The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kew_k0712, 2024-03-07 21:32:50

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ 2566

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ 2566

รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ สำหรับพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรคปงบประมาณ 2566 กลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร เอกสารวิชาการเลขที่ 04/03/2566 กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กันยายน 2566 กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ


สารบัญ หนา สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) บทสรุปสำหรับผูบริหาร (4) บทที่ 1 บทนำ 1-1 1.1 หลักการและเหตุผล 1-1 1.2 วัตถุประสงค 1-1 1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินงาน 1-1 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน 1-2 1.5 นิยามศัพท 1-5 บทที่ 2 ขอมูลทั่วไป 2-1 2.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร 2-1 2.2 การถือครองที่ดินของเกษตรกร 2-1 2.3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร 2-2 2.4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐ 2-4 2.5 ทัศนคติในการผลิต 2-9 บทที่ 3 ผลการดำเนินงาน 3-1 3.1 ภาวะการผลิต 3-1 3.2 การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช 3-11 บทที่ 4 สรุปผลและขอเสนอแนะ 4-1 4.1 สรุปผล 4-1 4.2 ขอเสนอแนะ 4-4 เอกสารอางอิง อ-1 ภาคผนวก ผ-1 ภาคผนวก ก จำนวนตัวอยางและพื้นที่สำรวจพืชเศรษฐกิจ ผ-2 ภาคผนวก ข ประมวลภาพกิจกรรมและการเก็บขอมูล ผ-5 ภาคผนวก ค คุณสมบัติของกลุมชุดดิน ผ-10


(2) สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 2-1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-1 ตารางที่ 2-2 การถือครองที่ดินและหนังสือสำคัญในที่ดินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-2 ตารางที่ 2-3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-3 ตารางที่ 2-4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-7 ตารางที่ 2-5 ทัศนคติในการผลิตของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 2-10 ตารางที่ 3-1 ตนทุนและผลตอบแทนของประเภทการใชประโยชนที่ดิน จำแนกตามกลุมชุดดิน ปการผลิต 2565/66 3-8 ตารางที่ 3-2 ผลการคำนวณคาตัวแปรสำหรับการจัดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ ของการใชประโยชนที่ดินพืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 3-10 ตารางที่ 3-3 การวิเคราะหความเหมาะสมดานเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดิน พืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 3-13 ตารางที่ 3-4 ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินทางเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 3-16


(3) สารบัญภาพ หนา ภาพที่ 1 แผนที่แสดงกลุมชุดดินขาวในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-3 ภาพที่ 2 แผนที่แสดงกลุมชุดดินขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-3 ภาพที่ 3 แผนที่แสดงกลุมชุดดินมันสำปะหลังในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-4 ภาพที่ 4 แผนที่แสดงกลุมชุดดินออยโรงงานในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ผ-4 ภาพที่ 5 ประชุมวางแผนการปฏิบัติงานและจัดทำแบบสอบถาม (21 ธันวาคม 2565) ผ-5 ภาพที่ 6 ประชุมหารือการกำหนดกลุมตัวอยาง จังหวัดนครสวรรค (27 กุมภาพันธ 2566) ผ-5 ภาพที่ 7 การประชุมติดตามความกาวหนาการเขียนรางรายงาน (2 มิถุนายน 2566) ผ-5 ภาพที่ 8 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจขาว จังหวัดนครสวรรค ผ-6 ภาพที่ 9 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจขาวโพดเลี้ยงสัตวจังหวัดนครสวรรค ผ-7 ภาพที่ 10 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจมันสำปะหลัง จังหวัดนครสวรรค ผ-8 ภาพที่ 11 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจออยโรงงาน จังหวัดนครสวรรค ผ-9


บทสรุปสำหรับผูบริหาร รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจสำหรับพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรคมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาและวิเคราะหขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ และ (2) วิเคราะหและประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดินจำแนก ตามกลุมชุดดิน สำหรับสนับสนุนงานวางแผนการใชที่ดินในระดับพื้นที่ โดยศึกษาพืชเศรษฐกิจขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตวถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง และออยโรงงาน ตามกลุมชุดดินที่ 4 7 18 21 28 35 40 52 54 และกลุมชุดดินที่ 56 สรุปไดดังนี้ ภาวะเศรษฐกิจและสังคม พบวา เกษตรกรผูมีอายุเฉลี่ย 56 ป จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษามากที่สุดรอยละ 74.48 ของเกษตรกรทั้งหมด การถือครองที่ดินสวนใหญเปนที่ดิน ของตนเอง และมีหนังสือสำคัญที่มีเอกสารสิทธิ์สวนใหญเปนโฉนด ครัวเรือนเกษตรมีภาวะหนี้สิน และกูยืมเงินรอยละ 35.31 มีวงเงินกูเฉลี่ย 48,846.15 บาทตอครัวเรือน ซึ่งสวนใหญเปนการกูยืมเงิน ในระบบ โดยแหลงเงินกูที่มีการกูยืมเงินมากที่สุด คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ปญหาดานการผลิตทางการเกษตร พบวา เกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจในปการเพาะปลูก 2565/66 พบเจอปญหาที่เหมือนกันจำนวน 3 ปญหา ไดแก ปจจัยการผลิตมีราคาสูง ศัตรูพืชรบกวน และฝนแลงฝนทิ้งชวง และสวนใหญตองการความชวยเหลือดานการเกษตร โดยใหรัฐจัดหาปจจัยการผลิต ราคาถูก ประกันราคาพืชผลทางการเกษตร และจัดสรางแหลงน้ำเพื่อการเกษตร สำหรับทัศนคติ ของครัวเรือนเกษตรสวนใหญไมตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืช สวนแนวคิดในการเพิ่มผลผลิต พบวา เกษตรกรรอยละ 68.18 มีแนวคิดการเพิ่มปริมาณปุยเคมีมากที่สุด ทั้งนี้ เกษตรกรสวนใหญไมมีแนวคิด วางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช พบวา (1) การประเมิน ความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืชอยูในระดับสูง S1ไดแก กลุมชุดดินที่ 18 ขาวนาปตามดวย ขาวโพดเลี้ยงสัตว และกลุมชุดดินที่ 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว(2) การประเมิน ความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช อยูในระดับปานกลาง S2 ไดแก กลุมชุดดินที่ 4 ขาวนาป ตามดวยขาวนาปรัง กลุมชุดดินที่ 7 ขาวนาป และขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง กลุมชุดดินที่ 18 ขาวนาป กลุมชุดดินที่ 21 ขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง กลุมชุดดินที่ 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลังและออยโรงงาน กลุมชุดดินที่ 35 มันสำปะหลังกลุมชุดดินที่40 มันสำปะหลังกลุมชุดดินที่ 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยถั่วเขียวผิวมัน และออยโรงงาน กลุมชุดดินที่ 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง และกลุมชุดดินที่ 56 มันสำปะหลัง และ (3) การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช อยูในระดับเล็กนอยS3ไดแก กลุมชุดดินที่ 35ออยโรงงาน และกลุมชุดดินที่ 40 ออยโรงงาน ขอเสนอแนะ ภาครัฐหรือหนวยงานที่เกี่ยวของควรสงเสริมองคความรูดานการเกษตร ถายทอดเทคโนโลยีใหม ๆ ที่เหมาะสมไปสูเกษตรกร สนับสนุนปจจัยการผลิตที่สามารถชวยลดตนทุนได รวมถึงการการสงเสริม สนับสนุน เพิ่มศักยภาพ ของงานวิจัยและพัฒนาดานการเกษตรใหมากขึ้น


บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยในชวงระยะเวลาที่ผานมา ตองอาศัยแหลง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนปจจัยพื้นฐานสำคัญในการผลิต แตเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ ประชากรและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ทำใหมีการใชประโยชนจากทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเกินศักยภาพสงผลกระทบในดานตางๆเชน ทรัพยากรดินขาดความอุดมสมบรูณ การใชที่ดินที่ไมเหมาะสมกับศักยภาพของดิน เกิดการชะลางพังทลายของดิน พื้นที่ปาไมถูกบุกรุกทำลาย เกิดปญหาอุทกภัยและภัยธรรมชาติบอยครั้ง ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศตาง ๆ ลดลง เปนตน ซึ่งมีผลกระทบอยางรุนแรงตอการดำเนินชีวิตของประชาชน ดังนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ จึงมีนโยบายในการพัฒนายุทธศาสตรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรในการผลิตพืชเศรษฐกิจ โดยกรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานสำคัญมีหนาที่ในการจัดทำและกำหนดเขตการใชที่ดินใหเหมาะสม ในการปลูกพืชเศรษฐกิจ ดวยการวางแผนการใชที่ดินเพื่อวิเคราะห และหาแนวทางการแกไขปญหา จากการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเกินศักยภาพ จึงตองทำการประเมินคุณภาพที่ดิน เพื่อพิจารณาศักยภาพของทรัพยากรที่ดินตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ ในระดับการจัดการ ที่แตกตางกัน อีกทั้งการประเมินคุณภาพที่ดินยังเปนเครื่องมือสำคัญอยางหนึ่งในการกำหนดทิศทาง การใชประโยชนที่ดินใหเปนไปอยางเหมาะสม เกิดประโยชนอยางยั่งยืนและคุมคาทางเศรษฐกิจ ซึ่งในปจจุบันกองนโยบายและแผนการใชที่ดินไดใชวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO Framework (1983) มาประเมินความเหมาะสมทางกายภาพสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ดังนั้น กลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร จึงไดจัดทำโครงการประเมินคุณภาพที่ดิน ดานเศรษฐกิจสำหรับพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่จังหวัดนครสวรรคเพื่อจัดระดับความเหมาะสม ดานเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดินในระดับพื้นที่และสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนา การเกษตรในการปลูกพืชเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีผลตอการกำหนดเขตการใชที่ดินใหเหมาะสมกับพื้นที่ในการ บริหารจัดการพื้นที่ภาคการเกษตรตอไป 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1 เพื่อศึกษาและวิเคราะหขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค 1.2.2 เพื่อวิเคราะหและประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจตามประเภทการใช ประโยชนที่ดินตามกลุมชุดดิน เพื่อสนับสนุนงานวางแผนการใชที่ดินในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค 1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินงาน 1.3.1 ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 1.3.2 สถานที่ดำเนินงาน จังหวัดนครสวรรค


1-2 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน 1.4.1 ศึกษาขอมูลเบื้องตน และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ เชน แผนที่และเครื่องคำนวณ ระบบกำหนดตำแหนงบนพื้นโลก (Global Positioning System: GPS) จัดทำแผนและวางแผนการ ปฏิบัติงาน รวมทั้งประสานขอความรวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของ 1.4.2 การเก็บรวบรวมขอมูลจากหนวยงานตาง ๆ โดยสามารถจัดประเภทขอมูลได 2 ประเภท 1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ขอมูลที่เก็บรวบรวมดวยวิธีการสัมภาษณ เกษตรกร โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaires) 2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ขอมูลตาง ๆ ที่ทำการเก็บรวบรวม จากเอกสารวิชาการ ผลงานวิจัยรายงาน บทความ และระบบสืบคนทางอินเตอรเน็ต เพื่อนำขอมูลดังกลาว มาอางอิงและประกอบการศึกษา 1.4.3 การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม วิเคราะหผลตอบแทนตามประเภท การใชประโยชนที่ดิน และประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจสำหรับประเภทการใชประโยชนที่ดิน ตามกลุมชุดดิน สามารถวิธีวิเคราะหไดดังนี้ 1) การวิเคราะหผลตอบแทนจากการผลิตตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน ในแตละ กลุมชุดดิน โดยวิเคราะหในระดับตาง ๆ อาทิเชน ผลตอบแทนขั้นตนหรือผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร ผลตอบแทนสุทธิหรือผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และอัตราสวนรายไดตอการลงทุน เปนตน 2) การประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจสำหรับประเภทการใชประโยชน ที่ดินตามกลุมชุดดิน ซึ่งการประเมินคุณภาพที่ดินทางเศรษฐกิจ สำหรับพืชเศรษฐกิจที่มีอายุการผลิต ไมเกิน 1 ป สามารถประเมินได(กัลยาณี, 2554) ดังนี้ 2.1) การเลือกตัวแปรที่นำมาใชเปนตัวชี้วัดในการประเมินคุณภาพที่ดิน ดานเศรษฐกิจ เพื่อจัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ เลือกชนิดตัวแปรทางเศรษฐกิจที่นำมาใช วิเคราะห 4 ตัวแปร ไดแก รายไดหรือมูลคาผลผลิต ตนทุนการผลิต ผลตอบแทนจากการผลิต และอัตราสวนรายไดตอตนทุน 2.2) การกำหนดคาวิกฤตที่นำมาใชกำหนดจุดวิกฤต (Critical Point) และแบงชวง ของขอมูลตัวแปรจากคาพิสัย (Interval Range) เพื่อแบงระดับความเหมาะสมของตัวแปรตาง ๆ ซึ่งแตละ ตัวแปรมีคาวิกฤตที่ตางกัน 2.3) วิธีการประเมินคุณภาพที่ดิน (1) จัดเตรียมขอมูลตัวแปรที่ใชเปนตัวชี้วัดในการจัดระดับความเหมาะสม ตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยคำนวณใหเปนคาเฉลี่ยตอไรทุกตัวแปร ยกเวนอัตราสวนรายไดตอ ตนทุน ดังนี้ - รายไดหรือมูลคาผลผลิตเฉลี่ยตอไร คำนวณจากผลผลิตเฉลี่ย ตอไรคูณดวยราคาขายเฉลี่ย (ใชราคาเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อกำจัดปญหาตัวแปรดานราคาที่แตกตางกัน ตามสถานที่และระยะเวลาการผลิต) รายได (Income: I) = ผลผลิต x ราคา


1-3 - ตนทุนการผลิตตอไร ตนทุนการผลิตที่นำมาประเมินเปนตนทุน ผันแปรเฉลี่ยตอไร (เปนเงินสดและไมเปนเงินสด) ตนทุนผันแปร (Variable Cost: VC) = ตนทุนผันแปรที่เปนเงินสด + ตนทุนผันแปรที่ไมเปนเงินสด - ผลตอบแทนเฉลี่ยตอไร คือ ผลตอบแทนจากการผลิตที่นำมาประเมิน เปนผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร ทั้งนี้เนื่องจากผลผลิต และรายไดที่ไดรับเกิดจากการ ผลิตในระยะสั้น การประเมินผลตอบแทนจากการใชประโยชนที่ดิน จึงสามารถประเมินไดจาก ผลตอบแทนขั้นตนเหนือตนทุนผันแปร ซึ่งแสดงใหเห็นวา การผลิตในแตละประเภทนั้นจะคุมคา กับคาใชจายที่เกิดขึ้นเมื่อทำการผลิตหรือไม หากทำการผลิตแลวไดรับผลตอบแทนไมคุมคากับตนทุน ผันแปรก็ไมควรทำการผลิต เพราะเมื่อรวมตนทุนผันแปรกับตนทุนคงที่แลวจะทำใหขาดทุนยิ่งขึ้น ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร (Return of Over Variable Cost: RVC) = รายได-ตนทุนผันแปร อัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (Rate of Income/Variable Cost: R) = รายไดหรือมูลคาผลผลิต ตนทุนผันแปร (2) กำหนดระดับคาตัวแปร จากชุดขอมูลตัวแปรที่ไดจัดเตรียมไวแลว นำมากำหนดระดับของคาตัวแปรตาง ๆ โดยดำเนินการ ดังนี้ - หาคาสูงสุด (Maximum) และคาต่ำสุด (Minimum) ของชุดขอมูล แตละชุดดังนี้ รายไดหรือมูลคาผลผลิต (Income: I) ตนทุนผันแปร (Variable Cost: VC) ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร (Return Over Variable Cost: RVC) และอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (Rate of Income/Variable Cost: R) - หาคาพิสัย (Rang) และชวงกวางชั้น (Interval Range: IR) คาพิสัย (Rang) = คาสูงสุด (Max) - คาต่ำสุด (Min) ชวงกวางชั้น (IR) = Max - Min จำนวนชั้นที่ตองการแบงชั้นขอมูล (3) กำหนดชวงระดับคาตัวแปรแตละชุดที่จะนำมาใชเปนตัวชี้วัดในการ วิเคราะหเพื่อประเมินคุณภาพที่ดิน - ขอมูลรายได (I) และตนทุนผันแปร (VC) แบง Interval Range ออกเปน 4 ชวง สำหรับแบงระดับความเหมาะสมออกเปน 4 ระดับเทา ๆ กัน - ขอมูลผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร (RVC) แบง Interval Range ออกเปน 3 ชวงเทา ๆ กัน โดยแบงระดับความเหมาะสมออกเปนระดับความเหมาะสมสูง เหมาะสม ปานกลาง เหมาะสมเล็กนอย และกำหนดคาวิกฤติ (Critical Point) ที่ 0 บาท หมายถึง รายไดหรือ มูลคาผลผลิตเทากับตนทุนผันแปร ซึ่งเปนจุดแบงระดับความเหมาะสมระหวางระดับความเหมาะสม เล็กนอยกับระดับไมเหมาะสม - ขอมูลอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (R) แบง Interval Range ออกเปน 3 ชวงเทา ๆ กัน โดยแบงระดับความเหมาะสมออกเปนระดับความเหมาะสมสูง เหมาะสม


1-4 ปานกลาง เหมาะสมเล็กนอย และกำหนดคาวิกฤติ (Critical Point) ที่ 1.00 บาท หมายถึง อัตราสวน รายไดที่ไดรับตอตนทุนมีคาเทากับ 1.00 ซึ่งเปนจุดแบงระดับความเหมาะสมระหวางระดับความเหมาะสม เล็กนอยกับระดับไมเหมาะสม (4) ระดับคาตัวแปรที่เปนตัวชี้วัด กำหนดไดดังนี้ - รายไดเฉลี่ยตอไร (I) กำหนดระดับ ดังนี้ I1 = รายไดสูงมาก = > Min+3IR I2 = รายไดสูง = > Min+2IR ถึง Min+3IR I3 = รายไดปานกลาง = > Min+IR ถึง Min+2IR I4 = รายไดต่ำ = ≤ Min+IR - ตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร (VC) กำหนดระดับ ดังนี้ VC1 = ตนทุนต่ำ = ≤ Min+IR VC2 = ตนทุนปานกลาง = > Min+IR ถึง Min+2IR VC3 = ตนทุนสูง = > Min+2IR ถึง Min+3IR VC4 = ตนทุนสูงมาก = > Min+3IR -ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอไร (RVC)กำหนดระดับ ดังนี้ RVC1 = สูงมาก = > 2IR RVC2 = สูง = > IR ถึง 2IR RVC3 = ปานกลาง = 0 ถึง IR RVC4 = ขาดทุน = < 0 - อัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปร (R) กำหนดระดับ ดังนี้ R1 = อัตราสวนรายไดสูงมาก = > Min+2IR R2 = อัตราสวนรายไดสูง = > Min+IR ถึง in+2IR R3 = อัตราสวนรายไดปานกลาง = > Min ถึง Min+IR R4 = อัตราสวนรายไดต่ำ = ≤ Min (5) คะแนนตัวแปร จากคาตัวแปรทั้ง 4 ชนิด ที่กำหนดระดับดังกลาวมาแลว นำมาใหคะแนนในแตละระดับหางกันระดับละ 1 คะแนน ดังนี้ ระดับ VC1 I1 RVC1 R1 คะแนน 4 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร ระดับ VC2 I2 RVC2 R2 คะแนน 3 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร ระดับ VC3 I3 RVC3 R3 คะแนน 2 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร ระดับ VC4 I4 RVC4 R4 คะแนน 1 คะแนน ตอ 1 ตัวแปร หลังจากใหคะแนนในแตละตัวแปรแลว นำคะแนนที่ไดมาพิจารณา เพื่อจัดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยแบงระดับคะแนน ออกเปน 4 ชวง เพื่อกำหนดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ ดังนี้ ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ชวงคะแนน 13-16 คะแนน ระดับความเหมาะสมปานกลาง(S2) ชวงคะแนน 9-12 คะแนน


1-5 ระดับความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ชวงคะแนน 5-8 คะแนน ไมเหมาะสม (N) ชวงคะแนน 1-4 คะแนน 1.5 นิยามศัพท เกษตรกร หมายถึง เกษตรกรที่ปลูกขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตวถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง และออยโรงงานในจังหวัดนครสวรรคที่ทำการสำรวจ ครัวเรือนเกษตร/ครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมด หมายถึง ครัวเรือนเกษตรที่มีการปลูกขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตวถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง และออยโรงงานในจังหวัดนครสวรรคที่ทำการสำรวจ โฉนด หมายถึง หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่รับรองถูกตองตาม พ.ร.บ.ประมวลกฎหมาย ที่ดิน พ.ศ. 2479 (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) น.ส.3 หมายถึง หนังสือรับรองการเขาทำประโยชนในที่ดินและสามารถนำไปใชในการทำ นิติกรรมตาง ๆ ได เชน การจำนอง ขายฝาก โอน เปนตน แตตองรอประกาศภายใน 30 วัน สำหรับ น.ส.3 และไมตองรอประกาศสำหรับ น.ส.3ก. (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) น.ส.5 หรือ ใบไตสวน หมายถึง หนังสือแสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดินเปนหนังสือ แสดงใหทราบวาไดมีการสอบสวนสิทธิในที่ดินแลว สามารถจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไดใบไตสวนไมใชหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ แตสามารถจดทะเบียนโอนใหกันไดถาที่ดินมีใบไตสวน และมีหนังสือรับรองการทำประโยชนแสดงวาที่ดินนั้นนายอำเภอไดรับรองการทำประโยชนแลว เมื่อจดทะเบียนโอนจะตองจดทะเบียนในหนังสือรับรองการทำประโยชนกอน แลวจึงมาจดแจงหลัง ใบไตสวน แตถาใบไตสวนมีแบบแจงการครอบครองที่ดิน (ส.ค.1) หรือไมมีหลักฐานที่ดินใด ๆ และเปนที่ดิน ที่นายอำเภอยังไมรับรองการทำประโยชน จะจดทะเบียนโอนกันไมได เวนแตเปนการจดทะเบียนโอนมรดก (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565) ส.ป.ก.4-01 หมายถึง หนังสือแสดงสิทธิ์การทำประโยชนเพื่อการเกษตรตามกฎหมาย การปฏิรูปที่ดิน ที่ออกใหโดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร (ส.ป.ก) ซึ่งเกษตรกรมีสิทธิ์นำไปใช เปนหลักทรัพยค้ำประกันเงินกูกับธนาคาร (ธ.ก.ส) ได แตไมมีสิทธิ์ที่จะนำไปขายหรือยกใหผูอื่น เวนแต จะตกทอดเปนมรดกใหลูก - หลาน เพื่อทำการเกษตรเทานั้น (ศูนยสารสนเทศการเกษตร, 2565)


2-1 บทที่ 2 ขอมูลทั่วไป 2.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 56 ปโดยเกษตรกรสวนใหญเปนเพศชายรอยละ 55.94 ของเกษตร ทั้งหมด และเพศหญิงรอยละ 44.06 ทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธและสำเร็จการศึกษา โดยสวนใหญสำเร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ 74.48 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพรอยละ 10.84 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 8.74 ระดับ อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงรอยละ 3.85 และระดับปริญญาตรีรอยละ 2.09 (ตารางที่ 2-1) ตารางที่ 2-1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 รายการ รอยละ อายุเฉลี่ย (ป) 55.77 เพศ ชาย 55.94 หญิง 44.06 ศาสนา พุทธ 100.00 ระดับการศึกษา จบการศึกษา ประถมศึกษา 74.48 มัธยมศึกษาตอนตน 8.74 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 10.84 อนุปริญญา/ปวส. 3.85 ปริญญาตรี 2.09 ที่มา: จากการสำรวจและคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.2 การถือครองที่ดินของเกษตรกร ลักษณะการถือครองที่ดินสวนใหญเปนที่ดินของตนเองรอยละ 79.08 ของการถือครอง ที่ดินทั้งหมด และเปนที่เชารอยละ 20.92 โดยมีหนังสือสำคัญในที่ดินของตนเองสวนใหญเปนโฉนด รอยละ 79.21 รองลงมาคือ ส.ป.ก.4-01 รอยละ 18.62 น.ส.3 รอยละ 1.19 และ น.ส.5 รอยละ 0.98 (ตารางที่ 2-2)


2-2 ตารางที่ 2-2 การถือครองที่ดินและหนังสือสำคัญในที่ดินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 รายการ รอยละ ลักษณะการถือครองที่ดิน ของตนเอง 79.08 เชา 20.92 หนังสือสำคัญในที่ดินของตนเอง โฉนด 79.21 ส.ป.ก.4-01 18.62 น.ส.3 1.19 น.ส.5 0.98 ที่มา: จากการสำรวจและคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร ในรอบปที่ผานมาครัวเรือนเกษตรมีภาวะหนี้สินและกูยืมเงินรอยละ 35.31 ของครัวเรือน เกษตรทั้งหมด โดยมีวงเงินกูเฉลี่ย 48,846.15 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนเงินกูในระบบรอยละ 97.85 ของแหลงเงินกูทั้งหมด มีวงเงินกูรวม 47,797.20 บาทตอครัวเรือน โดยแหลงเงินกูในระบบที่ครัวเรือน เกษตรกูยืมเงินมากที่สุด คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) เฉลี่ย 41,713.29 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 85.40 ของวงเงินกูทั้งหมด รองลงมาคือ โรงงานน้ำตาลเฉลี่ย 2,709.79 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 5.55 สหกรณการเกษตรเฉลี่ย 2,377.62 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 4.87 และกองทุนหมูบานเฉลี่ย 996.50 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 2.03 โดยสวนใหญมีวัตถุประสงค การกูยืมเงินเพื่อใชในการเกษตรเฉลี่ย 32,506.99 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 68.01 ของวงเงินกู ในระบบ รองลงมาคือ ใชในการครองชีพเฉลี่ย 7,762.24 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 16.24 และลงทุนในทรัพยสินเฉลี่ย 7,527.97 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 15.75 มีอัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ย รอยละ 6.61 ตอป ทั้งนี้ การกูยืมเงินสวนใหญมีระยะเวลา 1 ป หรือรอยละ 76.77 รองลงมาคือ ระยะเวลามากกวา 5 ปหรือรอยละ 14.14 และระยะเวลา 2 - 5 ป หรือรอยละ 9.09 สวนเงินกู นอกระบบรอยละ 2.15 ของแหลงเงินกูทั้งหมด มีวงเงินกูรวม 1,048.95 บาทตอครัวเรือน โดยแหลง เงินกูนอกระบบที่ครัวเรือนเกษตรกูยืมเงินทั้งหมด คือ พอคา มีวัตถุประสงคเพื่อใชในการเกษตรทั้งหมด อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 15.00 บาทตอปการกูยืมทั้งหมดมีระยะเวลามากกวา 5 ปสวนปญหา ในการชำระหนี้เกษตรกรรอยละ 1.98 มีปญหาในการชำระหนี้ โดยทั้งหมดใหเหตุผลวา ราคาผลผลิต ตกต่ำสงผลใหรายไดลดลง และเกษตรกรรอยละ 98.02 ไมมีปญหาในการชำระหนี้ทั้งนี้มีเกษตรกร รอยละ 64.69 ไมมีภาวะหนี้สินและการกูยืมเงิน (ตารางที่ 2-3)


2-3 ตารางที่ 2-3 ภาวะหนี้สินและการกูยืมเงินของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 ภาวะหนี้สิน รอยละ จำนวน (บาท) จำนวนครัวเรือนที่มีหนี้สิน 35.31 - จำนวนครัวเรือนที่ไมมีหนี้สิน 64.69 - วงเงินกูเฉลี่ยตอครัวเรือน - 48,846.15 รายละเอียดของการกูยืมเงิน เงินกูในระบบ วงเงินกูรวม 97.85 47,797.20 แหลงเงินกู ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) 85.40 41,713.29 โรงงานน้ำตาล 5.55 2,709.79 สหกรณการเกษตร 4.87 2,377.62 กองทุนหมูบาน 2.03 996.50 วัตถุประสงค ใชในการเกษตร 68.01 32,506.99 ใชในการครองชีพ 16.24 7,762.24 ลงทุนในทรัพยสิน 15.75 7,527.97 อัตราดอกเบี้ย เฉลี่ย 6.61 - ระยะเวลากูยืม 1 ป 76.77 - 2-5 ป 9.09 - >5 ป 14.14 - เงินกูนอกระบบ วงเงินกูรวม 2.15 1,048.95 แหลงเงินกู พอคา 2.15 1,048.95 วัตถุประสงค ใชในการเกษตร 100.00 1,048.95


2-4 ตารางที่ 2-3 (ตอ) ภาวะหนี้สิน รอยละ จำนวน (บาท) อัตราดอกเบี้ย เฉลี่ย 15.00 - ระยะเวลากูยืม >5 ป 100.00 - จำนวนครัวเรือนที่มีปญหาในการชำระหนี้ 1.98 - สาเหตุของปญหา ราคาลผลิตตกต่ำสงผลใหรายไดลดลง 100.00 - จำนวนครัวเรือนที่ไมมีปญหาในการชำระหนี้ 98.02 - ที่มา: จากการสำรวจและคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2.4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐ 2.4.1 ขาวนาป 1) เกษตรกรมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 98.53 ของเกษตรกรทั้งหมด ปญหา ที่พบสวนใหญ คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 97.01 ของเกษตรกรทั้งหมดที่ประสบปญหา รองลงมาคือ ราคาผลผลิตตกต่ำรอยละ 22.39 ศัตรูพืชรบกวนรอยละ 13.43 ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวง รอยละ 11.94 ขาดแคลนแหลงน้ำเพื่อการเกษตร และน้ำทวมรอยละ 8.96 เทากัน ขาดแคลนน้ำ เพื่อการเกษตร และโรคพืชระบาดรอยละ 7.46 เทากัน ปริมาณผลผลิตต่ำรอยละ 5.97 และสภาพดิน เสื่อมโทรมรอยละ 1.49 ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 1.47 ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตรจากภาครัฐรอยละ 98.53 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาถูกรอยละ 94.03 ของเกษตรกร ที่ตองการความชวยเหลือทั้งหมด รองลงมาคือ ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 28.36 จัดสราง แหลงน้ำเพื่อการเกษตรรอยละ 14.93 ประกันรายไดเกษตรกรรอยละ 8.96 สงเสริมและแนะนำการทำปุย สารปองกันและกำจัดศัตรูพืชใชเองรอยละ 7.46 ขุดลอกแหลงน้ำธรรมชาติหรือแหลงน้ำสาธารณะ ที่ตื้นเขิน และจัดสรรที่ดินทำกินรอยละ 2.99 เทากัน จัดหาแหลงเงินกูที่อัตราดอกเบี้ยต่ำ สงเสริมและ แนะนำการปรับปรุงบำรุงดินรอยละ 1.49 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 1.47 ที่ไมตองการ ความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.2 ขาวนาปรัง 1) เกษตรกรมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 97.44ของเกษตรกรทั้งหมด ปญหาที่พบ สวนใหญ คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 97.37 ของเกษตรกรทั้งหมดที่ประสบปญหา รองลงมาคือ ศัตรูพืชรบกวน และราคาผลผลิตตกต่ำรอยละ 21.05 เทากัน โรคระบาด และฝนแลงหรือฝนทิ้งชวง รอยละ 13.16เทากัน ปริมาณผลผลิตต่ำรอยละ 10.53ขาดแคลนแหลงน้ำเพื่อการเกษตรและวัชพืชรบกวน


2-5 รอยละ 5.26 เทากัน และสภาพดินเสื่อมโทรมรอยละ 2.63 ทั้งนี้มีเกษตรกรรอยละ 2.56 ที่ไมมีปญหา ดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตรจากภาครัฐรอยละ 97.44 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาถูกรอยละ 97.37 ของเกษตรกร ที่ตองการความชวยเหลือทั้งหมด รองลงมาคือ ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 28.95 สงเสริม และแนะนำการทำปุย สารปองกันและกำจัดศัตรูพืชใชเองรอยละ 13.16 จัดสรางแหลงน้ำเพื่อการเกษตร รอยละ 10.53 จัดสรรที่ดินทำกิน และประกันรายไดเกษตรกรรอยละ 5.26 เทากัน และสงเสริมและแนะนำ การปรับปรุงบำรุงดินรอยละ 2.63 ทั้งนี้มีเกษตรกรรอยละ 2.56 ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 1) เกษตรกรทั้งหมดมีปญหาดานการเกษตร ปญหาที่พบสวนใหญ คือ ศัตรูพืชรบกวน รอยละ 76.19 ของเกษตรกรทั้งหมดที่ประสบปญหา รองลงมาคือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 63.49 ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวงรอยละ 26.98 ราคาผลผลิตตกต่ำรอยละ 11.11 ขาดแคลนแหลงน้ำเพื่อการเกษตร รอยละ 9.52 ขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรรอยละ 6.35 ขาดแคลนแรงงาน วัชพืชรบกวน และโรคพืช ระบาดรอยละ 3.17 เทากัน คุณภาพผลผลิตต่ำ ที่ดินทำกินไมเพียงพอ และไมมีที่ดินเปนของตนเอง รอยละ 1.59 เทากัน (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตรจากภาครัฐรอยละ 80.95 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาถูกรอยละ 78.43 ของเกษตรกร ที่ตองการความชวยเหลือทั้งหมด รองลงมา คือ สงเสริมและแนะนำการทำปุย สารปองกันและกำจัด ศัตรูพืชใชเอง ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 19.61 เทากัน สนับสนุนโซลาเซลลรอยละ 11.76 จัดสรางแหลงน้ำเพื่อการเกษตรรอยละ 7.84 ประกันรายไดเกษตรกรรอยละ 5.88 สงเสริมและแนะนำการทำ การเกษตรแบบเกษตรอินทรียรอยละ 3.92 สงเสริมและแนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน สงเสริมและแนะนำ เกี่ยวกับการอนุรักษดินและน้ำรอยละ 1.96 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 19.05 ที่ไมตองการ ความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.4 ถั่วเขียวผิวมัน 1) เกษตรกรมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 76.00 ของเกษตรกรทั้งหมด ปญหาที่พบ สวนใหญ คือ ศัตรูพืชรบกวนรอยละ 84.62 ของเกษตรกรทั้งหมดที่ประสบปญหา รองลงมาคือ ปจจัย การผลิตมีราคาสูงรอยละ 30.77 วัชพืชรบกวน ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวง และน้ำทวมรอยละ 15.38 เทากัน ราคาผลผลิตตกต่ำ ที่ดินทำกินไมเพียงพอ และไมมีที่ดินเปนของตนเองรอยละ 7.69 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 24.00 ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตรจากภาครัฐรอยละ 76.00 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาถูกรอยละ 73.68 ของเกษตรกร ที่ตองการความชวยเหลือทั้งหมด รองลงมา คือ สงเสริมและแนะนำการทำปุย สารปองกันและกำจัด ศัตรูพืชใชเอง และประกันราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 21.05 เทากัน สนับสนุนโซลาเซลล รอยละ 15.79 และสงเสริมและแนะนำการทำการเกษตรแบบเกษตรอินทรียรอยละ 5.26 ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 24.00 ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4)


2-6 2.4.5 มันสำปะหลัง 1) เกษตรกรสวนใหญมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 96.43 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยปญหาที่พบสวนใหญคือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 87.65 ของเกษตรกรทั้งหมดที่ประสบปญหา รองลงมาคือ ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวงรอยละ 28.40 ศัตรูพืชรบกวนรอยละ 16.05 น้ำทวมรอยละ 14.81 ราคาผลผลิตตกต่ำรอยละ 11.11 ขาดแคลนแหลงน้ำเพื่อการเกษตรรอยละ 6.17 ขาดแคลนน้ำ เพื่อการเกษตร และขาดแคลนเงินลงทุนรอยละ 4.94 เทากัน คุณภาพผลผลิตต่ำ และปริมาณผลผลิตต่ำ รอยละ 3.70 เทากัน โรคพืชระบาด และขาดแคลนแรงงานรอยละ 2.47 เทากัน และวัชพืชรบกวนรอยละ 1.23 ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 3.57 ที่ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตรจากภาครัฐรอยละ 94.05 ของ เกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาถูกรอยละ 88.61 ของเกษตรกร ที่ตองการความชวยเหลือทั้งหมด รองลงมาคือ จัดสรางแหลงน้ำเพื่อการเกษตรรอยละ 24.05 ประกันราคา พืชผลทางการเกษตรรอยละ 10.13 พยุงราคาพืชผลทางการเกษตรรอยละ 8.86 สงเสริมและแนะนำ การทำปุย สารปองกันและกำจัดศัตรูพืชใชเองรอยละ 7.59 จัดหาแหลงเงินกูที่อัตราดอกเบี้ยต่ำรอยละ 3.80 สงเสริมและแนะนำเกี่ยวกับการอนุรักษดินและน้ำรอยละ 2.53 ขุดลอกแหลงน้ำธรรมชาติหรือแหลงน้ำ สาธารณะที่ตื้นเขิน สงเสริมและแนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน และประกันรายไดเกษตรกรรอยละ 1.27 เทากัน ทั้งนี้มีเกษตรกรรอยละ 5.95 ที่ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2.4.6 ออยโรงงาน 1) เกษตรกรสวนใหญมีปญหาดานการเกษตรรอยละ 97.47 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยปญหาที่พบสวนใหญ คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 93.51 ของเกษตรกรทั้งหมดที่ประสบปญหา รองลงมาคือ ราคาผลผลิตตกต่ำรอยละ 20.78 ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวงรอยละ 19.48 ขาดแคลนน้ำ เพื่อการเกษตรรอยละ 9.09 ขาดแคลนแหลงน้ำเพื่อการเกษตรรอยละ 7.79 ศัตรูพืชรบกวนและวัชพืช รบกวนรอยละ 5.19 เทากัน ขาดแคลนเงินลงทุน และสภาพดินเสื่อมโทรมรอยละ 2.60 เทากัน ขาดแคลนแรงงาน และโรคพืชระบาดรอยละ 1.30 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 2.53 ที่ไมมีปญหา ดานการผลิตทางการเกษตร (ตารางที่ 2-4) 2) เกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตรจากภาครัฐรอยละ 96.20 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาถูกรอยละ 94.74ของเกษตรกรที่ ตองการความชวยเหลือทั้งหมด รองลงมาคือ จัดสรางแหลงน้ำเพื่อการเกษตรรอยละ 27.63 ประกันราคา พืชผลทางการเกษตรรอยละ 22.37 ประกันรายไดเกษตรกรรอยละ 6.58 สงเสริมและแนะนำการทำปุย สารปองกันและกำจัดศัตรูพืชใชเองรอยละ 5.26ขุดลอกแหลงน้ำธรรมชาติหรือแหลงน้ำสาธารณะที่ตื้นเขิน และจัดหาแหลงเงินกูที่อัตราดอกเบี้ยต่ำรอยละ 2.63 เทากัน สงเสริมและแนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน สงเสริมและแนะนำเกี่ยวกับการอนุรักษดินและน้ำรอยละ 1.32 เทากัน ทั้งนี้ มีเกษตรกรรอยละ 3.80 ที่ไมตองการความชวยเหลือดานการเกษตร (ตารางที่ 2-4)


2-7 2-7 ตารางที่ 2-4 ปญหาในการผลิตและความตองการความชวยเหลือจากภาครัฐ ปการผลิต 2565/66 หนวย: รอยละ ลักษณะปญหา ขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง ออยโรงงาน ปญหาดานการผลิตทางการเกษตร 98.53 97.44 100.00 76.00 96.43 97.47 ขาดแคลนแหลงน้ำเพื่อการเกษตร 8.96 5.26 9.52 - 6.17 7.79 ขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร 7.46 - 6.35 - 4.94 9.09 ขาดแคลนเงินลงทุน - - - - 4.94 2.60 ขาดแคลนแรงงาน - - 3.17 - 2.47 1.30 ปจจัยการผลิตมีราคาสูง 97.01 97.37 63.49 30.77 87.65 93.51 ศัตรูพืชรบกวน 13.43 21.05 76.19 84.62 16.05 5.19 วัชพืชรบกวน 4.48 5.26 3.17 15.38 1.23 5.19 โรคพืชระบาด 7.46 13.16 3.17 - 2.47 1.30 คุณภาพผลผลิตต่ำ - - 1.59 - 3.70 - ปริมาณผลผลิตต่ำ 5.97 10.53 - - 3.70 - ราคาผลผลิตตกต่ำ 22.39 21.05 11.11 7.69 11.11 20.78 สภาพดินเสื่อมโทรม 1.49 2.63 - - - 2.60 ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวง 11.94 13.16 26.98 15.38 28.40 19.48 น้ำทวม 8.96 - - 15.38 14.81 - ที่ดินทำกินไมเพียงพอ - - 1.59 7.69 - - ไมมีที่ดินเปนของตนเอง - - 1.59 7.69 - - ไมมีปญหาดานการผลิตทางการเกษตร 1.47 2.56 - 24.00 3.57 2.53


2-8 ที่มา: จากการสำรวจและคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) 2-8 ตารางที่ 2-4 (ตอ) หนวย: รอยละ ลักษณะปญหา ขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง ออยโรงงาน ความตองการความชวยเหลือดานการเกษตร 98.53 97.44 80.95 76.00 94.05 96.20 จัดสรางแหลงน้ำเพื่อการเกษตร 14.93 10.53 7.84 - 24.05 27.63 ขุดลอกแหลงน้ำธรรมชาติหรือ แหลงน้ำสาธารณะที่ตื้นเขิน 2.99 - - - 1.27 2.63 จัดหาแหลงเงินกูที่อัตราดอกเบี้ยต่ำ 1.49 - - - 3.80 2.63 สงเสริมและแนะนำการทำการเกษตร แบบเกษตรอินทรีย - - 3.92 5.26 - - สงเสริมและแนะนำการทำปุย สารปองกัน และกำจัดศัตรูพืชใชเอง 7.46 13.16 19.61 21.05 7.59 5.26 สงเสริมและแนะนำการปรับปรุงบำรุงดิน 1.49 2.63 1.96 - 1.27 1.32 สงเสริมและแนะนำเกี่ยวกับการอนุรักษ ดินและน้ำ - - 1.96 - 2.53 1.32 ประกันราคาพืชผลทางการเกษตร 28.36 28.95 19.61 21.05 10.13 22.37 พยุงราคาพืชผลทางการเกษตร - - - - 8.86 - จัดสรรที่ดินทำกิน 2.99 5.26 - - - - จัดหาปจจัยการผลิตราคาถูก 94.03 97.37 78.43 73.68 88.61 94.74 ประกันรายไดเกษตรกร 8.96 5.26 5.88 - 1.27 6.58 สนับสนุนโซลาเซลล - - 11.76 15.79 - - ไมความตองการความชวยเหลือดานการเกษตร 1.47 2.56 19.05 24.00 5.95 3.80


2-9 2.5 ทัศนคติในการผลิต เกษตรกรสวนใหญไมตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืชรอยละ 84.27ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาคือ ไมแนใจที่จะเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืชรอยละ 15.38 และตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ ปลูกพืชรอยละ 0.35 สำหรับเกษตรกรที่ตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืชมีแนวความคิดในการ เปลี่ยนแปลงโดยเลิกปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เพื่อปลูกมันสำปะหลังแทนทั้งหมด โดยทั้งหมดใหเหตุผลวา ตองการปลูกพืชหมุนเวียน สำหรับแนวคิดในการเพิ่มผลผลิตพืช เกษตรกรรอยละ 68.18 ของเกษตรกร ทั้งหมดมีแนวคิดเพิ่มปริมาณปุยเคมีรองลงมาคือ ลงทุนจัดหาแหลงน้ำรอยละ 18.53 ใชฮอรโมนเพิ่ม รอยละ 16.43 ปองกันวัชพืช โรคพืช และศัตรูพืชรอยละ 13.99 เพิ่มปุยอินทรียรอยละ 12.59 เปลี่ยนพันธุใหมรอยละ 10.84 ปรับปรุงบำรุงดินรอยละ 5.59 และเปลี่ยนพื้นที่ปลูกใหมรอยละ 1.05 สวนแนวคิดการวางแผนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร เกษตรกรไมมีแนวคิดวางแผนเปลี่ยน ไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรรอยละ 98.95 โดยใหเหตุผลวา เปนอาชีพหลักของครอบครัว รอยละ 87.99 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาคือ มีที่ดินอยูแลวรอยละ 34.98 ชราภาพรอยละ 20.14 ราคาผลผลิตดีรอยละ 3.18 ผลผลิตของพืชนี้ดีอยูแลวรอยละ 2.83 และไมมีความรูในการประกอบ อาชีพอื่นรอยละ 2.12 สวนเกษตรกรที่มีแนวคิดวางแผนที่จะเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาค การเกษตรรอยละ 1.05 โดยทั้งหมดตองการเปลี่ยนไปประกอบอาชีพรับจาง และใหเหตุผลวาตองการ เพิ่มรายไดทั้งหมด (ตารางที่ 2-5)


2-10 ที่มา: จากการสำรวจและคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) ตารางที่ 2-5 ทัศนคติในการผลิตของเกษตรกร ปการผลิต 2565/66 รายการ (รอยละ) ความคิดเปลี่ยนแปลงการปลูกพืช ไมเปลี่ยน 84.27 ไมแนใจ 15.38 เปลี่ยน 0.35 ประเภทของการเปลี่ยนแปลง เลิกปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว 100.00 พืชหลักที่จะปลูกแทน มันสำปะหลัง 100.00 เหตุผล ตองการปลูกพืชหมุนเวียน 100.00 แนวคิดในการเพิ่มผลผลิต เพิ่มปุยเคมี 68.18 ลงทุนจัดหาแหลงน้ำ 18.53 ใชฮอรโมนเพิ่ม 16.43 ปองกันวัชพืช/โรคพืช/ศัตรูพืช 13.99 เพิ่มปุยอินทรีย 12.59 เปลี่ยนพันธุใหม 10.84 ปรับปรุงบำรุงดิน 5.59 เปลี่ยนพื้นที่ปลูกใหม 1.05 วางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร เปลี่ยน 1.05 อาชีพที่คิดจะทำ รับจาง 100.00 เหตุผล ตองการเพิ่มรายได 100.00 ไมเปลี่ยน 98.95 เหตุผล เปนอาชีพหลักของครอบครัว 87.99 มีที่ดินอยูแลว 34.98 ชราภาพ 20.14 ราคาผลผลิตดี 3.18 ผลผลิตของพืชนี้ดีอยูแลว 2.83 ไมมีความรูในการประกบอาชีพอื่น 2.12


3-1 บทที่ 3 ผลการดำเนินงาน 3.1 ภาวะการผลิต 3.1.1 ประเภทการใชประโยชนที่ดินตามกลุมชุดดิน กลุมชุดดิน ประเภทการใชประโยชนที่ดิน 4 ขาวนาป - ขาวนาปรัง 7 ขาวนาป ขาวนาป - ขาวนาปรัง 18 ขาวนาป ขาวนาป– ขาวโพดเลี้ยงสัตว 21 ขาวนาป - ขาวนาปรัง 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง ออยโรงงาน 35 มันสำปะหลัง ออยโรงงาน 40 มันสำปะหลัง ออยโรงงาน 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ถั่วเขียวผิวมัน ออยโรงงาน 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง 56 มันสำปะหลัง


3-2 3.1.2 ตนทุนและผลตอบแทนพืชตามกลุมชุดดิน 1) กลุมชุดดินที่ 4 1.1) ขาวนาป (พืชครั้งที่1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 968.96 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 8.43 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 8,168.33 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,431.34 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,474.27 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 957.07 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 4,304.19 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,694.06 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 5.61 บาท และมี อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.50 (ตารางที่ 3-1) 1.2) ขาวนาปรัง (พืชครั้งที่2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาปรัง ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 982.04 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย8.00 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 7,856.32 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,688.04 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,768.06 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 919.98 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 4,621.06 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,088.26 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 3,168.28 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 4.77 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.68 (ตารางที่ 3-1) 2) กลุมชุดดินที่ 7 2.1) ขาวนาปตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาปไดรับผลผลิตเฉลี่ย 777.07กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิต 8.43 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 6,550.70 บาทตอไร มีตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 4,857.21 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,489.08 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,368.13 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 3,696.48 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,061.62 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 1,693.49 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 6.25 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.35 (ตารางที่ 3-1) 2.2) ขาวนาป – ขาวนาปรัง (1) ขาวนาป (พืชครั้งที่1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 870.08 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 8.43 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 7,334.77 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,117.93 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,168.77 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 949.16 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 4,100.30 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,166.00 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 2,216.84 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 5.88 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.43 (ตารางที่ 3-1) (2) ขาวนาปรัง (พืชครั้งที่2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาปรัง ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 875.76 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย8.00 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 7,006.06 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,718.54 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,893.75 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 824.79 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 3,585.62 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,112.31 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุน


3-3 ทั้งหมดเฉลี่ย 2,287.52 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 5.39 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.48 (ตารางที่ 3-1) 3) กลุมชุดดินที่ 18 3.1) ขาวนาป ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาปไดรับผลผลิตเฉลี่ย 864.37 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 8.43 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 7,286.64 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 6,092.08 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,524.03 บาทตอไร และตนทุน คงที่เฉลี่ย 1,568.05 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 2,913.95 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 2,762.61 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 1,194.54 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 7.05 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.20 (ตารางที่ 3-1) 3.2) ขาวนาป – ขาวโพดเลี้ยงสัตว (1) ขาวนาป (พืชครั้งที่1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,075.40 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 8.43 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 9,065.62 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,606.34 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,701.90 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย904.44 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย6,342.54 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,363.72 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,459.28 บาทตอไร) โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 4.28 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.97 (ตารางที่ 3-1) (2) ขาวโพดเลี้ยงสัตว(พืชครั้งที่2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,457.14 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย9.14 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 13,318.26 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,512.03 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร เฉลี่ย4,140.61 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,371.42 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด เฉลี่ย 9,727.80 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 9,177.65 บาทตอไร และผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 7,806.23 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 3.78 บาท และมีอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 2.42 (ตารางที่ 3-1) 4) กลุมชุดดินที่ 21 4.1) ขาวนาป (พืชครั้งที่1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาป ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 784.52 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย8.43 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย6,613.50 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,785.83 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,860.70 บาทตอไร และ ตนทุนคงที่เฉลี่ย 925.13 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 3,081.38 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 2,752.80 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 1,827.67 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 6.10 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.38 (ตารางที่ 3-1) 4.2) ขาวนาปรัง (พืชครั้งที่2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวนาปรัง ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 775.60 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 8.00 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 6,204.80 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,920.32 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,988.84 บาทตอไร


3-4 และตนทุนคงที่เฉลี่ย931.48 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย2,655.12 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 2,215.96 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 1,284.84 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 6.34 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.26 (ตารางที่ 3-1) 5) กลุมชุดดินที่ 28 5.1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว – ขาวโพดเลี้ยงสัตว (1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว(พืชครั้งที่1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,392.70 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 7.56 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 10,525.81 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,649.91 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,874.03 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 775.88 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 6,071.39 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,651.78 บาทตอไร และผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,878.90 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 4.06 บาท และมีอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.86 (ตารางที่ 3-1) (2) ขาวโพดเลี้ยงสัตว(พืชครั้งที่2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,257.91 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 9.14 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 11,497.30 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 7,008.96 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร เฉลี่ย5,865.15 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,143.81 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด เฉลี่ย 6,678.11 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,632.15 บาทตอไร และผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,488.34 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 5.57 บาท และมีอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.64 (ตารางที่ 3-1) 5.2) มันสำปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสำปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 5.11 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 2,910 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 14,870.10 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 8,565.14 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,935.25 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 2,629.89 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 10,408.31 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 8,934.85 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 6,304.96 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 1.68 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.74 (ตารางที่ 3-1) 5.3) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับผลผลิต เฉลี่ย 14.31 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 1,110 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 15,884.10 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 10,317.55 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 8,555.70 บาทตอไร และตนทุน คงที่เฉลี่ย 1,761.67 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 8,020.28 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 7,328.40 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,566.55 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 0.72 บาท หรือตนทุนตอตัน 721.00 บาท และมีอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.54 (ตารางที่ 3-1)


3-5 6) กลุมชุดดินที่ 35 6.1) มันสำปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต มันสำปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 3.67 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 2,910 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 10,679.70 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 6,163.76 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,804.87 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,358.89 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 7,419.78 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,874.83 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,515.94 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 1.68 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,679.50 บาท และมีอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.73 (ตารางที่ 3-1) 6.2) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับผลผลิต เฉลี่ย 10.39 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 1,110 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 11,532.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 9,803.26 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 8,293.66 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,509.60 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 3,732.90 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,239.24 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 1,729.64 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 0.94 บาท หรือตนทุนตอตัน 943.53 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.18 (ตารางที่ 3-1) 7) กลุมชุดดินที่ 40 7.1) มันสำปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต มันสำปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 4.33 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 2,910 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 12,600.30 บาท ตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 7,466.77 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,712.24 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,754.53 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 8,304.29 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 6,888.06 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,133.53 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 1.72 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,724.43 บาท และมีอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.69 (ตารางที่ 3-1) 7.2) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับผลผลิต เฉลี่ย 11.29 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 1,110 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 12,531.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 10,244.12 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 8,242.81 บาทตอไร และตนทุน คงที่เฉลี่ย 2,001.31 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 6,234.48 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,289.09 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 2,287.78 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 0.91 บาท หรือตนทุนตอตัน 907.36 บาท และมีอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.22 (ตารางที่ 3-1) 8) กลุมชุดดินที่ 52 8.1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว – ขาวโพดเลี้ยงสัตว (1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว(พืชครั้งที่1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย1,559.70 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 7.56 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย11,791.33 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,474.89 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร เฉลี่ย 4,696.73 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย778.16 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด


3-6 เฉลี่ย 8,033.43 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 7,094.60 บาทตอไร และผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 6,316.44 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 3.51 บาท และมีอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 2.15 (ตารางที่ 3-1) (2) ขาวโพดเลี้ยงสัตว(พืชครั้งที่2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ยเฉลี่ย 1,304.48 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 9.14 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 11,922.95 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 6,192.56 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร เฉลี่ย5,128.82 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,063.74 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด เฉลี่ย 7,937.93 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 6,794.13 บาทตอไร และผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,730.39 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 4.75 บาท และมีอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.93 (ตารางที่ 3-1) 8.2) ขาวโพดเลี้ยงสัตว – ถั่วเขียวผิวมัน (1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว(พืชครั้งที่1) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 1,325.35 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 7.56 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย10,019.65 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,357.23 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร เฉลี่ย4,736.59 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย620.64 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด เฉลี่ย5,922.29 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,283.06 บาทตอไร และผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,662.42 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 4.04 บาท และมีอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.87 (ตารางที่ 3-1) (2) ถั่วเขียวผิวมัน (พืชครั้งที่2) ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต ถั่วเขียวผิวมัน ไดรับผลผลิตเฉลี่ย 206.91 กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย23.02 บาทตอกิโลกรัม มูลคา ผลผลิตเฉลี่ย4,763.07 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย2,694.25 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 2,070.17 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 624.08 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 3,025.99 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 2,692.90 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือ ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 2,068.82 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 13.02 บาท และมีอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.77 (ตารางที่ 3-1) 8.3) ออยโรงงาน ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตออยโรงงาน ไดรับผลผลิต เฉลี่ย 13.74 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 1,110 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 15,251.40 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 11,248.32 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 9,401.13 บาทตอไร และตนทุน คงที่เฉลี่ย 1,847.19 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 7,649.68 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,850.27 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 4,003.08 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 0.82 บาท หรือตนทุนตอตัน 818.66 บาท และมีอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.36 (ตารางที่ 3-1) 9) กลุมชุดดินที่ 54 9.1) ขาวโพดเลี้ยงสัตวตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลผลิตเฉลี่ย1,200.00กิโลกรัมตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 7.56 บาทตอกิโลกรัม มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 9,072.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,902.51 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 4,440.49


3-7 บาทตอไรและตนทุนคงที่เฉลี่ย1,462.02 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย5,161.37 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย4,631.51 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด เฉลี่ย3,169.49 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 4.92 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.54 (ตารางที่ 3-1) 9.2) มันสำปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสำปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 3.42 ตันตอไร ราคาผลผลิต 2,910 บาทตอตัน มูลคาผลผลิต 9,952.20 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,816.42 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปร 5,482.03 บาทตอไร และตนทุนคงที่ 1,334.39 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด 5,870.31 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนผันแปร 4,470.17 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,135.78 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 1.99 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,993.11 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.46 (ตารางที่ 3-1) 10) กลุมชุดดินที่ 56 10.1) มันสำปะหลัง ตนทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสำปะหลัง ไดรับ ผลผลิตเฉลี่ย 4.30 ตันตอไร ราคาผลผลิตเฉลี่ย 2,910 บาทตอตัน มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 12,513.00 บาท ตอไร มีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย 8,369.82 บาทตอไร แบงเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 6,657.91 บาทตอไร และตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,711.91 บาทตอไร ทั้งนี้ มีผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ย 7,010.59 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ย 5,855.09 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุน ทั้งหมดเฉลี่ย 4,143.18 บาทตอไร โดยมีตนทุนตอกิโลกรัม 1.95 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,946.47 บาท และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.50 (ตารางที่ 3-1)


3-8 ตารางที่ 3-1 ตนทุนและผลตอบแทนของประเภทการใชประโยชนที่ดินจำแนกตามกลุมชุดดิน ปการผลิต 2565/66 กลุมชุด ดิน ประเภทการใช ประโยชนืที่ดิน หนวย/ไร ผลผลิต ราคา ผลผลิต (บาท) มูลคา ผลผลิต (บาท/ไร) ตนทุน (บาท/ไร) ผลตอบแทนเหนือตนทุน (บาท/ไร) ตนทุนตอ กิโลกรัม (บาท) ตนทุน ตอตัน (บาท) อัตราสวน รายได ตอตนทุน ทั้งหมด (B/C) ทั้งหมด ผันแปร คงที่ เงินสด ผันแปร ทั้งหมด 4 ขาวนาป - ขาวนาปรัง ขาวนาป(1) กก. 968.96 8.43 8,168.33 5,431.34 4,474.27 957.07 4,304.19 3,694.06 2,736.99 5.61 - 1.50 ขาวนาปรัง (2) กก. 982.04 8.00 7,856.32 4,688.04 3,768.06 919.98 4,621.06 4,088.26 3,168.28 4.77 - 1.68 7 ขาวนาป กก. 777.07 8.43 6,550.70 4,857.21 3,489.08 1,368.13 3,696.48 3,061.62 1,693.49 6.25 - 1.35 ขาวนาป - ขาวนาปรัง ขาวนาป(1) กก. 870.08 8.43 7,334.77 5,117.93 4,168.77 949.16 4,100.30 3,166.00 2,216.84 5.88 - 1.43 ขาวนาปรัง (2) กก. 875.76 8.00 7,006.06 4,718.54 3,893.75 824.79 3,585.62 3,112.31 2,287.52 5.39 - 1.48 18 ขาวนาป กก. 864.37 8.43 7,286.64 6,092.08 4,524.03 1,568.05 2,913.95 2,762.61 1,194.56 7.05 - 1.20 ขาวนาป - ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวนาป(1) กก. 1,075.40 8.43 9,065.62 4,606.34 3,701.90 904.44 6,342.54 5,363.72 4,459.28 4.28 - 1.97 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(2) กก. 1,457.14 9.14 13,318.26 5,512.03 4,140.61 1,371.42 9,727.80 9,177.65 7,806.23 3.78 - 2.42 21 ขาวนาป-ขาวนาปรัง ขาวนาป(1) กก. 784.52 8.43 6,613.50 4,785.83 3,860.70 925.13 3,081.38 2,752.80 1,827.67 6.10 - 1.38 ขาวนาปรัง (2) กก. 775.60 8.00 6,204.80 4,920.32 3,988.84 931.48 2,655.12 2,215.96 1,284.84 6.34 - 1.26 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตว(1) กก. 1,392.70 7.56 10,525.81 5,649.91 4,874.03 775.88 6,071.39 5,651.78 4,878.90 4.06 - 1.86 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(2) กก. 1,257.91 9.14 11,497.30 7,008.96 5,865.15 1,143.81 6,678.11 5,632.15 4,488.34 5.57 - 1.64 มันสำปะหลัง ตัน 5.11 2,910 14,870.10 8,565.14 5,935.25 2,629.89 10,408.31 8,934.85 6,304.96 1.68 1,676.15 1.74 ออยโรงงาน ตัน 14.31 1,110 15,884.10 10,317.55 8,555.70 1,761.67 8,020.28 7,328.40 5,566.55 0.72 721.00 1.54 35 มันสำปะหลัง ตัน 3.67 2,910 10,679.70 6,163.76 4,804.87 1,358.89 7,419.78 5,874.83 4,515.94 1.68 1,679.50 1.73 ออยโรงงาน ตัน 10.39 1,110 11,532.90 9,803.26 8,293.66 1,509.60 3,732.90 3,239.24 1,729.64 0.94 943.53 1.18 40 มันสำปะหลัง ตัน 4.33 2,910 12,600.30 7,466.77 5,712.24 1,754.53 8,304.29 6,888.06 5,133.53 1.72 1,724.43 1.69 ออยโรงงาน ตัน 11.29 1,110 12,531.90 10,244.12 8,242.81 2,001.31 6,234.48 4,289.09 2,287.78 0.91 907.36 1.22


3-9 ตารางที่ 3-1 (ตอ) กลุมชุด ดิน ประเภทการใช ประโยชนืที่ดิน หนวย/ไร ผลผลิต ราคา ผลผลิต (บาท) มูลคา ผลผลิต (บาท/ไร) ตนทุน (บาท/ไร) ผลตอบแทนเหนือตนทุน (บาท/ไร) ตนทุนตอ กิโลกรัม (บาท) ตนทุน ตอตัน (บาท) อัตราสวน รายได ตอตนทุน ทั้งหมด (B/C) ทั้งหมด ผันแปร คงที่ เงินสด ผันแปร ทั้งหมด 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตว(1) กก. 1,559.70 7.56 11,791.33 5,474.89 4,696.73 778.16 8,033.43 7,094.60 6,316.44 3.51 - 2.15 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(2) กก. 1,304.48 9.14 11,922.95 6,192.56 5,128.82 1,063.74 7,937.93 6,794.13 5,730.39 4.75 - 1.93 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ถั่วเขียวผิวมัน ขาวโพดเลี้ยงสัตว(1) กก. 1,325.35 7.56 10,019.65 5,357.23 4,736.59 620.64 5,922.29 5,283.06 4,662.42 4.04 - 1.87 ถั่วเขียวผิวมัน (2) กก. 206.91 23.02 4,763.07 2,694.25 2,070.17 624.08 3,025.99 2,692.90 2,068.82 13.02 - 1.77 ออยโรงงาน ตัน 13.74 1,110 15,251.40 11,248.32 9,401.13 1,847.19 7,649.68 5,850.27 4,003.08 0.82 818.66 1.36 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว กก. 1,200.00 7.56 9,072.00 5,902.51 4,440.49 1,462.02 5,161.37 4,631.51 3,169.49 4.92 - 1.54 มันสำปะหลัง ตัน 3.42 2,910 9,952.20 6,816.42 5,482.03 1,334.39 5,870.31 4,470.17 3,135.78 1.99 1,993.11 1.46 56 มันสำปะหลัง ตัน 4.30 2,910 12,513.00 8,369.82 6,657.91 1,711.91 7,010.59 5,855.09 4,143.18 1.95 1,946.47 1.50 ที่มา : จากการสำรวจและการคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-10 3.2 การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช 3.2.1 การประเมินความเหมาะสมของที่ดินดานเศรษฐกิจ การประเมินความเหมาะสมของที่ดินดานเศรษฐกิจสำหรับการใชประโยชนที่ดิน ในแตละกลุมชุดดินไดทำการประเมินจากผลของการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนจากการผลิต โดยนำมาหาคาทางสถิติไดดังนี้ (ตารางที่ 3-2) ตารางที่3-2 ผลการคำนวณคาตัวแปรสำหรับการจัดระดับความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ ของการใชประโยชนที่ดินพืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 คาทางสถิติ รายได (บาท/ไร) ตนทุนผันแปร (บาท/ไร) ผลตอบแทนเหนือ ตนทุนผันแปร (บาท/ไร) อัตราสวนรายได ตอตนทุนผัน แปร ( I ) ( VC ) ( RVC ) ( R ) คาสูงสุด (Max) 23,714.28 10,739.18 14,541.37 2.85 คาต่ำสุด (Min) 6,550.70 3,489.08 0.00 1.00 อัตราภาคชั้น (IR) 4,290.90 1,812.53 4,847.12 0.62 2IR 8,581.80 3,625.06 9,694.25 1.24 3IR 12,872.70 5,437.59 - - สูตร IR Max – Min 4 Max – Min 4 Max – 0 3 Max – 1.00 3 ที่มา :จากการสำรวจและการคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตรกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566) จากคาสถิติที่ไดนำมาจัดระดับความเหมาะสมของที่ดินดานเศรษฐกิจ ซึ่งไดใชตัวแปรดังนี้ 1) รายไดเฉลี่ยตอไร Income (I) = ราคาผลผลิตเฉลี่ย X ปริมาณผลผลิต กำหนดระดับ ดังนี้ I1 = รายไดสูงมาก = >Min + 3IR = >19,423.40 I2 = รายไดสูง = >Min + 2IR ถึง Min + 3IR = >15,132.50 ถึง 19,423.40 I3 = รายไดปานกลาง = >Min + IR ถึง Min + 2IR = >10,841.60 ถึง 15,132.50 I4 = รายไดต่ำ = ≤Min + IR = ≤10,841.60 2) ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยตอไร (VC) กำหนดระดับ ดังนี้ VC1 = ตนทุนต่ำ = ≤Min + IR = ≤5,301.61


3-11 VC2 = ตนทุนปานกลาง = >Min + IR ถึง Min + 2IR = >5,301.61 ถึง 7,114.14 VC3 = ตนทุนสูง = >Min + 2IR ถึง Min + 3IR = >7,114.14 ถึง 8,926.67 VC4 = ตนทุนสูงมาก = >Min + 3IR = >8,926.67 3) รายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (RVC) กำหนดระดับ ดังนี้ RVC1 = รายไดสูงมาก = >2IR = >9,694.25 RVC2 = รายไดสูง = >IR ถึง 2IR = >4,847.12 ถึง 9,694.25 RVC3 = รายไดปานกลาง = 0 ถึง IR = 0.00 ถึง 4,847.12 RVC4 = รายไดต่ำ = <0 = <0.00 4) อัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรทั้งหมด (R) กำหนดระดับ ดังนี้ R1 = อัตราผลตอบแทนสูง = >Min + 2IR = >2.24 R2 = อัตราผลตอบแทนปานกลาง = >Min + IR ถึง Min + 2IR = >1.62 ถึง 2.24 R3 = อัตราผลตอบแทนต่ำ = >Min ถึง Min + IR = >1.00 ถึง 1.62 R4 = อัตราผลตอบแทนต่ำมาก = ≤Min = ≤1.00 จากคาตัวแปรทั้ง 4 ชนิด ที่กำหนดระดับดังกลาวมาแลวนำมาใหคะแนนในแตละระดับ หางกันระดับละ 1 คะแนน ดังนี้ ระดับ I1 VC1 RVC1 R1 ใหคะแนน 4 คะแนนตอ 1 ตัวแปร ระดับ I2 VC2 RVC2 R2 ใหคะแนน 3 คะแนนตอ 1 ตัวแปร ระดับ I3 VC3 RVC3 R3 ใหคะแนน 2 คะแนนตอ 1 ตัวแปร ระดับ I4 VC4 RVC4 R4 ใหคะแนน 1 คะแนนตอ 1 ตัวแปร เมื่อคำนวณคะแนนในแตละตัวแปรแลว นำคะแนนที่ไดมาพิจารณาเพื่อจัดระดับ ความเหมาะสมดานเศรษฐกิจของประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยแบงระดับคะแนนออกเปน 4 ชอง (ชวงระดับความเหมาะสม 16/4=4 คะแนน ตอหนึ่งชวงระดับ) ดังนั้นจึงกำหนดระดับความเหมาะสม ดานเศรษฐกิจได ดังนี้ S1 = เหมาะสมสูง = 13-16 คะแนน S2 = เหมาะสมปานกลาง = 9-12 คะแนน


3-12 S3 = เหมาะสมเล็กนอย = 5-8 คะแนน N = ไมเหมาะสม = 1-4 คะแนน 3.2.2 การพิจารณาทางเลือกการใชประโยชนที่ดิน สำหรับทางเลือกการใชประโยชนที่ดินจากการวิเคราะหขอมูลทางเศรษฐกิจ ในระดับพื้นที่จังหวัดนครสวรรคนั้น เนื่องจากบางกลุมชุดดินเกษตรกรสามารถเลือกใชประโยชนที่ดิน เพื่อผลิตพืชไดหลายชนิด ดังนั้นเมื่อวิเคราะหตัวชี้วัด 4 ตัวแปร ไดแก รายได ตนทุนผันแปรทั้งหมด รายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด และอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรทั้งหมด จากนั้นนำผล การวิเคราะหตัวแปรดังกลาวไปวัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของประเภทการใชประโยชนที่ดิน (ตารางที่ 3-3 และตารางที่ 3-4) สรุปไดดังนี้ 1) การใชประโยชนที่ดินประเภทเดียวกันในกลุมชุดดินตางกัน ขาวนาปในกลุมชุดดินที่ 7 และ 18 พบวา มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) ขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง ในกลุมชุดดินที่ 4 7 และ 21 พบวา มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) ขาวนาปตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว ในกลุมชุดดินที่ 18 พบวา มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมเหมาะสมสูง (S1) ขาวโพดเลี้ยงสัตว ในกลุมชุดดินที่ 54 พบวา มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตวในกลุมชุดดินที่ 28 และ 52 พบวา ในกลุมชุดดินที่ 28 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับปานกลาง (S2) และในกลุมชุดดินที่ 52 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมเหมาะสมสูง (S1) ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยถั่วเขียวผิวมัน ในกลุมชุดดินที่ 52 พบวา มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) มันสำปะหลัง ในกลุมชุดดินที่ 28 35 40 54 และ 56 พบวา มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) ออยโรงงาน ในกลุมชุดดินที่ 28 35 40 และ 52 พบวา ในกลุมชุดดินที่ 28 และ 52 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) และในกลุมชุดดินที่ 35 และ 40 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมเล็กนอย (S3)


3-13 ตารางที่3-3 การวิเคราะหความเหมาะสมดานเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินพืชเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 กลุม ชุด ดิน ประเภทการใชประโยชนที่ดิน มูลคา ผลผลิต (รายได) (บาท/ไร) ตนทุน ผันแปร (บาท/ไร) ผลตอบ แทนเหนือ ตนทุน ผันแปร (บาท/ไร) อัตราสวน รายได ตอตนทุน ผันแปร ระดับตัวแปร คะแนนตัวแปร คะแนน รวม ระดับ ความ เหมาะสม ทาง เศรษฐกิจ ( I ) ( VC ) ( RVC ) ( R ) I VC RVC R I VC RVC R 4 ขาวนาป- ขาวนาปรัง 16,024.65 8,242.33 7,782.32 1.94 I2 VC3 RVC2 R2 3 2 3 3 11 S2 7 ขาวนาป 6,550.70 3,489.08 3,061.62 1.88 I4 VC1 RVC3 R2 1 4 2 3 10 S2 ขาวนาป- ขาวนาปรัง 14,340.83 8,062.52 6,278.31 1.78 I3 VC3 RVC2 R2 2 2 3 3 10 S2 18 ขาวนาป 7,286.64 4,524.03 2,762.61 1.61 I4 VC1 RVC3 R3 1 4 2 2 9 S2 ขาวนาป - ขาวโพดเลี้ยงสัตว 22,383.88 7,842.51 14,541.37 2.85 I1 VC3 RVC1 R1 4 2 4 4 14 S1 21 ขาวนาป- ขาวนาปรัง 12,818.30 7,849.54 4,968.76 1.63 I3 VC3 RVC2 R2 2 2 3 3 10 S2 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว 22,023.11 10,739.18 11,283.93 2.05 I1 VC4 RVC1 R2 4 1 4 3 12 S2 มันสำปะหลัง 14,870.10 5,935.25 8,934.85 2.51 I3 VC2 RVC2 R1 2 3 3 4 12 S2 ออยโรงงาน 15,848.10 8,555.70 7,328.40 1.85 I2 VC3 RVC2 R2 3 2 3 3 11 S2 35 มันสำปะหลัง 10,679.70 4,804.87 5,874.83 2.22 I4 VC1 RVC2 R2 1 4 3 3 11 S2 ออยโรงงาน 11,532.90 8,293.66 3,239.24 1.39 I3 VC3 RVC3 R3 2 2 2 2 8 S3 40 มันสำปะหลัง 12,600.30 5,712.24 6,888.06 2.21 I3 VC2 RVC2 R2 2 3 3 3 11 S2 ออยโรงงาน 12,531.90 8,242.81 4,289.09 1.52 I3 VC3 RVC3 R3 2 2 2 2 8 S3


3-14 ตารางที่3-3 (ตอ) กลุม ชุด ดิน ประเภทการใชประโยชนที่ดิน มูลคา ผลผลิต (รายได) (บาท/ไร) ตนทุน ผันแปร (บาท/ไร) ผลตอบ แทนเหนือ ตนทุน ผันแปร (บาท/ไร) อัตราสวน รายไดตอ ตนทุน ผันแปร ระดับตัวแปร คะแนนตัวแปร คะแนน รวม ระดับ ความ เหมาะสม ทาง เศรษฐกิจ (I) ( VC ) ( RVC ) ( R ) I VC RVC R I VC RVC R 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว 23,714.28 9,825.55 13,888.73 2.41 I1 VC4 RVC1 R1 4 1 4 4 13 S1 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ถั่วเขียวผิวมัน 14,782.45 6,806.76 7,975.69 2.17 I3 VC2 RVC2 R2 2 3 3 3 11 S2 ออยโรงงาน 15,251.40 9,401.13 5,850.27 1.62 I2 VC4 RVC2 R2 3 1 3 3 10 S2 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 9,072.00 4,440.49 4,631.51 2.04 I4 VC1 RVC3 R2 1 4 2 3 10 S2 มันสำปะหลัง 9,952.20 5,482.03 4,470.17 1.82 I4 VC2 RVC3 R2 1 3 2 3 9 S2 56 มันสำปะหลัง 12,513.00 6,657.91 5,855.09 1.88 I3 VC2 RVC2 R2 2 3 3 3 11 S2 ที่มา :จากการสำรวจและการคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตรกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


3-15 2) การใชประโยชนที่ดินตางประเภทกันในกลุมชุดดินเดียวกัน กลุมชุดดินที่ 4 เกษตรกรปลูกขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 7 เกษตรกรปลูกขาวนาป และขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 18 เกษตรกรปลูกขาวนาป มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) และขาวนาปตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตวมีระดับความเหมาะสม ทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมเหมาะสมสูง (S1) กลุมชุดดินที่ 21 เกษตรกรปลูกขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง มีระดับความ เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 28 เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง และออยโรงงาน มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 35 เกษตรกรปลูกมันสำปะหลัง มีระดับความเหมาะสม ทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) และออยโรงงาน มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับเหมาะสมเหมาะสมเล็กนอย (S3) กลุมชุดดินที่ 40 เกษตรกรปลูกมันสำปะหลัง มีระดับความเหมาะสม ทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2) และออยโรงงาน มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ อยูในระดับเหมาะสมเหมาะสมเล็กนอย (S3) กลุมชุดดินที่ 52 เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมสูง (S1) ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยถั่วเขียวผิวมัน และออยโรงงาน มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมเหมาะสมปานกลาง (S2) กลุมชุดดินที่ 54 เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสำปะหลัง มีระดับ ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมเหมาะสมปานกลาง (S2) (ตารางที่ 3-5) กลุมชุดดินที่ 56 เกษตรกรปลูกมันสำปะหลัง มีระดับความเหมาะสม ทางเศรษฐกิจอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง (S2)


3-16 ตารางที่ 3-4ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินทางเศรษฐกิจ ปการผลิต 2565/66 ประเภท การใชประโยชนที่ดิน กลุมชุดดิน 4 7 18 21 28 35 40 52 54 56 ขาวนาป S2 S2 ขาวนาป– ขาวนาปรัง S2 S2 S2 ขาวนาป -ขาวโพดเลี้ยงสัตว S1 ขาวโพดเลี้ยงสัตว S2 ขาวโพดเลี้ยงสัตว-ขาวโพดเลี้ยงสัตว S2 S1 ขาวโพดเลี้ยงสัตว-ถั่วเขียวผิวมัน S2 มันสำปะหลัง S2 S2 S2 S2 S2 ออยโรงงาน S2 S3 S3 S2 ที่มา :จากการสำรวจและการคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


บทที่ 4 สรุปผลและขอเสนอแนะ 4.1 สรุปผล โครงการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจสำหรับพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรคปการผลิต 2565/66 มีวัตถุประสงคเพื่อเพื่อศึกษาและวิเคราะหขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจ ในระดับพื้นที่ และวิเคราะหและประเมินความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน ตามกลุมชุดดิน เพื่อสนับสนุนงานวางแผนการใชที่ดินในระดับพื้นที่โดยทำการสำรวจและเก็บขอมูลจากเกษตรกร กลุมตัวอยางที่ทำการผลิตขาวนาป ขาวนาป-นาปรัง ขาวนาป-ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตวขาวโพด เลี้ยงสัตว-ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตว-ถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง และออยโรงงานในพื้นที่จังหวัด นครสวรรค ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษา ไดดังนี้ 4.1.1 ภาวะเศรษฐกิจและสังคม เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 56 ปสวนใหญสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษามากที่สุด รอยละ 74.48 ของเกษตรกรทั้งหมด มีลักษณะการถือครองที่ดินสวนใหญเปนที่ดินของตนเอง และมีหนังสือ สำคัญที่มีเอกสารสิทธิ์สวนใหญเปนโฉนดรอยละ 79.21 ของครัวเรือนเกษตรกรที่มีที่ดินเปนของตนเอง ครัวเรือนเกษตรมีภาวะหนี้สินและกูยืมเงินรอยละ 35.31 ของครัวเรือนเกษตรทั้งหมดโดยมีวงเงินกูเฉลี่ย 48,846.15 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนการกูยืมเงินในระบบเปนสวนใหญ โดยแหลงเงินกูที่ครัวเรือนเกษตรกูยืมเงินมากที่สุด คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) และใชเพื่อการเกษตรมากที่สุด การกูยืมเงิน ของเกษตรกรสวนใหญเปนระยะสั้นหรือ 1 ป โดยที่อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ยรอยละ 6.61 บาทตอป ปญหาดานการผลิตทางการเกษตรปญหาดานการผลิตทางการเกษตร พบวา เกษตรกร ที่ปลูกพืชเศรษฐกิจขาวนาป ขาวนาปรัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง และออยโรงงาน ในปการผลิต 2565/66 พบเจอปญหาที่เหมือนกันจำนวน 3 ปญหา ไดแก ปจจัยการผลิตมีราคาสูงศัตรูพืชรบกวน และฝนแลงหรือฝนทิ้งชวง ซึ่งจากปญหาดังกลาวทำใหเกษตรกรตองการความชวยเหลือดานการเกษตร จากภาครัฐ โดยสวนใหญตองการใหจัดหาปจจัยการผลิตราคาถูก เพื่อลดตนทุนการผลิตลง และประกันราคา พืชผลทางการเกษตร ทัศนคติในการผลิต สวนใหญไมตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ แตมี เกษตรกรรอยละ 0.35 ที่ตองการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูก โดยเกษตรกรที่ปลูกขาวโพดเลี่ยงสัตวตองการ เลิกปลูกเพื่อไปปลูกมันสำปะหลัง สวนใหญที่ตองการเลิกปลูกพืชชนิดเดิมมีเหตุผล คือ เพื่อปลูกพืชชนิดอื่น ๆ หรือการปลูกหมุนเวียนในพื้นที่เดิม สำหรับแนวคิดในการเพิ่มผลผลิตเกษตรกร 3 อันดับแรก ไดแก แนวคิดการเพิ่ม ปริมาณปุยเคมี หรือรอยละ 68.18 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาคือ ลงทุนจัดหาแหลงน้ำรอยละ 18.53 และใชฮอรโมนเพิ่มรอยละ 16.43 แนวคิดการวางแผนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร เกษตรกรสวนใหญ ไมมีแนวคิดวางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร โดยเหตุผลสวนใหญคือ เปนอาชีพหลัก


4-2 ของครอบครัว สวนเกษตรกรที่มีแนวคิดวางแผนเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตร สนใจประกอบ อาชีพรับจาง เนื่องจากมีรายไดอยูสม่ำเสมอ 4.1.2 ภาวะการผลิต 1) ตามกลุมชุดดิน 1.1) กลุมชุดดินที่ 4 (ขาวนาป-ขาวนาปรัง) จากการพิจารณาตนทุนและ ผลตอบแทนการผลิตขาวนาป-ขาวนาปรัง มีปริมาณผลผลิต 1,951.00 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 16,024.65 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,119.38 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,905.27 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.58 1.2) กลุมชุดดินที่ 7 (ขาวนาป และขาวนาป-ขาวนาปรัง) จากการพิจารณา ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวนาปมีปริมาณผลผลิต 777.07 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 6,550.70 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 4,857.21 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,693.49 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 6.25 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.35 สำหรับขาวนาป-ขาวนาปรัง มีปริมาณผลผลิต 1,745.84 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 14,340.83 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,836.47 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,504.38 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.46 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันขาวนาปตามดวยขาวนาปรังไดรับผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาขาวนาป 1.3) กลุมชุดดินที่ 18 (ขาวนาป และขาวนาป-ขาวโพดเลี้ยงสัตว) จากการ พิจารณาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวนาปมีปริมาณผลผลิต 864.37 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคา ผลผลิต 7,286.64 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,092.08 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,194.56 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 7.05 บาท มีตนทุนตอกิโลกรัม 7.05 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.20 สำหรับขาวนาป-ขาวโพดเลี้ยงสัตวมีมูลคาผลผลิต 22,383.88 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,118.37 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 12,265.51 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 2.21 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันขาวนาปตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตวไดรับ ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาขาวนาป 1.4) กลุมชุดดินที่ 21 (ขาวนาป-ขาวนาปรัง) จากการพิจารณาตนทุนและ ผลตอบแทนการผลิตขาวนาป-ขาวนาปรัง มีปริมาณผลผลิต 1,560.12 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,818.30 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,706.15 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,112.51 บาทตอไรและอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.32 1.5) กลุมชุดดินที่ 28 (ขาวโพดเลี้ยงสัตว-ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง และ ออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว-ขาวโพดเลี้ยงสัตว มีปริมาณผลผลิต 2,650.61 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 22,023.11 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด


4-3 12,658.87 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 9,367.24 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.74 สำหรับมันสำปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 5.11 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 14,870.10 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,565.14 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 6,304.96 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.68 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,676.15 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.74 และออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 14.31 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 15,884.10 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,317.55 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,566.55 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 0.72 บาท หรือตนทุนตอตัน 721.00 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.54 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตวไดรับ ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดมากกวามันสำปะหลังและออยโรงงาน 1.6) กลุมชุดดินที่ 35 (มันสำปะหลัง และออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตมันสำปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 3.67 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,679.70 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,163.76 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,515.94 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.68 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,679.50 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.73 สำหรับออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 10.39 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 11,532.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,803.26 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,729.64 บาทตอไร มีตนทุนตอ กิโลกรัม 0.94 บาท หรือตนทุนตอตัน 943.53 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.18 เมื่อนำมา เปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันมันสำปะหลังไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวามากกวาออยโรงงาน 1.7) กลุมชุดดินที่ 40 (มันสำปะหลัง และออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตมันสำปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 4.33 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,600.30 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 7,466.77 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,133.53 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.72 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,724.43 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.69 สำหรับออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 11.29 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,531.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,244.12 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,287.78 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 0.91 บาท หรือตนทุนตอตัน 907.36 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.22 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันมันสำปะหลังไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวามากกวาออยโรงงาน 1.8) กลุมชุดดินที่ 52 (ขาวโพดเลี้ยงสัตว-ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ถั่วเขียวผิวมัน และออยโรงงาน) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว-ขาวโพด เลี้ยงสัตวมีปริมาณผลผลิต 2,864.18 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 23,714.28 บาทตอไร มีตนทุน ทั้งหมด 11,667.45 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 12,046.83 บาทตอไร และอัตราสวนรายได


4-4 ตอตนทุนทั้งหมด 2.03 สำหรับขาวโพดเลี้ยงสัตว-ถั่วเขียวผิวมัน มีมูลคาผลผลิต 14,782.45 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,051.09 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 6,731.36 บาทตอไร และอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.84 และออยโรงงาน มีปริมาณผลผลิต 13.74 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 15,251.40 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 11,248.32 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,003.08 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.82 บาท หรือตนทุนตอตัน 818.66 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.36 เมื่อนำมาปรียบเทียบพบวาในกลุมชุดดินเดียวกันขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวามากกวาขาวโพดเลี้ยง สัตวตามดวยถั่วเขียวผิวมัน และออยโรงงาน 1.9) กลุมชุดดินที่ 54 (ขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสำปะหลัง) จากการพิจารณา ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมีปริมาณผลผลิต 1,200.00 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคา ผลผลิต 9,072.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,902.51 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,169.49 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.92 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.54 สำหรับ มันสำปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 3.42 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 9,952.20 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,816.42 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,135.78 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.99 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,993.11 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.46 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวา ในกลุมชุดดินเดียวกันขาวโพดเลี้ยงสัตวไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมดมากกวามันสำปะหลัง 1.10) กลุมชุดดินที่ 56 (มันสำปะหลัง) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทน การผลิตมันสำปะหลัง มีปริมาณผลผลิต 4.30 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,513.00 บาทตอไร มีตนทุน ทั้งหมด 8,369.82 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,143.18 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.95 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,946.47 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.50 2) ตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน 2.1) ขาวนาป (กลุมชุดดินที่ 7 และ 18) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทน การผลิตขาวนาป พบวากลุมชุดดินที่ 7 มีปริมาณผลผลิต 777.07 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 6,550.70 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 4,857.21 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,693.49 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 6.25 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.35 สำหรับกลุมชุดดินที่ 18 มีปริมาณผลผลิต 864.37 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 7,286.64 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,092.08 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,194.56 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 7.05 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.20 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวาขาวนาปในกลุมชุดดินที่ 7 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดินที่ 18 เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 7 มีตนทุนตอกิโลกรัมนอยกวากลุมชุดดินที่ 18


Click to View FlipBook Version