รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 2563 | |||
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวงั ของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 2563 | ข
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | ก
โดยท่ีสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ได้แพร่ระบาดอย่าง
รวดเร็วและกว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่งผลให้การปฏิบัติราชการของบุคลากรสานักงาน
สหกรณ์จังหวัดมหาสารคามจะต้องดาเนินการภายใต้สถานการณ์การเฝูาระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ตามประกาศของคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อจังหวัด
มหาสารคามอีกด้วย ทาให้การปฏิบัติงานของบุคลากรในพื้นท่ีต้องปรับเปล่ียนระบบการทางานท้ังบริหาร
จดั การภาครัฐและบคุ ลากรให้พร้อมรบั ต่อการเปล่ยี นแปลงดังกล่าว
สานกั งานสหกรณ์จงั หวัดมหาสารคาม ซึ่งมีภารกิจหลักในการดูแลแนะนา ส่งเสริม กากับสหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดมหาสารคาม แม้ว่าจะได้มีการประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือจากสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรในจังหวัดมหาสารคาม และประชาชนในเร่ืองการปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (covid-19) โดยให้หลีกเล่ียงการเดินทางไปยังพื้นที่เส่ียงหรือสถานท่ีชุมนุม การปฏิบัติงานในการ
ให้บริการแก่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร บางกรณีท่ีต้องให้บริการภายใต้กรอบระยะเวลาที่กฎหมาย
กาหนด อันอาจทาให้บุคลากรมีความเส่ียงในการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) โดยไม่อาจ
หลีกเลีย่ งได้ ดังนนั้ การปฏิบตั งิ านของบุคลากรในพืน้ ท่จี งึ ได้ต้องปรบั เปลยี่ นระบบการทางานทั้งบริหารจัดการ
ภาครฐั และเตรียมบคุ ลากรใหพ้ ร้อมรบั ต่อการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว จึงต้องมีการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้
เพ่ือให้เกิดความคล้องตัวท่ีเหมาะสมตามสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการปรับเปล่ียน
ทัศนคติ ค่านิยมในการทางาน ที่มุ่งไปยังผลประโยชน์ของประชาชนเป็นที่ตั้ง โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงที่สุดการปฏิบัติงานพร้อมท่ีจะยกระดับและเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหาร
ราชการและใหบ้ รกิ ารประชาชน
เปูาหมายในการทางานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัด
มหาสารคาม รวม 154 แห่ง จะต้องมศี ักยภาพในการดาเนินธุรกิจตามประเภทของสหกรณ์รวมถึงการรวบรวม
จัดเก็บ แปรรูปผลผลผลิตทางการเกษตร การตลาดสินค้าเกษตร/ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และการให้บริการ
สมาชิกท้ังด้านเงินทุนสาหรับการประกอบอาชีพและการใช้จ่ายในครัวเรือน เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ และสังคมในระดบั ชุมชน สง่ ผลใหม้ ปี รมิ าณธรุ กิจเพิ่มขึ้น ตามสภาวะเศรษฐกิจ เป็นท่ีพึ่งให้กับสมาชิก
และประชาชนในพน้ื ท่ไี ดอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง อกี ทั้งพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเกษตร การตลาด ให้สอดคล้อง
กบั ความต้องการของตลาดผ้บู รโิ ภคยคุ New Normal เพือ่ นาไปสเู่ ปาู หมาย “For Better”
(นายทวภี ทั ร เหล่าบรรเทา)
สหกรณ์จงั หวดั มหาสารคาม
มกราคม 2565
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | ข
ทาเนยี บบคุ ลากรในสานักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | ค
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | ง
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 - 30 กันยายน พ.ศ. 2564) สานักงาน
สหกรณ์จงั หวัดมหาสารคาม ไดด้ าเนินการบริหารงานงบประมาณ แผนงาน/โครงการต่าง ๆ ให้บรรลุผลสาเร็จ
ตามนโยบายรัฐบาล แผนการตรวจราชการกระทรวงของผู้ตรวจราชการกระทรวง นโยบายของกรมส่งเสริม
สหกรณ์ และยุทธศาสตร์จังหวัดมหาสารคาม โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติงานและขับเคลื่อนงาน/โครงการให้
สอดคลอ้ งกบั แผนระดบั 3 ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ดังน้ี 1) สง่ เสริมและพฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มี
ความเข้มแข็งตามศักยภาพ โดยให้ความรู้ด้านการสหกรณ์ ส่งเสริมให้มีมาตรฐานเป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง
พัฒนาและเพ่ิมขีดความสามารถการดาเนินธุรกิจ พัฒนาสินค้า/ผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน เพิ่มมูลค่าและ
ช่องทางการจาหน่าย พร้อมท้ังกากับและส่งเสริมการบริหารงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีธรรมา
ภิบาลโปร่งใสและตรวจสอบได้ 2) พัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์และชุมชน ให้มีความมั่นคง สามารถ
พึ่งพาตนเองและช่วยเหลือซง่ึ กนั และกัน ตลอดจนมีรายไดเ้ พม่ิ ขึ้น ค่าใช้จ่ายลดลง 3) ช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์
และกลมุ่ เกษตรกรโดยการลดดอกเบีย้ และลดตน้ ทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรเพ่ือให้มีโอกาสนาเงินส่วน
ที่ได้รับการช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ 4) พัฒนากิจการและธุรกิจให้เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจชุมชนใน
ระดบั อาเภอ เพม่ิ รายได้จากการดาเนินธุรกิจรวบรวม แปรรปู การจาหนว่ ยผลผลติ สินคา้ ทางการเกษตร รวมทั้ง
เพ่มิ ขดี ความสามารถในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรช์ าติ และสรา้ งสรรค์กิจกรรมทางเศรษฐกิจชุมชนได้ตลอดห่วง
โซอ่ ปุ ทาน ซึง่ การขบั เคลอ่ื นงานท้ัง 4 ดา้ นน้สี ามารถส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการยกระดับช้ันที่ดีขึ้น
พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการและสามารถดาเนินธุรกิจได้เพิ่มข้ึนยกระดับศักยภาพการผลิต การ
บริการ การแปรรูป สินค้าของสหกรณ์ให้ได้รับมาตรฐานเพิ่มขึ้นภายใต้ความสมดุลต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม สามารถปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์การกากับดแู ล และดาเนินกิจการภายใตก้ รอบของกฎหมาย รวมทั้งทาให้
สมาชกิ สหกรณม์ อี ตั ราการเงินออมตอ่ หนสี้ นิ ในสัดสว่ นทเ่ี พิ่มข้นึ
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) และการบริหาร
ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด บุคลากรในหน่วยงาน จานวน 63 คน สามารถใช้ความรู้ ความสามารถ และ
ประสบการณร์ ่วมกนั ปฏบิ ตั งิ านขบั เคล่ือนการกากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในกรอบของกฎหมาย
ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน สารสนเทศ เทคโนโลยี นวัตกรรมท่ีจาเป็นเพ่ือพัฒนากิจการสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรใหม้ กี ารดาเนนิ การอย่างมีประสิทธภิ าพ เกิดความม่ันคงเข้มแข็งทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นกลไก
ภาครัฐท่ีสามารถเช่ือมโยงระบบการบริหารราชการไปสู่การแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้าใน
สังคมได้อย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จานวนทั้งสิ้น 154 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์ 80
แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 74 แห่ง นอกจากนี้สานักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคามยังสามารถผลักดันงานให้
เกดิ ผลสาเร็จในหลายๆ ด้าน ไดแ้ ก่
1) ส่งเสริมใหส้ หกรณ์มมี กี ารยกระดบั ช้นั ที่ดีขึ้น จากระดับ 3 เป็นระดับ 2 จากระดับ 2 เป็นระดับ 1
โดยระดับ 1 และระดับ 2 รวมกันไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 88 ผลสาเร็จได้รอ้ ยละ 95.00
2) ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดาเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 60 ของสมาชิก ผลสาเร็จไดร้ ้อยละ 66.25
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | จ
3) ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวมของจังหวัดเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3
ผลสาเรจ็ ไดร้ อ้ ยละ 5.05 คดิ เปน็ ร้อยละ 168.33
4) ดาเนินงานกากับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์จานวน 80 สหกรณ์ ผลสาเร็จได้ร้อย
ละ 100
5) สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรทง้ั หมดทอ่ี ยู่ระหว่างชาระบัญชี ไม่รวมสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรท่ีอยู่ใน
ขนั้ ตอนที่ 6 (คดี) สามารถถอนชอื่ ไดร้ ้อยละ 25 ผลสาเร็จได้ร้อยละ 38
6) อุปกรณ์/สิ่งก่อสร้างของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจานวน 13 แห่ง สามารถใช้ประโยชน์ตาม
วตั ถปุ ระสงค์ท้ัง 13 แหง่
7) จัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคล่ือนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) จานวน 4 ครง้ั ผลสาเร็จไดร้ ้อยละ 100
8) ดาเนินการเบิกเงินเพ่ือชดเชยดอกเบ้ียเงินกู้ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จานวน 19 แห่ง 5,392
ราย ผลสาเร็จได้ร้อยละ 100
9) สนับสนุนโครงการ ปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกร
รองรบั ผลผลิตทางการเกษตร โดยอุดหนุนครุภัณฑ์การเกษตร ให้สหกรณ์ท่ีได้รับผลกระทบจากการระบาดของ
โรคเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (covid-19) จานวน 2 แห่ง ผลสาเรจ็ ได้ร้อยละ 100
10) บรหิ ารและกากับการใช้จา่ ยงบประมาณตามประเภทงบรายจ่ายและกิจกรรมหลัก รวมทั้งบริหาร
การเบกิ จ่ายให้เปน็ ไปตามเปูาหมายและเงื่อนไขเวลาทกี่ าหนดไดร้ ้อยละ 100
จากการพฒั นาคนและยกระดบั การบริหารจดั การในปี 2564 ทผี่ า่ นมา ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นถือได้ว่าเกิด
จากความร่วมแรงร่วมใจของเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ของสานักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ตลอดจน
ความร่วมมือจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในความรับผิดชอบซ่ึงจะเป็นรากฐานท่ีสาคัญในการที่จะพัฒนา
สหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรรวมไปถงึ เกษตรกรทวั่ ไป ให้มคี วามเขม้ แขง็ และย่งั ยืนต่อไป
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 2563 | |||
สารบญั
สารผบู้ ริหารหนว่ ยงาน ก
ทาเนยี บบคุ ลากรในหน่วยงาน ข
บทสรุปผูบ้ ริหาร ค
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1
1
1.1 วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ และอานาจหนา้ ท่ีของสานักงานสหกรณ์จงั หวัด
มหาสารคาม 2
1.2 แนวทางการขับเคล่อื นงาน/โครงการท่สี อดคล้องกบั แผนระดับ 3 4
ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ นโยบายและทศิ ทางการพัฒนาจงั หวดั 7
ในระดบั พนื้ ท่ี 8
1.3 โครงสร้างและกรอบอัตรากาลงั ประจาปี 2564 16
1.4 งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1.5 สรปุ ขอ้ มูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกล่มุ อาชพี ในสงั กดั สหกรณ์ 17
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 51
ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธ์ิของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้
แผนปฏบิ ตั ิงานและงบประมาณรายจ่ายประจาปี 69
2.1. ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัตงิ านและงบประมาณรายจา่ ยประจาปี 100
งบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอ่ืนทห่ี นว่ ยงานได้รบั 101
102
2.2 ผลการดาเนินงาน/โครงการตามนโยบายสาคัญ ประจาปงี บประมาณ 103
พ.ศ. 2564 108
109
2.3 รางวลั ที่หนว่ ยงานได้รบั จากหนว่ ยงานภาคส่วนต่าง ๆ ภายนอก
สว่ นท่ี 3 กจิ กรรมประชาสมั พันธง์ านสหกรณ์ฯ โดดเดน่ ในรอบปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564
ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2564)
4.1 งบแสดงฐานะการเงิน
4.2 งบแสดงผลการดาเนินงานทางการเงิน
4.3 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
4.4 บทวเิ คราะห์ข้อมูลด้านงบประมาณของหน่วยงาน
บรรณานกุ รม
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ |
ส่วนที่ 1
ขอ้ มลู ภาพรวม
ของหนว่ ยงาน
วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และอานาจหน้าทขี่ องหนว่ ยงาน
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 1
วิสยั ทัศน์
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เขม้ แขง็ เป็นศูนย์กลาง
และกลไกการขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ และสังคมของชุมชนอยา่ งยง่ั ยืน
พันธกจิ
1. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ สมาชกิ สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ใหม้ ีความสุข ความกนิ ดี อยู่ดี
ตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
2. เสริมสรา้ งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีประสิทธาภาพ ในการบรหิ ารจัดการตามอุดมการณ์
และหลักการสหกรณ์ โดยยดึ หลัก ธรรมาธิบาล
3. ผลกั ดนั สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ทีม่ ีศักยภาพให้มบี ทบาทสาคัญในการพฒั นาด้านการผลิต
การตลาด และบริการตลอดห่วงโซม่ ูลค่า (VALUE CHAIN)
4. พฒั นาคุณภาพการบรหิ าร จดั การของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ เพอื่ สนบั สนนุ กลไกการพฒั นา
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรใหเ้ ข้มแขง็
อานาจหน้าท่ี
1. ดาเนินการเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายว่าดว้ ยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วย การจดั ที่ดินเพื่อ การ
ครองชีพ และกฎหมายอนื่ ทเ่ี กี่ยวข้อง
2. สง่ เสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร
3. สง่ เสรมิ เผยแพร่ และความร้เู ก่ียวกับอุดมการณ์ หลกั การ และ วธิ กี ารสหกรณ์ ใหแ้ ก่บคุ ลากร
สหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และประชาชน ท่ัวไป
4. ส่งเสริมและพัฒนาธรุ กิจของสหกรณ์และกลุม่ เกษตร
5. ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับหรอื สนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหนว่ ยงานอน่ื ทเ่ี ก่ียวขอ้ งหรือท่ีได้รับ
มอบหมาย
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 2
แนวทางการขับเคลือ่ นงาน/โครงการทส่ี อดคล้องกับแผนระดบั 3 ของ
กรมสง่ เสริมสหกรณ์ นโยบายและทศิ ทางการพัฒนาจังหวัดในระดบั พื้นที่
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 3
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 4
โครงสร้างและอัตรากาลังของสานกั งานสหกรณจ์ ังหวดั มหาสารคาม
โครงสรา้ งสานักงานสหกรณจ์ ังหวัดมหาสารคาม
ขา้ ราชการ 31 คน
ลูกจ้างประจา 5 คน
พนกั งานราชการ 26 คน
สหกรณจ์ ังหวดั
ฝุายบริหารทว่ั ไป กลุ่มจัดตงั้ และส่งเสรมิ สหกรณ์ กลมุ่ ส่งเสรมิ และพัฒนาธรุ กิจสหกรณ์
ข้าราชการ 2 คน ข้าราชการ 4 คน ข้าราชการ 3 คน
ลกู จ้างประจา 4 คน พนกั งานราชการ 1 คน พนักงานราชการ 3 คน
พนักงานราชการ 5 คน
กลมุ่ ส่งเสรมิ และพัฒนา กลมุ่ ตรวจการสหกรณ์
การบริหารการจัดการสหกรณ์
ขา้ ราชการ 3 คน
ขา้ ราชการ 3 คน พนกั งานราชการ 2 คน
พนักงานราชการ 2 คน
กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 2
กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 1
ขา้ ราชการ 3 คน
ข้าราชการ 3 คน พนักงานราชการ 3 คน
พนกั งานราชการ 2 คน
กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 3 กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 4 กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 5
ข้าราชการ 2 คน ขา้ ราชการ 4 คน ขา้ ราชการ 3 คน
พนกั งานราชการ 3 คน พนกั งานราชการ 2 คน ลูกจา้ งประจา 1 คน
พนกั งานราชการ 3 คน
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 5
อัตรากาลงั ของสานักงานสหกรณ์จงั หวัดมหาสารคาม หน่วย : คน
ลูกจา้ ง อัตรา
หน่วยงาน ขา้ ราชการ พนกั งาน ประจา ว่าง
ราชการ
สหกรณ์จงั หวดั มหาสารคาม 1 4
ฝุายบรหิ ารทว่ั ไป 2 5
กลมุ่ จดั ตงั้ และส่งเสริมสหกรณ์ 4 1 11
กลุม่ สง่ เสรมิ และพฒั นาธรุ กิจสหกรณ์ 3 3 51
กลุ่มส่งเสรมิ และพฒั นาการบริหารการจดั การสหกรณ์ 3 2
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 2 2
กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 1 (อาเภอเมืองมหาสารคาม แกดา) 4 3
กลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 2 (อาเภอกันทรวิชัย เชียงยืน ชนื่ ชม) 4 3
กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 3 (อาเภอโกสมุ พิสยั กุดรัง) 3 3
กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อาเภอบรบือ วาปีปทุม) 4 2
กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 5 (อาเภอพยัคฆภมู ิพิสยั นาดนู 1 3
นาเชอื ก ยางสีสุราช)
31 25
รวม
*** ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564
บุคลากร
ื่ชอแกน 35
30
25 ข้าราชการ ลูกจา้ งประจา พนักงานราชการ
20 31 5 25
15
10
5
0
บุคลากร
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 6
แผนปฏบิ ัติงานและงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
(แยกตามยทุ ธศาสตรก์ ารจัดสรรงบประมาณ)
แผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. แผนงานบุคลากรภาครฐั
ผลผลิต/โครงการ คา่ ใช้จา่ ยบคุ ลากรภาครฐั กรมส่งเสรมิ สหกรณ์
กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบคุ ลากรภาครัฐกรมส่งเสรมิ สหกรณ์
2. แผนงานพนื้ ฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
ผลผลติ /โครงการ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสรมิ และพฒั นาตามศักยภาพ
กิจกรรมหลกั ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร
กิจกรรมรอง สง่ เสริมและพฒั นาสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรให้มคี วามเขม้ แข็งตามศักยภาพ
กจิ กรรมรอง โครงการส่งเสรมิ การดาเนินธุรกจิ รา้ นคา้ สหกรณ์ในรปู แบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์
กิจกรรมหลัก การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
กจิ กรรมหลัก ส่งเสรมิ ความรดู้ ้านการสหกรณ์
3. แผนงานยุทธศาสตร์ เสรมิ สรา้ งพลังทางสังคม
ผลผลิต/โครงการ สง่ เสริมการดาเนนิ งานอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ
กิจกรรมหลกั พฒั นาสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรในพืน้ ทีโ่ ครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
กิจกรรมรอง คลินกิ เกษตรเคลอ่ื นท่ี
กิจกรรมรอง ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่
ในสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
4. แผนงานบูรณาการ พฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก
ผลผลติ /โครงการ สง่ เสรมิ และพฒั นาอาชีพเพ่ือแกไ้ ขปญั หาท่ีดนิ ทากินของเกษตรกร
กิจกรรมหลกั ส่งเสริมและพัฒนาอาชพี ภายใตโ้ ครงการจัดสรรทด่ี ินตามนโยบายรัฐบาล
ผลผลิต/โครงการ พฒั นาศักยภาพการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และธรุ กจิ ชุมชน
กิจกรรมหลกั เพิม่ ศักยภาพการดาเนินธรุ กิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตรในสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกร
กิจกรรมหลัก เพิ่มขีดความสามารถในการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้เป็นองค์กรหลัก
ในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับอาเภอ
ผลผลติ /โครงการ สง่ เสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสาหรบั สนิ คา้ เกษตร
กจิ กรรมหลกั พัฒนากลไกการตลาดเพอื่ เพม่ิ ช่องทางการจาหน่ายสนิ คา้ ของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
5. แผนงานยทุ ธศาสตร์ เพื่อสนบั สนนุ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ผลผลติ /โครงการ ช่วยเหลอื ด้านหน้สี ินสมาชิกสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร
กจิ กรรมหลัก เงนิ อุดหนุนเพอ่ื ชดเชยดอกเบย้ี เงนิ กใู้ หส้ หกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 7
งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2564
แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จาแนกตามประเภทงบรายจา่ ย
10,000,000.00
8,000,000.00
6,000,000.00
4,000,000.00
2,000,000.00
0.00 เงินอุดหนุน งบรายจา่ ยอน่ื
งบบคุ ลากร งบดาเนินงาน งบลงทนุ
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
ประเภทงบรายจ่าย ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : ล้านบาท
รวมทั้งสิน้ 15,028,514.57 15,951,962.95 ปี 2564
งบบุคลากร 7,120,867.57 6,326.842.86
งบดาเนนิ งาน 5,653,347.00 4,334,828.52 15,818,085.54
งบลงทนุ 2,188,300.00 6,495,183.29
เงินอุดหนนุ 23,000.00 4,316,720.30
งบรายจ่ายอนื่ (ถ้ามี) 66,000.00 5,267,291.57
0.00 200,000.00
0.00 4,806,181.95
0.00
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 8
สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร และกลุ่มอาชพี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ข้อมลู สถิตขิ องสหกรณ์ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
จานวนสหกรณ์และจานวนสมาชิกสหกรณ์
จานวน จานวนสมาชิก จานวนสมาชิกทม่ี ี
สว่ นรว่ มในการ
ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ ดาเนินธรุ กิจ รอ้ ยละ
(แหง่ ) ทั้งหมด สามัญ สมทบ
(คน) (คน) 34.75
(คน) (คน) 3,905 -
53,937 -
1. สหกรณ์การเกษตร 49 155,179 151,274 - -
- 85.40
2. สหกรณป์ ระมง -- - - -
35,311
3. สหกรณน์ คิ ม -- - 3,273 - 88.86
68.55
4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 9 41,347 38,074 - 383
6 13,885
5. สหกรณร์ า้ นคา้ -- - 103,516
167
6. สหกรณ์บรกิ าร 3 431 425
7,351
7. สหกรณเ์ ครดิตยเู นยี่ น 18 20,254 20,087
รวม 79 217,211 209,860
ทมี่ า : สานักงานสหกรณ์จังหวดั มหาสารคาม
สถานะสหกรณ์
จานวนสหกรณ์ (แหง่ ) จานวนสหกรณ์
ท้งั หมด
ประเภทสหกรณ์ ดาเนินงาน/ หยดุ ดาเนนิ งาน/ เลกิ จัดตั้งใหม่
ธรุ กจิ ธรุ กจิ /ชาระบัญชี (1) + (2) + (3)
1. สหกรณ์การเกษตร (1) (2) (4) + (4)
2. สหกรณป์ ระมง (3) ๑
3. สหกรณน์ คิ ม 4๙ ๐ - ๖๕
4. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ - - ๑๕ - -
5. สหกรณร์ า้ นค้า - - - ๐ -
6. สหกรณบ์ รกิ าร ๙ ๐ - ๐ ๑๐
7. สหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน ๐ ๐ ๑ ๐ ๐
๓ ๐ ๐ ๐ ๓
รวม ๑๖ ๒ ๐ ๒๑
๓ ๑
๗๗ ๙๙
๒ ๑๙
ที่มา : สานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั มหาสารคาม
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 9
ปริมาณธรุ กจิ ของสหกรณ์ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ปรมิ าณ ปรมิ าณธรุ กิจ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ลา้ นบาท)
ธุรกิจ
ประเภทสหกรณ์ ของ รับฝากเงนิ ใหเ้ งนิ กู้ จดั หาสนิ ค้า รวบรวม แปรรปู ผลผลิต บรกิ าร รวมทง้ั ส้นิ
สหกรณ์ มาจาหน่าย ผลผลติ และอน่ื ๆ
1. สหกรณ์ (แหง่ ) 1,618.063 6,326.188
การเกษตร 0.00 2,517.637 1,109.352 1,04.,812 30,434,561.60 2,889.166 0.00
2. สหกรณป์ ระมง 52 0.00 0.00
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
3. สหกรณน์ ิคม 0 4,387.61 346.859
0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
4. สหกรณอ์ อม 0 5.745
ทรัพย์ 0.00 16,278.056 0.00 0.00 0.00 0.00
5. สหกรณร์ า้ นคา้ 9 93.042 200.315
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 27,198.263
6. สหกรณบ์ ริการ 0 5.747 0.00 0.00 0.00 0.00
7. สหกรณเ์ ครดติ 3 105.404 1.062 0.627 0.160 0.018
ยูเนียน
19
รวมทั้งสนิ้ 83 6,098.717 18,906.843 1,110.415 1,048.439 30.594 3.254
ทม่ี า : กลุ่มสง่ เสริมและพัฒนาธุรกจิ สหกรณ์ สานกั งานสหกรณ์จังหวดั มหาสารคาม
ผลการดาเนนิ งานของสหกรณ์
ผลการดาเนนิ งานปลี า่ สดุ ทมี่ ีการปดิ บัญชใี นปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กาไร (ขาดทุน)
สุทธิ
ผลการดาเนินงานในภาพรวม การดาเนนิ งานมีผลกาไร - ขาดทุน
ในภาพรวม
ประเภทสหกรณ์ (1) (2) (3) สหกรณท์ ่ีมีผลกาไร สหกรณ์ท่ีขาดทุน (ล้านบาท)
จานวน รายได้ ค่าใช้จา่ ย (5) – (7)
1. สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) (4) (5) (6) (7)
(แหง่ ) จานวน กาไร จานว ขาดทุน 178,233,275.57
2,065,795,934.82 1,882,405,828.60 สหกรณ์ (ลา้ นบาท)
50 (แห่ง) น (ลา้ นบาท)
สหกร
45 183,390,106.22 ณ์
(แหง่ )
3 -5,156,830.65
2. สหกรณป์ ระมง
3. สหกรณน์ ิคม
4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 9 2,146,301,429.96 1,074,336,706.39 8 1,071,964,723.57 1 -157,042.74 1,071,807,680.83
5. สหกรณร์ า้ นคา้
6. สหกรณบ์ ริการ 3 1,141,142.69 734,862.36 3 406,280.33 0 0 406,280.33
7. สหกรณ์เครดติ 18 41,235,507.43 40,160,892.62 10 3,982,125.68 5 -2,907,510.87 1,088,497.77
ยูเน่ยี น
รวมทั้งสิน้ 80 4,253,474,014.,90 2,997,638,290 66 2,910,254,135.80 9 8,221,384.30 1251533574.50
ท่ีมา : (ใชข้ อ้ มูลผลการดาเนินงานจากงบการเงนิ ของสหกรณท์ ่ีได้รบั การตรวจสอบบัญชีแลว้ เทา่ นัน้ )
หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณใ์ นชอ่ ง (1) จะต้องเทา่ กับผลรวมของช่อง (4) + (6)
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 10
ผลการจดั ระดบั ช้ันสหกรณ์จาแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564
ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม
สหกรณ์ภาคการเกษตร ชัน้ 1 ช้ัน 2 ช้ัน 3 ช้ัน 4
66
1. สหกรณก์ ารเกษตร 14 33 3 16 -
2. สหกรณ์นิคม - --- -
3. สหกรณ์ประมง - --- 10
20
สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 3
-
4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 5 401 99
5. สหกรณเ์ ครดติ ยูเนย่ี น 1 16 1 2
6. สหกรณบ์ รกิ าร 1 200
7. สหกรณร์ า้ นค้า - ---
รวม 21 55 4 19
ทีม่ า : รายงานสรุปผลการจดั ระดบั ชน้ั สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน
ผลการจดั ระดับช้ันสหกรณ์ เปรยี บเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2562 – 2564)
ระดับช้ัน ระดบั ชน้ั ระดับช้ัน
ระดบั ชัน้ ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน ณ วันที่ 30 กันยายน ณ วันท่ี 30 กนั ยายน
2562 (แหง่ /ร้อยละ) 2563 (แหง่ /ร้อยละ) 2564 (แห่ง/ร้อยละ)
ชน้ั 1 22/19.13 13/13 21/21.21
ช้นั 2 65/56.52 68/68 55/55.55
ชนั้ 3 1/0.86 1/1 4/4.04
ชน้ั 4 27/23.47 18/18 19/19.19
รวม 115/100 100/100 99/100
ท่มี า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชน้ั สหกรณ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 11
ข้อมลู สถิติของกลมุ่ เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จานวนกล่มุ เกษตรกรและจานวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร
จานวน จานวนสมาชิก จานวนสมาชิกท่มี ี
กลุ่ม ส่วนร่วมในการ
ประเภทกลุ่มเกษตรกร เกษตรกร รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ ดาเนินธุรกิจ รอ้ ยละ
(แห่ง) ทง้ั หมด สามัญ สมทบ
1. กลุ่มเกษตรกรทานา (คน) (คน) (คน) (คน) 28.73
2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน 62 19.78
1 8,245 8,245 0 2,369 26.60
18 45.57
91 91 0 257
67 -
3. กลุม่ เกษตรกรเลย้ี งสตั ว์ 9 966 966 0 - -
-
4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ 2 147 147 0
2,711
5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง - -- -
6. กลมุ่ เกษตรกรอ่ืน ๆ - -- -
รวม 74 9,449 9,449 0
ทม่ี า : สานกั งานสหกรณ์จงั หวดั มหาสารคาม
สถานะกลุ่มเกษตรกร
จานวนกลมุ่ เกษตรกร (แหง่ ) จานวนกลมุ่
เกษตรกรทั้งหมด
ประเภทกลมุ่ เกษตรกร ดาเนินงาน/ หยุด เลกิ จดั ตงั้ ใหม่
ธรุ กจิ ดาเนินงาน/ /ชาระบัญชี (1) + (2) +
(4) (3) + (4)
(1) ธรุ กจิ (3) ๐
(2) ๐ ๗๙
๖๙ ๐ ๑
1. กลมุ่ เกษตรกรทานา ๑ ๒8 ๐ ๑๑
2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน ๑๐ ๐๐ - ๒
3. กล่มุ เกษตรกรเลยี้ งสตั ว์ ๒ ๐๑ - -
4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ - ๐๑ ๐ -
5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง - --
6. กลุ่มเกษตรกรอน่ื ๆ (ระบ)ุ -- ๙๔
รวม ๘๒ ๒ ๑๐
ทีม่ า : สานกั งานสหกรณจ์ ังหวดั มหาสารคาม
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 12
ปริมาณธรุ กจิ ของกลุม่ เกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ลา้ นบาท)
ประเภทสหกรณ์ ปริมาณธุรกิจ รบั ฝาก ใหเ้ งนิ กู้ จัดหาสินค้า รวบรวม แปรรปู บริการ รวมทงั้ สนิ้
กลมุ่ เกษตรกร เงนิ มาจาหน่าย ผลผลิต ผลผลติ และอ่นื
20.568
(แห่ง) ๆ 0.025
8.260
1. กลมุ่ เกษตรกรทานา 66 0.00 18.380 2.188 0.00 0.00 0.00 0.654
2. กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 1 0.00 0.00 0.025 0.00 0.00 0.00 0.00
3. กลุ่มเกษตรกรเลยี้ งสัตว์ 10 0.00 3.655 0.204 4.401 0.00 0.00
4. กล่มุ เกษตรกรทาไร่ 2 0.00 0.620 0.034 0.00 0.00 0.00 0.00
5. กลมุ่ เกษตรกรทา 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 29.507
ประมง
6. กล่มุ เกษตรกรอน่ื ๆ 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
79 0.00 22.655 2.455 4.401 0.00 0.00
รวมทั้งส้ิน
ทีม่ า : กลมุ่ ส่งเสริมและพัฒนาธรุ กิจสหกรณ์ สานักงานสหกรณจ์ งั หวดั มหาสารคาม
ผลการดาเนนิ งานของกลมุ่ เกษตรกร กาไร (ขาดทนุ )
สุทธิ
ผลการดาเนินงานปีลา่ สุดที่มีการปิดบญั ชใี นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ในภาพรวม
ผลการดาเนนิ งานในภาพรวม การดาเนินงานมผี ลกาไร - ขาดทนุ (ล้านบาท)
(5) – (7)
ประเภท (1) (2) (3) กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร
กลมุ่ เกษตรกร จานวน รายได้ ค่าใช้จ่าย ที่มีผลกาไร ทข่ี าดทุน 388,224.20
กลุ่ม (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) 27,168.13
1. กลมุ่ เกษตรกรทานา เกษตรกร (4) (5) (6) (7) 45,245.80
2. กลมุ่ เกษตรกรทาสวน (แห่ง) จานวน กาไร จานวน ขาดทนุ 21,231.69
3. กลุ่มเกษตรกรเลีย้ งสัตว์ กลุ่ม (ลา้ นบาท) กลมุ่ (ลา้ นบาท)
4. กลุ่มเกษตรกรทาไร่ เกษตรกร เกษตรก 481,869.80
5. กลมุ่ เกษตรกรทาประมง (แห่ง) ร (แห่ง)
6. กลุ่มเกษตรกรอ่นื ๆ
64 4,151,779.06 3,817,073.77 50 859,019.73 14 -470,795.22
รวมทงั้ สน้ิ 1 102,738.83 75,570.70
1 27,168.13 0
10 4,739,013.26 4,671,987.82
2 108,170.60 86,938.91 7 120,555.53 3 -75,362.19
2 21,231.69
77 9,101,701.75 8,021,571.20 60 1,027,975.08 17 576,157.41
ทีม่ า : (ระบหุ น่วยงานทีน่ าข้อมลู มาอา้ งอิง)
หมายเหตุ ผลรวมของกลุม่ เกษตรกรในช่อง (1) จะตอ้ งเทา่ กับผลรวมของชอ่ ง (4) + (6)
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 13
ผลการจัดระดับชนั้ กลุ่มเกษตรกรจาแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564
ประเภทสหกรณ์ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ รวม
เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร
1. กลุ่มเกษตรกรทานา ชนั้ 1 ช้ัน 2 ชัน้ 3 ชน้ั 4 70
2. กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 1
0 55 7 8 10
0 1 0 0 3
-
3. กลมุ่ เกษตรกรเลี้ยงสตั ว์ 1 8 0 1 -
84
4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ 02 0 1
5. กลมุ่ เกษตรกรทาประมง - - - -
6. กลุม่ เกษตรกรอนื่ ๆ (ระบ)ุ - - - -
10
รวม 1 66 7
ทีม่ า : กองพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลมุ่ เกษตรกร กรมสง่ เสริมสหกรณ์
ผลการจดั ระดบั ช้นั กลุ่มเกษตรกร เปรยี บเทยี บ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2562 – 2564)
ระดบั ชัน้ ระดบั ชน้ั ระดบั ชั้น
ณ วนั ที่ 30 กันยายน
ระดับช้นั ณ วนั ท่ี 30 กันยายน ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 (แหง่ /ร้อยละ)
2562 (แหง่ /ร้อยละ) 2563 (แห่ง/ร้อยละ) 1/1.19
ชน้ั 1 - 0/0 66/78.57
7/8.33
ชน้ั 2 - 69/67.64
10/11.90
ช้นั 3 - 10/9.80 84/100
ชั้น 4 - 23/22.54
รวม - 102/100
ทม่ี า : กองพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลมุ่ เกษตรกร กรมส่งเสรมิ สหกรณ์
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 14
ขอ้ มลู สถติ ขิ องกลมุ่ อาชพี ในสังกดั สหกรณ์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
จานวนกลุ่มอาชีพและจานวนสมาชกิ ของกลุ่มอาชีพทดี่ าเนนิ ธุรกิจ ปี 2564
ประเภทกลุม่ อาชีพ จานวน จานวน จานวนสมาชกิ ทม่ี ี รอ้ ยละ
กลุ่มอาชพี สมาชกิ กลมุ่ สว่ นร่วมในการ
1. ผา้ และเครือ่ งแต่งกาย อาชพี (คน) ดาเนินธุรกิจ 100
2. ของใช้/ของตกแตง่ /ของที่ระลึก (แหง่ ) 100
3. สมุนไพรท่ไี ม่ใช่อาหาร/ยา 197 (คน) 100
4. เพาะปลูก 8 150 100
2 40 197 100
รวม 1 115 150
4 502 40
15 115
502
ทีม่ า : กล่มุ ส่งเสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ์ สานกั งานสหกรณจ์ ังหวดั มหาสารคาม
ประเภทกลุม่ อาชพี และสถานะกล่มุ อาชีพในจงั หวัดมหาสารคาม ปี 2564
จานวนกล่มุ อาชพี (แหง่ ) จานวนกล่มุ
อาชพี ท้ังหมด
ประเภทกลุ่มอาชีพ ดาเนินงาน/ หยดุ เลกิ จัดตง้ั ใหม่ (1) + (2) +
ธุรกจิ ดาเนินงาน/ /ชาระบญั ชี (3) + (4)
1. ผา้ และเคร่อื งแต่งกาย (4)
2. ของใช้/ของตกแตง่ /ของทร่ี ะลกึ (1) ธุรกจิ (3) - 156
3. สมุนไพรทไี่ มใ่ ช่อาหาร/ยา 8 (2) - 16
4. เพาะปลูก 2 - 6
5. อาหารแปรรูป 1 148 - - 27
6. เลยี้ งสตั ว์ 4 14 - - 22
7. ปจั จยั การผลติ - 5- -
8. บริการ - 23 - - 11
9. เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ 22 - -
- - 5
รวม 11 -
- - 10
5-
- 1
10 -
15 254
1-
239 -
ท่มี า : กลมุ่ สง่ เสรมิ และพฒั นาธุรกจิ สหกรณ์ สานักงานสหกรณ์จงั หวดั มหาสารคาม
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 15
ผลการดาเนนิ งานกลมุ่ อาชพี ที่ดาเนนิ ธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กาไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ
ในภาพรวม
ผลการดาเนินงานปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (ล้านบาท)
(5) – (7)
ผลการดาเนินงานในภาพรวม การดาเนนิ งานมีผลกาไร - ขาดทุน
ประเภท (1) (2) (3) กลมุ่ อาชีพ กลุม่ อาชีพ
กลมุ่ อาชพี ทม่ี ีผลกาไร ทมี่ ีผลขาดทนุ
จานวน รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย
(4) (5) (6) (7)
กลุม่ (ลา้ น (ลา้ นบาท) จ า น ว น กาไร จานวนกลุ่ม ขาดทุน
ก า ไ ร / (ลา้ นบาท) เกษตรกร (ลา้ น
อาชีพ บาท) (ขาดทนุ )
(แห่ง) บาท)
(แห่ง)
1. ผา้ และเครื่องแต่งกาย 8 2.426 1.6982 - 0.7278 - - 0.7278
2. ของใช/้ ของตกแต่ง/ 2 0.3 0.185 - 0.115 - - 0.115
ของทร่ี ะลึก
3. สมนุ ไพรทไ่ี ม่ใช่ 1 0.032 0.0256 - 0.0064 - - 0.0064
อาหาร/ยา
4. เพาะปลูก 4 0.69 0.483 - 0.207 - - 0.207
รวมท้งั สน้ิ 15 3.448 2.3918 - 1.0562 - - 1.0562
ทีม่ า : กลุ่มสง่ เสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ์ สานักงานสหกรณ์จงั หวัดมหาสารคาม
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ |
ส่วนท่ี 2
ผลสมั ฤทธิ์ของ
การปฏิบตั งิ าน
และผลการปฏิบัตงิ าน
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 17
ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติงานและงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอนื่ ที่หนว่ ยงานได้รับ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นท่ี 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ประเดน็ แผนแม่บท 3 การเกษตร
แผนงานพน้ื ฐาน
แผนงานพ้ืนฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ตามศักยภาพ
การจัดระดับชน้ั สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
1. ผลสาเร็จของงาน
ระดับช้ันสหกรณ์ ระดบั ชนั้ กลุ่มเกษตรกร
ระดับชั้น ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564 ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564
(แหง่ /รอ้ ยละ) (แหง่ /ร้อยละ)
ชนั้ 1 21/21.21 1/1.19
ชน้ั 2 55/55.55 66/78.57
ช้ัน 3 4/4.04 7/8.33
ชน้ั 4 19/19.19 10/11.90
รวม 99/100 84/100
2. กิจกรรม :
สง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรให้มีความเข็มแข็ง โดยมีกิจกรรมดังน้ี
กิจกรรมท่ี 1 วางแผนการยกระดับสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรเปูาหมายให้ยกระดับชน้ั ข้ึน
กิจกรรมท่ี 2 ส่งเสริมและสนบั สนนุ กจิ กรรมตามเกณฑป์ ระเมินความเข้มแข็ง 4 ดา้ น ดังน้ี
ดา้ นที่ 1 ความสามารถในการบริการสมาชิก
ดา้ นที่ 2 ประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ ธุรกิจ
ดา้ นที่ 3 ประสิทธภิ าพในการจดั การขององค์กร
ดา้ นที่ 4 ประสิทธิภาพของการบริหารงาน
กจิ กรรมที่ 3 ติดตามผลการส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเปน็ ประจาทุกเดือน
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 18
3. ตวั ช้วี ัด :
เชิงปรมิ าณ
จานวนสหกรณท์ ด่ี าเนนิ งานต้องอย่ใู นระดบั ชน้ั 1 และ 2 ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 88
จานวนกล่มุ เกษตรกรทด่ี าเนนิ งานต้องอยูใ่ นระดบั ช้ัน 1 และ 2 ไมต่ ่ากว่ารอ้ ยละ 24
4. ผลลพั ธ์ : .
ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ
จานวนสหกรณท์ ด่ี าเนินงานต้องอยู่ในระดับช้ัน 1 และ 2 คิดเป็นร้อยละ 95
จานวนกล่มุ เกษตรกรท่ดี าเนินงานตอ้ งอยใู่ นระดบั ชน้ั 1 และ 2 คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.54
5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดาเนินงาน และแนวทางแก้ไข
………………………………………………………………-ไม่มี-…………………………………..……………………........……
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทีม่ ธี รรมาภิบาล/การควบคุมภายใน ปี 2564
1. ผลสาเร็จของงาน
สหกรณ์ เปาู หมาย 82 แห่ง
สหกรณ์ เปูาหมาย 82 แห่ง แยกเปน็
สหกรณ์เปูาหมาย แผน ผล คดิ เปน็ (ร้อยละ)
1.1 รกั ษาสหกรณภ์ าคการเกษตรท่ีมีผลช้ันคุณภาพการ 40 33 82.60
ควบคุมภายในให้อย่ใู นระดับดีและดีมาก
-ภาคเกษตร
-นอกภาคการเกษตร 23 19 82.60
1.2 ยกระดบั สหกรณภ์ าคการเกษตรทมี่ ีผลการประเมิน 17 14 76.47
การจัดช้นั คณุ ภาพการควบคุมภายในใหส้ งู ขน้ึ จากเดิมหน่งึ 42 8 14.28
ระดบั แบ่งเป็น
2.1 ยกระดบั พอใช้ขนึ้ ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ
-ภาคเกษตร 25 2 8
-นอกภาคการเกษตร
2.2 ยกระดับตอ้ งปรบั ปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึ้น 14 1 7.14
ไปอย่างนอ้ ยหนึ่งระดบั 11 1 9.09
-ภาคเกษตร 17 4 23.52
-นอกภาคการเกษตร
14 4 28.57
30 0.00
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 19
กล่มุ เกษตรกร เปาู หมาย 79 แหง่
กล่มุ เกษตร เปูาหมาย 79 แห่ง แยกเปน็
กลมุ่ เกษตรกรเปูาหมาย แผน ผล คิดเป็น(รอ้ ยละ)
0.00
1.1 รกั ษากลุ่มเกษตรกรท่ีมีผลชั้นคุณภาพการควบคุม 00
3.79
ภายในใหอ้ ยู่ในระดบั ดีและดีมาก
0.00
1.2 ยกระดับกล่มุ เกษตรกรทีม่ ีผลชน้ั คุณภาพการควบคุม 79 5
3.84
ภายในใหส้ ูงข้นึ จากเดิม
2.1.1 ยกระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนง่ึ ระดับ 10
2.1.2 ยกระดบั ต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายใน
ขึ้นไปอยา่ งน้อยหน่งึ ระดบั 78 5
2. กิจกรรม :
1.1 รกั ษาสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มผี ลชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้อยู่ในระดับดีและดีมาก
- ภาคเกษตร
- นอกภาคการเกษตร
1.2 ยกระดบั สหกรณ์ภาคการเกษตรท่ีมีผลการประเมนิ การจดั ชน้ั คุณภาพการควบคุมภายในให้สงู ขนึ้
จากเดมิ หน่งึ ระดับ แบง่ เปน็
1.2.1 ยกระดบั พอใชข้ ึน้ ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ
- ภาคเกษตร
- นอกภาคการเกษตร
1.2.2 ยกระดับต้องปรับปรุง/ไมม่ ีการควบคุมภายในขึน้ ไปอย่างน้อยหน่งึ ระดับ
- ภาคเกษตร
- นอกภาคการเกษตร
1.1 รกั ษากลุ่มเกษตรกรท่มี ผี ลชัน้ คณุ ภาพการควบคุมภายในให้อยใู่ นระดบั ดแี ละดมี าก
1.2 ยกระดับกลุ่มเกษตรกรท่ีมผี ลชน้ั คณุ ภาพการควบคุมภายในให้สงู ขนึ้ จากเดิม
1.2.1 ยกระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนง่ึ ระดบั
1.2.2 ยกระดับต้องปรบั ปรุง/ไมม่ ีการควบคมุ ภายในขน้ึ ไปอยา่ งน้อยหนึ่งระดับ
3. ตวั ชีว้ ดั :
เชงิ ปริมาณ
1. ประเมนิ ชน้ั คณุ ภาพการควบคุมภายใน ระดบั ดี ดมี าก 40 แห่ง แบ่งเปน็
1.1 รักษาได้ 35 แห่ง
1.2 รกั ษาไมไ่ ด้ 5 แห่ง
2. ประเมนิ ชน้ั คณุ ภาพการควบคมุ ภายใน ยกระดบั พอใช้ 25 แห่ง แบง่ เปน็
2.1 ระดับพอใชเ้ ท่าเดมิ 23 แหง่
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 20
2.2 ยกระดบั พอใชไ้ ปดีได้ 2 แห่ง
3. ประเมินช้ันคุณภาพการควบคุมภายใน ยกระดบั พอใช้ 25 แห่ง แบง่ เปน็
3.1 ยกระดบั ควรปรับปรุงไปพอใชแ้ ผน 17 แหง่ ได้ 1 แห่ง
4. รักษากลุ่มเกษตรกรทมี่ ผี ลช้นั คณุ ภาพการควบคุมภายในให้อยู่ในระดบั ดีและดีมาก
4.1 ยกระดับกลมุ่ เกษตรกรที่มผี ลชั้นคุณภาพการควบคุมภายในใหส้ งู ขึ้นจากเดิม
4.1.1 ยกระดบั พอใช้ขึน้ ไปอย่างน้อยหนึง่ ระดับ จานวน 1 แห่ง
4.1.2 ยกระดบั ต้องปรับปรงุ /ไมม่ ีการควบคุมภายในขึ้นไปอย่างน้อยหน่ึงระดับ
จานวน 78 แห่ง
เชิงคุณภาพ
1. สถาบนั เกษตรกรสามารถปฏิบัตงิ านท่ีเปน็ ผลดกี ับองค์กร ท่ชี ดั เจน
2. บคุ ลกรของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรมีหลกั การปฏิบตั งิ านท่ีถกู ต้องเปน็ ไปตาม ระเบียบ ข้อบงั คับ
3. ลดปญั หาการเกดิ ข้อสงั เกต ขอ้ บกพร่อง
4. สามารถตดิ ตามผลการปฏิบตั งิ านของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรเป็นไปอยา่ งต่อเนื่อง
4. ผลลพั ธ์ :
ผลลัพธเ์ ชิงปรมิ าณ
1.ประเมนิ ช้ันคณุ ภาพการควบคุมภายใน ระดับดี ดมี าก 40 แห่ง แบ่งเป็น
1.1 รกั ษาได้ 35 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 87.5
1.2 รักษาไม่ได้ 5 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.5
2.ประเมินชน้ั คณุ ภาพการควบคมุ ภายใน ยกระดบั พอใช้ 25 แหง่ แบ่งเปน็
2.1 ระดับพอใชเ้ ท่าเดิม 23 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 92
2.2 ยกระดบั พอใช้ไปดีได้ 2 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 8
3.ประเมินชนั้ คณุ ภาพการควบคุมภายใน ยกระดบั พอใช้ 25 แห่ง แบ่งเป็น
3.1 ยกระดับควรปรับปรงุ ไปพอใชแ้ ผน 17 แห่ง ได้ 1 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 5.8
4. รกั ษากล่มุ เกษตรกรท่มี ีผลชัน้ คณุ ภาพการควบคุมภายในให้อยูใ่ นระดับดแี ละดมี าก
4.1 ยกระดบั กล่มุ เกษตรกรท่ีมผี ลชน้ั คณุ ภาพการควบคุมภายในใหส้ ูงข้ึนจากเดิม
4.1.1 ยกระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนง่ึ ระดบั จานวน 1 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ
1.27
4.1.2 ยกระดบั ต้องปรบั ปรุง/ไม่มีการควบคมุ ภายในขึน้ ไปอย่างน้อยหนงึ่ ระดับ
จานวน 78 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.73
ผลลัพธเ์ ชิงคุณภาพ
1. สถาบันเกษตรกรมีแนวทางการบรหิ ารจดั การองคก์ รท่เี ป็นมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน
2. สถาบันเกษตรกรมีแนวทางในการบริหารงานท่เี ป็นไปตามระเบียบ ข้อบงั คับ
3. ลดปญั หาการเกดิ ข้อสังเกต ขอ้ บกพร่อง
4. สามารถติดตามผลการปฏิบัตงิ านของสหกรณ์กลุม่ เกษตรกรเปน็ ไปอย่างต่อเนื่อง
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 21
5. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข
1.สถาบันเกษตรกรขนาดเล็กส่วนใหญ่ไม่มีพนักงาน การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆมอบหมายให้
คณะกรรมการดาเนนิ การชว่ ยกันปฏบิ ตั งิ าน ยงั ไมส่ ามารถบนั ทกึ สมดุ บญั ชขี นั้ ต้นและสมุดบัญชีข้ันปลายได้ การ
จัดทางบการเงินต้องไดร้ ับความชว่ ยเหลอื จากเจา้ หนา้ ทีก่ รมส่งเสริมสหกรณ์เพอื่ ให้สามารถปดิ บัญชีได้
2.ขาดทายาทในการสบื สานต่องานกิจการ คนรนุ่ ใหมไ่ มค่ ่อยใหค้ วามสนใจสถาบันเกษตรกรขนาดเล็ก
3.ผลตอบแทนของสถาบันเกษตรกรขนาดเล็กไม่น่าสนใจทุนในการดาเนินงานมีน้อย ไม่มีแรงจูงใจให้
คนร่นุ ใหม่ๆ อยากเขา้ มาบริหารงาน
แนวทางแกไ้ ข
1.จดั อบรมใหเ้ ยาวชน คนรุ่นใหม่ ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับกจิ กรรมการรวมกลมุ่ เพื่อใหเ้ ห็นความสาคญั ของ
การรวมกลุ่ม
2.การจัดกจิ กรรมประชาสมั พันธ์ งานสหกรณ์ การจดั กจิ กรรมอยา่ งต่อเนื่อง กาหนดตวั ช้ีวัด ตดิ ตาม
ผลอย่างตอ่ เน่ือง
ผลสาเรจ็ ของประสิทธภิ าพในการดาเนินธุรกจิ ของสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรประเมินจากอัตราส่วนทาง
การเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการดาเนินธุรกิจและการบริหารงานของสหกรณ์ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
ระดบั ประสทิ ธภิ าพในการดาเนินธุรกจิ
ประเภทสหกรณ/์ กล่มุ มนั่ คงดี ม่ันคงดี มัน่ คง ต่ากว่า ปิดบัญชี เลิก ตง้ั ใหม่ รวม
เกษตรกร มาก ระหวา่ งปี
ตาม มาตรฐาน ไม่ได้ ระหวา่ ง
มาตรฐาน ปี
ภาคการเกษตร 0 15 17 16 1 2 1 52
31
นอกภาคการเกษตร 5 1 8 15 20 0 79
162
กลุ่มเกษตรกร 4 9 17 45 0 4 0
รวมทั้งสิ้น 9 25 42 76 3 6 1
ปญั หา/อุปสรรค ในการดาเนินงาน
1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีลูกหน้ีผิดนดั ชาระหนจ้ี านวนมากและมีแนวโน้มท่ีจะเพม่ิ ขึน้ ทกุ ปที าใหม้ ี
ค่าใช้จ่ายคา่ เผ่อื หนส้ี งสัยจะสญู เพมิ่ มากข้นึ ด้วย
2. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร มีค่าใช้จ่ายดาเนินงานสงู สว่ นใหญ่มาจากคา่ ใช้จา่ ยค่าเผอ่ื หนี้สงสัยจะสูญ
ซ่งึ เพม่ิ สงู ขน้ึ และมีแนวโนม้ ที่จะเพม่ิ มากขนึ้ ทุกปี
3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มกี าไรสุทธปิ ระจาปลี ดลง
4. สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ยงั มีทนุ สารองนอ้ ย
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 22
แนวทางแก้ไข
1. แนะนา และส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกี่ยวกับการบริหารจัดการหน้ีค้างชาระในสหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกร
2.กากับ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานการแก้ไขปญั หาหนี้คา้ งในสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร อยา่ งตอ่ เน่อื ง
ผลสาเร็จการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการใช้บริการ/ดาเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ประเภทสหกรณ/์ ระดบั การมีสว่ นร่วมในการใชบ้ รกิ าร/ดาเนนิ กิจกรรม รวม
กลุ่มเกษตรกร ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ร้อยละ 60-69 น้อยกวา่ ร้อยละ 60
70
ภาคการเกษตร 25 7 18 50
นอกภาคการเกษตร 20 0 10 30
กลุ่มเกษตรกร 1 0 73 74
46 7 101 154
รวมทง้ั สิน้
ปัญหา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน
1. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร มลี ูกหนผี้ ิดนดั ชาระหน้จี านวนมากและมีแนวโนม้ ทจี่ ะเพิม่ ขนึ้ ทุกปีทาให้มี
คา่ ใชจ้ า่ ยคา่ เผื่อหน้ีสงสัยจะสูญเพมิ่ มากขึ้นด้วย
2. สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร มคี ่าใชจ้ า่ ยดาเนนิ งานสูง ส่วนใหญม่ าจากคา่ ใช้จ่ายค่าเผ่อื หนี้สงสัยจะสญู
ซงึ่ เพมิ่ สูงขึน้ และมแี นวโน้มทีจ่ ะเพิ่มมากขน้ึ ทุกปี
3. สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร มีกาไรสุทธิประจาปลี ดลง
4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ยังมีทนุ สารองนอ้ ย
5. สมาชกิ ทีม่ าร่วมใช้บริการ/ดาเนนิ กจิ กรรมส่วนใหญ่มีแต่คนเดมิ
แนวทางแกไ้ ข
1. แนะนา และส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเก่ียวกับการบริหารจัดการหน้ีค้างชาระในสหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกร
2.กากับ ตดิ ตามผลการดาเนินงานการแก้ไขปญั หาหน้คี า้ งในสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร อยา่ งต่อเนือ่ ง
กจิ กรรมกากบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. ผลสาเร็จของงาน สหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรไม่มีขอ้ บกพร่องใหม่คิดเปน็ ร้อยละ 100
2. กิจกรรม:
2.1 กากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้สหกรณด์ าเนนิ กจิ การให้เป็นไปตามข้อบังคบั
ระเบียบและกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง รวมถึงข้อสงั เกตของผ้สู อบบญั ชี เพือ่ ปูองกันและแก้ไขปัญหาขอ้ บกพร่อง
2.2 การตรวจการสหกรณ์
2.3 การแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของสหกรณ์
2.4 จดั ประชมุ คณะทางานระดบั จังหวดั แก้ไขปญั หาดาเนินงานของสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร
ท่มี ขี ้อบกพร่อง (จกบ.)
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 23
2.5 ชาระบญั ชีสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรตามกระบวนการกฎหมายล้มละลาย
3. ตัวชวี้ ัด:
3.1 เชิงปริมาณ
(1) รอ้ ยละของสหกรณ์ที่มคี วามเสย่ี งจะเกดิ การทจุ ริต ขอ้ ร้องเรยี น หรือมีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพรอ่ ง
ได้รับการตรวจการสหกรณ์ตามคาสัง่ นายทะเบียนสหกรณ์ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทง้ั หมด สหกรณ์
10 แหง่
(2) ร้อยละของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรท่อี ยรู่ ะหวา่ งชาระบัญชขี น้ั ตอนที่ 3-4 ยกระดับขึ้นสู่ข้นั ตอนที่ 5
รอ้ ยละ 100 ประกอบดว้ ย สหกรณภ์ าคการเกษตร 2 แห่ง และกลมุ่ เกษตรกร 4 แหง่
(3) รอ้ ยละของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรทัง้ หมดท่ีอยูร่ ะหว่างชาระบญั ชีไมร่ วมสหกรณ์ และ
กลุ่มเกษตรกรที่อยูใ่ นขนั้ ตอนที่ 6 (คด)ี สามารถถอนชื่อได้ ร้อยละ 25 ประกอบดว้ ย สหกรณ์ภาคการเกษตร
7 แหง่ สหกรณ์นอกภาค 1 แหง่ และกลมุ่ เกษตรกร 10 แหง่
(4) ประสิทธิภาพของการบริหารงานการแก้ไขปญั หาในการดาเนนิ กจิ การ/การบริหารงานของสหกรณ์ /
กล่มุ เกษตรกร
(4.1) สหกรณ์ภาคการเกษตร ท่ีมขี ้อบกพรอ่ งได้รับการแก้ไขแล้ว ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 88
ประกอบดว้ ย กจิ กรรมรักษาสถานะภาพสหกรณ์ภาคการเกษตรท่ีไม่มขี ้อบกพร่อง หรอื มีขอ้ บกพร่องแต่ไดร้ ับ
การแก้ไขแล้วเสรจ็ สมบูรณ์ 48 แหง่ และผลกั ดันสหกรณ์ภาคการเกษตรทม่ี ีขอ้ บกพรอ่ งใหแ้ ก้ไขแล้วเสรจ็
สมบรู ณ์ 3 แห่ง
(4.2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ท่มี ีข้อบกพร่องได้รบั การแก้ไขแลว้ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 88
ประกอบด้วย กจิ กรรมการรักษาสถานะภาพสหกรณ์นอกภาคที่ไมม่ ขี ้อบกพร่อง หรือมีข้อบกพรอ่ งแต่ไดร้ บั การ
แกไ้ ขแล้วเสรจ็ สมบูรณ์ 48 แห่ง และผลกั ดนั สหกรณ์นอกภาคท่ีมขี ้อบกพร่องใหแ้ ก้ไขแลว้ เสรจ็ สมบูรณ์ 3
แหง่
(4.3) กลมุ่ เกษตรกรที่มีข้อบกพร่องไดร้ ับการแก้ไขแลว้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 24 ประกอบด้วย กิจกรรม
การรกั ษาสถานะภาพกลมุ่ เกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง หรือมขี ้อบกพร่องแต่ได้รบั การแก้ไขแลว้ เสร็จสมบูรณ์
78 แหง่ และกลุม่ เกษตรกรท่ีมขี อ้ บกพร่องให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบรู ณ์ 1 แห่ง
(5) ชาระบญั ชสี หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามกระบวนการกฎหมายล้มละลาย จานวน 10 แห่ง
(6) จดั ประชมุ คณะทางานระดับจงั หวดั แกไ้ ขปญั หาดาเนินงานของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
ท่มี ขี ้อบกพร่อง (จกบ.) จานวน 4 ครงั้ (ไตรมาสละ 1 คร้งั )
3.2 เชงิ คุณภาพ
การดาเนนิ กจิ การ/การบรหิ ารงานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ไมม่ ีขอ้ บกพร่องหรือมแี ต่ไดร้ บั
การแก้ไขแลว้
4. ผลลัพธ์ :
4.1 ผลลัพธ์เชงิ ปริมาณ
(1) การตรวจการสหกรณ์
(1.1) สหกรณท์ ี่มคี วามเส่ียงจะเกดิ การทจุ รติ ข้อร้องเรียน หรือมีความเสย่ี งจะเกดิ ข้อบกพรอ่ งไดร้ ับ
การไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด หรือสหกรณ์ 10 แห่ง ผลการตรวจสอบสหกรณต์ ามคาสง่ั
นายทะเบียนสหกรณ์ จานวน 10 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ของสหกรณเ์ ปูาหมาย
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 24
(1.2) การตรวจการสหกรณ์โดยทมี ตรวจสอบระดับจังหวัด จานวน 13 แห่ง ผลการตรวจสอบสหกร
โดยทมี ตรวจสอบระดับจงั หวัด จานวน 13 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ของสหกรณเ์ ปูาหมาย
(2) การแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์
(2.1) กากบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้สหกรณ์ดาเนินกิจการให้เป็นไปตาม
ข้อบงั คับ ระเบยี บและกฎหมายที่เกย่ี วข้องเพ่อื ปูองกนั และแกไ้ ขปญั หาข้อบกพร่อง จานวน 82 แหง่ คดิ เปน็
รอ้ ยละ 100
(2.2) ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ไมพ่ บข้อบกพร่องที่เกิดข้นึ ใหม่ แตม่ ีการติดตามข้อบกพร่อง
เดิม ซ่งึ ได้รับการแกไ้ ขแล้วเสร็จต้องติดตามการชดใช้คนื จานวน 5 สหกรณ์ 6 ประเดน็
(3) จดั ประชมุ คณะทางานระดบั จังหวดั แกไ้ ขปัญหาดาเนินงานของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
ทม่ี ีข้อบกพรอ่ ง (จกบ.) ไดจ้ านวน 4 คร้ัง ผู้เขา้ ประชมุ เฉล่ียครงั้ ละ 14 คน ผู้เข้ารว่ มประชุมเฉลย่ี 6 คน
ในการประชุม 4 คร้ัง กรณมี ีขอ้ บกพร่องที่แก้ไขแลว้ เสรจ็ ต้องติดตาม จานวน 5 สหกรณ์ 6 ประเดน็ และกรณ๊
มีข้อสงั เกตสหกรณ์ 10 แห่ง 17 ประเด็น แก้ไขแล้วเสร็จ 14 ประเดน็ คงเหลอื ติดตาม 3 ประเดน็ และกลุ่ม
เกษตรกร 10 แห่ง 17 ประเดน็ แกไ้ ขแล้วเสรจ็ 13 ประเดน็ คงเหลอื ตดิ ตาม 4 ประเด็น
(4) ชาระบัญชีสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรตามกระบวนการกฎหมายลม้ ละลาย จานวน 10 แห่ง
มกี ารเคล่ือนไหวการชาระบญั ชีตามขน้ั ตอนทางกฎหมายลม้ ละลาย จานวน 3 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 30 อยู่
ระหว่างรอปดิ คดี 4 แห่ง อยู่ระหวา่ งไตส่ วนผู้ชาระบัญชีกรณเี ปลย่ี นตวั ผชู้ าระบญั ชี 1 แหง่ และศาล
มคี าสง่ั ยกเลิกลม้ ละลาย 2 แหง่
4.2 ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภาพ
ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์ 79 แห่ง และกลมุ่ เกษตรกร 76 แห่ง รวมสหกรณแ์ ละกลุม่
เกษตรกรทง้ั ส้ิน 155 แหง่ ไมพ่ บข้อบกพร่องเกิดขน้ึ ใหม่หรือมแี ต่ได้รับการแก้ไขแล้ว
5. ปญั หา/อุปสรรค ในการดาเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
- ไมม่ ี –
ภาพถ่ายแสดงการดาเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ
ประชุมเชงิ ปฏิบัติการ
“การพฒั นาศกั ยภาพ
ผู้ตรวจการสหกรณ์ และผูช้ ว่ ย
ผูต้ รวจการสหกรณ์” โดย
นางดารณี แยม้ ศรสี ขุ สหกรณ์
จงั หวัดมหาสารคามเป็น
ประธานในท่ปี ระชมุ
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 25
การจดั ประชมุ คณะทางานระดับจังหวัดแก้ไขปญั หาในการดาเนนิ งาน
ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพรอ่ ง (จกบ.)
กากับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ใหส้ หกรณ์ดาเนนิ กจิ การใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคับ ระเบยี บ
และกฎหมายทเ่ี ก่ียวข้อง เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง
โครงการพฒั นาและส่งเสริมสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรสูด่ ีเดน่
1. ผลสาเรจ็ ของงาน
มีสหกรณท์ ี่ได้รับการสง่ เสรมิ ใหผ้ า่ นหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกสหกรณด์ ีเด่นระดบั จังหวดั จานวน 2
สหกรณ์
2. กจิ กรรม :
กิจกรรมที่ 1 การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นในแต่ละระดับจะใช้วิธีการให้
คะแนน เพ่ือจัดลาดับคะแนน โดยคัดเลือกสหกรณ์แต่ละประเภทการคัดเลือกที่ได้คะแนนรวมมากท่ีสุด ท้ังนี้
สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรท่ีได้รับการคัดเลือกจะต้องได้คะแนนรวม ทั้ง 5 หมวด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และ
คะแนนแตล่ ะหมวดจะต้องไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60
กิจกรรมที่ 2 คณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นในแต่ละระดับเพ่ือ
ทาหน้าท่ีคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีผลงานดีเด่นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมส่งเสริมสหกรณ์
กาหนดแลว้ นาเสนอคณะกรรมการคดั เลือกในระดบั ต่อไปพิจารณา
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 26
3. ตัวชวี้ ดั :
เชิงปริมาณ
กาหนดเปาู หมายเพื่อคดั เลือก ประเภทละอย่างน้อย 2 สาขา ดงั นี้
1. ประเภทการคดั เลือกสหกรณ์ดีเด่น
(1) สหกรณ์การเกษตรทัว่ ไป
(2) สหกรณโ์ คนม
(3) สหกรณน์ ิคม
(4) สหกรณ์ประมง
(5) สหกรณ์ผูใ้ ช้นา้
(6) สหกรณ์ผู้ผลิตยางพารา
(7) สหกรณ์ออมทรัพย์
(8) สหกรณ์รา้ นคา้
(9) สหกรณเ์ ครดิตยูเน่ยี น
(10) สหกรณบ์ รกิ าร
(11) โครงการพระราชดาริหรอื พ้ืนทโี่ ครงการหลวง
2. ประเภทการัดเลอื กกลมุ่ เกษตรกรดเี ดน่ ประเภทละอย่างนอ้ ย 2 สาขา ดังน้ี
(1) กลุ่มเกษตรกรทานา
(2) กลุ่มเกษตรกรทาสวน
(3) กลุ่มเกษตรกรทาไร่
เชงิ คณุ ภาพ
สหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรท่ีมีผลการดาเนินการที่ผ่านการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
แห่งชาติประจาปี พ.ศ. 2564 / 2565 ได้รับรางวัลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด และเสนอ
ช่อื คดั เลือกในระดบั ภาคและระดับชาติตอ่ ไป
4. ผลลพั ธ์ :
ผลลพั ธเ์ ชิงปรมิ าณ
1. มีสหกรณ์เข้าร่วมคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรดีเด่นระดับชาติประจาปี 2564/2565
จานวน 3 สหกรณ์ และมีสหกรณจ์ านวน 2 สหกรณ์ที่มีผลการคัดเลอื กสหกรณด์ เี ด่นระดบั จังหวัด คอื
(1) สหกรณ์ออมทรัพย์ครูมหาสารคาม จากดั
(2) สหกรณ์ออมทรพั ยโ์ รงพยาบาลมหาสารคาม จากดั
2. มีกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรดีเด่นระดับชาติประจาปี 2564/2565
จานวน 2 กลุ่มเกษตรกร และไม่มกี ลุ่มเกษตรกรใดผา่ นเกณฑ์คัดเลือกตามทกี่ รมสง่ เสริมสหกรณ์กาหนด
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 27
ผลลพั ธเ์ ชิงคุณภาพ
สหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรท่ีมีผลงานผา่ นเกณฑ์คดั เลอื กเป็นสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรระดบั จงั หวัด
จะได้รับประกาศนยี บตั รเข้าโดยสานักงานสหกรณ์จังหวีดจะเป็นผ้จู ัดทาประกาศนยี บัตรเชิดชเู กยี รติมอบให้
และไดร้ ับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารบั การคดั เลือกรับรางวัลพระราชทานโล่รางวัลจากพระบาทสมเด็จพระเข้าอยู่หวั
ในวันงานพระราชพธิ ีพืชมลคลจรดพระนางคัลแรกนาขวญั ประจาปีต่อไป
5. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข
1. สหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรไม่ได้ใหค้ วามสนและความสาคญั ในการประกวดสหกรณ์และกลมุ่
เกษตรกรดีเดน่
2 เวลาดาเนินกจิ กรรมสั้นเกินไป ทาใหส้ หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรปฏเิ สธการเข้าร่วมกิจกรรมการ
คัดเลอื กดังกล่าว ควรเรม่ิ กจิ กรรมดังกลา่ วตั้งแต่ต้นปี
โครงการส่งเสรมิ การดาเนนิ ธรุ กจิ รา้ นค้าสหกรณ์ในรปู แบบซปุ เปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์
1. ผลสาเร็จของงาน
1. สหกรณ์เปูาหมายรับทราบปัญหาและอุปสรรค ในการดาเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุบ
เปอร์มาร์เกต็ ของสหกรณท์ ่ีผ่านมา จานวน 2 แหง่ คือ สหกรณก์ ารเกษตรบรบือ จากัด และสหกรณ์การเกษตร
เพื่อการตลาดลกู คา้ ธ.ก.ส. มหาสารคาม จากัด
2. สหกรณ์เปูาหมายตามโครงการฯ มีแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ใน
รูปแบบซุบเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ เปูาหมาย จานวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรบรบือ จากัด สหกรณ์
การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.มหาสารคาม จากัด และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนหนองบัวแปะ จากัด ในปี
ตอ่ ไป
2. กิจกรรม :
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การขับเคลื่อนการดาเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุบเปอร์มาร์เก็ต
สหกรณ์ ของสหกรณ์เปูาหมายเพื่อรับทราบปัญหาและอุปสรรค ในการดาเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบ
ซุบเปอร์มารเ์ กต็ ของสหกรณ์ท่ีผ่านมาและสหกรณ์เปูาหมายมีแนวทางในการขับเคล่ือนการดาเนินธุรกิจร้านค้า
สหกรณใ์ นรูปแบบซุบเปอรม์ ารเ์ ก็ตสหกรณ์ จานวน 3 แหง่
3. ตวั ชวี้ ดั :
เชิงปรมิ าณ
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การขับเคล่ือนการดาเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุบเปอร์มาร์เก็ต
สหกรณ์ จานวน 3 แหง่ ดังนี้
3.1 สหกรณ์การเกษตรบรบือ จากัด จัดประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารฯ วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2564
3.2 สหกรณเ์ ครดติ ยเู นยี่ นหนองบัวแปะ จากัด จัดประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารฯ วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2564
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 28
3.3. สหกรณ์การเกษตรเพ่ือการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. มหาสารคาม จากัด จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ วันท่ี 25
สงิ หาคม 2564
เชิงคุณภาพ
รับทราบปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุบเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์
ของรวมทงั้ มีแนวทางในการขบั เคลือ่ นการดาเนินงานในปีต่อไป
4. ผลลพั ธ์ :
ผลลพั ธ์เชงิ ปรมิ าณ
รบั ทราบปญั หาและอปุ สรรคในการดาเนนิ งานธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุบเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์
จานวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรบรบือ จากัด และสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.
มหาสารคาม จากดั
ผลลัพธ์เชงิ คณุ ภาพ
1. สหกรณก์ ารเกษตรบรบอื จากดั มีปัญหาอปุ สรรคและแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้
(1) การเปดิ ปิดรา้ นค้าสหกรณซ์ ึง่ เปดิ ทาการไมท่ นั ต่อความต้องการซื้อของสมาชิก
(2) การจัดร้านค้าไมด่ งึ ดูดลูกค้า สนิ ค้าไม่หลากหลาย สินค้าเก่าเกบ็ และขาดการประชาสมั พันธร์ ้านค้า
(3) เงินทนุ หมุนเวียนของร้านคา้ ไมเ่ พยี งพอ การสั่งซื้อสินคา้ เพอ่ื จาหน่ายมีกระบวนการลา่ ช้า
(4) การจดั หาสนิ ค้ามาจาหน่ายไมไ่ ดส้ ั่งจากแหลง่ ผลติ ทาใหต้ น้ ทุนสูง ราคาสนิ ค้าบางชนิดสูงกว่า
ทอ้ งตลาด
- แนวทางในการดาเนนิ งาน
(1) เปลย่ี นเวลาการเปดิ จาหนา่ ยสนิ คา้ เพอื่ ใหท้ ันเวลา เพอื่ สนองความต้องการของสมาชิก
(2) การเปลีย่ นเวลาการเปดิ จาหนา่ ยสินค้า เพือ่ ใหท้ นั เวลา พรอ้ มทัง้ ประชาสัมพนั ธใ์ หส้ มาชิก
มีสว่ นร่วมในการทาธรุ กิจ
(3) เพ่ิมช่องทางการจาหน่าย ทางโซเซียลมากขึ้น
(4) การจดั ทาสต๊อกใหช้ ดั เจน พร้อมสง่ มอบสนิ คา้ ครบถ้วนตรงตามจานวน และราคาไมส่ งู
กวา่ ตลาด
2.การเกษตรเพอ่ื การตลาดลกู คา้ ธ.ก.ส. มหาสารคาม จากัด มีปัญหาอปุ สรรคและแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี
(1) การมสี ่วนร่วมในการดาเนนิ ธุรกิจของสมาชิกในสหกรณม์ นี ้อย
(2) ทาเลท่ตี งั้ ของรา้ นคา้ ไม่เหมาะสมโดยไมด่ ึงดูดลูกคา้
(3) สนิ คา้ ไม่ตอบสนองความตอ้ งการของสมาชิกไม่หลากหลาย
(4) การวางระบบงานภายใน การแลกเปล่ยี นสนิ ค้า ไม่มีความชดั เจน
- แนวทางในการดาเนินงาน
1.วางระบบการสื่อสารกับสมาชิกให้เข้ามามีบทบาทในการทาธุรกิจให้มากยิ่งข้ึน เช่น การใช้ระบบ
ออนไลน์ เข้ามาช่วยในการสง่ั สินคา้ กับสหกรณ์
2.พิจารณาจัดหาสินค้าสหกรณ์/สินค้าเครือข่ายสหกรณ์/ควรพิจารณาเป็นแหล่งกระจายสินค้าของ
สหกรณเ์ ครือข่าย เช่น อาหารทะเล ผลไมส้ ด เปน็ ต้น
3.การวางระบบการสั่งซ้ือทางออนไลน์ ใช้ระบบการขนส่งโดยไม่ต้องสต๊อก สินค้าไว้ที่ในจานวนมาก
สหกรณ์นาส่งสนิ คา้ ถึงบ้านสมาชิก ควรกาหนดเปูาหมายไปท่ีร้านค้าในหมบู่ ้านต่าง ๆ โดยการขายเปน็ เงินสด
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 29
3. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นีย่ นหนองบวั แปะ จากดั มีปัญหาอุปสรรคและแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี
สหกรณ์เครดิตยูเน่ียนหนองบัวแปะ จากัด เข้าร่วมโครงการเป็นปีแรก เนื่องจากดาเนินงานตาม
โครงการฯ ดังกล่าว ในบริบทของสหกรณ์ไม่สามารถดาเนินตามโครงการส่งเสริมการดาเนินธุรกิจร้านค้า
สหกรณใ์ นรปู แบบซูเปอรม์ าร์เก็ตสหกรณ์ตามที่กรมส่งเสรมิ สหกรณ์กาหนดไว้ ท่ีประชุมได้พิจารณาร่วมกันเร่ือง
แนวทางการดาเนนิ งาน ดังนี้
(1) สหกรณ์จะเป็นจุดศูนย์กลางในการจาหน่ายสินค้าของสมาชิกไปยังสหกรณ์ในเขตบริการ ตาม
สมาชิกจานวน 20 หมูบ่ า้ นสนิ ค้าควร สด สะอาด ปลอดภัย
(2) สินค้าท่ีจะนามาจาหน่าย ประกอบด้วย เนื้อสัตว์ ต่าง ๆ ท่ีสมาชิกสหกรณ์ผลิตไม่ได้จะนามาจาก
ห้างสยามแม็คโคร หรือร้านค้าอื่น ๆ โดยไม่มีการสต็อกสินค้าไว้ซึ่งใช้วิธีการให้สมาชิกส่ังซื้อสินค้าและจัดหา
สินคา้ ตามความต้องการสมาชิก
(3) สินค้าประเภทเน้ือสัตว์ ปลา ที่สมาชิกสหกรณ์ผลิตได้สหกรณ์จะรับซื้อจากสมาชิกมาจาหน่าย ซ่ึง
จะตดั จาหนา่ ยให้หมดในแต่ละวนั โดยจะไมม่ ีการสต๊อกสนิ ค้าเพ่ือจาหนา่ ย
(4) สมาชกิ คนหนงึ่ จะเป็นผู้ซือ้ และผขู้ ายในเวลาเดยี วกัน
5. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
1. สถานการณ์การระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา-2019 (COVID-19) ส่งผลต่อการจัดประชุมเชิง
ปฏิบัติการตามโครงการฯ ซึ่งต้องใช้รูปแบบการประชุมในห้องประชุมเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกันของ
กรรมการและฝุายจัดการ
2. ทาเลทีต่ ง้ั ของร้านสหกรณ์ไมเ่ หมาะสม อย่หู า่ งไกลแหลง่ ชุมชน และสินค้าท่ีสหกรณ์จัดหามาจาหน่ายไม่
หลากหลายชนิด และเป็นสินคา้ ที่มีจาหน่ายท่วั ไปในรา้ นคา้ ตา่ ง ๆ รวมทัง้ บางอย่างมีราคาสงู กล่าท้องตลาด
- แนวทางการแกไ้ ข
1. ควรให้มีการสั่งซ้ือทาง Application ให้มากขึ้น และสหกรณ์ส่งสินค้าถึงท่ีตั้งหรือบ้านของสมาชิกตาม
หม่บู ้านตา่ ง ๆ โดยวิธีดงั กล่าวไม่ควรสงั่ ซื้อสินคา้ ไว้คราวละมาก ๆ และไม่จาเป็นตอ้ งสต๊อกสนิ คา้ ไวม้ าก
2. ควรจัดหาสินค้าตรงตามความต้องการของสมาชิกผู้ซื้อ /การเปิดปิดร้านต้องให้ผู้ซื้อเกิดความสะดวก
สนิ คา้ หลากหลายผ้ซู อื้ ไมต่ อ้ งไปหาซอื้ หลายแห่ง และจาหนา่ ยเป็นเงินสด
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 30
โครงการสง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐานสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
1. ผลสาเร็จของงาน
จานวน ระดับมาตรฐานสหกรณ์ (ข้อมูล 30 กนั ยายน 2564) ไมผ่ ่าน
สหกรณ์ ดาเนินการ ไมค่ รบ 2 ปี หยดุ ชาระบญั ชี ผา่ น มาตรฐาน
ทงั้ หมด
ปกติ มาตรฐาน 20
99
77 1 2 19 57
ระดบั มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร (ข้อมูล 30 กันยายน 2564)
จานวน นามาจดั รกั ษา ผลกั ดันให้ ต่ากว่าใหม้ าตรฐาน
สหกรณ์
ทง้ั หมด มาตรฐาน มาตรฐาน ผา่ น
84 เดมิ มาตรฐาน
72 47 3 22
2. กิจกรรม :
มาตรฐานสหกรณ์
กิจกรรมที่ ๑ ศึกษาแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ และแนวทางการดาเนินการประเมิน
และจัดระดบั มาตรฐานสหกรณ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔
กิจกรรมท่ี 2 ข้าราชการผู้ดูแลสหกรณ์ ทาการประเมินสถานะสหกรณ์ทุกสหกรณ์ และประเมิน
เฉพาะส่วนการบริหารการจัดการภายในสหกรณ์พร้อมทั้งส่งเข้าระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์ให้ครบทุก
สหกรณ์
กิจกรรมท่ี 3 ข้าราชการผู้ดูแลสหกรณ์ ทาการประเมินสถานะสหกรณ์ทุกสหกรณ์ และประเมิน
เฉพาะส่วนการบริหารบรหิ ารการจัดการภายในสหกรณ์พร้อมทั้งส่งเข้าระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์ให้ครบ
ทุกสหกรณ์
กิจกรรมที่ 4 ข้าราชการผู้ดูแลสหกรณ์เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ตาม
แบบประเมิน (๑๓๗ ข้อ) เมื่อสหกรณ์ประชุมใหญ่แล้วเสร็จ และส่งเข้าระบบประเมินฯ ให้แล้วเสร็จภายใน ๒
วัน
กิจกรรมที่ 5 จดั ประชมุ รับทราบผลการจดั ระดบั มาตรฐานสหกรณ์ทกุ ๆเดือน
กิจกรรมท่ี 6 ตรวจสอบความถูกตอ้ งการบนั ทกึ ข้อมลู
กิจกรรมท่ี 7 ทาหนงั สือรบั รองและยืนยันการปฏิบัตงิ าน
กิจกรรมท่ี 8 จัดพิมพ์ประกาศผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์จากเว็บไซต์ของกรมส่งเสริม
สหกรณ์ และติดประกาศที่ สสจ./สสพ.๑/สสพ.๒ พร้อมทั้งแจ้งผลการจัดมาตรฐานให้สหกรณ์ทราบ เป็นราย
สหกรณ์
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 31
มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร
กิจกรรมท่ี ๑ ให้บันทึกผลการประเมินมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร เม่ือกลุ่มเกษตรกรได้จัดประชุมใหญ่
สามัญประจาปีแล้วเสรจ็ ไมเ่ กิน ๒ วัน ทาง “ระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร” พร้อมทง้ั
กิจกรรมที่ 2 แจ้งผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ให้กลุ่มเกษตรกรภายในจังหวัดทราบเป็นราย
กลมุ่ เกษตรกรให้ครบถ้วน
3. ตัวชวี้ ัด :
เชิงปริมาณ
มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : ร้อยละของกลุ่มเกษตรกรท่ีนามาจัดมาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อย
กวา่ ร้อยละ ๘๑
วิธคี านวณ จานวนกลุ่มเกษตรกรที่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานประจาปี ๒๕๖๔ X 1๐๐
จานวนกลุ่มเกษตรกรท่นี ามาจดั มาตรฐานประจาปี ๒๕๖๔
เชงิ คุณภาพ
-
4. ผลลพั ธ์ :
ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ
สหกรณ์ผา่ นมาตรฐาน จานวน ๕๗ แห่ง
กลมุ่ เกษตรกรผา่ นมาตรากล่มุ เกษตรกร จานวน ๕๐ แหง่
ผลลพั ธเ์ ชิงคณุ ภาพ
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไดร้ ับการแนะนาและสง่ เสริมใหเ้ ขม้ แข็งและผ่านการจดั ระดบั มาตรฐาน
สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
5. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข
-
รายงานผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลธุรกรรมระหว่างสหกรณ์
1. ผลสาเรจ็ ของงาน :
- ดาเนินการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลการฝากและการกู้เงินระหว่างสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็น
รายไตรมาส ให้ครบทกุ แหง่ ของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรที่มกี ารกเู้ งิน การนาเงินไปฝากระหว่างสหกรณ์ และ
การรบั ฝากเงนิ จากสหกรณ์อน่ื
2. กจิ กรรม :
2.1 แจ้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีการกู้เงินระหว่างสหกรณ์ การนาเงินไปฝากสหกรณ์อ่ืน และการ
รับฝากเงนิ จากสหกรณ์อื่น ใหจ้ ัดทาข้อมลู การทาธุรกรรมระหว่างสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตามแบบรายงานที่ได้
จัดส่งให้ และกาหนดให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รายงานข้อมูลการทาธุรกรรมทางการเงินระหว่างสหกรณ์
ภายในวนั ท่ี 15 ของวนั สน้ิ เดอื นของแต่ละไตรมาส
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 32
2.2 แจง้ กลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์ 1-5 ตรวจสอบขอ้ มลู การทาธรุ กรรมระหว่างสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้
ถกู ตอ้ งตรงกบั งบทดลอง ก่อนสง่ ใหส้ านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคามภายในวันที่ 15 ของวันส้ินเดือนของ
แตล่ ะไตรมาส
2.3 สานักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ตรวจสอบข้อมูลการทาธุรกรรมระหว่างสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกร ประกอบงบทดลองของสหกรณ์ต้นทางและปลายทางแล้วบันทึกในระบบรายงานข้อมูลการฝาก และ
การกูเ้ งนิ ระหวา่ งสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
3. ตัวชีว้ ัด :
เชิงปริมาณ
- สหกรณ์ทง้ั สน้ิ จานวน 98 แหง่ แบ่งเปน็ สหกรณ์ท่ีมสี ถานะดาเนินกจิ การและหยดุ ดาเนนิ กิจการ
จานวน 79 แหง่ สหกรณ์ท่ีเลิกและชาระบัญชี 3 จานวน 19 แหง่ โดยรายงานไตรมาสละครงั้
เชงิ คณุ ภาพ
- บันทกึ ขอ้ มลู การกูเ้ งินและการฝากเงินระหว่างสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ครบทงั้ แห่ง และข้อมูลการเงนิ
และการฝากเงนิ ระหว่างสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความถูกต้องตรงกันระหวา่ งสหกรณต์ ้นทางและปลายทาง
4. ผลลพั ธ์ :
ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ
- ดาเนนิ การรายงานโดยการบันทึกในระบบรายงานข้อมูลการฝาก และการกู้เงินระหว่างสหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกรได้ครบทง้ั จานวน 98 แห่ง/ทกุ ไตรมาส จานวน 4 ไตรมาส
ผลลัพธ์เชิงคณุ ภาพ
- ขอ้ มลู การกู้เงิน การฝากเงนิ ระหวา่ งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ท่บี นั ทึกในระบบรายงานขอ้ มลู การ
ฝาก และการกเู้ งนิ ระหว่างสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร มีความถูกต้องตรงกนั ของสหกรณต์ ้นทางและปลายทาง
5. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดาเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
ปัญหา/อปุ สรรค ในการดาเนินงาน
1. กรณกี ารฝากเงินระหวา่ งสหกรณ์ สหกรณ์ตน้ ทางและสหกรณป์ ลายทางมยี อดเงินฝากคงเหลือ ณ วันส้ิน
ไตรมาสไม่ตรงกนั
2. กรณกี ารกู้เงินระหว่างสหกรณ์ สหกรณ์ผู้กู้เงินและสหกรณ์ผู้ฝากเงินมีจานวนเงินคงเหลือ ณ วันส้ินไตร
มาสมียอดเงินก้คู งเหลอื ไมต่ รงกนั
แนวทางแก้ไข
1. กรณกี ารฝากเงนิ ระหว่างสหกรณ์ สหกรณ์ต้นทางและสหกรณ์ปลายทางต้องตรวจสอบยอดคงเหลือเงิน
ฝาก ณ วันสิ้นไตรมาส และปรับปรุงบัญชีให้มีความถูกต้อง ตรงกัน และให้เป็นปัจจุบันกันระหว่างสหกรณ์ต้น
ทางและสหกรณ์ปลายทาง
2. กรณกี ารกเู้ งนิ ระหว่างสหกรณ์ สหกรณ์ผู้ให้กู้ต้องติดตามเอกสารการชาระหน้ีจากสหกรณ์ผู้กู้ ณ วันสิ้น
ไตรมาส และปรับปรงุ ข้อมลู ในบัญชใี หถ้ กู ตอ้ ง ตรงกัน และเปน็ ปจั จุบนั
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 33
ตดิ ตามผลการชาระหนี้ของกลุ่มเกษตรกรท่กี ู้เงินโครงการสร้างความเขม้ แข็งใหก้ ับกลุ่มเกษตรกรเพอื่
เข้าถงึ แหลง่ เงินทุนในการผลิตและการตลาด
1. เงนิ กองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกร
1) การเร่งรัดติดตามหนี้เงนิ กู้กองทุนสงเคราะหเ์ กษตรกร
1.1 โครงการสร้างความเขม้ แข็งให้กลุ่มเกษตรกรเพือ่ เข้าถงึ แหลง่ เงนิ ทนุ ในการผลิตและ
การตลาด
1.1.1 ลูกหนี้ขยายเวลาชาระหนี้ (จานวน 1 กลุม่ )
ลาดับ ช่อื กลุ่มเกษตรกร สญั ญา ขยายเวลา ต้นเงนิ หมายเหตุ
ลงวันที่ สิ้นสดุ ส้นิ สดุ (บาท) หากไมช่ ารตตาม
1 กลุ่มเกษตรกรทานา 31 ม.ี ค. 15 มี.ค.65 400,000 กาหนดเงินตน้ /
ขามเรียน 64 คา่ ปรบั 3%
1.1.2 ลูกหนป้ี กติ (จานวน 19 กลุม่ )
ท่ี ชอื่ กลมุ่ เกษตรกร วงเงินกู้ สัญญาลงวันท่ี สัญญาสิ้นสุด วนั ท่ีรับเงนิ กู้
วันที่
1 กลมุ่ เกษตรกรทานาเสือโก้ก 400,000.00 31 พ.ค. 64 15 ม.ี ค. 65
2 กลุ่มเกษตรกรทานาขามปูอม 400,000.00 31 พ.ค. 64 15 มี.ค. 65
3 กลุ่มเกษตรกรทานาตาบลตลาด 300,000.00 2 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
4 กลุ่มเกษตรกรทานาแกดา 80,000.00 2 ม.ิ ย. 64 15 ม.ี ค. 65
5 กลุ่มเกษตรกรทานาโนนแดง 500,000.00 4 ม.ิ ย. 64 15 มี.ค. 65
6 กลมุ่ เกษตรกรทานายาง 300,000.00 4 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
กลมุ่ เกษตรกรผ้เู ล้ยี งสัตวเ์ กษตร 500,000.00 4 ม.ิ ย. 64 15 มี.ค. 65
7 ผสมผสานตาบลหนองม่วง
8 กลมุ่ เกษตรกรทานาเข่ือน 400,000.00 8 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
9 กลุ่มเกษตรกรทานาหวั ดง 250,000.00 8 มิ.ย. 64 15 มี.ค. 65
10 กลมุ่ เกษตรกรทานาแวงดง 300,000.00 8 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
11 กลุ่มเกษตรกรทานาเม็กดา 300,000.00 8 ม.ิ ย. 64 15 มี.ค. 65
12 กล่มุ เกษตรกรทานาปอพาน 400,000.00 8 ม.ิ ย. 64 15 มี.ค. 65
13 กลุ่มเกษตรกรทานาสนั ปาุ ตอง 500,000.00 8 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
14 กล่มุ เกษตรกรทานาหนองแดง 500,000.00 8 ม.ิ ย. 64 15 ม.ี ค. 65
15 กลุ่มเกษตรกรทานาหนองมตแปบ 200,000.00 10 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
16 กลมุ่ เกษตรกรเลี้ยงสตั วบ์ า้ นหวั งัว 200,000.00 10 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
ที่ ชอื่ กลุ่มเกษตรกร วงเงนิ กู้ สัญญาลงวนั ที่ สัญญาสิน้ สุด วนั ที่รบั เงินกู้
วนั ที่
17 กลุ่มเกษตรกรทานานาสีนวน 350,000.00 14 มิ.ย. 64
18 กลมุ่ เกษตรกรทานากดุ ปลาดุก 400,000.00 14 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
19 กลุ่มเกษตรกรทานาสมศร-ี หนองโก 400,000.00 14 มิ.ย. 64 15 ม.ี ค. 65
6,680,000.00
รวม 15 ม.ี ค. 65
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 34
1.1.3 ลูกหนด้ี าเนนิ คดี
ชอ่ื กลุ่มเกษตรกร สญั ญา ตน้ เงิน ต้นคง
ลงวันท่ี สิ้นสุด ยกมา เหลอื รายละเอยี ดการดาเนนิ การ
(บาท)
การดาเนนิ คดี(โครงการสนับสนนุ สินเชอ่ื เพื่อพัฒนากลุ่มเกษตรกร) จานวน 2 กลุ่ม
1.กลมุ่ เกษตรกร 23 ก.ค. 31 ม.ี ค. 150,000.00 51,693.94 ศาลจังหวดั มหาสารคามได้ออก
ทานาหนองทุ่ม 58 59 หมายบังคบั คดีแลว้ เมื่อ 19
พฤศจิกายน 62
**ดาเนินการสบื ทรัพย์ พบ
ทรัพยผ์ ู้คา้ 2 แปลง อยู่รตหว่าง
เจรจา
2.กลมุ่ เกษตรกร 21 31 มี.ค. 350,000.00 175,305.37 สานกั งานบงั คบั คดีจงั หวดั
ทานาหนองบวั สันตุ พ.ค.58 59 มหาสารคามไดด้ าเนินการขาย
ทรัพย์ (อยู่รตหว่างดาเนนิ การ
ทางบญั ชขี องสานกั งานบงั คบั
คดียังไมแ่ ล้วเสร็จ)
การดาเนินคดี (โครงการสรา้ งความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรฯ) จานวน 3 กลุ่ม
1.กลุ่มเกษตรกร 2 ส.ค. 31 ม.ี ค. 82,671.82 82,671.82 กลมุ่ เกษตรกรฯ ได้ชารตหนี้
ทานาเวียงชยั 59 60 หมดแล้ว ณ 31 ส.ค.64 *ขอ
ถอนการดาเนินคดีแล้ว
การดาเนนิ คดี (โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กบั กลุ่มเกษตรกรฯ) จานวน 3 กลุ่ม
2.กลุ่มเกษตรกร 31 31 ม.ี ค. 342,520.90 342,520.90 ฟูองดาเนินคดสี ่งอัยการจงั หวัด
ทานาสาโรง พ.ค.60 61 แลว้ 15 ก.พ.64
3.กล่มุ เกษตรกร 16 28 ก.พ. 211,137.45 211,137.45 ยืน่ ฟูองดาเนนิ คดีแลว้
ทานาบ้านน้าเทีย่ ง พ.ค.62 64 20 ก.ย.64
พัฒนากา้ วหนา้
ตัวชว้ี ัด :
เชงิ ปริมาณ
1.ตดิ ตามการใชเ้ งินก้เู งิน กลมุ่ เกษตรกร จานวน 19 แหง่ เปน็ เงนิ จานวน 6,680,000.00 บาท
2.ตดิ ตามการใชเ้ งินกเู้ งินที่ได้รับการขยายระยะเวลาชาระหน้ี กลุ่มเกษตรกร จานวน 1 แหง่ เป็นเงิน
จานวน 400,000 บาท
3.ติดตามหนี้คา้ งจานวน 3 กลุ่ม
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 35
เชงิ คณุ ภาพ
1.สมาชิกกลมุ่ เกษตรกรมีทุนในการประกอบอาชพี
2.สมาชิกกลมุ่ เกษตรกรมีต้นทนุ ต่าจากการกยู้ ืมเงนิ
ผลลัพธเ์ ชงิ ปรมิ าณ
1. กล่มุ เกษตรกร จานวน 19 แหง่ มีเงนิ กตู้ น้ ทนุ ตา่ เปน็ เงนิ จานวน 6,680,000.00 บาท
2. กลุม่ เกษตรกร ไดร้ บั การขยายระยะเวลาชาระหนี้ จานวน 1 แหง่ เป็นเงินจานวน 400,000 บาท
ผลลัพธ์เชงิ คณุ ภาพ
1.สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีแหลง่ เงินทุนในการประกอบอาชพี
2.สมาชิกกลุม่ เกษตรกรมีต้นทนุ ต่าในการประกอบอาชีพ
ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
1.2 โครงการสนบั สนนุ เงนิ ทุนเพือ่ สร้างระบบน้าในไร่นาของสมาชกิ สถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2
ลาดับ ช่อื สหกรณ์ สญั ญา ตน้ เงิน (บาท) วนั ที่ชาระ หมาย
ลงวันที่ ส้ินสุดวันที่ 2,700,000.00 28 ก.พ.65 เหตุ
1 สหกรณ์การเกษตรศรี 19 ส.ค. 28 ก.พ.2568 1,500,000.00 28 ก.พ.65
ชน่ื ชม จากัด 2563
9 ก.ย. 28 ก.พ.2568
2 สหกรณก์ ารเกษตร 2563
เมอื งมหาสารคาม
จากดั 9 ก.ย. 28 ก.ย.2568 800,000.00 28 ก.พ.65
2563
3 สหกรณผ์ ูเ้ ลยี้ งโคนม
โคกก่อ จากัด
ตวั ชวี้ ดั :
เชิงปริมาณ
1.ตดิ ตามการใช้เงินกูเ้ งิน ให้แก่สหกรณ์ จานวน 3 แหง่ เป็นเงิน จานวน 4,769,681.95 บาท ไดต้ าม
กาหนด
2.สมาชิกเขา้ รว่ มโครงการจานวน 100 ราย
3.จานวนแหลง่ น้าแยกเป็น ขุดสระน้าพร้อมอุปกรณ์ จานวน 13 บ่อ ขดุ เจาะบ่อบาดาลพร้อม อุปกรณ์
จานวน 87 บอ่
เชิงคุณภาพ
1.สมาชกิ สหกรณ์ไดร้ ับผลประโยชน์จากการขุดเจาะหาแหลง่ น้ามีแหลง่ นา้ ใชใ้ นการเกษตร
2.สมาชิกสหกรณ์มีอาชพี เสริมในชว่ งระหว่างฤดูทานา หลังฤดูทานา
3.สมาชกิ สหกรณ์มีรายไดเ้ พิม่ จากอาชีพเสรมิ
4.สมาชิกสหกรณ์มแี หลง่ น้าเปน็ ไปตามความต้องการของสมาชิก
ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ
1.สมาชกิ สหกรณ์มแี หล่งนา้ เพียงพอในการผลติ ดา้ นการเกษตร จานวน 100 ราย 3 สหกรณ์
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 36
2.จานวนแหล่งนา้ แยกเป็น ขดุ สระนา้ พร้อมอุปกรณ์ จานวน 13 บอ่ ขดุ เจาะบ่อบาดาลพร้อม อุปกรณ์
จานวน 87 บอ่
ผลลัพธเ์ ชิงคุณภาพ
1.สมาชิกสหกรณม์ ีแหล่งน้าไวใ้ ชใ้ นการเพาะปลกู พชื ,เลย้ี งสัตว์ตลอดปี
2.สมาชกิ สหกรณม์ ีอาชพี เสรมิ จากการใช้นา้ จากการสรา้ งระบบน้าในไรน่ า
3.สมาชกิ สหกรณ์มเี งินส่งชาระหนส้ี หกรณ์ไดต้ ามกาหนด
4.เพิม่ การสร้างอาชพี ใหม่ๆให้สมาชิกสหกรณ์
ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข
-
ประชมุ พิจารณาเงินกู้ เงินกองทุนสงเคราะห์
โครงการสร้างความเข้มแขง็ ให้กล่มุ เกษตรกรเพื่อเข้าถงึ แหลง่ เงนิ ทนุ ในการผลติ และการตลาด
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 37
ติดตามการใช้เงนิ กู้ โครงการจัดหาแหล่งนา้ ใหส้ มาชิกสหกรณ์
สหกรณก์ ารเกษตรเมืองมหาสารคาม จากดั /สหกรณ์การเกษตรศรชี ่นื ชม จากดั /
สหกรณผ์ ู้เลย้ี งโคนมโคกกอ่ จากัด
ตดิ ตามการใชเ้ งนิ กู้ โครงการจดั หาแหล่งน้าใหส้ มาชิกสหกรณ์
สหกรณ์การเกษตรเมอื งมหาสารคาม จากดั /สหกรณก์ ารเกษตรศรชี นื่ ชม จากดั /
สหกรณผ์ เู้ ลย้ี งโคนมโคกกอ่ จากัด
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 38
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ปรแะเผดน็นงแาผนนยแุทมธบ่ศาทส1ตร5์ พลังทางสงั คม
แผนงานยทุ ธศาสตร์
แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สริมสร้างพลังทางสงั คม
โครงการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
1. ผลสาเรจ็ ของงาน
สหกรณ์มีกิจกรรมการดาเนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการธุรกิจหรือกจิ กรรมตา่ งๆทงั้ ในระดับองค์กรและระดบั สมาชิก
2. กจิ กรรม :
กิจกรรมที่ 1 แนะนา ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้นาแนวทางปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและสมาชิก และให้ดาเนินกิจกรรมตามแผนการดาเนิน
กิจกรรมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางที่กองประสานงานโครงการ
พระราชดาริกาหนด
กิจกรรมท่ี 2 แนะนา ส่งเสริมและติดตามสมาชิกท่ีเข้าร่วมโครงการขยายผลการนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้นาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชไ้ ด้อยา่ งต่อเนื่อง
กิจกรรมท่ี 3 คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้และสามารถเป็นแบบอย่างได้ ตามแนวทางโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทกี่ องประสานงานโครงการพระราชดารกิ าหนด
กิจกรรมท่ี 4 รายงานผลการดาเนินงานตามแบบรายงานท่ีกองประสานงานโครงการพระราชดาริ
กาหนด
3. ตวั ช้วี ัด :
เชิงปริมาณ
ส่งเสรมิ การดาเนนิ งานตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในระดับองค์กรและระดบั สมาชิกจานวน 5
แห่ง
เชิงคุณภาพ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีกจิ กรรมการดาเนินงานทส่ี อดคล้องกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการบรหิ ารจัดการธุรกจิ หรอื กิจกรรมต่างๆทงั้ ในระดบั องค์กรและ
ระดับสมาชิก
4. ผลลัพธ์ :
ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ
ไดแ้ นะนาส่งเสริมการดาเนนิ งานตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในระดับองค์กรและระดับสมาชิก
จานวน 5 แหง่ ได้แก่
1. สหกรณก์ ารเกษตรวาปีปทุม จากดั
2. สหกรณก์ ารเกษตรกนั ทรวิชัย จากดั
WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 39
3. สหกรณก์ ารเกษตรศรชี ืน่ ชม จากัด
4.สหกรณก์ ารเกษตรโกสุมพิสัย จากดั
5 สหกรณ์การเกษตรพยัคฆภูมพิ สิ ัย จากัด
ผลลพั ธเ์ ชิงคณุ ภาพ
สหกรณ์ท้ัง 5 แห่งได้จัดทาแผนบริหารงานสหกรณ์โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ดาเนินงาน พร้อมทัง้ สมาชิกสหกรณไ์ ดน้ าหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ น ในการดาเนินชวี ิต
5. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข
-
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 40
โครงการเกษตรทฤษฎใี หม่
1. ผลสาเร็จของงาน
สานักงานสหกรณ์จังหวัด ดาเนินการตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทาหน้าที่เป็นพ่ี
เลย้ี งในการแนะนา สง่ เสรมิ เกษตรกรเปาู หมายสามารถดาเนนิ กิจกรรมเกษตรทฤษฎใี หม่ให้ได้อย่างย่ังยนื
2. กิจกรรม :
กิจกรรมที่ ๑ ประสานงาน ติดตาม และตรวจเย่ียมการดาเนินโครงการส่งเสริมการเกษตรตาม
แนวทางทฤษฎใี หมใ่ นสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตร
กจิ กรรมที่ 2 แนะนา ส่งเสริมเกษตรกรท่ีได้รับการคัดเลือกเป็นจุดเรียนรู้ให้สามารถดาเนินกิจกรรม
ไดต้ ามวัตถุประสงค์
กิ จ ก ร ร ม ที่ 3 บั น ทึ ก ข้ อ มู ล เ ก ษ ต ร ก ร เ ปู า ห ม า ย ใ น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ๕ ป ร ะ ส า น ฯ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณใ์ ห้ถูกตอ้ งครบถ้วนเป็นปัจจุบัน
กิจกรรมที่ 4 รายงานผลการดาเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดาริ
กาหนด
3. ตวั ชวี้ ดั :
เชิงปริมาณ
-
เชิงคุณภาพ
พัฒนาให้มีแปลงต้นแบบในตาบล เพ่ือเป็นจุดเรียนรู้หรือแหล่งศึกษาดูงานแก่เกษตรกรอื่นหรือผู้ท่ี
สนใจ จึงไดใ้ หแ้ ตล่ ะหนว่ ยงานคดั เลอื กจุดเรยี นรู้ โดยมีสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเป็นเจ้าภาพหลักใน
การคดั เลอื กเปูาหมายเกษตรกรทมี่ ีคุณสมบัติตรงตามที่กาหนด
4. ผลลพั ธ์ :
ผลลัพธ์เชิงปริมาณ
-
ผลลัพธเ์ ชิงคณุ ภาพ
สามารถพัฒนาให้มีแปลงต้นแบบในตาบล เพื่อเป็นจุดเรียนรู้หรือแหล่งศึกษาดูงานแก่เกษตรกรอ่ืน
หรือผ้ทู ี่สนใจ จงึ ไดใ้ หแ้ ต่ละหนว่ ยงานคัดเลือกจุดเรยี นรู้ โดยมีสานกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเป็นเจ้าภาพ
หลักในการคดั เลือกเปาู หมายเกษตรกรทีม่ ีคณุ สมบัติตรงตามท่ีกาหนดได้
5. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข
-
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานประจาปี (Annual Report) 256๔ | 41
โครงการคลนิ กิ เกษตรเคล่ือนท่ีในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม
มกุฎราชกมุ าร
1. ผลสาเรจ็ ของงาน
ให้ความรดู้ า้ นการจดั ตงั้ สหกรณ์ การรวมกลุ่ม การออม ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวกับ การสหกรณ์แก่
เกษตรกรและประชาชนทวั่ ไป
2. กจิ กรรม :
จัดให้มีนทิ รรศการใหค้ วามรู้ ใหค้ าปรกึ ษา ให้คาแนะนาดา้ นการจัดต้ังสหกรณ์ การรวมกลุ่ม การออม
ตลอดจนกฎหมายทเ่ี กีย่ วกับการสหกรณ์แก่เกษตรกรและประชาชนทวั่ ไป
3. ตวั ชวี้ ัด :
เชิงปริมาณ
ให้ความรู้ ให้คาปรึกษา ให้คาแนะนาด้านการจัดตั้งสหกรณ์ การรวมกลุ่ม การออม ตลอดจน
กฎหมายที่เกี่ยวกบั การสหกรณแ์ ก่เกษตรกรและประชาชนทัว่ ไป จานวน 12 ครัง้
เชงิ คุณภาพ
ให้ความรู้ ให้คาปรึกษา ให้คาแนะนาด้านการจัดต้ังสหกรณ์ การรวมกลุ่ม การออม ตลอดจน
กฎหมายทเี่ กี่ยวกับการสหกรณ์แกเ่ กษตรกรและประชาชนทว่ั ไป
4. ผลลัพธ์ :
ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ
ให้ความรู้ ให้คาปรึกษา ให้คาแนะนาด้านการจัดต้ังสหกรณ์ การรวมกลุ่ม การออม ตลอดจน
กฎหมายทเ่ี กี่ยวกับการสหกรณแ์ ก่เกษตรกรและประชาชนทว่ั ไป จานวน 4 ครั้ง
ผลลัพธเ์ ชิงคณุ ภาพ
สามารถให้ความรู้ ให้คาปรกึ ษา ให้คาแนะนาดา้ นการจดั ตงั้ สหกรณ์ การรวมกลุ่ม การออม ตลอดจน
กฎหมายที่เก่ยี วกบั การสหกรณแ์ ก่เกษตรกรและประชาชนท่ัวไปได้
5. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดาเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข
เกิดปัญหา COVID-19 จังหวัดมหาสารคามจึงให้ชะลอการจัดงานไปก่อนจนกว่าสถานการณ์จะ
คลคี่ ลาย
WE ARE HOPE เรา คอื ความหวังของเกษตรกร