The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่ม 5 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saraban, 2022-12-06 00:51:22

แผน 5 ปี

รวมเล่ม 5 ปี

๓. ดา้ นคณุ ภาพ
๓.๑ ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาท่ีมีความพร้อม ให้นาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ี
เน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษา ให้สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการ
และบริบท
๓.๒ พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่เหมาะสมตามช่วงวัย สามารถจัดการตนเอง มีการคิดข้ันสูง
มคี วามสามารถในการส่ือสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทางานของตนเองและร่วมกับผู้อืน่ โดยใช้การ
รวมพลังทางานเป็นทีม เป็นพลเมืองท่ีดี มีศีลธรรม และอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างย่ังยืน รวมท้ัง
มีความจงรักภักดีต่อสถาบันหลกั ของชาติ ยึดม่ันการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เปน็ ประมุข
๓.๓ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ นาไปสู่การมีอาชีพ มีงานทา และ
ส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ของผูเ้ รยี นให้เตม็ ตามศักยภาพ เพ่อื เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
๓.๔ ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้ นาไปสู่การ
พัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล รวมทง้ั สง่ เสรมิ การนาระบบธนาคารหน่วยกิตมาใช้ใน
การเทยี บโอนผลการเรยี นรูแ้ ละประสบการณ์ต่าง ๆ ของผเู้ รียนในสถานศึกษา
๓.๕ พัฒนา ส่งเสริม ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมท้ัง
บุคลากรสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตาแหนง่
และมาตรฐานวชิ าชีพ
๔. ด้านประสิทธิภาพ
๔.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอานาจและใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน ที่มุ่งเน้น
การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ตามหลักธรรมาภิบาล
๔.๒ นาเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมูล มาใช้เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐาน และการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
๔.๓ ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคล่ือน
บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ เพื่อให้
ประสบผลสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม
๔.๔ ส่งเสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพในโรงเรยี นที่มวี ตั ถุประสงค์เฉพาะโรงเรียนทตี่ ง้ั ใน
พ้ืนทลี่ กั ษณะพิเศษ และโรงเรยี นในพน้ื ท่นี วตั กรรมการศกึ ษา
๔.๕ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนเิ ทศ ติดตาม
และประเมินผลการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดรับกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และชีวิตวิถีปกติต่อไป (Next
Normal)

จดุ เนน้ ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖

จุดเน้นท่ี ๑ เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-
๑๙ โดยเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery)
ใหก้ บั ผู้เรียนทกุ ระดบั รวมทงั้ ลดความเครยี ดและสขุ ภาพจติ ของผเู้ รยี น

๔๖


จุดเน้นท่ี ๒ เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแล ความปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมาตรฐานความ
ปลอดภยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (MOE Safety Platform)

จุดเน้นที่ ๓ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวยั ทม่ี ีอายุ ๓ - ๖ ปี และผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เข้าถึโอกาส
ทางการศึกษา และป้องกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน และ
เด็กพกิ าร ทค่ี น้ พบจากการปกั หมุดบ้านเด็กพกิ าร ใหก้ ลบั เข้าสรู่ ะบบการศึกษา

จุดเน้นที่ ๔ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะ และการจัดทากรอบหลักสูตร รวมท้ังจัด
กระบวนการเรียนรู้ทางประวตั ศิ าสตร์ หน้าทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม ใหเ้ หมาะสมตามวยั ของผู้เรียน

จดุ เนน้ ท่ี ๕ จัดการอบรมครูโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐานควบคู่กบั การให้ความรู้ด้านการวางแผนและการสร้าง
วนิ ัย ดา้ นการเงินและการออม เพ่ือแก้ไขปญั หาหน้ีสินครู

จุดเน้นที่ ๖ ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ ผ่านกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วม และมี
ปฏิสัมพันธ์ กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ ที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและ
ประเมินผล เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for learning) เพื่อให้เกิดสมรรถนะกับผู้เรียน
ทุกระดับ

จดุ เน้นท่ี ๗ ยกระดบั คุณภาพของนักเรยี นประจาพักนอน สาหรับโรงเรียนที่อยู่ในพน้ื ท่สี ูงหา่ งไกล และ
ถิน่ ทุรกนั ดาร

จุดเนน้ ที่ ๘ มุ่งเน้นการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่อื การเรียนรทู้ กุ ระดบั
จุดเน้นท่ี ๙ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอานาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน
เพ่ือสร้างความเข้มแข็ง โดยการจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลักธรรมาภิบาล ให้กับ
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา

สาระสาคญั ของแผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ระยะเวลา ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ -๒๕๗๐)

การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นการศึกษาเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมาย
ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จาเป็น สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร
และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีวินัย มีนิสัยใฝ่การเรียนรู้ และเป็นพลเมืองท่ีรู้สิทธิและหน้าที่
มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ ในระยะเวลา ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ -
๒๕๗๐) ดังนี้

วิสัยทศั น์

“เด็กและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความสุข และมีเป้าหมาย ได้รับการพัฒนาตนเอง
เต็มศกั ยภาพ อย่างมีคณุ ภาพ”

๔๗


พนั ธกจิ

๑ . ส่ งเสริ มการจั ดการศึ กษาเพื่ อความเป็ นเลิ ศของผู้ เรี ยนให้ มี สมรรถนะตามศั กยภาพ
และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตร และทักษะที่จาเป็น
ในศตวรรษที่ ๒๑โดยใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Technology)

๒. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนอง
ทศิ ทางการพัฒนาประเทศ

๓. พัฒ นาสถานศึกษาและระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับให้มีความปลอดภัย
และจัดการศึกษาเพ่ือบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
เสริมสร้างความมั่นคงของมนุษย์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยยึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และเพิ่มโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการ
ทางการศกึ ษาอย่างท่ัวถงึ และเทา่ เทียม

๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการของหน่วยงานในสังกัดให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
เหมาะสมกบั บรบิ ท

เป้าประสงค์

๑. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ัน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่
อย่างมีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มคี วามรกั และความภูมใิ จในความเปน็ ไทย

๒. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เสมอภาค มีคุณภาพ
ตามมาตรฐาน สอดคล้องกับศกั ยภาพ ใหเ้ ป็นผมู้ ีสมรรถนะและทกั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑

๓. เดก็ กล่มุ เสยี่ งทีจ่ ะออกจากระบบการศึกษา เดก็ ตกหล่น และเด็กออกกลางคนั ได้รับการช่วยเหลือ
ให้ได้รับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

๔. ผเู้ รียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภัยจากภัยคุกคาม
๙ รูปแบบ ได้แก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัติต่างๆ อุบัติเหตุ โรคอุบัติใหม่ ฝุ่น PM ๒.๕ การค้ามนุษย์
การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงอาชญากรรมไซเบอร์ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้า
และรองรบั วิถชี ีวติ ใหม่ รวมถงึ การจัดสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือต่อการมสี ขุ ภาวะทีด่ ี

๕. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี มีสมรรถนะ ความรู้ ความเช่ียวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งจิตวิญญาณ
ความเป็นครู

๖. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ( Sustainable
Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

๔๘


๗. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา สถานศึกษา มีการนา
ระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธภิ าพ มรี ะบบการบริหาร
จัดการทไ่ี ดม้ าตรฐาน มีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกบั บริบท

กลยทุ ธ์

กลยุทธท์ ี่ ๑ สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภยั ทุกรปู แบบ

เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์

๑. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภัยจากภัยคุกคาม ๙ รูปแบบ

ไดแ้ ก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัตติ ่าง ๆ อุบัติเหตุ โรคอุบตั ิใหม่ ฝุ่น PM ๒.๕ การค้ามนษุ ย์ การคุกคาม

ในชีวิตและทรัพยส์ นิ รวมถึงอาชญากรรมไซเบอร์

๒. ผู้เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภยั และสามารถปรับตวั ต่อโรคอบุ ัติใหม่

โรคอบุ ัติซ้า

๓. สถานศึกษา ไดร้ ับการพัฒนาให้มคี วามปลอดภยั และจดั การศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

๔. สถานศึกษา ได้รับการส่งเสริมให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือความปลอดภัย

ของผู้เรียน

ตัวชี้วดั

ท่ี ตัวช้ีวดั ค่าเปา้ หมาย เปา้ ประสงค์

ปี ๒๕๗๐

๑ ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความรู้ความเข้าใจในภยั คุกคามรปู แบบใหมท่ ุก ๑๐๐ ๑,๒

รปู แบบ รเู้ ทา่ ทันสื่อและเทคโนโลยีในการดาเนินชีวิตวิถีใหม่และชวี ิตวิถี

ถัดไป

ที่ ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย เปา้ ประสงค์

ปี ๒๕๗๐

๒ ร้อยละของผู้เรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภัย ๑๐๐ ๑,๒

และสามารถปรับตวั ต่อโรคอุบตั ิใหม่ โรคอบุ ัติซา้

๓ ร้อยละของสถานศึกษาที่มีแผน/มาตรการ ในการจัดการภัยพิบัติ ภัย ๑๐๐ ๓

คุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้า รองรับวิถีชีวิตใหม่ (New

Normal)

๔ ร้อยละของสถานศึกษา มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่เก่ียวข้อง ๙๐ ๔

เพ่อื ความปลอดภัยของผเู้ รยี น

๔๙


แนวทางการพัฒนา

ที่ แนวทางการพัฒนา ตัวช้ีวัด
๑ สนับสนุน พัฒนา และส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นได้เรียนรู้เก่ียวกับภยั รูปแบบต่าง ๆ ทีม่ ีผลกระทบต่อ ๑

ความปลอดภัยในการดาเนินชีวิต เพ่ือสามารถดาเนินชีวิตในวิถีใหม่และชีวิตวิถีถัดไปได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
๒ พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ๑,๒
และสถานศึกษา ให้ได้รับความปลอดภัยจากภัยท้ัง ๙ รูปแบบ และพร้อมปรับตัว
ตอ่ การเปลี่ยนแปลง โดยเปิดให้มีช่องทางการร้องเรียนหรอื แจ้งเหตใุ หก้ ับผเู้ รียน ผ้ปู กครอง
ครู เพ่ือส่ือสารกับ สพฐ. โดยตรง รวมถึงการใช้ Big Data และแอปพลิเคชันในการเฝ้า
ระวังเชิงรุก เพ่ือสามารถคาดการณ์ภัยท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต และส่งเสริมการเชื่อมโยง
ฐานข้อมูลทัง้ หน่วยงานในสังกัดและหนว่ ยงานภายนอก ให้สามารถแก้ไขปัญหาด้านความ
ปลอดภัยไดอ้ ย่างทันท่วงที
๓ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพ้ืนที่ปลอดภัยสาหรับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ๓,๔
โดยการสนับสนนุ หรอื ประสานการสนับสนนุ ทรพั ยากรเพ่ือให้อาคารเรียนอาคารประกอบ
ของสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และความปลอดภัยของผู้เรียน ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา รวมถึงส่งเสริม และประสานการสนับสนุนบุคลากรด้านจิตวิทยา และ
บคุ ลากรด้านความปลอดภัย เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภยั กับผู้เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
๔ ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษา ให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ๔
ท่ีเก่ียวข้อง เช่น กระทรวงมหาดไทย , กระทรวงสาธารณ สุข และสานักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เป็นต้นเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัย
ของผู้เรียน ให้มที ักษะในการป้องกันและปรบั ตวั

๕ ส่งเสริมให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย และจัดทาแผนบริหารจัดการ ๓
ดา้ นความปลอดภัย ของหน่วยงานในสังกัด สพฐ. รวมถึงแผนรองรบั ภัยพิบตั ิฉุกเฉิน และ
จัดระบบความปลอดภัยในภาพรวมให้เหมาะสมตามบรบิ ทของพื้นที่

๖ ผลักดันให้เกิดการออก/ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมาตรการ ๑-๕
ระดบั ประเทศ เพอ่ื สนบั สนุนความปลอดภยั ให้ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา

๕๐


กลยุทธ์ที่ ๒ เพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาใหก้ บั ประชากรวยั เรยี นทุกคน

เปา้ ประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์
๑. เด็กปฐมวัยในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีพัฒนาการสมวัย
๒. ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาภาคบังคับ ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาคจนจบ
การศกึ ษาภาคบังคับ
๓. ผูเ้ รยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ได้รบั การส่งเสริมให้ได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค
จนจบการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
๔. เดก็ พิการและเด็กด้อยโอกาส ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพ
๕. ผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
๖. เดก็ กลมุ่ เส่ยี งท่จี ะออกจากระบบการศกึ ษา เดก็ ตกหล่น และเด็กออกกลางคัน ได้รบั การช่วยเหลือ
ใหไ้ ด้รับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

ตวั ช้วี ดั

ที่ ตัวช้ีวัด ค่าเปา้ หมาย เปา้ ประสงค์

ปี ๒๕๗๐

๑ อตั ราการเขา้ เรียนในชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๑๐๐ ๒

๒ อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสานักงาน ๗๐ ๒

คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

๓ ร้อยละของสถานศึกษาท่ีได้รับการสนับสนุนทรัพยากร เพ่ือเพิ่มโอกาส ๙๐ ๑-๖

ทางการศกึ ษาและสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการเรียนรู้

๔ รอ้ ยละของผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๘๐ ๕

ตามความถนัด และความสามารถ ตามหลกั พหปุ ญั ญา

๕ ร้อยละของเด็กออกกลางคัน เด็กตกหล่น กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา ๑๐๐ ๒,๓,๖

หรือไดร้ ับการศึกษาดว้ ยรปู แบบท่เี หมาะสม

๖ จานวนผู้เรียนท่ีเป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา และ ๒,๑๘๑,๓๗๘ ๔

พฒั นาสมรรถภาพหรอื บริการทางการศึกษาทีเ่ หมาะสม ตามความจาเป็น

๕๑


แนวทางการพัฒนา

ท่ี แนวทางการพัฒนา ตวั ชี้วัด

 การสนบั สนุนโครงสรา้ งพ้ืนฐาน

๑ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนระดับปฐมวัย และการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๒,๓,๗,๘,๙

เปน็ รายบคุ คล เปน็ ฐานขอ้ มูลในการบริหารจัดการศกึ ษา รวมท้งั บูรณาการและเชื่อมโยง

ฐานข้อมูลกับหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดูแลและป้องกันไม่ให้ผู้เรียนออกจากระบบ

การศกึ ษา

๒ ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของสังคมอย่างต่อเนื่อง ประสานงานกับ ๔,๕,๗,๘,๙

หน่วยงานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง และระดมทรัพยากรเพ่ือแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าทางการ

ศึกษา

๓ ส่งเสริม สนับสนุนให้มีเทคโนโลยีดิจิทัล หรือนวัตกรรม ในการสร้างโอกาสทาง ๔,๕,๙

การศึกษา ให้ผ้เู รียนทกุ คน ทกุ พ้ืนทีเ่ ข้าถึงการจัดการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพ

๔ พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยบุคคล ครอบครัว (Home School) ๒,๓,๔,๖,๙
องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ และสถานประกอบการในศูนย์การเรียน

ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

๕ พัฒนาระบบแพลตฟอร์มในการส่งต่อ ติดตาม และค้นหานักเรียน เพ่ือช่วยเหลือเด็ก ๒,๓,๗,๘,๙

ตกหล่น เด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา หรือได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบ

ท่เี หมาะสม

๖ กาหนดแนวทาง และกระบวนการในการส่งต่อนักเรียนให้ได้รับการศึกษาในระดับที่ ๒,๓,๗,๘,๙

สงู ข้ึน หรอื มที ักษะอาชีพในการดารงชีวิต

๗ พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก ส่ือบริการ ๙
และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา รวมทั้งกระบวนการวัดและประเมินผลที่

เหมาะสมกบั การพัฒนาศักยภาพของเด็กพกิ าร

ดแู ล ส่งเสริมการเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษาของผูเ้ รยี น

๘ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม ๖

ศกั ยภาพ

๙ สร้างการศึกษาทางเลือกและการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong learning) ที่หลากหลาย ๗,๘,๙

ให้กับผู้เรยี นกล่มุ เปา้ หมายพเิ ศษ และกลุ่มเปราะบาง ในการเขา้ ถงึ การศกึ ษา การเรียนรู้

และมพี ืน้ ฐานการประกอบอาชีพหรือทักษะอาชีพ อย่างเท่าเทยี ม

๑๐ สง่ เสรมิ เดก็ พิการและเด็กดอ้ ยโอกาส มีโอกาสได้รับการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพ มีทกั ษะชีวติ ๙

ทกั ษะวิชาการ และทักษะวิชาชพี สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นสามารถพ่ึงตนเอง

ได้ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล

๕๒


ที่ แนวทางการพฒั นา ตัวช้ีวดั
๑๑ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมให้มีคุณภาพ และเกิดการบูรณาการ ๑-๙
๔,๕,๗
อย่างย่ังยืน ๔,๕,๗
๑๒ จัดสรรงบประมาณเป็นการเฉพาะสาหรับผู้เรียน เพื่อแก้ไขปัญหาด้านความเหลื่อมล้า ๑

ทางการศกึ ษา
เพ่มิ โอกาสการเข้าถึงสถานศึกษาท่มี ีคุณภาพทุกพ้นื ที่
๑๓ จัดสรรเงินอุดหนุนและทรัพยากรที่จาเป็น รวมถึงประสานการสนับสนุนทรัพยากร

แก่สถานศึกษาในพ้ืนท่ีลักษณะพิเศษ พื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร และพ้ืนที่เกาะ
เพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๑๔ พัฒนาโรงเรียนคุณภาพ โรงเรียนที่สามารถดารงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone)
ให้สามารถเพิ่มโอกาสทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับประชากรวัยเรียนและผู้เรียนได้
อยา่ งมคี ุณภาพ
๑๕ พัฒนาสถานศึกษาระดับปฐมวัยให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แหง่ ชาติ

กลยทุ ธ์ท่ี ๓ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑

เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์
๑. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าท่ี
อย่างมีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรกั และความภูมใิ จในความเป็นไทย
๒. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
สอดคล้องกับศกั ยภาพ ให้เป็นผูม้ สี มรรถนะและทกั ษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑
๓. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
มีสมรรถนะ ความรู้ ความเช่ียวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวชิ าชพี รวมทัง้ จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู
๔. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
และสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่เี ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๕. สถานศึกษา มีระบบการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for
Learning) ด้วยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เพื่อสง่ เสริมการเรียนร้เู ป็นรายบุคคล (Personalized Learning)
๖. สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สามารถจัดการเรียนการสอน
ทีย่ ืดหยุ่นตอบสนองตอ่ ความถนัดและความสนใจของผู้เรยี น

๕๓


ตวั ชี้วัด

ท่ี ตวั ชี้วดั คา่ เป้าหมาย เป้าประสงค์

ปี ๒๕๗๐

๑ ร้อยละของผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงคร์ ะดับดขี ึ้นไป ๙๐ ๑

๒ ร้อยละของผู้เรียนท่ีไดร้ ับการคัดกรองหรือส่งต่อเพื่อพฒั นาพหปุ ญั ญา ๑๐๐ ๒

รายบุคคล

๓ ร้อยละของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ และทักษะที่จาเป็น ๘๐ ๒

ในศตวรรษท่ี ๒๑

๔ ร้อยละของผู้เรียนสามารถเข้าถึงแพลตฟอร์มการเรียนรู้อัจฉริยะ ที่รวบรวม ๘๐ ๒

ข้อ มูล เกี่ย ว กับ ก ร ะ บ ว น ก า ร จัด ก า ร เรีย น รู้ สื่อ ก า ร ส อ น ที่มี

คุณภาพสูง และการประเมนิ และพัฒนาผู้เรียนเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้

เป็นรายบคุ คล (Personalized Learning) สาหรบั ผู้เรยี นทุกช่วงวยั

๕ รอ้ ยละของครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนแบบถักทอ ๘๐ ๓

ความรู้ ทักษะ เจตคติค่านิยม และคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกัน

ด้วยการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ (Competency-Based Instruction)

และการเรียนรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning) ในทกุ ระดับการศกึ ษา

๖ ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ ๗๐ ๓

ดา้ นภาษาและความรูพ้ ื้นฐานดา้ นดจิ ทิ ลั

๗ ร้อยละของสถานศึกษา สังกัด สพฐ. ที่มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่น ๑๐๐ ๖

ตอบสนองตอ่ ความถนดั และความสนใจของผู้เรยี น

๘ ร้อยละของสถานศึกษา มีระบบการวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ๑๐๐ ๕

ของผู้เรียน (Assessment For Learning) ด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย เพอ่ื สง่ เสริม

การเรียนรู้เป็นรายบุคคล (Personalized Learning)

๙ ร้อยละของสถานศึกษาที่เสริมสร้างศักยภาพด้านการประเมินให้กับครูผู้สอน ๘๐ ๕

ให้สามารถสร้างและใช้เคร่ืองมือประเมินสมรรถนะความฉลาดรู้ของผู้เรียน

ด้านการอ่าน ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านคณิตศาสตร์ในระดับชั้นเรียน

เพอ่ื การพฒั นาการเรยี นรู้

๑๐ ร้อยละของผู้เรียนปฐมวัยในสังกัดมีพัฒนาการสมวัยท้ังด้านร่างกาย จิตใจ ๘๐ ๒

วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา

๕๔


แนวทางการพัฒนา

ท่ี แนวทางการพัฒนา ตัวชี้วดั

 คุณภาพผู้เรยี น คุณภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

๑ จัดการศึกษาระดับปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย ๑๑

๒ ส่งเสริมให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ ๑ , ๓

มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างครบถ้วน เป็นคนดี

มีวินัย มีคว าม รัก ใน สถ าบัน ห ลัก ขอ งช าติ ยึด มั่น การปกครองในระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข และน้อมนาพระบรมราโชบายด้าน

การศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้าเจา้ อยู่หัว สกู่ ารปฏิบัติ

๓ พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รบั การพัฒนาพหุปัญญารายบุคคล โดยมีเครอ่ื งมือคัดกรอง / ๑ , ๓

สารวจแวว /วัดความสามารถ ความถนัด สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายตอบสนอง

ความแตกต่างทางพหุปัญญาของผู้เรียน โดยครูออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

สอดคล้องตามบริบทและวัฒนธรรม คานึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคลตามความถนัด

ความสนใจ สง่ ผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ

๔ จัดการศึกษาตามขีดความสามารถของผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐาน ความถนัดและ ๒,๓,๖,๗

ศักยภาพของแต่ละบุคคล วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ ให้สอดคล้องกับบริบทพื้นท่ี

ความต้องการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ

๕ พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดข้ันสูง นวัตกรรม ๓ , ๔

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

เช่อื มโยงสูอ่ าชีพและการมีงานทา มีทกั ษะอาชีพทสี่ อดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ

๖ ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่ีนาไปสู่ Digital Life & ๓
Learning ๑

๗ ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนนาความรดู้ ้านเทคโนโลยีมาใชใ้ นชีวติ ประจาวันและหารายได้ระหวา่ งเรียน

๘ ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ ม

คุณภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

๙ ส่งเสริมให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และเป็นผู้สร้างสรรค์ ๖

นวัตกรรม (Co-creation) ใหก้ บั ผ้เู รียนในทุกระดบั ชั้น

๑๐ ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพ
อย่างตอ่ เนอื่ ง มีจรรยาบรรณ และจิตวิญญาณความเป็นครู

๕๕


ท่ี แนวทางการพัฒนา ตวั ช้ีวัด
๑๑ พัฒนาศักยภาพครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ เรียน ๖

(Assessment For Learning) ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ๘
เปน็ รายบุคคล (Personalized Learning) เชน่ การอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ Intensive ๘
Training การอบรมแบบออนไลน์ (Online Training) การอบรมแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง
(e-learning) เปน็ ตน้
หลักสูตรและอ่นื ๆ
๑๒ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และหลักสูตร
สถานศึกษาบนฐานมโนทัศน์ท่ีหลากหลาย เช่น Career Education , Competency
Building , Creative Education
๑๓ พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาปฐมวยั ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

๑๔ พฒั นาระบบคลังข้อสอบมาตรฐานในการประเมินคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เพ่ือใหบ้ รกิ ารแก่ ๙
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในรปู แบบออนไลน์ ๓

๑๕ พัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษาของผู้เรียน และสมรรถนะของผู้เรียน ๓

๑๖ พัฒนาและส่งเสริมให้มีแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้อัจฉริยะ ท่ีรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนที่มีคุณภาพ และการประเมินและพัฒนา ๖
ผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เป็นรายบุคคล (Personalized learning) สาหรับผู้เรียน ๖
ทุกช่วงวยั ๖

๑๗ บูรณาการการศึกษาเพื่อการศึกษาต่อด้านอาชีพและการประกอบอาชีพ หรือการมีงานทา
ตามความตอ้ งการและความถนัดของผ้เู รียน

๑๘ สนับสนุนการปรับปรุงหลักสูตรและการพัฒนาครู สายสามัญ ปฐมวัย การศึกษาพิเศษ
การศึกษาตามอัธยาศัย ให้สอดคล้อง กับบริบทพื้นที่ สนับสนุนการพัฒนาระบบ
และกระบวนการบริหารจัดการกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และระบบการนิเทศ
การศึกษา และการสอนงานของครูพ่เี ลย้ี งในสถานศึกษา

๑๙ ส่งเสริมสนับสนุนศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) เป็นศูนย์กลาง
ในการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาโดยใช้พื้นทเี่ ปน็ ฐาน

๒๐ พัฒนาศึกษานิเทศก์ รูปแบบ วิธีการนิเทศที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) เพอ่ื ตอบสนองการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

๒๑ พัฒนาศึกษานิเทศก์และผู้บริหารสถานศึกษาให้มีสมรรถนะในการนิเทศการศึกษาและ
การพัฒนางานวิชาการ ท่ีส่งเสริมการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ และสอดคล้องกับลักษณะงาน
และวธิ ีการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหนง่

๕๖


กลยทุ ธท์ ี่ ๔ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการศึกษา

เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์
๑. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
มีการนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ้ นการบริหารจัดการอย่างมีประสทิ ธิภาพ
๒. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
มีระบบการบริหารจัดการทีไ่ ด้มาตรฐาน
๓. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา
มีการบริหารงบประมาณทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ เหมาะสมกับบริบท
๔. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษา
มกี ารบรหิ ารงานบคุ คลที่มีประสทิ ธภิ าพ เหมาะสมกับบริบท
๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา
มกี ารพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วม ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เหมาะสมกับบรบิ ท
๖. สถานศกึ ษาในพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาไดร้ ับการพัฒนาประสทิ ธภิ าพ ทเ่ี หมาะสมกับบรบิ ท
๗. สถานศกึ ษาท่ีอยู่ในเขตพื้นที่ลักษณะพิเศษ ได้รับการพัฒนาประสิทธภิ าพ ท่เี หมาะสมกับบริบท

ตวั ชว้ี ดั

ที่ ตวั ช้ีวดั ค่าเปา้ หมาย เป้าประสงค์

ปี ๒๕๗๐

๑ ร้อยละของหน่วยงานในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ๑๐๐ ๑

มีระบบบรหิ ารจัดการท่ีเป็นดิจทิ ัล

- หน่วยงานและสถานศึกษามีและใช้ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์

- หนว่ ยงานและสถานศึกษามีและใช้ระบบรหิ ารจดั การท่ีเป็นระบบดจิ ิทัล

๔ ดา้ น (บรหิ ารทวั่ ไป / บุคลากร / งบประมาณ / วชิ าการ)

- สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐานและสานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษามีและใชร้ ะบบรหิ ารจดั การทเ่ี ป็นระบบดจิ ทิ ัล ๔ ด้าน (บริหาร

ทว่ั ไป / บุคลากร / งบประมาณ / วชิ าการ) เช่อื มโยงเป็นระบบดิจิทลั

เดยี วกัน

- มรี ะบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีเปน็ ระบบดจิ ิทลั

- ร้อยละของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาที่ได้รับการ

ขยายผลการบริหารจัดการที่เป็นดิจิทัลที่เป็นรูปแบบเดียวกันของ

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินราชการ ๔๕๐ ๒

๔.๐ ตามเกณฑ์ (คะแนนผ่านเกณฑ์ไมต่ ่ากวา่ ๔๕๐)

๕๗


ท่ี ตวั ช้ีวดั ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์

ปี ๒๕๗๐

๓ ร้อยละของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสานักงาน ๘๐ ๒

เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาระดบั ดขี ึน้ ไป

๔ ร้อยละของสถานศึกษาทผ่ี ่านเกณฑ์การประกนั คุณภาพภายใน ๑๐๐ ๒

๕ ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๙๕ ๓

มีการใช้จา่ ยงบประมาณได้ตามมาตรการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณของรัฐ

๖ ร้อยละของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้ืนที่ ๙๕ ๔

การศึกษา สถานศกึ ษาท่ีมบี คุ ลากรตามกรอบอัตรากาลงั ที่กาหนด

๗ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการจัดการศึกษา ๘๐ ๓-๖

ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

๘ ร้อยละของสถานศึกษานาร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สถานศึกษา ๑๐๐ ๖-๗

ในเขตพื้นท่ีลักษณะพิเศษ โรงเรียนคุณภาพ ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพ

การจัดการศึกษาทเ่ี หมาะสมตามบริบทพ้ืนท่ี

แนวทางการพัฒนา
ที่ แนวทางการพฒั นา ตัวชี้วัด
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศกึ ษามีการนาระบบ
ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการบริหารจดั การอย่างมีประสิทธิภาพ
๑ พัฒนาระบบสารสนเทศในหนว่ ยงานทกุ ระดบั ใหม้ ีระบบข้อมูลจดั การและรายงาน (ปพ. Online ๑

/ระบบรายงานผลต่อ พระราชบัญญัติอานวยความสะดวก / พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล / ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการของสถานศึกษา/ สพท. /สพฐ. (นักเรียน
ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา สถานศึกษา (อาคาร ครุภณั ฑ์)) /ด้านบุคลากร)
๒ พัฒนาระบบพื้นฐานทางเทคโนโลยีให้ครอบคลุมท้ัง สพฐ. (การให้ความช่วยเหลือ ๑
ดา้ นเทคโนโลยพี ืน้ ฐาน พัฒนาบุคลากรใหม้ ีทักษะพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยี การใช้โครงข่าย
อินเทอร์เน็ต การใช้อุปกรณ์ ด้าน ICT และการพัฒนา Software) อย่างคุ้มค่า
และมีประสทิ ธภิ าพสงู สุด
๓ สร้าง พัฒนาและส่งเสริมการใช้ระบบบริหารด้านการจัดการศึกษาพื้นฐานที่ดีสาหรับ ๑
สถานศึกษาให้เป็นระบบเดียวเพื่อลดภาระงานครู ลดความซ้าซ้อนของระบบงาน
และการจัดเกบ็ ข้อมลู

๕๘


ท่ี แนวทางการพฒั นา ตวั ชี้วดั

๔ จัดหาอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในทุกระดับและเพียงพอต่อความต้องการของ ๑

การดาเนินงาน สนับสนุนงบประมาณด้านเทคโนโลยีแก่สานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน / สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา / สถานศึกษาให้ครบถ้วน

โดยวิธีการสนับสนุนจากส่วนราชการและภาคีเครือข่าย เพื่อรองรับการทางาน และการ

จดั การเรยี นการสอน

๕ ปรับปรุงระเบยี บ กฎหมาย แนวปฏิบัตใิ หส้ อดคล้องกบั การดาเนินงานท่ีเก่ยี วกบั การบรหิ าร ๑

จัดการด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทลั

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา สถานศกึ ษา มีระบบการ

บริหารจัดการทีไ่ ด้มาตรฐาน

๖ ส่งเสริมหน่วยงานในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้มีการบริหาร ๒

จัดการที่ได้มาตรฐานของแต่ละหน่วยงาน เช่น PMQA มาตรฐานสานักงานเขตพ้ืนที่

การศกึ ษา มาตรฐานการประกนั คุณภาพของสถานศกึ ษา หรอื มาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา สถานศกึ ษามกี ารบรหิ าร

งบประมาณ ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ เหมาะสมกับบริบท

๗ จัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องกับประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการศึกษาท่ีเกิดข้ึน ๓

โดยจัดสรรงบประมาณในรูปแบบวงเงนิ รวม (Block Grant)

๘ ปรบั เงินอดุ หนุนคา่ ใช้จา่ ยรายหวั ผู้เรียนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน ๓

๙ ปรับจานวนเงินข้ันต้นและจัดสรรให้แก่สถานศึกษาเพื่อการจัดการศึกษาให้เหมาะสม ๓

กบั สภาพปัจจุบัน

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา และสถานศึกษามีการ

บริหารงานบคุ คล ท่ีมีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกับบรบิ ท

๑๐ ปรบั โครงสร้างองคก์ รให้ยดื หยุน่ ทันสมัยรองรบั การเปลีย่ นแปลง ๔

๑๑ ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ วิธกี ารใหม้ ีการกระจายอานาจการบรหิ ารงานบุคคล ๔

๑๒ จัดกรอบอัตรากาลังท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติงานในสถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งข้าราชการ ๔

พลเรือนสามัญ/ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และสายสนับสนุน

เช่น พนักงานราชการ ลูกจ้างประจา ลูกจ้างรายปี (ครูอัตราจ้าง, นักการภารโรง,

ธรุ การโรงเรียน, พี่เลย้ี งเดก็ พกิ าร) และอ่ืนๆ

๑๓ เสริมสรา้ งขวัญกาลงั ใจในความก้าวหน้าทางวชิ าชพี และการยกย่องเชิดชเู กยี รติบุคลากร ๔

๑๔ พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ด้านเทคโนโลยี ๔

ท่สี อดคลอ้ งกบั Digital Literacy และสมรรถนะครูในทุกดา้ น

๑๕ พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมและ ๔

การปฏิบัติงานตามหลกั ธรรมาภิบาล

๕๙


ที่ แนวทางการพฒั นา ตวั ช้ีวดั

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา และสถานศกึ ษามกี าร

พฒั นาระบบการบริหารจดั การและการมสี ่วนร่วม ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ เหมาะสมกับบริบท

๑๖ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาทั้งในและนอกสังกัด เพื่อบูรณาการการใช้ทรัพยากร ๕

ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน

ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยนาเทคโนโลยีเข้ามา

สนับสนุน

๑๗ ส่งเสริมทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา สนับสนุนทรัพยากร (มาตรการทาง ๕

ภาษี บุคลากร ส่ิงอานวยความสะดวก)

๑๘ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ การบริหารจัดการศึกษา ๕

จากภาคส่วนต่าง ๆ

๑๙ บรู ณาการเชื่อมโยงข้อมลู ระหวา่ งหน่วยงานในการจัดการศกึ ษา (Open Data/Data Catalog) ๕

ทัง้ ในและนอกสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

สถานศึกษาในพ้ืนที่นวัตกรรมการศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาประสิทธิภาพ ท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ท

๒๐ บูรณาการการบรหิ ารจดั การทุกภาคสว่ นอย่างตอ่ เน่ืองในการจดั การศึกษา ๖

๒๑ ขยายผลนวตั กรรมที่ใช้ในการบริหารจดั การศึกษาจากพน้ื ท่นี วัตกรรมการศึกษาสู่พืน้ ท่ีอืน่ ๆ ๖

๒๒ พัฒนาสถานศึกษาในสังกัดให้มีคุณภาพ ยั่งยืน สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี โดยเฉพาะ ๖

โรงเรียนคุณภาพประถมศึกษา และมัธยมศึกษา โรงเรียนท่ีสามารถดารงอยู่ได้อย่างมี

คุณภาพ (Stand Alone) และโรงเรยี นทมี่ ีวัตถุประสงค์พิเศษ

สถานศึกษาในพืน้ ที่ลกั ษณะพิเศษ ไดร้ ับการพัฒนาประสิทธิภาพ ที่เหมาะสมกับบรบิ ท

๒๓ ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในพื้นที่ลักษณะพิเศษ ให้ได้รับการพัฒนาการจัดการศึกษา ๘

ที่เหมาะสมตามบริบทของพ้นื ท่ี

๖๐


ผังความเชอ่ื มโยงของแผนสาคญั ตา่ ง ๆ กับร่างแผ
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓

ความมน่ั คง การสรา้ งความสามารถ ด้านการพัฒ นาแ

ในการแขง่ ขนั เ ส ริ ม ส ร้ า ง ศั ก ย ภ

ทรัพยากรมนษุ ย์

แผนแม่บทฯ ๑. ความมั่นคง ๑ ๑ . ก า ร พั ฒ น า ๑๒. การพฒั นาการเร

ศักยภาพคนตลอดช่วง

ชีวิต

แผนแม่บทย่อย การป้องกันและแก้ไข • การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วง • การปฏิรูปกระบว

ปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อ การตัง้ ครรภจ์ นถงึ ปฐมวัย เปล่ียนแปลงในศตวร

ความมั่นคง • การพัฒนาช่วงวัยเรียน/ • ก ารต ระ ห นั ก ถ

วยั รุ่น หลากหลาย

แผนการปฏิรูปประเทศ ๑๒. ดา้ นการศ

(ปรับปรงุ )

(รา่ ง) แผนพัฒนา หมุดหมายที่ ๑๒
เศรษฐกิจและสงั คม ไทยมกี าลงั คนสมรรถนะสงู มุ่งเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตอบโจทย์กา
แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๓

แผนพัฒนาการศึกษา กลยุทธ์ท่ี ๑ กลยุทธท์ ี่ ๓
ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับก
ขัน้ พ้ืนฐาน ส่งเสริมการจัดการศึกษา
๒๑
ให้ผู้เรียนมีความปลอดภัย

จากภยั ทกุ รปู แบบ

61


ผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ.๒๕๖๖-๒๕๘๐
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ ยุทธศาสตร์ท่ี ๖

ละ การสร้างการเติบโตบน ด้านการสร้างโอกาสและ ด้านการปรับสมดุลและ

าพ คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร ความเสมอภาคทางสังคม พัฒนาระบบการบริหาร

ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม จดั การภาครฐั

รียนรู้ ๑๘. ความเสมอภาคและ ๒๑. การต่อต้านการทจุ รติ

หลักประกันทางสังคม และประพฤติมชิ อบ

วนการเรียนรู้ที่ตอบสนองการ การคุ้มครองทางสังคมข้ัน การป้องกันการทุจรติ และ

รรษท่ี ๒๑ พ้นื ฐานและหลักประกันทาง ประพฤติมชิ อบ

ถึ งพ หุ ปั ญ ญ าข อ งม นุ ษ ย์ ที่ เศรษฐกจิ สังคมและสุขภาพ

ศกึ ษา ๑๑.ด้านการป้องกันและ
ารพฒั นาแหง่ อนาคต
การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี ปราบปรามการทุจริตและ

ประพฤตมิ ชิ อบ

หมดุ หมายที่ ๙ หมดุ หมายท่ี ๑๓

ความยากจนข้ามรุ่นลดลง ภาครัฐสมรรถนะสูง

และความคุ้มครองทางสังคม

เหมาะสมเพียงพอ

กลยุทธ์ท่ี ๒ กลยุทธ์ท่ี ๔

เพิ่มโอกาสและความเสมอ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ

ภาคทางการศึกษาให้กับ การบรหิ ารจัดการศึกษา

ประชากรวยั เรยี นทกุ คน


ส่วนที่ ๕

การขับเคลอื่ นแผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
สู่การปฏบิ ตั ิ

ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ

๙๖


สว่ นท่ี ๕
การขบั เคล่ือนแผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานสู่การปฏิบัติ

แนวทางการบริหารแผนสูก่ ารปฏบิ ัติ
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นกรอบทิศทางในการจัดทาแผน ของหน่วยงานที่จัด
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีกาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ตอบสนองความเปล่ียนแปลงโดยเชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (รา่ ง) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑๓ แผนการปฏิรูป
ประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และแผนพัฒนา
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อให้
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดท่ีสอดคล้องกับเป้าหมาย
การให้บรกิ ารทางการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพทางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ จงึ กาหนดแนวทางในการบรหิ ารแผนสู่การปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

๑. สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ ในความ
เป็นมา และความเช่ือมโยงของแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กับนโยบายและแผนที่สาคัญอ่ืน ๆ เพื่อให้เกดิ การรบั รู้และเขา้ ใจในทิศทาง
เดยี วกัน

๒. เน้นย้าให้ผู้บริหารและบคุ ลากรในหน่วยงานทุกระดับ ให้ความสาคัญในการพิจารณา เพ่ือใช้
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ยโสธร เขต ๒ เป็นกรอบในการกาหนดนโยบาย แผน และกรอบแนวทางในการดาเนินงานของหนว่ ยงาน

๓. จัดทา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ -
๒๕๗๐ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือนาไปสู่การกาหนดนโยบาย มาตรการและ
โครงการท่ีเป็นรูปธรรม สาหรับการดาเนินงานในแต่ละปีงบประมาณ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ -
๒๕๗๐

๔. กากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน โดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ตามแผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน อย่างเป็นระบบ

ทั้งน้ีแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ฉบับน้ี ได้กาหนดเป้าหมาย
ภาพรวมและตัวชี้วัด มีจานวนตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษา ผู้บริหาร บุคลากรในสังกัด สามารถนาไป

๙๗


กาหนดแผนปฏิบัติการในการขับเคลื่อนให้เหมาะสมในแต่ละปี และสามารถนาแนวทางพัฒนาที่กาหนดไว้
ไปเลอื กปรับใช้ตามบริบท เพื่อให้บรรลุคา่ เป้าหมาย ตอ่ ไป

การบริหารจัดการขบั เคลื่อนนโยบายสคู่ วามสาเร็จ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ได้วางแผนการบริหารจัดการศึกษาเพ่ือการ
ขับเคล่ือนนโยบายให้ไปสู่ความสาเร็จในหลายรูปแบบทั้งการสารวจข้อมูลการนิเท ศติดตามช่วยเหลือ
สถานศึกษา การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา การประเมินผลตัวชี้วัดสถานศึกษาและการวิจัย
การศึกษาด้านต่างๆ ตามความเหมาะสมด้วยการบริหารจัดการที่ให้ผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา โดยยดึ หลัก ๑. ๔A คือ (ความสาเรจ็ ) และ Access (ความทว่ั ถึงและยัง่ ยืน)

๑. ระบบวงจรคุณภาพ PDCA : Plan Do Check Act
๒. การบริหารจัดการศกึ ษาตามมาตรฐานสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา (๓ มาตรฐาน)
๓. การบริหารจดั การภาครฐั PMQA : Public Sector Management Quality Award
๔. การบรหิ ารการศกึ ษาแบบบรู ณาการและมสี ่วนรว่ ม
๕. การบริหารตามหลักธรรมาภบิ าล

การกากับ ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒
ไดด้ าเนินการจัดการศกึ ษาให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารและสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดเพ่ือให้บรรลุผลการดาเนินตามตัวชี้วัดกาหนด โดยมีการประเมินผลการดาเนินงาน
ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ๙ รายการ ประกอบด้วย

๑. การติดตามตรวจสอบและประเมินผลแบบบูรณาการรูปแบบ Three in one โดยยึดรูปแบบ
๑) ๔A คือ Awareness (ความตระหนัก) Attempt (ความพยายาม) Achievement (ความสาเร็จ) Access
(ความท่ัวถึงและย่ังยืน ๒) ระบบวงจรคุณภาพ PDCA : Plan Do Check Act ๓) Bsc: Balance Scovecard
เน้นการนาผลการประเมนิ ไปพฒั นา และปรบั ปรงุ อยา่ งเป็นรูปธรรมและตอบแทนรางวลั แก่คนทาดี

๒. การประเมินคุณภาพการศึกษาเพ่ือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

๓. การติดตาม ประเมนิ ผลตามนโยบายและจุดเน้นของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา

๔. การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ (โปรแกรม KRS)

๕. การประเมินผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๔ กลยุทธ์

๖. การประเมินตวั ชี้วดั ตามมาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๓ มาตรฐาน

๙๘


๗. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๔

๘. การประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ ๔.๐ PMGA

๙. การประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีประเมินตาแหน่งและวิทยะฐานะ
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

โดยผลการประเมินทั้ง ๙ รายการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒
ไดเ้ ผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องไดร้ ับร้รู ับทราบผา่ นสอ่ื ที่หลากหลาย พรอ้ มท้ัง ได้นามาศึกษาวิเคราะห์ผลดี
ผลเสียส่ิงท่ีควรพัฒนาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้ดีย่ิงๆ ข้ึนไป โดยผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเข้ามา มีส่วนร่วมคิด
รว่ มวางแผน ร่วมปฏิบตั ิร่วมประเมนิ ผลและร่วมระดมสรรพกาลังเพ่ือการบริหารและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สูม่ าตรฐานชาติตอ่ ไป

เงอื่ นไขความสาเรจ็
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศกึ ษายโสธร เขต ๒ ได้ดาเนินการขับเคล่อื นสู่ความสาเร็จ ดังน้ี
๑. ดาเนินการแกไ้ ขปัญหาทมี่ ีจุดออ่ นหรอื อุปสรรค ให้ลดหรือหมดไป
๒. ดาเนินการความตอ่ เน่ืองด้านนโยบายทุกระดับ
๓. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ มีแผนและกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ

ท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดังกล่าว โดยมีการกาหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ และ
กาหนดเวลาที่เหมาะสม

๔. การได้รับการสนับสนุนทรัพยากรด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และบริหารจัดการ
อยา่ งตอ่ เนอื่ งและครอบคลมุ ภารกจิ และนาเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาใชเ้ พม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการสนบั สนนุ ทรัพยากรดงั กล่าว

๕. การดาเนินการของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ เป็นไปตาม
หลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างความเชื่อม่ัน ใหห้ นว่ ยงาน องคก์ ร และผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี โดยผบู้ ริหารทกุ ระดับ
ตอ้ งให้ความสาคัญในการบรหิ ารจัดการ การติดตาม การประเมินผล โดยมุ่งเน้นผลลัพธข์ องงานและการทางาน
แบบมีส่วนร่วมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ การปฏิบัติงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายทกี่ าหนดไว้ ผา่ นระบบการติดตาม ประเมินผลท่ที นั สมัย โดยการใช้เทคโนโลยี

๖. การสร้างและประสานเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างเป็นระบบ
ทงั้ หน่วยงานภาครฐั และหน่วยงานภาคเอกชน องค์กรอ่ืนๆ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานตามแผนและขับเคลื่อนเป็นไป
ในทิศทางเดียวกนั โดยมีผู้รบั ผิดชอบการสร้างและประสานเครอื ข่ายความร่วมมือทชี่ ดั เจน

๗. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ นาแผนพัฒนาการศึกษาขั้น
พื้นฐานดังกล่าว ไปพิจารณาจัดทาหรือปรับเปลี่ยนแผนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี และแผนอื่นๆ

๙๙


๘. สถานศึกษา นาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานดังกล่าว ไปพิจารณาจัดทาหรือปรับเปลี่ยน
แผนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี และแผน
อ่ืนๆ ท่ีสอดคล้องกับแผนสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

๑๐๐


ส่วนที่ ๔
กลยุทธ์ ตัวชว้ี ัด ค่าเป้าหมายตวั ช้วี ัด

ปี ๒๕๖๖-๒๕๗๐

๗๗


สว่ นที่ ๔

กลยุทธ์ ตัวชี้วดั ค่าเปา้ หมายตัวชวี้ ัด

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ จัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นกรอบทิศทางในการจัดทาแผน ของหน่วยงานที่จัด
การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน และหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายทก่ี าหนดไว้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและ
ประสิทธิผล ตอบสนองความเปล่ียนแปลงโดยมีเป้าหมายในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ โดยเช่ือมโยงสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๑ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๓ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๗๙ และแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือให้การบริหารแผนสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลสูงสุดท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการทางการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพ
ทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ จึงกาหนดกลยุทธ์
ในการบรหิ ารแผนสกู่ ารปฏิบัติ จานวน ๔ กลยทุ ธ์ ดงั น้ี

กลยทุ ธแ์ ละแนวทางในการพัฒนาตามกลยุทธ์

กลยทุ ธท์ ี่ ๑ การพัฒนาคณุ ภาพนกั เรียน
กลยุทธ์ที่ ๒ การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
กลยุทธท์ ี่ ๓ การพฒั นาสถานศกึ ษา
กลยุทธ์ที่ ๔ การพัฒนาสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา

ซง่ึ แตล่ ะกลยุทธ์ มแี นวทางการพฒั นา เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั คา่ เปา้ หมายของตวั ชว้ี ดั ตามกลยทุ ธ์ ดงั น้ี

กลยทุ ธ์ที่ ๑ การพฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี น มแี นวทางในการพัฒนาตามกลยทุ ธ์ ดงั น้ี
๑. สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาระบบ กลไก และพ้ืนที่ความปลอดภัยให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
ภัยรูปแบบต่าง ๆ ท่ีมีผลกระทบต่อความปลอดภัยในการดาเนินชีวิต เพ่ือสามารถดาเนินชีวิตในวิถี
ใหมแ่ ละชวี ติ วิถีถดั ไปได้อยา่ งถูกต้อง
๒. ส่งเสริมให้มีพื้นท่ีความปลอดภัยสาหรับผู้เรียน โดยส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา พัฒนาอาคาร
เรียนอาคารประกอบให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ และความปลอดภัยของผู้เรียน รวมถึงส่งเสริม และ
ประสานการสนับสนุนบุคลากรด้านจิตวิทยา และบุคลากรด้านความปลอดภัย เพ่ือให้เกิด
ความปลอดภัยกบั ผู้เรียน

๗๘


๓. ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษา ร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้อง เช่น หน่วยงาน
กระทรวงมหาดไทย , หน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานสานักงานคณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยของผู้เรียน ให้มีทักษะ
ในการป้องกันและปรบั ตวั ได้

๔. ส่งเสริมสถานศึกษา ให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย และจัดทาแผนบริหารจัดการ
ด้านความปลอดภัย รวมถึงแผนรองรับภัยพิบัติฉุกเฉิน และจัดระบบความปลอดภัยในภาพรวม
ให้เหมาะสมตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี

๕. ส่งเสริมการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการพัฒนา
เด็กปฐมวยั

๖. ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
เช่ือมโยงสอู่ าชีพและการมีงานทา

๗. ส่งเสริมจัดการศึกษาตามขีดความสามารถของผู้เรียน ตามความถนัดและศักยภาพของแต่ละบุคคล
เพือ่ วางรากฐานด้านอาชีพ ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทพื้นท่ี

๘. ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน ที่นาไปสู่ Digital Life &
Learning

๙. ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นนาความรูด้ ้านเทคโนโลยีมาใช้ในชีวิตประจาวันและหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี น
๑๐.สง่ เสริมการพฒั นาผู้เรยี นให้ไดร้ ับการพัฒนาพหปุ ัญญารายบุคคล
๑๑.สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาให้ผู้เรยี นทีม่ ีความสามารถพิเศษไดร้ ับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
๑๒.ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้รับโอกาสและความเสมอภาคทาง

การศึกษา มีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องกับศักยภาพและบริบท เป็นผู้ที่มีสมรรถนะและ
ทกั ษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑
๑๓.ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะออกจากระบบการศึกษา ออกกลางคัน หรือเด็กตกหล่น
ไดร้ ับการชว่ ยเหลอื ให้ไดร้ บั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๑๔.สนับสนุน กาหนดแนวทาง และกระบวนการในการส่งต่อนักเรียนให้ได้รับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
หรือมีทกั ษะอาชพี ในการดารงชีวติ
๑๕.ส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษาทางเลือก ให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง
ในการเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และมพี นื้ ฐานการประกอบอาชีพหรือทักษะอาชีพ อย่างเทา่ เทียม
๑๖.ส่งเสริมเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส มีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะชีวิตทักษะ
วิชาการ และทักษะวิชาชีพ สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นสามารถพึ่งตนเองได้ตามศักยภาพ
ของแต่ละบุคคล

๗๙


กลยทุ ธท์ ี่ ๒ การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มแี นวทางในการพัฒนาตามกลยทุ ธ์ ดงั น้ี
๑. ส่งเสริมให้มีพื้นท่ี พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยสาหรับครู และบุคลากรทางการศึกษา
ใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภัยจากภัยทกุ รูปแบบ
๒. ส่งเสริม และสนับสุนนให้ครู และบุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) และเป็นผ้สู ร้างสรรค์นวตั กรรม (Co-creation) ให้กับผเู้ รียนในทุกระดบั ชัน้
๓. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้พัฒนาส่ือ นวัตกรรมทางการศึกษา
เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน
๔. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาศักยภาพครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ของผู้เรียน (Assessment For Learning) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้
เป็นรายบุคคล (Personalized Learning) การอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ Intensive Training การ
อบรมแบบออนไลน์ (Online Training) การอบรมแบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง (e-learning) เปน็ ตน้
๕. พัฒนาหลักสูตร เพื่อเสริมสร้างทักษะวิชาชีพครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้อง
กบั บทบาทหน้าท่ี ทีเ่ หมาะสมตามบรบิ ท
๖. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ด้านเทคโนโลยี ที่สอดคล้องกับ Digital Literacy
และสมรรถนะในด้านอน่ื
๗. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตวิญญาณความเป็นครู
ตามมาตรฐานวิชาชีพและการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และวิทยฐานะ ตลอดท้ังส่งเสริม
สนับสนนุ ให้มีการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่อง
๘. เสริมสร้างขวัญกาลังใจในความก้าวหน้าทางวิชาชีพ และการยกย่องเชิดชูเกียรติครู และบุคลากร
ทางการศึกษา

กลยทุ ธท์ ี่ ๓ การพัฒนาสถานศกึ ษา มแี นวทางในการพฒั นาตามกลยุทธ์ ดังน้ี
๑. ส่งเสริมสถานศึกษา ในการพัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และ
บุคลากรทางการศึกษา ใหไ้ ดร้ ับความปลอดภยั จากภัยทุกรปู แบบ
๒. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศกึ ษา รว่ มมือกับหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้อง เช่น หน่วยงาน
ของกระทรวงมหาดไทย , หน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานของสานักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยของผู้เรียน
ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มีทักษะในการป้องกนั และการปรับตัว
๓. ส่งเสริมให้สถานศึกษา มีการประเมินความเส่ียงด้านความปลอดภัย และจัดทาแผนบริหารจัดการ
ด้านความปลอดภัย รวมถึงแผนรองรับภัยพิบัติฉุกเฉิน และจัดระบบความปลอดภัยในภาพรวมให้
เหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษา

๘๐


๔. ส่งเสริมสถานศึกษา ให้พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนระดับปฐมวัย และการศึกษา
ข้ันพื้นฐานเป็นรายบุคคล เป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา รวมท้ังบูรณาการและเช่ือมโยง
ฐานขอ้ มลู กบั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา

๕. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา ประสานการมีส่วนร่วมของชุมชน หน่วยงานอ่ืนๆ ในการระดม
ทรัพยากรเพอื่ การศึกษา รวมถงึ แกป้ ญั หาความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา

๖. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา พัฒนานวัตกรรม นาเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการเสริมสร้าง
โอกาสทางการศึกษา ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ถึงการจัดการศึกษาทมี่ ีคุณภาพ

๗. ส่งเสริม สนับสนุน ในการค้นหา ติดตาม และส่งต่อนักเรียน เด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน ให้กลับ
เขา้ ส่รู ะบบการศึกษา ในรปู แบบทเ่ี หมาะสม ดว้ ยแพลตฟอรม์

๘. ส่งเสริมให้สถานศึกษา กาหนดแนวทาง และกระบวนการในการส่งต่อนักเรียนให้ได้รับการศึกษา
ในระดับที่สูงขึ้น หรือมีทักษะอาชีพในการดารงชีวิตส่งเสริมสถานศึกษาให้จัดการศึกษาให้ผู้เรียน
ซ่ึงเป็นเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส เด็กที่มีความสามารถพิเศษได้รับโอกาสในการพัฒนา
เต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต ทกั ษะวิชาการ และทักษะวิชาชีพ สอดคล้องกับความต้องการจาเป็น
สามารถพ่ึงตนเองไดต้ ามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล

๙. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษา จัดการศึกษาแบบเรียนรวม แบบเครือข่ายโรงเรียนคุณภาพ หรือ
รูปแบบอ่นื ให้มคี ุณภาพ และเกดิ การบูรณาการ

๑๐.ส่งเสรมิ พัฒนาโรงเรียนคณุ ภาพ ใหเ้ ป็นต้นแบบการจัดการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ และโรงเรยี น
๑๑.ท่ีสามารถดารงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้สามารถเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา

ขน้ั พ้ืนฐานให้กับประชากรวัยเรยี นและผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมีคุณภาพ
๑๒.ส่งเสริมสถานศึกษาให้จัดการศึกษาระดับปฐมวัยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการที่สมวัย และจัดการศึกษา

ข้ันพื้นฐานให้ผู้เรียนให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑
อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น การปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยหู่ วั สู่การปฏิบตั ิ
๑๓.ส่งเสริมสถานศึกษาให้มีการพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาพหุปัญญารายบุคคล โดย
มีเครื่องมือคัดกรอง /สารวจแวว /วัดความสามารถ ความถนัด สถานศึกษาจัดการเรียนรู้
ที่หลากหลายตอบสนองความแตกต่างทางพหุปัญญาของผู้เรียน โดยครูออกแบบการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการสอดคล้องตามบริบทและวัฒนธรรม คานึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล
ตามความถนดั ความสนใจ สง่ ผลต่อการพัฒนาผเู้ รียนให้เต็มตามศักยภาพ
๑๔.ส่งเสริมสถานศึกษาให้จัดการศึกษาตามขีดความสามารถของผู้เรียน ตามความถนัดและศักยภาพ
ของแตล่ ะบคุ คล วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทพ้นื ที่

๘๑


๑๕.ส่งเสริมสถานศึกษาให้พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิด
ขัน้ สูง นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพมิ่ ขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา มีทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของประเทศ

๑๖.ส่งเสริมสถานศึกษาให้มีการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่ีนาไปสู่ Digital
Life & Learning และนาความรู้ด้านเทคโนโลยีมาใชใ้ นชวี ิตประจาวันและหารายไดร้ ะหว่างเรียน

๑๗.สง่ เสริมสนบั สนุนให้สถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม
๑๘.ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถจัดการเรียนรู้

เชิงรุก (Active Learning) และเป็ นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม (Co-creation) ให้ กั บผู้เรียน
ในทกุ ระดบั ชัน้
๑๙.รายบุคคล (Personalized Learning) เช่น การอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ Intensive Training
การอบรมแบบออนไลน์ (Online Training) การอบรมแบบเรียนร้ดู ้วยตนเอง (e-learning) เปน็ ต้น
๒๐.ส่งเสริมสถานศึกษาให้พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
และหลักสูตรสถานศึกษาบนฐานมโนทัศน์ท่ีหลากหลาย เช่น Career Education , Competency
Building , Creative Education
๒๑.ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา ใช้คลังข้อสอบมาตรฐานในการประเมินคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
เพอื่ ใหบ้ ริการแก่สถานศึกษาในรูปแบบออนไลน์
๒๒.ส่งเสริมสถานศึกษา ให้มีการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น และสมรรถนะของผูเ้ รียน และนวตั กรรมทางการบรหิ าร
๒๓.ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา ใช้แพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้อัจฉริยะเพื่อการเรียนรู้
เป็นส่ือการสอน และการประเมินผลพัฒนาการผู้เรียน เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้เป็นรายบุคคล
(Personalized learning) สาหรับผเู้ รยี นทกุ ชว่ งวยั
๒๔.ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา มีการนิเทศภายใน ที่ส่งเสริมให้ครูสามารถการจัดการเรียนรู้
เชงิ รุก (Active Learning)
๒๕.ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาตนเอง
ทางวชิ าชพี อย่างต่อเนื่อง มีจรรยาบรรณ และจิตวญิ ญาณความเป็นครู
๒๖.ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษา ให้มีการพัฒนาศักยภาพครูในด้านการวัดและประเมินผล
เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment For Learning) ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย
เพื่อสง่ เสรมิ การเรียนรเู้ ป็น

๘๒


กลยุทธ์ท่ี ๔ การพฒั นาสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา มีแนวทางในการพฒั นาตามกลยทุ ธ์ ดังน้ี
๑. พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อการบริหารและจดั การศึกษา
เช่น ระบบสารบรรณอิเลกทรอนิกส์ ระบบข้อมูลจัดการและรายงาน (ปพ. Online /ระบบรายงาน
ผลต่อ พระราชบัญญัติอานวยความสะดวก / พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ) ระบบ
สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (นักเรียน ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา สถานศึกษา (อาคาร ครุภัณฑ์)/ด้านบุคลากร) และระบบอ่ืนๆ ท่ีจาเป็นต่อ
การบริหาร
๒. พฒั นาบุคลากรให้มีทักษะพื้นฐานด้านเทคโนโลยี โดยให้ความช่วยเหลือดา้ นเทคโนโลยีพื้นฐาน การ
ใช้โครงข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้อุปกรณ์ด้าน ICT และการพัฒนา Software อย่างคุ้มค่าและ
มปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ และสามารถใช้งานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการศึกษา ที่แบบบูรณาการ เพื่อใหเ้ ป็นระบบเดียว
ลดความซ้าซ้อนของระบบการจัดเก็บและรายงานข้อมูล อันเป็นการภาระงานครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา
๔. จัดหาอุปกรณ์ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสมในทุกระดับและเพียงพอต่อความต้องการ
ของการดาเนินงาน สนับสนุนงบประมาณด้านเทคโนโลยีแก่ บุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา / สถานศึกษาให้ครบถ้วนโดยวิธีการสนับสนุนจากส่วนราชการและภาคีเครือข่าย
เพ่ือรองรบั การทางาน และการจดั การเรียนการสอน
๕. ส่งเสริม พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และระบบการประเมินให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน
เช่น PMQA KRS ARS ITA มาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมาตรฐานด้านอื่นๆ
ท่เี กย่ี วขอ้ ง
๖. การจัดสรรงบประมาณในการบริหารในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือดาเนินการงานหรือ
โครงการท่ีสอดคล้องกับเป้าหมาย ตัวช้ีวัด ตามแผนปฏิบัติการประจาปีของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และประสิทธิผลที่เกิดข้ึน และจัดสรรให้สถานศึกษาตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข
ตามแนวทางท่กี ฎหมายกาหนด
๗. จัดหาบุคลากรให้เพียงพอ ตามกรอบอัตรากาลังท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติงานในสถานการณ์
ปัจจุบนั
๘. พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ด้านเทคโนโลยี ที่สอดคล้องกับ Digital
Literacy และสมรรถนะครูในทุกด้าน
๙. พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตวิญญาณความเป็น
ครู ตามมาตรฐานวิชาชีพและการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และวิทยฐานะ ตลอดทั้ง
ส่งเสริม สนับสนนุ ให้มกี ารพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง
๑๐.พัฒนาบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ โดยเสริมสร้างขวัญ
และกาลังใจ รวมท้ังการยกย่องเชิดชเู กียรติ ในโอกาสต่าง ๆ

๘๓


๑๑.ส่งเสริม สนับสนุน การสร้างความร่วมมือระหว่างสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และ
เครือข่ายทั้งในและนอกสังกัดทุกภาคส่วน เพื่อจัดหาและบูรณาการการใช้ทรัพยากร
ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประโยชน์สูงสดุ ตอ่ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั

๑๒.พัฒนาระบบการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การบริหารจัดการศึกษา
ท่มี ปี ระสิทธิภาพเนน้ การมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น

๑๓.สง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษาในสังกัด รวมทั้งโรงเรียนคุณภาพ โรงเรียนเครือข่าย โรงเรียนเรียนรวม
โรงเรียนที่สามารถดารงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพ ย่ังยืน สอดคล้อง
กบั บริบทของพืน้ ที่

การกาหนดเปา้ หมาย ตัวชวี้ ดั และคา่ เปา้ หมายตวั ชีว้ ัดของกลยุทธ์ เพือ่ ใหบ้ รรลุวิสัยทศั น์ พนั ธกจิ
และเป้าประสงค์ของสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร ดงั นี้

ตัวชี้วดั ค่าเปา้ หมายของตวั ชว้ี ัด และความสอดคลอ้ งกับคณุ ลักษณะเปา้ หมาย (SMART)
จาแนกตามกลยุทธพ์ ัฒนาคุณภาพการศึกษาของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒

กลยุทธ์ที่ ๑ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ประกอบดว้ ยตวั ช้วี ัดและคา่ เป้าหมายตวั ชี้วดั ดงั น้ี

ตัวชวี้ ดั ที่ ตวั ชวี้ ดั และค่าเป้าหมายตัวชี้วดั ปงี บประมาณ

๒ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

ร้อยละของผู้เรียน มีความเข้าใจในภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ทุกรูปแบบ รู้เท่าทันส่ือและเทคโนโลยีในการดาเนินชีวิต

วถิ ีใหม่และชีวติ วถิ ถี ดั ไป

ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้รับ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

การพัฒ นาเต็มตามศักยภาพ ตามความถนัดและ

ความสามารถตามหลกั พหปุ ญั ญา

ร้อยละของผู้เรียน มีสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยพิจารณาจากการประเมิน

ความสามารถด้าน การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการ

เขียน

รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีมีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ ได้รับ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐

การพัฒนาให้มีความสามารถด้านผู้นา หรือด้านนักคิด

หรือด้านสร้างสรรค์ หรือด้านนักวิชาการ หรือด้านนัก

คณิตศาสตร์ หรือด้านนักวิทยาศาสตร์ หรือด้านนักภาษา

หรือด้านนักกีฬา หรอื ดา้ นนกั ดนตรี หรือดา้ นศิลปนิ

๘๔


ตัวชีว้ ัดท่ี ตวั ช้วี ัดและค่าเป้าหมายตัวชี้วดั ปีงบประมาณ

๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

รอ้ ยละของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับการ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

พัฒนาสมรรถนะตามแนวทางของการประเมิน PISA ด้วย

๙ ชดุ ฝกึ สมรรถนะและข้อสอบ PISA style
๑๐
ร้อยละของผู้เรียน ได้รับการปลูกฝังความมีระเบียบ วินัย ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
๑๑
๑๒ การมีจิตสาธารณะ ผ่านกระบวนการลูกเสือ และยุว
๑๓
๑๔ กาชาด

ร้อยละของผู้เรียนชั้นปฐมวัย มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่กาหนดใน

หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

ร้อยละของผู้เรียน มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประสงคร์ ะดบั ดีขนึ้ ไป

ร้อยละของผู้เรียน ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะและ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ทกั ษะที่จาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑

ร้อยละของผู้เรียน สามารถเข้าถึงแพลตฟอร์มการเรียนรู้ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐

อัจฉริยะท่ีรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการ

เรียนรู้ สื่อการสอนท่ีมีคุณภาพสูงและการประเมินและ

พั ฒ น า ผู้ เรี ย น เพื่ อ ส่ งเส ริ ม ก า ร เรี ย น รู้ เป็ น ร า ย บุ ค ค ล

(Personalized learning)

ร้อยละของผู้เรียนปฐมวัย มีพัฒนาการสมวัยทั้งด้าน ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ร่างกาย จติ ใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา

ร้อยละของผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี ๖ ได้รับการ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐

เสรมิ ทักษะ การเรยี นร้ทู ่เี ชือ่ มโยงอาชีพและการมงี านทา

รอ้ ยละของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้รับการเสริม ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ทกั ษะการเรียนรทู้ ี่เชื่อมโยงอาชพี และการมงี านทา

รอ้ ยละของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ อ่านคล่อง ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐

และเขียนคลอ่ ง

๑๕ ร้อยละของผู้เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ คิดคานวณ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐
เป็น

๘๕


ตัวชว้ี ดั ท่ี ตัวชี้วดั และคา่ เป้าหมายตัวชี้วัด ปงี บประมาณ
๑๖
๑๗ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

ร้อยละของผู้เรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ อ่านออก ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐

และเขยี นได้

ร้อยละของผู้เรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลัก ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

หมายเหตุ คุณลกั ษณะของผู้เรยี น (SMART Students) ไดแ้ ก่
S ; Skills หมายถึง การมีทักษะวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะชวี ิตท่เี หมาะสมและสอดคลอ้ งกับศตวรรษที่ ๒๑
M ; Moral หมายถงึ การมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
A ; Achievement หมายถึง การมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเรียนรู้
R ; Reading & Writing หมายถึง การมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การคดิ คานวณ
T ; Teamwork & Leadership หมายถงึ การรว่ มมือการทางานเปน็ ทีมและภาวะผู้นา

กลยุทธท่ี ๒ การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ยตวั ช้วี ัดและคา่ เป้าหมายตัวชวี้ ัด ดงั น้ี

ตวั ชว้ี ดั ที่ ตวั ช้วี ัดและค่าเปา้ หมายตัวช้ีวดั ปงี บประมาณ
๑๘
๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
๑๙
ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดการเรียนรู้ท่ี ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐
๒๐
๒๑ มุ่งพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนแบบถักทอความรู้ ทักษะ เจต

คติ ค่านิยม และคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกัน ด้วยการ

เรียนรู้ฐานสมรรถนะ และการเรียนรู้เชิงรุก (Active

Learning)

ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐

พัฒนาให้สามารถวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้

ของผู้เรียน (Assessment For Learning) ด้วยวิธีการท่ี

หลากหลายเพ่ือสง่ เสริมการเรียนรู้เปน็ รายบุคคล

ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐

พัฒนาให้มีสมรรถนะด้านภาษาและความรู้พื้นฐานด้าน

เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีส่ อดคล้องกับ Digital Literacy

ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

พัฒนาทักษะทางวิชาชีพ จรรยาบรรณ และจิตวิญญาณ

ความเป็นครอู ย่างต่อเนือ่ ง

๘๖


ตัวชว้ี ัดท่ี ตวั ช้ีวัดและคา่ เปา้ หมายตัวชี้วัด ปีงบประมาณ
๒๒
๒๓ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

๒๔ ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้พัฒนา ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐

สรา้ งสรรค์นวตั กรรมการศึกษา และมีนวัตกรรมการศกึ ษา

เพอื่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน

ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดทาข้อตกลง ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ในการพัฒ นางาน (PA) ตามเป้าหมายและตัวชี้วัด

เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามที่สานักงาน

เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ กาหนด

ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประเมิน และมีผลผ่านเกณฑ์การประเมินผลการพัฒนา

งานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตามหลักเกณฑ์

และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครู

และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ที่ ก.ค.ศ. กาหนด

หมายเหตุ คุณลักษณะของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (SMART Teachers) ไดแ้ ก่
S ; Space หมายถึง การจัดพน้ื ที่เรยี นรู้ หอ้ งเรยี น การจัดบรรยากาศในห้องเรียน ส่ือ นวตั กรรม
M ; Measurement หมายถึง การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
A ; Active Learning หมายถงึ การจดั การเรียนรู้ และการจดั การเรียนการสอนเชงิ รกุ
R ; Result หมายถึง ผลลพั ธ์ที่คาดหวัง หรือผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนรู้
T ; Teacher ideology หมายถึง การมีคุณธรรม จริยธรรม และอุดมการณ์ หรือความเป็นครูมืออาชีพ

กลยทุ ธท่ี ๓ การพฒั นาสถานศึกษา ประกอบด้วยตวั ช้ีวดั และค่าเปา้ หมายตัวชี้วดั ดังน้ี

ตัวชีว้ ดั ที่ ตัวชวี้ ดั และคา่ เปา้ หมายตัวชี้วดั ปงี บประมาณ

๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

๒๕ ร้อยละของสถานศึกษา มีแผน มาตรการ ในการ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

จัดการกับภัยพิบัติ ภัยคุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบัติใหม่

โรคอุบตั ซิ ้า และรองรับวิถชี ีวติ ใหม่ (New Normal)

๒๖ ร้อยละของสถานศึกษา ร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกท่ี ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

เก่ียวข้อง เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครูและ

บุคลากรทางการศกึ ษา

๘๗


ตัวชวี้ ัดที่ ตัวชวี้ ดั และค่าเป้าหมายตัวชี้วัด ปงี บประมาณ ๒๕๗๐
๒๗
๒๘ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๑๐๐
๒๙ ๑๐๐
๓๐ ร้อยละของสถานศึกษา ที่มีผู้เรียน ครูและบุคลากร ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ทางการศึกษาทุกคน ได้รับการดูแลความปลอดภัย และ ๑๐๐
๓๑ สามารถปรบั ตวั ต่อโรคอุบตั ใิ หม่ โรคอบุ ัตซิ ้า ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ร้อยละของสถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่ ๘๐ ๑๐๐
เน้นสมรรถนะ และมีความยืดหยุ่นตอบสนองต่อความ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ถนัดและความสนใจของผเู้ รยี น
ร้อยละของสถานศึกษา จัดทากรอบหลักสูตร รวมท้ัง ๘๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
จัดกระบวนการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ หน้าท่ีพลเมือง
และศลี ธรรม ใหเ้ หมาะสมตามวยั ของผเู้ รียน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ร้อยละของสถานศึกษา มีการจัดการเรียนการสอน ๑๐๐
ดาเนินงานโครงการ กิจกรรมท่ีเป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อ
เสริมสร้างสมรรถนะผู้เรียนท่ีตอบสนองการเปล่ียนแปลง
ศตวรรษที่ ๒๑
ร้อยละของสถานศึกษา มีระบบการวัดและประเมินผลเพื่อ ๑๐๐
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment For Learning)
ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เป็น
รายบุคคล (Personalized Learning)

๓๒ ร้อยละของสถานศึกษา ท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษา ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐
สร้างและใช้เคร่ืองมือประเมินสมรรถนะความฉลาดรู้ ของ
ผู้เรียน ด้านการอ่าน ด้านวิทยาศาสตร์ และด้าน
คณติ ศาสตร์ในระดับชั้นเรียนเพือ่ การพฒั นาการเรียนรู้

๓๓ ร้อยละของสถานศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ด า เนิ น ก า ร จั ด ท า ต ร ว จ ส อ บ แ บ บ ร า ย ง า น ผู้ ส า เร็ จ
การศึกษา ม.๓ (ปพ. ๓ ออนไลน์)

๓๔ ร้อยละของสถานศึกษา มีคุณ ภาพตามมาตรฐาน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือการ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

๓๕ ร้อยละของสถานศกึ ษา ผ่านเกณฑ์การประกนั คุณภาพ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ภายใน

๘๘


ตัวชวี้ ดั ที่ ตวั ชวี้ ดั และค่าเป้าหมายตัวช้ีวดั ปงี บประมาณ

๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

๓๖ ร้อยละของสถานศึกษา ได้รับการสนับสนุนทรัพยากร ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

การศึกษา เพื่อเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา และหรือมีการ

สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพือ่ การเรียนรู้

๓๗ ร้อยละของสถานศึกษา ดาเนินงานให้ประชากรวัยเรียน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

กลุ่มเป้าหมายได้เข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทุก

คน

๓๘ ร้อยละสถานศึกษา ดาเนินงานให้นักเรียนท่ีจบช้ัน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ เข้าเรยี นในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

สงั กัด สพฐ. หรอื สงั กดั อ่นื ทุกคน

๓๙ รอ้ ยละของสถานศึกษา ดาเนนิ การใหผ้ ูเ้ รียนท่ีเป็นผู้พกิ าร ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาและพัฒนา

สมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาท่ีเหมาะสมตาม

ความจาเป็น

๔๐ ร้อยละของสถานศึกษา ดาเนินงานคัดกรองและส่งต่อ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ผเู้ รียนพหปุ ญั ญารายบุคคล

๔๑ ร้อยละของสถานศึกษาดาเนินการให้เด็กออกกลางคัน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

เด็ ก ต ก ห ล่ น ก ลั บ เข้ า สู่ ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ห รื อ ได้ รั บ

การศกึ ษาดว้ ยรูปแบบทเี่ หมาะสม

๔๒ ร้อยละของสถานศึกษา ท่ีเป็นโรงเรียนคุณภาพ หรือ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐

โรงเรียนเครือข่าย หรือโรงเรียนเรียนร่วม หรอื โรงเรียนท่ี

สามารถดารงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone)

ได้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ที่

เหมาะสมตามบริบทพื้นที่

๔๓ ร้อยละของสถานศึกษา มีการดาเนินงานตามโครงการ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐

โรงเรียนสุจริตอย่างมีประสิทธิภาพและมีผลการประเมิน

คุณ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ

สถานศกึ ษา (ITA online) โดยมีคะแนนอยูใ่ นระดบั A

๔๔ ร้อยละของสถานศึกษา มีความสาเร็จในการดาเนินงาน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

โครงการพัฒ นาระบบรายงานข้อมูลการเงินด้าน

การศึกษาของสถานศึกษา

๘๙


ตัวช้วี ัดท่ี ตวั ชวี้ ดั และค่าเป้าหมายตัวช้ีวัด ปงี บประมาณ

๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

๔๕ ร้อยละของโรงเรียนวิถีพุทธ มีความสาเร็จในการ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ดาเนินงานและ ได้รับการประเมินตามแนวทางสู่ความ

เป็นโรงเรยี นวิถีพุทธ

๔๖ ร้อยละของสถานศึกษา มีความสาเร็จในการดาเนินงาน ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

และรายงานตามระบบติดตามการปฏิบัติงานเพื่อการ

บรหิ ารงานขององค์การ

๔๗ ร้อยละของสถานศึกษา มีการพัฒนาบุคลากรเพ่ิมเติม ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

หลังจากผ่านได้รับการพัฒนาก่อนเข้าสู่ตาแหน่งหรือหลัง

การบรรจแุ ตง่ ตั้ง ทุกตาแหน่ง

หมายเหตุ คณุ ลกั ษณะหรือการดาเนินงานของสถานศึกษา (SMART Directors /Schools) ไดแ้ ก่
S ; Space หมายถึง การจัดพ้นื ท่ีเรียนรู้ หอ้ งเรียน การจดั บรรยากาศในห้องเรียน ส่ือ นวัตกรรม
M ; Measurement หมายถึง การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
A ; Active Learning หมายถึง การจัดการเรยี นรู้ และการจัดการเรยี นการสอนเชงิ รุก
R ; Result หมายถึง ผลลัพธ์ทีค่ าดหวัง หรอื ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้
T ; Teacher ideology หมายถึง การมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และอดุ มการณ์ หรือความเป็นครูมอื อาชีพ

กลยทุ ธที่ ๓ การพัฒนาสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา ประกอบด้วยตวั ชว้ี ัดและค่าเป้าหมายตวั ชว้ี ดั ดังนี้

ตัวชว้ี ัดที่ ตัวชีว้ ัดและคา่ เปา้ หมายตัวช้ีวัด ปงี บประมาณ
๔๘
๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ / / / / /

มีระบบบริหารจัดการท่ีดีและนาระบบดิจิทัลมาใช้ เช่น

ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบริหารจัดการงาน

ท้ัง ๔ ด้าน (บริหารท่ัวไป/บุคลากร / งบประมาณ /

วิชาการ) เชื่อมโยงเป็นระบบเดียวกัน ระบบดูแล

ช่วยเหลือนักเรียนท่ีเป็นระบบดิจิทัล และขยายผลการ

บรหิ ารจัดการท่เี ป็นระบบดิจทิ ัลไปสสู่ ถานศึกษาในสังกัด

หรอื หน่วยงานอ่ืน

๙๐


ตัวชี้วัดที่ ตวั ชว้ี ัดและคา่ เปา้ หมายตัวช้ีวัด ปงี บประมาณ
๔๙
๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
๕๐
๕๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / / /
๕๒
เขต ๒ มีผลการประเมินระบบรายงานผลการ /
๕๓ /
๕๔ ป ร ะ เ ม ิน ส ่ว น ร า ช ก า ร ต า ม ม า ต ร ก า ร ป รับ ป รุง /
๕๕
๕๖ ป ร ะ สิท ธิภ า พ ใน ก า ร ป ฏ ิบ ัติร า ช ก า ร ( KRS) /
/
มีคะแนนไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๙๐ /
/
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ ผ่านเกณฑ์การประเมินราชการ ๔.๐ ตาม

เกณฑ์ (คะแนนไม่ต่ากว่า ๓๐๐ คะแนน)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีผลการประเมินผ่านเกณ ฑ์มาตรฐาน

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาระดับดีขึ้นไป

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีผลการติดตามและการประเมินผลการ

ดาเนินตามแผนกลยุทธ์ของสานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน(ARS) โดย มีผลการ

ประเมินท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

ในการดาเนินงานของสานักงานเขต (ITA) มีคะแนน

ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๙๕ (มีคุณภาพระดับ AA)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีการใช้จ่ายงบประมาณได้ตามมาตรการ

เบิกจ่ายเงินงบประมาณของรัฐ อย่างน้อยไม่ต่ากว่า

ร้อยละ ๙๐ ที่ได้รับจัดสรร

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ ได้รับการประเมินความพึงพอใจของ

ผู้รับบริการต่อการบริการ โดยมีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่า

กว่าร้อยละ ๙๐

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการศึกษา

โดยการกระจายอานาจ และความรับผิดชอบให้

๙๑


ตัวชวี้ ดั ที่ ตวั ชวี้ ัดและคา่ เป้าหมายตัวช้ีวดั ปีงบประมาณ
๕๗
๕๘ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
๕๙
พื้นที่(อาเภอ กลุ่มสถานศึกษา และสถานศึกษา) /
๖๐ /
เป็นฐานเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง /
๖๑
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / / /

เขต ๒ แก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากร โดยจัดหา /

บุคลากรให้มีจานวนตามกรอบอัตรากาลัง ไม่ต่ากว่า

ร้อยละ ๘๐ ตามที่ ก.ค.ศ.กาหนด

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุข

ภาวะที่ดีและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การ

ปรับปรุงภูมิทัศน์ การจัดระบบ มาตรการเพื่อลด

การใช้หรือประหยัดพลังงาน ค่าสาธารณปโภค การ

จัดระบบจัดเก็บขยะมูลฝอย เป็นต้น

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีระบบกากับ เร่งรัด ติดตาม ให้บุคลากรท่ี

รับผิดชอบข้อมูลสานสนเทศของสานักงานฯ และ

สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่งนาเข้าข้อมูลสารสนเทศ

ในระบบฯได้ครบถ้วน เช่น ระบบข้อมูลจัดการและ

รายงาน ปพ.online หรือ ระบบสารสนเทศเพื่อ

การบริหารจัดการของสถานศึกษา เป็นต้น

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ มีการพัฒนาระบบราชการและการบริการ

ภาครัฐยุคดิจิทัล โดยขับเคลื่อนการพัฒนาระบบ

ราชการ ๔.๐ ด้วยนวัตกรรมนาเทคโนโลยีดิจิทัลมา

เป็นกลไกหลักในการดาเนินงาน การเชื่อมโยงและ

การแบ่งปันข้อมูล การส่งเสริมความร่วมมือ บูรณา

การกับภาคส่วนต่าง ๆ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร / / / /

เขต ๒ พัฒ น าสู่อ งค์การแ ห่งก ารเรียน รู้ โดย มี

กระบวนการพัฒนาคน พัฒนางาน โดยเป็นองค์การ

แ ห ่ง ก า ร เรีย น รู้ส ม ัย ใ ห ม ่ ( Modern Learning

Organization) ท่ีทันต่อการเปล่ียนแปลง ส่งเสริม

๙๒


ตัวช้ีวัดท่ี ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตัวช้ีวดั ปงี บประมาณ

๖๒ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
๖๓
๖๔ ใ ห ้เก ิด ก า ร จ ัด ก า ร ค ว า ม รู้ ท า ใ ห ้บ ุค ล า ก ร มี /
๖๕ ๑๐๐
ความสามารถในการคิดเชิงระบบ รับรู้ปรับเปลี่ยน ๑๐๐
๑๐๐
กรอบความคิด มีจิตสานึกบริการพัฒนาตนเอง

พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม

สู ่เ ป ้า ห ม า ย ค ว า ม ส า เ ร็จ ที ่ต ้อ ง ก า ร โ ด ย ใ ช้

กระบวนการวิจัย

สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษายโสธร เขต ๒ / / / /

โดยหน่วยตรวจสอบภายใน มีการตรวจสอบตามแนว

ทางการตรวจสอบการดาเนินงาน ตามประเด็นท่ี สพฐ.

กาหนด และครบถ้วนตามจานวนหน่วยรับตรวจท่ี

กาหนด

ร้อยละของบุคลากรในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ได้รับการพัฒนาความรู้

ทักษะเกี่ยวกับระบบพื้นฐานทางเทคโนโลยี การใช้

โครงข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้อุปกรณ์ด้าน ICT และ

ก า ร พ ัฒ น า Software) อ ย ่า ง คุ ้ม ค ่า แ ล ะ มี

ประสิทธิภาพสูงสุด

ร้อยละของบุคลากรในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ มีความปลอดภัยจาก

ภัยคุกคามรูปแบบต่างๆ

ร้อยละของบุคลากรในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ มีความรู้ความเข้าใจ

ดาเนินการตาม แผน มาตรการ ในการจัดการภัย

พิบัติ ภัยคุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบัติใหม่และโรค

อุบัติซ้า รองรับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal)

๖๖ ร้อยละของบุคลากรในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ได้รับการส่งเสริม
สนับสนุนพัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
ใ ห ้ม ีส ม ร ร ถ น ะ ที ่ส อ ด ค ล ้อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ก ับ ก า ร
เปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกในอนาคต

๙๓


ตัวชว้ี ัดท่ี ตัวชว้ี ัดและค่าเป้าหมายตัวชี้วดั ปงี บประมาณ
๖๗
๖๘ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
๖๙
๗๐ ร้อยละของบุคลากรในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
๗๑ ๑๐๐
๗๒ ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ได้รับการพัฒ นา ๑๐๐
๗๓ ๙๕
ส่งเสริมให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตาแหน่งและ ๑๐๐
๑๐๐
มาตรฐานวิชาชีพ ๓๐

ร้อ ย ล ะ ข อ ง บ ุค ล า ก ร ใ น เข ต พื ้น ที ่ก า ร ศ ึก ษ า ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ได้รับการพัฒนาให้มี

ความรู้ด้านการวางแผน และการสร้างวินัย การเงิน

และการออม เพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สิน

ร้อยละของบุคลากรในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ มีผลงานหรือผลการ

ดาเนิน งาน ข อ งก ลุ่ม /ห น่ว ย ที่บ รร ลุเป้าห ม า ย

ประสบผลสาเร็จและเป็นแบบอย่างได้

ร้อยละของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มี ๘๐ ๙๐ ๙๕ ๙๕

ความพึงพอใจการให้บริการของสานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ อย่ใู นระดับมาก

ทสี่ ดุ

ร้อยละของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ไม่มี

เร่ืองร้องเรียนในการทุจริตและประพฤติมิชอบของ

หนว่ ยงาน

ร้อยละของจานวนขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ศกึ ษาในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต

๒ ไดร้ ับการพัฒนาก่อนเข้าสู่ตาแหน่งผบู้ ริหาร

สถานศกึ ษา

รอ้ ยละข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๓๐

พนักงานราชการ ลูกจ้างในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

และสถานศึกษา มผี ลงานดเี ด่นที่ประสบความสาเรจ็ เปน็

ทปี่ ระจกั ษ์ เป็นผลงานท่ีได้รับรางวัลยกยอ่ งเชิดชเู กียรติ

ในระดับชาติ ขน้ึ ไป โดยเปน็ รางวัลชนะเลิศที่ ก.ค.ศ.

หรือหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องกับรางวัลนนั้ ๆ ให้การรับรอง

ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการที่ ก.ค.ศ.กาหนด หรอื รางวลั

๙๔


ตัวชว้ี ัดท่ี ตวั ชี้วดั และค่าเปา้ หมายตัวช้ีวัด ปงี บประมาณ
๗๔
๗๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐
๗๖
๗๗ เทียบเคยี ง ๑๐๐
๗๘ ๑๐๐
๗๙ ร้อยละของเด็กออกกลางคัน เด็กตกหล่นในเขตพ้ืนที่ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
๘๐ ๑๐๐
การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ กลับเข้าสู่ระบบ ๑๐๐
๑๐๐
การศึกษาหรอื ได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสม ๑๐๐

ร้อยละของผูเ้ รียนที่เป็นผูพ้ ิการ ผู้ด้อยโอกาสในเขตพ้ืนท่ี ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ เข้าถึงบริการทาง

ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ พั ฒ น า ส ม ร ร ถ ภ า พ ห รื อ บ ริ ก า ร ท า ง

การศึกษาท่เี หมาะสม

ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ยโสธร เขต ๒ ได้รับการคัดกรองและส่งต่อผู้เรียนพหุ

ปัญญารายบุคคล และเป็นผู้ท่ีมีระดับพหุปัญญ า

รายบคุ คลในระดับดี

ร้อยละของผู้อานวยการสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ี ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ มีผลการประเมิน

การดาเนินงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ๘๐

คะแนนข้ึนไป

ร้อยละของศึกษานิเทศก์ในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ มีผลการประเมินการ

ดาเนินงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ๘๐

คะแนนข้นึ ไป

ร้อยละของรองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ี ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ มีผลการประเมิน

การดาเนินงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ๘๐

คะแนนขนึ้ ไป

ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษาอนื่ มาตรา ๓๘ ค (๒) ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ในสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต

๒ มีผลการประเมินการดาเนินงานตามข้อตกลงในการ

พัฒนางาน (PA) ๘๐ คะแนนข้ึนไป

๙๕


หมายเหตุ คุณลักษณะหรอื การดาเนินงานของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา (SMART Supporters) ไดแ้ ก่
S ; Standard หมายถงึ การมีคุณภาพตามมาตรฐาน
M ; Management หมายถงึ การบริหารจัดการ
A ; Active participation หมายถงึ การมสี ่วนร่วม มีเครือข่าย
R ; Responsible หมายถงึ ความรบั ผิดชอบ การบรกิ ารท่ดี ี
T ; Technology หมายถงึ การมีขอ้ มูลสารสนเทศ เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการบรหิ าร

๙๖


โครงการ/กิจกรรม ตามแผน
ระยะ ๔ ปี พ.ศ.

สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา

ที่ โครงการ กิจกรรม ๒๕๖

๑ โครงการยกระดับ คุณ ภาพ อาจ ๑,๐๐๐

ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ส่ ง เส ริ ม ๒.เสนอแผนงาน/โครงการ

ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา เพื่อขอความเห็นให้ ผอ.สพป.

ของสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา ยโสธรเขต๒พิจารณาอนมุ ตั ิ

ประถมศกึ ษายโสธรเขต๒ ๓.ดาเนนิ การขับเคลือ่ น

นโยบาย จุดเน้น มาตรฐาน

สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา

๔.กากบั ดูแล สง่ เสริม

สนบั สนุน ช่วยเหลือพัฒนา

สถานศกึ ษาสร้างและพัฒนา

เครือขา่ ยความรว่ มมอื

๕.ติดตามผลการดาเนินงาน

๖.ประเมินผล/สรปุ รายงาน

หมายเหตุ อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงตามรอบวงเงินทส่ี พฐ. จัดสรรเปน็ รายป


นพฒั นาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๒๕๗๐ ผรู้ ับผดิ ชอบ
.๒๕๖๖-๒๕๗๐
าประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ทุกกลุ่ม/
หนว่ ย
งบประมาณ (บาท)
๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙

๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐

ปีงบประมาณ

๙๓


โครงการ/กิจกรรม ตามแผน
ระยะ ๔ ปี พ.ศ.

สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

ที่ โครงการ กิจกรรม ๒๕๖

๒ โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพ ๑.วิเคราะห์ภารกจิ งานจัดระบบ ๑,๐๐๐

ต า ม น โย บ า ย เร่ งด่ ว น ข อ ง การบรหิ ารจัดการ

ส านั ก งาน ค ณ ะก รร ม ก า ร ๒.เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อ

การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ขอความเห็นชอบให้ ผอ.สพป.

ยโสธร เขต ๒ พิจารณาอนมุ ัติ

๓.ดาเนินการขับเคลือ่ นนโยบาย

จดุ เน้น มาตรฐานสานักงานเขต

พนื้ ทีก่ ารศึกษา

๔ .ก า กั บ ดู แ ล ส่ ง เส ริ ม

สนับสนุน ช่วยเหลือพัฒ นา

ส ถ า น ศึ ก ษ า ส ร้า ง แ ล ะ พั ฒ น า

เครอื ข่ายความรว่ มมือ

๕.ติดตามผลการดาเนินงาน

๖.ประเมินผล/สรุปรายงาน

หมายเหตุ อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงตามรอบวงเงินทส่ี พฐ. จดั สรรเปน็ รายป


นพฒั นาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๒๕๗๐ ผรู้ ับผดิ ชอบ
.๒๕๖๖-๒๕๗๐
าประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ทุกกลุ่ม/
หนว่ ย
งบประมาณ (บาท)
๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙

๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐

ปีงบประมาณ

๙๔


โครงการ/กิจกรรม ตามแผน
ระยะ ๕ ปี พ.ศ.

สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

ที่ โครงการ กิจกรรม ๒๕๖

๓ ยกระดับคุณ ภาพการศึกษา ๑.การกาหนดประเดน็ ๑,๐๐๐

ด้วยกระบวนการประเมินผล เป้าหมาย ตวั ช้วี ดั และ

การปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ ค่าเป้าหมาย

และวิธีการประเมินตาแหน่ง ๒.การจดั ทาข้อตกลงในการ

และ วิทยฐานะข้าราชการครู พฒั นางาน

และบุคลากรทางการศึกษา ๓.การดาเนินการตาม

ข้อตกลงในการพฒั นางาน

๔.การประเมินการดาเนินการ

ตามข้อตกลงพัฒนางาน

๕.การรายงานและทบทวนผล

การดาเนินงานตามข้อตกลง

ในการพฒั นางาน

หมายเหตุ อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงตามรอบวงเงินทส่ี พฐ. จดั สรรเปน็ รายป


นพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๗๐ ผรู้ ับผดิ ชอบ
.๒๕๖๖-๒๕๗๐
าประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ๑,๐๐๐,๐๐๐ กลุ่มบริหาร
งานบคุ คล
งบประมาณ (บาท)
๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙

๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐

ปีงบประมาณ

๙๕


ส่วนที่ ๕

การขับเคลอื่ นแผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
สู่การปฏบิ ตั ิ

ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ

๙๖


สว่ นท่ี ๕
การขบั เคล่ือนแผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานสู่การปฏิบัติ

แนวทางการบริหารแผนสูก่ ารปฏบิ ัติ
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นกรอบทิศทางในการจัดทาแผน ของหน่วยงานที่จัด
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีกาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ตอบสนองความเปล่ียนแปลงโดยเชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (รา่ ง) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑๓ แผนการปฏิรูป
ประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และแผนพัฒนา
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อให้
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดท่ีสอดคล้องกับเป้าหมาย
การให้บรกิ ารทางการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพทางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษายโสธร เขต ๒ จงึ กาหนดแนวทางในการบรหิ ารแผนสู่การปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

๑. สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ ในความ
เป็นมา และความเช่ือมโยงของแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กับนโยบายและแผนที่สาคัญอ่ืน ๆ เพื่อให้เกดิ การรบั รู้และเขา้ ใจในทิศทาง
เดยี วกัน

๒. เน้นย้าให้ผู้บริหารและบคุ ลากรในหน่วยงานทุกระดับ ให้ความสาคัญในการพิจารณา เพ่ือใช้
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ยโสธร เขต ๒ เป็นกรอบในการกาหนดนโยบาย แผน และกรอบแนวทางในการดาเนินงานของหนว่ ยงาน

๓. จัดทา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ -
๒๕๗๐ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือนาไปสู่การกาหนดนโยบาย มาตรการและ
โครงการท่ีเป็นรูปธรรม สาหรับการดาเนินงานในแต่ละปีงบประมาณ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ -
๒๕๗๐

๔. กากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน โดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ตามแผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน อย่างเป็นระบบ

ทั้งน้ีแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ฉบับน้ี ได้กาหนดเป้าหมาย
ภาพรวมและตัวชี้วัด มีจานวนตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษา ผู้บริหาร บุคลากรในสังกัด สามารถนาไป

๙๗


Click to View FlipBook Version