The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kew_k0712, 2024-03-07 21:32:50

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ 2566

รายงานการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ 2566

4-5 2.2) ขาวนาป – ขาวนาปรัง (กลุมชุดดินที่ 4 7 และ 21 ) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง พบวากลุมชุดดินที่ 4 มีปริมาณผลผลิต 1,951.00 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 16,024.65 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,119.38 บาทตอไร ผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมด 5,905.24 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.58 สำหรับกลุมชุดดินที่ 7 มีปริมาณผลผลิต 1,745.84 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 14,340.83 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,836.47 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,504.36 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.46 บาท และกลุมชุดดินที่ 21 มีปริมาณผลผลิต 1,560.12 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,818.30 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,706.15 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,112.15 บาทตอไร และอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.32 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวาขาวนาปตามดวยขาวนาปรังในกลุมชุดดินที่ 4 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดินที่ 7 และ 21 2.3) ขาวนาป- ขาวโพดเลี้ยงสัตว (กลุมชุดดินที่ 18) จากการพิจารณาตนทุนและ ผลตอบแทนการผลิตขาวนาปตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตวพบวากลุมชุดดินที่ 18 มีมูลคาผลผลิต 22,383.88 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,118.37 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 12,265.51 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 2.21 2.4) ขาวโพดเลี้ยงสัตว (กลุมชุดดินที่ 54) จากการพิจารณาตนทุนและผลตอบแทน การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวพบวากลุมชุดดินที่ 54 มีปริมาณผลผลิต 1,200.00 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคา ผลผลิต 9,072.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 5,902.51 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,169.49 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 4.92 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.54 2.5) ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว (กลุมชุดดินที่ 28 และ 52) จากการ พิจารณาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตวพบวากลุมชุดดินที่ 28 มีปริมาณผลผลิต 2,650.61 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 22,023.11 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 12,658.87 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 9,364.24 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.74 สำหรับกลุมชุดดินที่ 52 มีปริมาณผลผลิต 2,864.18 กิโลกรัมตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 23,714.28 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 11,667.45 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 12,046.83 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 2.03 บาท เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวาขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพด เลี้ยงสัตวในกลุมชุดดินที่ 52 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด มากกวาในกลุมชุดดินที่ 28 2.6) ขาวโพดเลี้ยงสัตว - ถั่วเขียวผิวมัน (กลุมชุดดินที่ 52) จากการพิจารณา ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยถั่วเขียวผิวมัน พบวากลุมชุดดินที่ 52 มีมูลคา


4-6 ผลผลิต 14,782.72 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,051.48 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 6,731.24 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.84 2.7) มันสำปะหลัง (กลุมชุดดินที่ 28 35 40 54 และ 56) จากการพิจารณาตนทุน และผลตอบแทนการผลิตมันสำปะหลัง พบวากลุมชุดดินที่ 28 มีปริมาณผลผลิต 5.11 ตันตอไร คิดเปนมูลคา ผลผลิต 14,870.10 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,565.14 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 6,304.96 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.68 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,676.15 บาท และอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.74 สำหรับกลุมชุดดินที่ 35 มีปริมาณผลผลิต 3.67 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 10,679.70 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,163.76 บาทตอไร หรือตนทุนตอตัน 1,679.50 บาท ผลตอบแทน เหนือตนทุนทั้งหมด 4,515.94 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.68 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.73 กลุมชุดดินที่ 40 มีปริมาณผลผลิต 4.33 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,600.30 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 7,466.77 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,133.53 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 1.72 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,724.43 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.69 กลุมชุดดินที่ 54 มีปริมาณผลผลิต 3.42 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 9,952.20 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 6,816.42 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 3,135.78 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.99 บาท หรือตนทุนตอตัน 1,993.11 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.46 และกลุมชุดดินที่ 56 มีปริมาณผลผลิต 4.30 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,513.00 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 8,369.82 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,143.18 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 1.95 บาท หรือตนทุน ตอตัน 1,946.47 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.50 เมื่อนำมาเปรียบเทียบพบวา มันสำปะหลังในกลุมชุดดินที่ 28 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดินที่ 35 40 54 และ 56 เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 28 มีตนทุนตอกิโลกรัมนอยกวา กลุมชุดดินที่ 35 40 54 และ 56 2.8) ออยโรงงาน (กลุมชุดดินที่ 28 35 40 และ 52) จากการพิจารณาตนทุนและ ผลตอบแทนการผลิตออยโรงงาน พบวากลุมชุดดินที่ 28 มีปริมาณผลผลิต 14.31 ตันตอไร คิดเปนมูลคา ผลผลิต 15,884.10 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,317.55 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 5,566.55 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.72 บาท หรือตนทุนตอตัน 721.00 บาท และอัตราสวนรายได ตอตนทุนทั้งหมด 1.54 สำหรับกลุมชุดดินที่ 35 มีปริมาณผลผลิต 10.39 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 11,532.910 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 9,803.26 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 1,729.64 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.94 บาท หรือตนทุนตอตัน 943.53 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุน ทั้งหมด 1.18 กลุมชุดดินที่ 40 มีปริมาณผลผลิต 11.29 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 12,531.90 บาทตอไร มีตนทุนทั้งหมด 10,244.12 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 2,287.78 บาทตอไร มีตนทุน ตอกิโลกรัม 0.91 บาท หรือตนทุนตอตัน 907.36 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.22


4-7 และกลุมชุดดินที่ 52 มีปริมาณผลผลิต 13.74 ตันตอไร คิดเปนมูลคาผลผลิต 15,251.40 บาทตอไร มีตนทุน ทั้งหมด 11,248.32 บาทตอไร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 4,003.08 บาทตอไร มีตนทุนตอกิโลกรัม 0.82 บาท หรือตนทุนตอตัน 818.66 บาท และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด 1.36 เมื่อนำมา เปรียบเทียบพบวาออยโรงงานในกลุมชุดดินที่ 28 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด และมีอัตราสวน รายไดตอตนทุนทั้งหมดมากกวาในกลุมชุดดินที่ 35 40 และ 52 เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 28 มีตนทุน ตอกิโลกรัมนอยกวากลุมชุดดินที่ 35 40 และ 52 4.1.3 การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช 1) การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช อยูในระดับสูง S1 ไดแก กลุมชุดดินที่ 18 ขาวนาปตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว และกลุมชุดดินที่ 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยขาวโพด เลี้ยงสัตว 2) การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืชอยูในระดับปานกลางS2 ไดแก กลุมชุดดินที่ 4 ขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง กลุมชุดดินที่ 7 ขาวนาป และขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง กลุมชุดดินที่ 18 ขาวนาป กลุมชุดดินที่ 21 ขาวนาปตามดวยขาวนาปรัง กลุมชุดดินที่ 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว ตามดวยขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง และออยโรงงาน กลุมชุดดินที่ 35 มันสำปะหลัง กลุมชุดดินที่ 40 มันสำปะหลัง กลุมชุดดินที่ 52 ขาวโพดเลี้ยงสัตวตามดวยถั่วเขียวผิวมัน และออยโรงงาน กลุมชุดดินที่ 54 ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสำปะหลัง และกลุมชุดดินที่ 56 มันสำปะหลัง 3) การประเมินความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจในการผลิตพืช อยูในระดับเล็กนอย S3 ไดแก กลุมชุดดินที่ 35ออยโรงงาน และกลุมชุดดินที่ 40 ออยโรงงาน 4.2 ขอเสนอแนะ จากการสำรวจขอมูล และวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ ขาวนาปขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเขียวผิวมัน มันสำปะหลัง และออยโรงงาน ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค มีขอเสนอแนะดังนี้ 4.2.1 จากการศึกษามีเกษตรกรรอยละ 74.48 ของเกษตรทั้งหมดที่จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา ซึ่งอาจสะทอนถึงการเขาถึงแหลงเรียนรูหรือโอกาสทางการศึกษา รัฐจึงควรสงเสริมองคความรู ดานการเกษตร ถายทอดเทคโนโลยีใหม ๆ ที่เหมาะสมไปสูเกษตรกร เพื่อพัฒนาและใหเกษตรกรไดตอยอด ประสบการณในการผลิตพืชเศรษฐกิจ และเปนประโยชนตออนาคคของเกษตรรุนใหมตอไป 4.2.2 ปญหาที่เกษตรกรพบมากที่สุด คือ ปจจัยการผลิตมีราคาสูง โดยปจจัยที่มีราคาสูง สงผลให ตนทุนการสูงและรายไดที่เกษตรกรไดรับลดลง คือ ปุยเคมี จึงควรมีหนวยงานที่เกี่ยวของเขามาสนับสนุน ปจจัยการผลิตที่สามารถชวยลดตนทุนได เชน กรมพัฒนาที่ดิน ที่สามารถสงเสริมปจจัยการผลิตดานปุยหมัก ใหเกษตรกรนำไปใชในแปลงเกษตรเพื่อลดตนทุนปุยเคมี 4.2.3 รัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการสงเสริม สนับสนุน เพิ่มศักยภาพ ของงานวิจัย และพัฒนาดานการเกษตรใหมากขึ้น เนื่องจากมีเกษตรกรสวนใหญที่ไมมีแนวคิดเปลี่ยนแปลงการผลิตพืช


4-8 ชนิดเดิม ซึ่งสงผลใหผลผลิตของพืชต่ำ เกิดโรคระบาด และคุณภาพดินที่ไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร นอกจากนี้การพัฒนางานวิจัยยังเปนการเพิ่มทางเลือกในการตัดสินใจปลูกพืชชนิดอื่น ๆ และเพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขันทางการตลาดไดมากยิ่งขึ้น


เอกสารอางอิง กัลยาณี บูรณากาล. 2554. ภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อการวางแผนการใชที่ดินลุมน้ำวังและ แผนการผลิตพืชที่เหมาะสมในเขตเกษตรน้ำฝน. สำนักนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร. 2563. อัตราคาธรรมเนียมและอัตราดอกเบี้ยเงินกู. แหลงที่มา: http://www.baac.or.th/th/contentrate.php?content_group=9&content _group_sub=2&inside=. 15 มีนาคม 2566. ศูนยประเมินผล. 2551. คูมือวิทยากรการฝกอบรมหลักสูตรการติดตามและประเมินผล. สำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. ศูนยสารสนเทศการเกษตร. 2565. คำนิยามขอมูลสถิติการเกษตร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. สำนักสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2534. กลุมชุดดิน 62 กลุม. แหลงที่มา: http://oss101.ldd.go.th/web_thaisoils/62_soilgroup/main_62 soilgroup.htm. 24 พฤษภาคม 2566.


ภาคผนวก


ผ-2 ภาคผนวก ก จำนวนตัวอยางและพื้นที่สำรวจพืชเศรษฐกิจ จำนวนตัวอยางที่สำรวจพืชเศรษฐกิจ ชนิดพืช กลุมชุดดิน รวม 4 7 18 21 28 35 40 52 54 56 ขาวนาป - 10 11 12 - - - - - - 33 ขาวนาป- ขาวนาปรัง 19 8 - - - - - - - - 27 ขาวนาป– ขาวโพดเลี้ยงสัตว - - 8 - - - - - - - 8 ขาวโพดเลี้ยงสัตว - - - - - - - - 4 - 4 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ขาวโพดเลี้ยงสัตว - - - - 22 - - 6 - - 28 ขาวโพดเลี้ยงสัตว- ถั่วเขียวผิวมัน - - - - - - - 23 - - 23 มันสำปะหลัง - - - - 19 15 17 - 17 16 84 ออยโรงงาน - - - - 40 19 12 8 - - 79 รวมดิน 19 18 19 12 81 34 29 37 21 16 286 ที่มา: จากการการคำนวณของกลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2566)


ผ-3 พื้นที่สำรวจขอมูลพืชเศรษฐกิจ ภาพที่ 2 แผนที่แสดงกลุมชุดดินขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ภาพที่ 1 แผนที่แสดงกลุมชุดดินขาวในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง


ผ-4 ภาพที่ 3 แผนที่แสดงกลุมชุดดินมันสำปะหลังในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง ภาพที่ 4 แผนที่แสดงกลุมชุดดินออยโรงงานในพื้นที่ศักยภาพการผลิตสูง


ผ-5 ภาคผนวก ข ประมวลภาพกิจกรรมและการเก็บขอมูล กิจกรรมการประชุมเตรียมความพรอมและแนวทางการดำเนินงาน ภาพที่ 7 การประชุมติดตามความกาวหนาการเขียนรางรายงาน (2 มิถุนายน 2566) ภาพที่ 6 ประชุมหารือการกำหนดกลุมตัวอยาง จังหวัดนครสวรรค(27 กุมภาพันธ 2566) ภาพที่ 5 ประชุมวางแผนการปฏิบัติงานและจัดทำแบบสอบถาม (21 ธันวาคม 2565)


ผ-6 การเก็บขอมูลภาคสนามจังหวัดนครสวรรค ภาพที่ 8 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจขาว จังหวัดนครสวรรค


ผ-7 ภาพที่ 9 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจขาวโพดเลี้ยงสัตวจังหวัดนครสวรรค


ผ-8 ภาพที่ 10 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจมันสำปะหลัง จังหวัดนครสวรรค


ผ-9 ภาพที่ 11 การเก็บขอมูลพืชเศรษฐกิจออยโรงงาน จังหวัดนครสวรรค


ผ-10 ภาคผนวก ค คุณสมบัติของกลุมชุดดิน กลุมชุดดินที่ ชุดดิน ลักษณะ 4 ชุดดินบางปะอิน (Bin) ชุดดินชัยนาท (Cn) ชุดดินชุมแสง (Cs) ชุดดินพิมาย (Pm) ชุดดินราชบุรี (Rb) ชุดดินสระบุรี (Sb) ชุดดินสิงหบุรี (Sin) ชุดดินศรีสงคราม (Ss) ชุดดินทาพล (Tn) และชุดดินทาเรือ (Tr) กลุมดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำที่ มีอายุยังนอย ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดาง การระบายน้ำคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณ ปานกลาง 7 ชุดดินเดิมบาง (Db) ชุดดินนาน (Na) ชุดดิน นครปฐม (Np) ชุดดินผักกาด (Pat) ชุดดิน สุโขทัย (Skt) ชุดดินทาตูม (Tt) ชุดดิน อุตรดิตถ (Utt) และชุดดินระโนด (Ran) กลุมดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำ ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดาง การระบายน้ำ คอนขางเลว ความอุดมสมบูรณปานกลาง 18 ชุดดินชลบุรี (Cb) ชุดดินไชยา (Cya) ชุดดิน โคกสำโรง (Ksr) และ ชุดดินเขายอย (Kyo) กลุมดินรวนละเอียดลึกมากที่เกิดจาก ตะกอนลำน้ำ ปฏิกิริยาดินกลางหรือเปนดาง การระบายน้ำเลวถึงคอนขางเลว ความอุดม สมบูรณต่ำถึงปานกลาง 21 ชุดดินเพชรบุรี (Pb) และชุดดินสรรพยา (Sa) กลุมดินรวนหยาบลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำ ในสวนต่ำของพื้นที่ริมแมน้ำ ปฏิกิริยาดิน เปนกรดเล็กนอยถึงเปนกลาง การระบายน้ำ คอนขางเลวถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ ปานกลาง 28 ชุดดินชัยบาดาล (Cd) ชุดดินดงลาน (Dl) ชุด ดินลพบุรี (Lb) ชุดดินน้ำเลน (Nal) และชุด ดินวังชมภู (Wc) กลุมดินเหนียวลึกมากสีดำที่มีรอยแตกระแหง กวางและลึก ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดาง การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง ความอุดม สมบูรณปานกลางถึงสูง


ผ-11 กลุมชุดดินที่ ชุดดิน ลักษณะ 35 ชุดดินดอนไร (Dr) ชุดดินดานซาย (Ds) ชุด ดินหางฉัตร (Hc) ชุดดินโคราช (Kt) ชุดดิน มาบบอน (Mb) ชุดดิน สตึก (Suk) ชุดดินวา ริน (Wn) และชุดดินยโสธร (Yt) กลุมดินรวนละเอียดลึกถึงลึกมากที่เกิดจาก ตะกอนลำน้ำหรือวัตถุตนกำเนิดดินเนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก การระบายน้ำดี ถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณต่ำ 40 ชุดดินจักราช (Ckr) ชุดดินชุมพวง (Cpg) ชุดดินหุบกระพง (Hg) ชุดดินหวยแถลง (Ht) ชุดดินสันปาตอง (Sp) และชุดดินยางตลาด (Yl) กลุมดินรวนหยาบลึกถึงลึกมากที่เกิดจาก ตะกอนลำน้ำหรือวัตถุตนกำเนิดเนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดหรือเปนกลาง การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง ความอุดม สมบูรณต่ำ 52 ชุดดินบึงชะนัง (Bng) และชุดดินตาคลี (Tk) กลุมดินตื้นถึงชั้นมารลหรือกอนปูน ปฏิกิริยา ดินเปนดาง การระบายน้ำดี ความอุดม สมบูรณปานกลางถึงสูง 54 ชุดดินลำพญากลาง (Lg) ชุดดินลำนารายณ (Ln) และชุดดินสมอทอด (Sat) กลุมดินลึกปานกลางถึงชั้นมารลหรือกอนปูน ปฏิกิริยาดินเปนดาง การระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณปานกลาง 56 ชุดดินลาดหญา (Ly) ชุดดินภูสะนา (Ps) และชุดดินโพนงาม (Png) กลุมดินลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น เศษหิน หรือลูกรัง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง ความอุดม สมบูรณต่ำ ที่มา:สำนักสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน


Click to View FlipBook Version