลียงในไรนา - 87.50 - 8.00 4.00 - 40.00 11.76 30.00 - - - 9.43 -บอดักตะกอน 7.14 - 10.00 4.00 - - - - - - - - 3.23 -ปจจัยการผลิต 7.14 12.50 7.50 - 4.00 80.00 - 29.41 10.00 - - 33.33 9.97 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1–12 และเฉลี่ยรวม กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3-2 4


3-25 3.4 การประเมินผลโครงการ เปาหมายของการประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ปงบประมาณ 2566 เพื่อประเมินเกษตรกรที่เขารวมโครงการในป 2564โดยเกษตรกรรอยละ 80.00 มีรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 10.00 หลังการปรับเปลี่ยนพื้นที่ สามารถอธิบายไดดังนี้ 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 14ราย เกษตรกรทั้งหมดมีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 24,174.90 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการเฉลี่ย 63,037.14 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-41) ตารางที่ 3-41 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 14 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 14 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 100.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 24,174.90 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 63,037.14 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 8ราย เกษตรกรทั้งหมดมีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 3,045.00 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการเฉลี่ย 14,006.87 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-42) ตารางที่ 3-42 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 8 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 8 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 100.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 3,045.00 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 14,006.87 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 80 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 74ราย คิดเปนรอยละ 92.50ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 21,647.37 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 35,979.16 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-43)


3-26 ตารางที่ 3-43 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 80 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 74 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 92.50 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 21,647.37 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 35,979.16 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน(2566) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 75 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 60ราย คิดเปนรอยละ 80.00 ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 6,408.48 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 32,792.30 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-44) ตารางที่ 3-44 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 75 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 60 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 80.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 6,408.48 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 32,792.30 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 75ราย เกษตรกรทั้งหมดมีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 7,628.57 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการเฉลี่ย 63,410.81 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-45) ตารางที่ 3-45 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 75 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 75 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 100.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 7,628.57 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 63,410.81 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-27 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 10 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 8 ราย คิดเปนรอยละ 80.00 ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 17,647.82 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 78,030.77 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-46) ตารางที่ 3-46 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 10 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 8 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 80.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 17,647.82 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 78,030.77 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 15 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 13ราย คิดเปนรอยละ 86.67 ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 6,990.00 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 14,281.34 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-47) ตารางที่3-47 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 15 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 13 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 86.67 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 6,990.00 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 14,281.34 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 34 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 28ราย คิดเปนรอยละ 82.35ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 16,459.99 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 56,502.48 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-48)


3-28 ตารางที่ 3-48 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 34 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 28 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 82.35 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 16,459.99 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 56,502.48 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 30 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 25ราย คิดเปนรอยละ 83.33ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการขาดทุนเฉลี่ย 2,331.57 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวม โครงการเฉลี่ย 60,711.92 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-49) ตารางที่ 3-49 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 30 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 25 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 83.33 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) -2,331.57 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 60,711.92 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 5 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 4 ราย คิดเปนรอยละ 80.00 ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 8,340.00 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 25,880.40 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-50) ตารางที่ 3-50 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 5 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 4 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 80.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 8,340.00 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 25,880.40 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-29 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 10ราย มีเกษตรกรที่มีรายไดสุทธิ เพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 9 ราย คิดเปนรอยละ 90.00 ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมี รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 12,109.00 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 56,717.00 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-51) ตารางที่ 3-51 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 10 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 9 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 90.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 12,109.00 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 56,717.00 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 15ราย เกษตรกรทั้งหมดมีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 โดยรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการไมมีเนื่องจากเปนพื้นที่นาราง และมี รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการเฉลี่ย 65,740.62 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-52) ตารางที่ 3-52 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 15 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 15 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 100.00 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) - รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 65,740.62 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 13) เฉลี่ยรวม จากการประเมินผลโครงการ พบวา เกษตรกรกลุมตัวอยาง 371 ราย มีเกษตรกรที่มีรายได สุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10.00 จํานวน 333ราย คิดเปนรอยละ 89.76ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการเฉลี่ย 11,000.52 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ เฉลี่ย 47,190.81 บาทตอครัวเรือน (ตารางที่ 3-53)


3-30 ตารางที่ 3-53 การประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสมของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการ เฉลี่ยรวม ป2566 รายการ จํานวน จํานวนเกษตรกรที่เขารวมโครงการ (ราย) 371 จํานวนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 (ราย) 333 รอยละของเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 89.76 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 11,000.52 รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 47,190.81 ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3.5 ความพึงพอใจที่มีตอโครงการ 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 92.86และระดับมากรอยละ 7.14จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาว สรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.93อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 92.86และระดับมาก รอยละ 7.14 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.93 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 62.50และระดับมากรอยละ 37.50จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.63อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 62.50และระดับมาก รอยละ 37.50 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.63 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 77.50และระดับมากรอยละ 22.50จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.78อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 82.50และระดับมาก รอยละ 17.50 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.83 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 64.00และระดับมากรอยละ 36.00จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.64อยูในระดับความพึงพอใจ


3-31 มากที่สุดและประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 68.00 และระดับมาก รอยละ 32.00 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาวสรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.68 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 96.00และระดับมากรอยละ 4.00จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาว สรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.96อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 88.00และระดับมาก รอยละ 12.00 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.88 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 30.00และระดับมากรอยละ70.00จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.30อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดและระดับมาก รอยละ 50.00 เทากัน จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการเขารวม โครงการเฉลี่ย 3.50 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 80.00และระดับมากรอยละ 20.00 จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาว สรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.80อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 80.00และระดับมาก รอยละ 20.00 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.80 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 52.94และระดับมากรอยละ 47.06จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.53อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 47.06และระดับมาก รอยละ 52.94 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.47 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 56.67และระดับมากรอยละ 43.33จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป


3-32 ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.57อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 60.00และระดับมาก รอยละ 40.00 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.60 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 60.00และระดับมากรอยละ40.00จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาว สรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.60 อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 60.00และระดับมาก รอยละ 40.00 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.60 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ70.00และระดับมากรอยละ 30.00จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.70อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 80.00และระดับมาก รอยละ 20.00 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.80 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 73.33และระดับมากรอยละ 26.67 จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาว สรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.73อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 73.33และระดับมาก รอยละ 26.67 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.73 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรที่เขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมอยูใน ระดับมากที่สุดรอยละ 73.05และระดับมากรอยละ 26.95จากการแปลผลระดับความพึงพอใจดังกลาวสรุป ไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 3.73อยูในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมโครงการอยูในระดับมากที่สุดรอยละ 73.85และระดับมาก รอยละ 26.15 จากการแปลผลระดับประโยชนที่ไดรับดังกลาว สรุปไดวา เกษตรกรไดรับประโยชนจากการ เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.74 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด (ตารางที่ 3-54)


ตารางที่ 3-54 ความพึงพอใจที่มีตอโครงการของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 หนวย: รอยละ รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 ความพึงพอใจตอโครงการ มากที่สุด 92.86 62.50 77.50 64.00 96.00 30.00 80.00 52.94 56.67 60.00 70.00 73.33 73.05 มาก 7.14 37.50 22.50 36.00 4.00 70.00 20.00 47.06 43.33 40.00 30.00 26.67 26.95 นอย - - - - - - - - - - - - - นอยที่สุด - - - - - - - - - - - - - คาเฉลี่ย 3.93 3.63 3.78 3.64 3.96 3.30 3.80 3.53 3.57 3.60 3.70 3.73 3.73 แปลผล มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด ประโยชนที่ไดรับจากโครงการ มากที่สุด 92.86 62.50 82.50 68.00 88.00 50.00 80.00 47.06 60.00 60.00 80.00 73.33 73.85 มาก 7.14 37.50 17.50 32.00 12.00 50.00 20.00 52.94 40.00 40.00 20.00 26.67 26.15 นอย - - - - - - - - - - - - - นอยที่สุด - - - - - - - - - - - - - คาเฉลี่ย 3.93 3.63 3.83 3.68 3.88 3.50 3.80 3.47 3.60 3.60 3.80 3.73 3.74 แปลผล มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1–12 กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3-3 3


3-34 3.6 ปญหาและขอเสนอแนะ 1) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เกษตรกรรอยละ 85.71 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 14.29 มีปญหา ปญหาที่พบคือ เกษตรกรสูงอายุ และขาดความรูในการ ปลูกพืชใหเหมาะสมกับดิน รอยละ 50.00 เทากัน ของเกษตรกรที่มีปญหา ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 78.57 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะและเกษตรกรรอยละ 21.43 มีขอเสนอแนะขอเสนอแนะ ที่พบมากที่สุดคือ ควรสนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) รอยละ 33.34 ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะ รองลงมาควรมีการติดตาม ขยายผล ตอยอดโครงการ และประชาสัมพันธ และควรศึกษาการปลูกพืชบริเวณโครงการและตลาดรองรับ รอยละ 33.33 เทากัน (ตารางที่ 3-55) 2) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เกษตรกรรอยละ 62.50 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 37.50 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ ชางปาบุกรุกพื้นที่ทําการเกษตร รอยละ 66.67 ของเกษตรกรที่มีปญหา รองลงมาแหลงกักเก็บน้ําไมสามารถเก็บน้ําได และขาดแหลงน้ํา รอยละ 33.33 เทากัน ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 75.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะ และเกษตรกรรอยละ 25.00 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ เกษตรกรทั้งหมดเสนอแนะให จัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) และรองลงมาควรสนับสนุนการใชพลังงานแสงอาทิตยรอยละ 50.00 (ตารางที่ 3-55) 3) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 เกษตรกรรอยละ 90.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 10.00 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ ขาดแคลนน้ําในฤดูแลงรอยละ 50.00 ของเกษตรกรที่มีปญหา รองลงมาดินทรุดสงผลใหสระน้ําและรองน้ําชํารุด และพื้นที่นาไมสม่ําเสมอ รอยละ 25.00 เทากัน ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 55.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะ และเกษตรกรรอยละ 45.00 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ ควรมีการติดตาม ขยายผล ตอยอด โครงการ และประชาสัมพันธรอยละ 44.45 ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะ รองลงมาควรสนับสนุนปจจัย การผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) รอยละ 38.89 จัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) รอยละ 16.67 สนับสนุนการใชพลังงานแสงอาทิตยรอยละ 11.11 และการมีสวนรวมในการออกแบบโครงการ รอยละ 5.56 (ตารางที่ 3-55) 4) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 4 เกษตรกรรอยละ 84.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 16.00 มีปญหา ปญหาที่พบคือ น้ําทวมขังในฤดูฝน อัตราการงอกของเมล็ดพันธุ ปุยพืชสดต่ําดินทรุดสงผลใหสระน้ําและรองน้ําชํารุด แรงงานไมเพียงพอ และขาดความรูเรื่องการจัดการดิน รอยละ 25.00 เทากัน ของเกษตรกรที่มีปญหา ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 68.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะ และเกษตรกรรอยละ 32.00 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ ตองการใหสนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) รอยละ 75.00 ของเกษตรกร ที่มีขอเสนอแนะ รองลงมาการมีสวนรวมในการออกแบบโครงการ และจัดอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู รอยละ 12.50 เทากัน (ตารางที่ 3-55)


3-35 5) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงานโครงการ ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 56.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะและเกษตรกรรอยละ 44.00 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ ควรมีการติดตาม ขยายผล ตอยอดโครงการ และ ประชาสัมพันธรอยละ 45.46 ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะ รองลงมาควรสนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) และจัดอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรูรอยละ 27.27 เทากัน (ตารางที่ 3-55) 6) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 เกษตรกรรอยละ 70.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 30.00 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ ขาดแคลนน้ําในฤดูแลงรอยละ 66.67 ของเกษตรกรที่มีปญหา และรองลงมาปรับพื้นที่แลวไมสามารถใชเครื่องจักรทําการเกษตรไดรอยละ 33.33 ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 70.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะและเกษตรกรรอยละ 30.00 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ ตองการใหจัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) รอยละ 66.67 ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะรองลงมาการมีสวนรวมในการออกแบบโครงการและควรมีการติดตาม ขยายผล ตอยอดโครงการ และประชาสัมพันธรอยละ 33.33 เทากัน (ตารางที่ 3-55) 7) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 เกษตรกรรอยละ 73.33 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 26.67 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ น้ําทวมขังในฤดูฝนรอยละ 75.00 ของเกษตรกรที่มีปญหา รองลงมาขาดแคลนน้ําในฤดูแลง และพื้นที่นาไมสม่ําเสมอ รอยละ 25.00 เทากัน ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 73.33 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะและเกษตรกรรอยละ 26.67 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ เกษตรกรทั้งหมดตองการมีสวนรวมในการออกแบบโครงการ และรองลงมาตองการใหจัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) รอยละ 50.00 (ตารางที่ 3-55) 8) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 เกษตรกรรอยละ 76.47 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 23.53 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ ดินทรุดสงผลใหสระน้ําและรองน้ํา ชํารุดรอยละ 75.00 ของเกษตรกรที่มีปญหา รองลงมาน้ําทวมขังในฤดูฝน แหลงกักเก็บน้ําไมสามารถเก็บน้ําได และขาดแคลนน้ําในฤดูแลง รอยละ 25.00 เทากัน ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 47.06 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะและเกษตรกรรอยละ 52.94 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือสนับสนุน ปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด)รอยละ 66.67 ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะรองลงมา จัดหาแหลงเงินทุนใหกับเกษตรกรรอยละ 33.33 จัดอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรูรอยละ 22.22 และจัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) รอยละ 11.11 (ตารางที่ 3-55) 9) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เกษตรกรรอยละ 90.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 10.00 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ แหลงกักเก็บน้ําไมสามารถเก็บน้ําได รอยละ 66.67 ของเกษตรกรที่มีปญหา และรองลงมาปรับพื้นที่ไมไดตามแบบที่ตองการรอยละ 33.33 ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 56.67 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะและเกษตรกรรอยละ 43.33 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ ควรมีการติดตาม ขยายผล ตอยอดโครงการ และ


3-36 ประชาสัมพันธรอยละ53.85ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะ รองลงมาจัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) รอยละ 30.77 สนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) และจัดอบรมเพื่อ เพิ่มพูนความรูรอยละ 7.69 เทากัน (ตารางที่ 3-55) 10) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 เกษตรกรรอยละ 40.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 60.00 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ เกษตรกรทั้งหมดมีปญหาน้ําทวมขัง ในฤดูฝน และรองลงมาขาดแคลนน้ําในฤดูแลงรอยละ 66.67 ทั้งนี้ เกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมี ขอเสนอแนะ (ตารางที่ 3-55) 11) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เกษตรกรรอยละ 80.00 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ20.00 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ เกษตรกรทั้งหมดมีปญหาน้ําทวมขัง ในฤดูฝน และรองลงมาขาดแคลนน้ําในฤดูแลงรอยละ 50.00 ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 80.00 ของเกษตรกร ที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะ และเกษตรกรรอยละ 20.00 มีขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่พบ คือ ตองการใหสนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) และมีสวนรวมในการ ออกแบบโครงการ รอยละ 50.00 เทากัน ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะ (ตารางที่ 3-55) 12) สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 เกษตรกรรอยละ 6.67 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการและเกษตรกรรอยละ 93.33 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 92.86 ของเกษตรกรที่มีปญหา รองลงมาขาดแคลนปจจัยการผลิต (พันธุปลา) รอยละ 42.86 ราคาผลผลิตตกต่ํา รอยละ 28.57 และน้ําทวมขังในฤดูฝนรอยละ7.14 ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 6.67 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะและเกษตรกรรอยละ 93.33 มีขอเสนอแนะขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือเกษตรกร ทั้งหมดตองการใหสนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) และรองลงมา จัดหาแหลงรับซื้อผลผลิตรอยละ 28.57 (ตารางที่ 3-55) 13) เฉลี่ยรวม เกษตรกรรอยละ 83.29ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีปญหาในการดําเนินงาน โครงการ และเกษตรกรรอยละ 16.71 มีปญหา ปญหาที่พบมากที่สุดคือ น้ําทวมขังในฤดูฝนรอยละ 22.58 ของเกษตรกรที่มีปญหา รองลงมาปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 20.97 ขาดแคลนน้ําในฤดูแลงรอยละ 19.35ดินทรุด สงผลใหสระน้ําและรองน้ําชํารุดรอยละ 17.74 ขาดแคลนปจจัยการผลิต (พันธุปลา) รอยละ 9.68แหลงกัก เก็บน้ําไมสามารถเก็บน้ําไดรอยละ 8.06ราคาผลผลิตตกต่ํารอยละ 6.45อัตราการงอกของเมล็ดพันธุปุยพืชสดต่ํา แรงงานไมเพียงพอ ขาดความรูเรื่องการจัดการดิน พื้นที่นาไมสม่ําเสมอ รอยละ 4.84 เทากัน ชางปาบุกรุก พื้นที่ทําการเกษตรรอยละ 3.23เกษตรกรสูงอายุ ปรับพื้นที่แลวไมสามารถใชเครื่องจักรทําการเกษตรไดขาดความรู ในการปลูกพืชใหเหมาะสมกับดิน ขาดแหลงน้ํา และปรับพื้นที่ไมไดตามแบบที่ตองการ รอยละ 1.61เทากัน ทั้งนี้ เกษตรกรรอยละ 59.03 ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการทั้งหมดไมมีขอเสนอแนะ และเกษตรกร รอยละ40.97 มีขอเสนอแนะขอเสนอแนะที่พบมากที่สุดคือ ตองการใหสนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไมพันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด)รอยละ46.05ของเกษตรกรที่มีขอเสนอแนะ รองลงมาควรมีการติดตาม ขยายผล ตอยอดโครงการ และประชาสัมพันธรอยละ 26.31จัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) รอยละ 11.84จัดอบรม


3-37 เพื่อเพิ่มพูนความรูรอยละ 11.18การมีสวนรวมในการออกแบบโครงการรอยละ 7.24จัดหาแหลงเงินทุนใหกับ เกษตรกรรอยละ3.95 สนับสนุนการใชพลังงานแสงอาทิตยรอยละ 3.29จัดหาแหลงรับซื้อผลผลิตรอยละ2.63 และควรศึกษาการปลูกพืชบริเวณโครงการและตลาดรองรับรอยละ 0.66 (ตารางที่ 3-55)


ตารางที่ 3-55 ปญหาและขอเสนอแนะของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 หนวย: รอยละ รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 ปญหาในการดําเนินโครงการ เกษตรกรไมมีปญหา 85.71 62.50 90.00 84.00 100.00 70.00 73.33 76.47 90.00 40.00 80.00 6.67 83.29 เกษตรกรมีปญหา 14.29 37.50 10.00 16.00 - 30.00 26.67 23.53 10.00 60.00 20.00 93.33 16.71 ลักษณะปญหา -น้ําทวมขังในฤดูฝน - - - 25.00 - - 75.00 25.00 - 100.00 100.00 7.14 22.58 -อัตราการงอกของเมล็ดพันธุปุยพืชสดต่ํา - - - 25.00 - - - - - - - - 4.84 -ดินทรุดสงผลใหสระน้ําและรองน้ําชํารุด - - 25.00 25.00 - - - 75.00 - - - - 17.74 -แหลงกักเก็บน้ําไมสามารถเก็บน้ําได - 33.33 - - - - - 25.00 66.67 - - - 8.06 -แรงงานไมเพียงพอ - - - 25.00 - - - - - - - - 4.84 -ขาดความรูเรื่องการจัดการดิน - - - 25.00 - - - - - - - - 4.84 -ขาดแคลนน้ําในฤดูแลง - - 50.00 - - 66.67 25.00 25.00 - 66.67 50.00 - 19.35 -เกษตรกรสูงอายุ 50.00 - - - - - - - - - - - 1.61 -พื้นที่นาไมสม่ําเสมอ - - 25.00 - - - 25.00 - - - - - 4.84 -ปรับพื้นที่แลวไมสามารถใชเครื่องจักร ทําการเกษตรได - - - - - 33.33 - - - - - - 1.61 -ขาดแคลนปจจัยการผลิต (พันธุปลา) - - - - -- - - - - - - 42.86 9.68 -ปจจัยการผลิตมีราคาสูง - - - - - - - - - - - 92.86 20.97 -ราคาผลผลิตตกต่ํา - - - - - - - - - - - 28.57 6.45 -ชางปาบุกรุกพื้นที่ทําการเกษตร - 66.67 - - - - - - - - - - 3.23 -ขาดความรูในการปลูกพืชใหเหมาะสม กับดิน 50.00 - - - - - - - - - - - 1.61 -ขาดแหลงน้ํา - 33.33 - - - - - - - - - - 1.61 -ปรับพื้นที่ไมไดตามแบบที่ตองการ - - - - - - - - 33.33 - - - 1.61 3-3 8


3-2 ตารางที่ 3-55 (ตอ) หนวย: รอยละ รายการ สํานักงานพัฒนาที่ดิน เฉลี่ยรวม เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 ขอเสนอแนะเพื่อพัฒนาโครงการ ไมมีขอเสนอแนะ 78.57 75.00 55.00 68.00 56.00 70.00 73.33 47.06 56.67 100.00 80.00 6.67 59.03 มีขอเสนอแนะ 21.43 25.00 45.00 32.00 44.00 30.00 26.67 52.94 43.33 - 20.00 93.33 40.97 ลักษณะขอเสนอแนะ -สนับสนุนปจจัยการผลิต (พันธุไม พันธุปลา เมล็ดพันธุ ปุย ปุยพืชสด) 33.34 - 38.89 75.00 27.27 - - 66.67 7.69 - 50.00 100.00 46.05 -มีสวนรวมในการออกแบบโครงการ - - 5.56 12.50 - 33.33 100.00 - - - 50.00 - 7.24 -จัดหาแหลงเงินทุนใหกับเกษตรกร - - - - - - - 33.33 - - - - 3.95 -จัดอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู - - 12.50 27.27 - - 22.22 7.69 - - - 11.18 -จัดหาแหลงน้ํา (บอ สระ น้ําบาดาล) - 100.00 16.67 - - 66.67 50.00 11.11 30.77 - - - 11.84 -ควรมีการติดตาม ขยายผล ตอยอดโครงการ และประชาสัมพันธ 33.33 - 44.45 - 45.46 33.33 - - 53.85 - - - 26.31 -จัดหาแหลงรับซื้อผลผลิต - - - - - - - - - - - 28.57 2.63 -สนับสนุนการใชพลังงานแสงอาทิตย - 50.00 11.11 - - - - - - - - - 3.29 -ควรศึกษาการปลูกพืชบริเวณโครงการ และตลาดรองรับ 33.33 - - - - - - - - - - - 0.66 ที่มา: จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1–12 และเฉลี่ยรวม กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากการสํารวจและคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 3-3 9


4-1 บทที่ 4 สรุปผลและขอเสนอแนะ การประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ ไมเหมาะสม มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาขอมูลทั่วไปของเกษตรกร และเพื่อประเมินตนทุนและผลตอบแทน ทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เขารวมโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ซึ่งไดทําการศึกษา และรวบรวม ขอมูลการผลิต จํานวน 371ราย ในพื้นที่สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 แลวดําเนินการประมวลผลและวิเคราะห ขอมูลของเกษตรกรกอนและหลังเขารวมโครงการ จากนั้นนํารายไดสุทธิกอนและหลังมาประเมินผล ซึ่งสรุปผลการศึกษาไดดังนี้ 4.1 สรุปผล 1) ขอมูลทั่วไป เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย56 ป สวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ51.48และมี สถานภาพการเปนหมอดินอาสารอยละ 11.86ของเกษตรกรทั้งหมด มีพื้นที่เขารวมโครงการเฉลี่ย 10.22ไร ตอครัวเรือน สวนใหญมีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินเปนโฉนดรอยละ 62.23ของพื้นที่เขารวมโครงการทั้งหมด เกษตรกร มีการกูยืมเงินรอยละ 38.54โดยมีการกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร(ธ.ก.ส.) มากที่สุด รอยละ 75.52 มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 6.51 บาทตอป เกษตรกรมีสถานภาพดานการเงินของครัวเรือนเกษตรเฉลี่ยตอป คือ มีรายไดในครัวเรือน เฉลี่ย 179,188.08 บาท มีคาใชจายในครัวเรือนเฉลี่ย115,245.84 บาท และเกษตรกรมีเงินคงเหลือเพื่อใชจาย ในครัวเรือนเฉลี่ย 63,942.24 บาท สําหรับสถานภาพดานแรงงานของครัวเรือนเกษตรที่เขารวมโครงการ มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 6.26 คนตอครัวเรือน (แรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.22 คนตอครัวเรือน) การแนะนําความรูเกี่ยวกับโครงการ เกษตรกรรอยละ 97.84 ไดมีการแนะนําความรูที่ไดจากโครงการ ปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม 2) ผลการดําเนินงาน 2.1) จากสภาพการผลิตและการกระจายผลผลิตกอนเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูก เฉลี่ย 9.92ไรตอครัวเรือน มีการกระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 51.33 และนําไปจําหนายรอยละ 48.67และหลังเขารวมโครงการมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 8.78ไรตอครัวเรือน มีการ กระจายผลผลิต โดยแบงออกเปนการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 48.72และนําไปจําหนายรอยละ 51.28 2.2) การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนการผลิตเฉลี่ยตอไร พบวา กอนเขารวม โครงการมีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 3,627.85 บาท มีตนทุนการผลิตเฉลี่ย 2,518.93 บาท และผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ย 1,108.92 บาท และหลังเขารวมโครงการมีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย 9,171.29 บาท มีตนทุนการผลิต เฉลี่ย 3,796.49 บาท และผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 5,374.80 บาท โดยหลังเขารวมโครงการเกษตรกรมีตนทุน การผลิต มูลคาผลผลิต และผลตอบแทนสุทธิเพิ่มขึ้น เนื่องจากกอนเขารวมโครงการเกษตรกรทําการผลิต ขาวนาปเพียงครั้งเดียวตลอดปการผลิต ใชน้ําฝนเพียงอยางเดียวในการผลิต อีกทั้งสภาพทางกายภาพ ของดินเปนพื้นที่มีความเหมาะสมเพียงเล็กนอยและไมเหมาะสมสําหรับการเพาะปลูก จึงปลอยใหพื้นที่นา วางเปลาไมไดใชประโยชนที่ดินในฤดูแลง เมื่อเขารวมโครงการเกษตรกรไดรับการสนับสนุนวัสดุปรับปรุงดิน


4-2 จัดสรางแหลงน้ําในไรนา และการปรับรูปแปลงนาในลักษณะตาง ๆ เพื่อใหเหมาะสมและสามารถทําการ ผลิตได จึงทําใหเกษตรกรสามารถทําการผลิตไดตลอดทั้งป การทําการเกษตรแบบผสมผสานดังกลาว แมจะทําใหมีตนทุนการผลิตเพิ่มขึ้น เพราะมีการใชปจจัยในการผลิตเพิ่มมากขึ้น แตก็สงผลใหมีรายได เพิ่มมากขึ้นตามไปดวย สําหรับการประเมินอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) กอนและหลัง เขารวมโครงการ เทากับ 1.44และ 2.42ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกันแลวหลังเขารวมโครงการมีอัตราสวน ที่เพิ่มขึ้นแสดงวามีความคุมคาในการลงทุน ทั้งนี้ จากการเปรียบเทียบขอมูลการผลิตตอพื้นที่ของเกษตรกรกอนและหลังเขารวม โครงการ (ตนทุนการผลิตตอไร มูลคาผลผลิตตอไร ผลตอบแทนสุทธิตอไร และประเมินอัตราสวนรายได ตอตนทุน) แสดงใหเห็นวาโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม โดยการปรับเปลี่ยนการผลิตจากเดิม นาขาว เปลี่ยนเปนนาขาวรวมกับการทําการเกษตรแบบผสมผสาน สงผลใหการผลิตทางการเกษตรของ เกษตรกรมีผลิตภาพ (Productivity) มีความคุมคาในการลงทุน และประสิทธิภาพการผลิตตอพื้นที่ เพิ่มขึ้น 2.3) การประเมินผลโครงการเกษตรกรกลุมตัวอยาง 371ราย มีรายไดสุทธิเพิ่มขึ้นมากกวา รอยละ 10.00 จํานวน 333ราย หรือรอยละ 89.76ของจํานวนเกษตรกรกลุมตัวอยาง โดยมีรายไดสุทธิกอนเขารวม โครงการเฉลี่ย 11,000.52 บาทตอครัวเรือน และมีรายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการเฉลี่ย 47,190.81 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 36,190.29 บาทตอครัวเรือน จึงถือวาผลการดําเนินงานของโครงการไดสําเร็จเกินกวาเปาหมาย ของโครงการ (ตารางที่ 4-1) ตารางที่ 4-1 สรุปการประเมินผลโครงการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ไมเหมาะสม ป2566 รายการ ผลการประเมินโครงการ คน รอยละ เกษตรกรที่เขารวมโครงการ 371 100.00 เกษตรกรที่มีรายไดสุทธิเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 333 89.76 รายไดสุทธิกอนเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 11,000.52 - รายไดสุทธิหลังเขารวมโครงการ (บาทตอครัวเรือน) 47,190.81 - ที่มา: จากการคํานวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) ดานความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอโครงการ4 ระดับ สรุปไดวา เกษตรกรมีความพึงพอใจ ตอการดําเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยนเฉลี่ย 3.73 อยูในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และประโยชนที่ไดรับ จากการเขารวมโครงการเฉลี่ย 3.74 อยูในระดับประโยชนที่ไดรับมากที่สุด 4.2 ขอเสนอแนะ 1) หนวยงานภาครัฐโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ควรใชแผนที่เกษตรเพื่อการบริหาร จัดการเชิงรุก (Agri-Map) ควบคูไปกับแผนการผลิตการตลาดสินคาเกษตร ซึ่งสามารถกําหนดพื้นที่การผลิต ที่เหมาะสม เปนการบริหารจัดการปริมาณสินคาเกษตรอยางเปนระบบ โดยการควบคุมอุปทานการผลิต ใหสอดคลองกับอุปสงคความตองการของตลาด ตามแนวทางนโยบายการตลาดนําการผลิต เพื่อชวยให ราคาสินคาเกษตรปรับตัวสูงขึ้นตามกลไกตลาด


4-3 2) สถาบันการเงินควรปรับปรุงการปลอยสินเชื่อ เพื่อใหเกษตรกรที่ไมมีความสามารถ ในการชําระหนี้ ไมกอหนี้ที่ไมสามารถชําระหนี้ไดเพิ่มขึ้น 3) หนวยงานภาครัฐควรสงเสริมใหคําแนะนํา หรือประชาสัมพันธเรื่องการผลิตพืชที่มีความ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และสภาพตลาด เพื่อใหเกษตรกรมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนการปลูกพืช หรือ ปลูกพืชผสมผสานเพิ่มมากขึ้นเพื่อสรางรายได และกระจายความเสี่ยงในการปลูกพืชเชิงเดี่ยว 4) ประเทศไทยไดเขาสูสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณแบบ ดังนั้น ภาครัฐควรสงเสริมเกษตรกร รุนใหมใหชวยพัฒนาคุณภาพและระบบการผลิตทางการเกษตร พรอมกับถายทอดเทคโนโลยีหรือ นวัตกรรมการผลิตพืชใหม ๆ ใหเกษตรกรผูสูงอายุ ซึ่งบางรายมีขอจํากัดดานการเปลี่ยนแปลงการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยี จะชวยใหครัวเรือนเกษตรสามารถรักษาคุณภาพผลผลิตไวได อีกทั้งสามารถ ลดรายจายดานแรงงาน 5) การชวยเหลือใหเกษตรกรมีรายไดในครัวเรือนเพิ่มขึ้น หนวยงานภาครัฐควรสนับสนุน ใหเกษตรกรลดตนทุนการผลิต โดยการลดใชสารเคมี และสรางมูลคาเพิ่มในการผลิตพืช โดยใหความรู ดานการแปรรูปสินคาเกษตร 6) หนวยงานภาครัฐควรสงเสริมการรวมกลุมของเกษตรกร ในรูปแบบระบบสหกรณพรอมทั้ง พัฒนาระบบใหดียิ่งขึ้น เพื่อสรางความเขมแข็งของกลุมเกษตรกร ใหมีอํานาจตอรองในการซื้อปจจัยการผลิต การขายสินคาเกษตร การระดมทุน ตลอดจนจัดหาเงินลงทุนใหเกษตรกรมากขึ้น


Click to View FlipBook Version