The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ ประสบการณ์ภาคสนามเวชศาสตร์ชุมชน 1
CMD211 ปีการศึกษา 2562 - 2563 นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 30

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sopha Chaimut, 2019-10-24 05:16:51

คู่มือ ประสบการณ์ภาคสนามเวชศาสตร์ชุมชน 1

คู่มือ ประสบการณ์ภาคสนามเวชศาสตร์ชุมชน 1
CMD211 ปีการศึกษา 2562 - 2563 นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 30

แผนพฒั นาเศรษฐกิจแห่งชาติ Non-communicable disease (NCD)

• นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ตงั้ แต่แผนพฒั นาเศรษฐกิจ • Noncommunicable disease โรคไมต่ ดิ ตอ่
แห่งชาตฉิ บับท่1ี 0 (2550-2554) • ประเทศไทยมีผู้เสียชวี ิตจาก NCD 350,000 ราย /ปี
= 71 % ของคนเสียชวี ติ
• แผนพฒั นาเศรษฐกิจ แห่งชาติฉบบั ท่1ี 1 (2554-2558)
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แห่งชาตฉิ บับท่ี12 (2559-2563)

 เน้นเร่ืองอตั ราการตายของเด็กและทารก อัตราตายของมารดา
 การป้ องกนั และควบคุมโรคติดต่อท่สี าคญั
 ลดอบุ ัตกิ ารณ์ อตั ราการตาย ความพกิ าร NCD : DM, Heart

disease, Stroke, cancer, COPD, trauma etc.

การส่งเสริมสุขภาพและป้ องกนั โรค
แบ่งตามกล่มุ อายุ

หญงิ วยั เดก็ - วยั ทางาน วยั สงู อายุ
ตงั้ ครรภ์ วยั รุ่น 18-60 ปี > 60 ปี
และทารก 0-18 ปี

46

47

48

49

50

51



ระบบบรกิ ารสุขภาพของไทย

52

การแบ่งเขตบริการสุขภาพ

ระบบบริการสขุ ภาพไทย • ภูมภิ าคแบ่งเป็ น 12 เขต

• เขตท่ี 13 กรุงเทพมหานคร

รวม 13 เขต

ประโยชน์

รศ.พญ. วราภรณ์ แสงทวีสิน • โรงพยาบาลแมข่ า่ ย-ลกู ขา่ ย
ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกนั และสงั คมและเวชศาสตร์ชมุ ชน
• ระบบการสง่ ตอ่ -สง่ กลบั
2 พฤศจิกายน 2562
• การพฒั นาศักยภาพในเครือข่าย

• การบริหารจัดการทรัพยากรในเครือข่าย

13 • บคุ ลากร
• อุปกรณก์ ารแพทย์

• งบประมาณ

ระบบบริการสุขภาพ ภูมภิ าค 12 เขต การบริการสุขภาพของสถานพยาบาล

รพ.ศูนย(์ A) ตตยิ ภมู ิ (Tertiary care)

รพ.ทว่ั ไป(S) ทุตยิ ภูมิ 1.ส่งเสริมสุขภาพ 2.ป้ องกนั โรค
รพ.ทวั่ ไปขนาดเลก็ (M1) Secondary care 3.รักษาพยาบาล 4.ฟื้นฟูสขุ ภาพ

รพช.แม่ขา่ ย(M2) ปฐมภมู ิ Primary care
รพช ขนาดใหญ่ (F1)
รพชขนาดกลาง (F2)
รพช ขนาดกลาง (F3)

ศูนย์สขุ ภาพชมุ ชนเมือง สาธารณสุขอาเภอ รพสต.

53

ระบบบรกิ ารสุขภาพ เป้ าหมายสุขภาพแบ่งตามกลุ่มอายุ

คุณลกั ษณะระบบบริการ เป้ าหมายต่อสุขภาพประชาชน หญงิ วยั เด็ก- วยั ทางาน วัยสงู อายุ
ตงั้ ครรภ์ วัยรุ่น 18-60 ปี > 60 ปี
• คณุ ภาพ • สขุ ภาพ กาย ใจ สงั คม จติ วญิ ญาณ และทารก 0-18 ปี
• มาตรฐาน • ลดป่ วย
• พฒั นาศกั ยภาพ • ลดตาย
• ระบบสง่ ตอ่ (Lean & • ลดความพกิ าร
• ลดการรอคอย
seamless) • การเข้าถึงบริการ
• เทา่ เทียม
• ใช้ทรัพยากรค้มุ คา่ • ลดคา่ ใช้จา่ ย

54



การวนิ จิ ฉัยอนามัยชมุ ชน

55

การวนิ จิ ฉัยชมุ ชน (Community Diagnosis)

ศ.พญ.ชุติมา ศิริกุลชยานนท์

การวินิจฉยั ชุมชน (Community Diagnosis) เป็นกระบวนการในการประเมินสภาวะสุขภาพ
ชุมชน ปัญหาสาธารณสขุ ในชุมชนน้ันและปจั จยั ท่ีเกย่ี วข้องกับสุขภาพอย่างเปน็ ระบบ ซึ่งรวมถึงการใช้สถิติชีพ
และสถิติและขอ้ มลู ข่าวสารที่เก่ียวขอ้ งดา้ นสขุ ภาพ เพอื่ การแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพชมุ ชน

บางคร้ังจะเรยี กชอื่ แตกต่างกันออกไป เช่น การศึกษาชุมชน (Community study) การประเมิน
ชมุ ชน (Community Assessment) เปน็ กระบวนการในการพรรณนาชมุ ชน ได้แก่ รปู แบบของการป่วยและ
การตาย วัตถุประสงค์เพอื่ ระบปุ ญั หาและปจั จยั ทเ่ี กี่ยวข้องหรือเปน็ สาเหตขุ องปญั หาน้นั
การดาเนนิ งานวนิ จิ ฉัยชมุ ชน

ข้นั ตอนการวินิจฉยั ชมุ ชน ประกอบดว้ ย

Data Collection

Data Analysis

Problem Identification

Problem Analysis

Priority Setting

1. การรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เปน็ การประมวลขอ้ มลู ทั่วไปของชุมชน และข้อมูลท่ีสาคัญ
คอื สภาวะสุขภาพของชุมชน ปัจจัยต่างๆในชมุ ชนทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการเกดิ ปัญหาสุขภาพในชุมชนนั้น

2. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล (Data Analysis) เปน็ การนาขอ้ มูลท่รี วบรวมได้มาคานวณค่าตัวชี้วัด (Indicator)
โดยใช้ การวัด (Measurement) ทเ่ี หมาะสม เพอ่ื แสดงสภาวะสุขภาพของชุมชนและปัจจัยต่างๆ ใน
ชุมชนที่เก่ียวข้องกับการเกิดปัญหาสขุ ภาพชุมชนน้ัน

3. การระบุปัญหา (Problem Identification) เปน็ การพจิ ารณาสภาวะสขุ ภาพของชุมชนว่า สภาวะใด
เปน็ ปญั หาทตี่ ้องดาเนินการแก้ไข และแสดงลกั ษณะการกระจาย (Distribution) ของปัญหาสุขภาพ
น้ัน

56

4. การวเิ คราะห์ปัญหา (Problem Analysis) เป็นการพจิ ารณาปจั จัยที่เก่ียวข้อง (Determinant) ของ
ปญั หาสขุ ภาพที่ตอ้ งแก้ไข และแสดงภาพสรปุ ของปัจจัยท่เี กย่ี วข้องกับการเกดิ ปัญหาสุขภาพด้วย โยง
ใยแหง่ เหตขุ องปัญหาสขุ ภาพ (Web of Causation)

5. การจดั ลาดบั ความสาคัญของปญั หา (Priority Setting) เปน็ การพิจารณาจัดลาดับความสาคัญของ
ปัญหาสขุ ภาพทตี่ อ้ งแก้ไข เพือ่ นามาใช้ในการตดั สินใจว่าปญั หาสุขภาพใดมคี วามเหมาะสม ท่ีจะนามา
แกไ้ ขเป็นลาดับกอ่ นหลัง

Priorities setting of health problem วิเคราะหโ์ ดยพจิ ารณาจากตัวแปร ต่อไปน้ี
1) ขนาดของปญั หา (size of problem) ประชากรทีถ่ ูกกระทบจากปัญหา ถ้ามปี ระชากรที่ได้รับผล

จากปัญหามากควรได้การจัดลาดบั ความสาคญั สงู กวา่ เพราะขนาดปัญหาใหญ่
2) ความรุนแรงของปญั หา (severity of problem) หมายถึง ปัญหาท่ีเกิดข้ึนเป็นปัญหาที่มีความ

รุนแรงหรอื เร่งดว่ นท่จี ะตอ้ งแก้ไข
3) ความยากง่ายในการแก้ปัญหา (feasibility or ease) เชน่ ข้อจากดั ทางวิชาการ ขอ้ จากัดทางการ

บริหารจดั การ ขอ้ จากดั ดา้ นเวลา หรอื จานวนทรัพยากรทีต่ ้องใช้ในการแก้ปัญหา ปัญหาท่ีแก้ได้
ง่ายหรอื มแี นวโนม้ ในการแกป้ ญั หาท่ีดีควรได้จัดลาดบั ความสาคญั สูงกว่า
4) ความตระหนักของชุมชน (Community concern) การยอมรับหรือความร่วมมือในการ
แก้ปัญหา ปัญหาท่ีชุมชนตระหนักและให้ความร่วมมือดาเนิน การแก้ไข ควรจะจัดลาดับ
ความสาคญั สงู กวา่
5) ผลกระทบในระยะยาว (Impact) ปัญหาที่มีผลกระทบในระยะยาวมากกว่า ควรจะจัดลาดับ
ความสาคญั สูงกว่า การใหน้ า้ หนักหลกั เกณฑห์ รือตัวแปรตา่ ง ตามลาดบั 5, 4, 3, 2, 1

การศกึ ษาเกี่ยวกับการบริการสขุ ภาพของชุมชนนั้น ควรศกึ ษาใน 4 ประเดน็ ไดแ้ ก่
ก. การมอี ยขู่ องบรกิ าร (Availability) ศึกษาว่า มีการบรกิ ารสขุ ภาพน้ันอยู่ในชุมชนน้ัน หรือในชุมชน
ใกลเ้ คียง หรอื ไม่
ข. การเข้าถึงบรกิ าร (Accessibility) ศกึ ษาว่า ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีอยู่น้ันได้
หรอื ไม่ อุปสรรคในการเขา้ ถงึ บรกิ ารสุขภาพ ได้แก่ ระยะทาง และระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางจากท่ี
อยถู่ ึงสถานบรกิ ารสขุ ภาพ ตลอดจนระยะเวลาทใ่ี ช้ในการรอคอยเพอื่ รับบริการสุขภาพ
ค. การยอมรับในบริการ (Acceptability) ศึกษาวา่ ประชาชนยอมรับบริการสุขภาพนั้นหรือไม่ การ
ยอมรับนีม้ คี วามหมายรวมถงึ การยอมรับในสถานบริการ ตัวบคุ คลผูใ้ ห้บริการ ตัวบุคคลผู้ให้บริการ
เทคนิคการให้บริการ และผลสาเร็จของบรกิ าร
ง. การใชจ้ ่ายเพอ่ื บรกิ าร (Affordability) ศึกษาว่า ประชาชนสามารถจา่ ยเงินหรือส่ิงตอบแทนอ่ืน เพือ
ซื้อบรกิ ารสขุ ภาพได้หรือไม่ ท้ังนีร้ วมทงั้ คา่ ใช้จ่ายอ่ืนทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การไปรับบริการ เช่น ค่าโดยสาร
ยานพาหนะ

57

การวนิ ิจฉยั ชุมชน Content
(Community Diagnosis)
o การวินจิ ฉัยชุมชน หมายถึง
ศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญงิ ชุติมา ศิริกลุ ชยานนท์ o วตั ถปุ ระสงค์
ภาควิชาเวชปอ้ งกันศาสตรแ์ ละสังคม o การดาเนนิ งานวนิ ิจฉัยชุมชน
o การรวบรวมข้อมลู
วทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รงั สิต o การวเิ คราะห์ข้อมูล
o การระบปุ ัญหา
o การวเิ คราะห์ปญั หา
o การจดั ลาดับความสาคญั ของปัญหา
o การบรกิ ารสขุ ภาพของชมุ ชน

การวินจิ ฉยั ชมุ ชน การวนิ จิ ฉยั ชุมชน
(Community diagnosis)
• การศึกษาชมุ ชน (Community study)
• เปน็ กระบวนการในการประเมนิ สภาวะ • การประเมินชมุ ชน (Community Assessment) เปน็ กระบวนการใน
สุขภาพชมุ ชน
การพรรณนาชมุ ชน ได้แก่ รูปแบบของการป่วยและการตาย
• ปัญหาสาธารณสขุ ในชมุ ชน วัตถุประสงคเ์ พ่ือระบปุ ัญหาและปัจจัยที่เกย่ี วขอ้ งหรอื เปน็ สาเหตุของ
• ปจั จัยท่เี กยี่ วขอ้ งกับสขุ ภาพอย่างเป็นระบบ ปญั หานั้น

ซ่ึงรวมถงึ การใช้สถติ ชิ ีพและสถิติและข้อมูล
ข่าวสารทเ่ี ก่ียวข้องดา้ นสุขภาพ
• เพอ่ื การแก้ไขปัญหาและพัฒนาสขุ ภาพชมุ ชน

58

การดาเนินงานวินจิ ฉยั ชมุ ชน การรวบรวมข้อมูล (Data Collection)

Data Collection • การประมวลขอ้ มูลท่ัวไปของชมุ ชน
Data Analysis • ข้อมลู ทสี่ าคญั คือ สภาวะสุขภาพของชุมชน
Problem Identification • ปจั จยั ต่างๆในชมุ ชนทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการเกดิ ปัญหาสุขภาพในชมุ ชน
Problem Analysis
การวเิ คราะหข์ ้อมูล (Data Analysis)
Priority Setting
• การนาขอ้ มลู ท่ีรวบรวมไดม้ าคานวณค่าตวั ช้วี ดั (Indicator) โดยใช้
การวดั (Measurement) ทเ่ี หมาะสม

• เพ่ือแสดงสภาวะสขุ ภาพของชุมชนและปจั จัยต่างๆ ในชมุ ชนที่
เก่ียวขอ้ งกับการเกิดปญั หาสขุ ภาพชมุ ชน

59

การระบปุ ญั หา การวเิ คราะห์ปญั หา
(Problem Identification) (Problem Analysis)

• การพจิ ารณาสภาวะสุขภาพของชมุ ชนว่า สภาวะใดเปน็ ปญั หาที่ • การพิจารณาปัจจัยทเ่ี กีย่ วข้อง (Determinant) ของปญั หาสุขภาพ
ตอ้ งดาเนนิ การแกไ้ ข ท่ตี ้องแก้ไข

• แสดงลักษณะการกระจาย (Distribution) ของปญั หาสุขภาพ • แสดงภาพสรุปของปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิดปัญหาสุขภาพดว้ ย
โยงใยแหง่ เหตขุ องปญั หาสขุ ภาพ (Web of Causation)

Web of Causation “ overweight among young people การจัดลาดับความสาคัญของปัญหา (Priority Setting)

• การพจิ ารณาจัดลาดบั ความสาคัญของปัญหาสขุ ภาพทต่ี ้องแกไ้ ข
• เพื่อนามาใชใ้ นการตดั สนิ ใจ
• ปัญหาสุขภาพใดมคี วามเหมาะสม ท่จี ะนามาแกไ้ ขเป็นลาดับ

ก่อนหลัง

60

Priorities setting of health problem

• size of problem
• severity of problem
• feasibility or ease
• Community concern
• Impact
• ความสาคญั มาก..-> น้อย 5, 4, …1

การบรกิ ารสุขภาพของชมุ ชน

• การมีอยขู่ องบรกิ าร (Availability)
• การเขา้ ถึงบรกิ าร (Accessibility)
• การยอมรบั ในบรกิ าร (Acceptability)
• การใช้จ่ายเพ่ือบรกิ าร (Affordability)

61



ภารกจิ ภาคสนามของนักศกึ ษา

62

ภารกจิ ภาคสนามของนกั ศึกษา

ผศ.พญ.วราภรณ์ แสงทวสี ิน

1. สารวจสุขภาพอนามยั ของคนในชุมชนชนบท ค้นหาโรค/ปญั หาสขุ ภาพทสี่ าคญั ท่ีพบ
2. เรยี นรูก้ ารดาเนนิ ชีวิต พฤติกรรม ของประชาชนในชุมชนชนบทรวมทั้งวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม

ประเพณี อาชีพ เศรษฐกิจ สงิ่ แวดล้อมด้านกายภาพ ดา้ นสังคมที่มผี ลตอ่ สุขภาพ การเจ็บป่วย การเกิด
โรคของคนในชมุ ชน
3. ศึกษาระบบบริการสาธารณสุขของรฐั ในการสร้างเสรมิ สุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค และการ
รักษาพยาบาลเบ้อื งตน้ ในชุมชนและการส่งตอ่ รกั ษาโรงพยาบาลบุคลากรที่เกย่ี วขอ้ ง เชน่ แพทย์ พยาบาล
ทันตาภิบาล สาธารณสุขอาเภอ บทบาทของอาสาสมคั รหมู่บ้าน ผู้นาชุมชน เช่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน
องคก์ ารบริหารส่วนตาบล ฯลฯ
4. การศกึ ษาดงู าน

- โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล
- โรงพยาบาลชัยบาดาล
5. กิจกรรมเย่ยี มผปู้ ่วยทบี่ า้ น (Home health care) กบั ทีมงานของโรงพยาบาลโคกเจริญ
6. การบรกิ ารวิชาการสงั คม
6.1 โครงการการสรา้ งเสริมสุขภาพชุมชนโคกเจรญิ อ.โคกเจริญ จ.ลพบรุ ี
6.2 การสอนสุขศกึ ษาสาหรับประชาชนในชุมชน (นักศึกษา 1 เร่ืองต่อทีม) วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.
2562
7. สรุปประสบการณภ์ าคสนามวิชาเวชศาสตรช์ ุมชน 1 ของนักศึกษาแพทย์ นาเสนอผลงานด้วย Power
point เปน็ รายทีม วนั ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
8. การบนั ทกึ สะท้อนการเรยี นรู้ (Learning reflection) ส่งงานเป็นรายบุคคล วันท่ี 9 พฤศจิกายน พ.ศ.
2562

63

ภารกจิ ภาคสนามของนักศกึ ษา ภารกจิ ภาคสนามของนักศึกษา

ภารกิจภาคสนามของนักศกึ ษา 1. สารวจ สขุ ภาพ อนามัย ของคนในชมุ ชนชนบท ค้นหาโรค/ปัญหาสขุ ภาพทส่ี าคญั
2. เรียนร้ปู ัจจยั ท่มี ีผลต่อสขุ ภาพ : การดาเนนิ ชีวติ พฤติกรรม วฒั นธรรม
4. ศกึ ษาดงู าน
- โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล (ภาคผนวก หนา้ 119) ขนบธรรมเนียม ประเพณี อาชีพ เศรษฐกิจ สง่ิ แวดล้อมด้านกายภาพและสงั คม
- โรงยาบาลชยั บาดาล (ภาคผนวก หน้า 120) 3. ศึกษาระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ

5. กิจกรรมเยย่ี มผ้ปู ่ วยท่บี า้ น (Home health care) กับทมี งานของโรงพยาบาลโคกเจรญิ - การสร้ างเสริมสขุ ภาพ การป้ องกนั โรค การควบคุมโรค การรักษาพยาบาล
6. การบรกิ ารวชิ าการสงั คม และการฟืน้ ฟสู ขุ ภาพในชุมชนชนบท
- การสง่ ต่อรักษาโรงพยาบาล
6.1 โครงการการสร้ างเสริมสุขภาพชุมชนโคกเจริญ อ.โคกเจริญ จ.ลพบรุ ี - บคุ ลากรสาธารณสขุ : แพทย์ พยาบาล ทันตาภบิ าลสาธารณสขุ อาเภอ
6.2 การสอนสุขศึกษาสาหรับประชาชนในชมุ ชน (นกั ศึกษา 1 เรื่องต่อทมี ) วนั ท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 - บทบาทของอาสาสมคั รหมู่บ้าน ผ้นู าชุมชน กานัน ผ้ใู หญบ่ ้าน องคก์ ารบริหารสว่ น
7. สรุปประสบการณ์ภาคสนามวชิ าเวชศาสตร์ชมุ ชน 1 ของนกั ศกึ ษาแพทยเ์ ป็ น รายทมี นาเสนอผลงานด้วย ตาบล ฯลฯ
PowerPoint วันท่ี 8 พฤศจกิ ายน. พ.ศ. 2562
8. การบนั ทกึ สะท้อนการเรียนรู้ (Learning reflection) สง่ งานเป็ นรายบุคคล วนั ที่9 พฤศจิกายน. พ.ศ. 2562 โครงการสร้างเสริมสุขภาพชุมชนบ้าน โคกเจริญ

อาเภอโคกเจริญ จงั หวดั ลพบรุ ี
4-7 พฤศจิกายน 2562

64

กล่มุ เป้ าหมาย ประโยชน์
ประชนในชุมชน ต.โคกเจริญ อ.โคกเจรญิ จ.ลพบุรี จานวน 100 คน
ผ้เู ข้าร่ วมโครงการ
กจิ กรรม 1. ทราบภาวะโภชนาการของตนเองวา่ ปกติ หรือมภี าวะเส่ียงตอ่ โรค NCD
1. ประเมนิ ภาวะโภชนาการ : นา้ หนกั ส่วนสูง เส้นรอบเอว 2. ทราบผลตรวจคัดกรองปัญหาหนอนพยาธิ
ค่าดชั นมี วลกาย (อ้วน สมส่วน ผอม) 3. ได้รับการรักษาโดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย
2. ตรวจอุจจาระ คดั กรอง หนอนพยาธิ
3. ให้การรกั ษาหนอนพยาธิ ต่อสังคม
4. ให้ความรู้สุขศึกษา ปญั หาโภชนาการ และโรคพยาธิ ท่พี บในชมุ ชน 1. คนในชมุ ชนตระหนกั รู้ด้านโรคทางโภชนาการ และการป้ องกัน
2. นศพ.ได้เรียนรู้กระบวนการศกึ ษาในชมุ ชนและสร้ างความตระหนัก
การประเมินผล 3. รพสต.สามารถให้การตดิ ตามดแู ล ส่งเสริมรักษาคนในชมุ ชนทีม่ ีปัญหา
ตอ่ เน่อื งจากโครงการ
1. มีผู้เข้ารว่ มโครงการไมน่ ้อยกว่า 80 %
2. ประชาชนท่ตี รวจพบหนอนพยาธิได้รบั การรกั ษา 100 % ผู้รับผิดชอบโครงการ
3. ความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
1. รศ.พญ.วราภรณ์ แสงทวสี ิน วทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ ม.รงั สิต

2. ผศ.นพ.ธีระ กุศลสุข คณะเวชศาสตรเ์ ขตร้อน ม.มหดิ ล

65

วิชา CMD 211 (ปี การศกึ ษา 2562 - 2563) เอกสารหมายเลข 7 นน. 80 กก ดชั นมี วลกาย
สงู 170 ซม. Body mass index( BMI)
ตารางบนั ทกึ สุขภาพสมาชิกในครอบครัว
22
นักศกึ ษาแพทย์ กลมุ่
Weight(kg)/ Height(m) = 80/(1.7)
บ้านคุณ บ้านเลขท่ี หมู่ท่ี = 27.68

ลาดบั ชือ่ – สกุล อายุ นา้ หนัก ส่วนสูง รอบ BP BMI โรค Stool < 18.5 Europe < 18.5 Asean
ที่ (กก.) (ซม.) เอว (มม. ประจาตวั exam 18.5-24.9 underweight 18.5-22.9 underweight
(ซม.) ปรอท) 25.0-29.9 normal 23.0-24.9 normal
> 30 over weight > 25 over weight
obesity obesity

BMI 25-29.9 อ้วนระดับ 1, BMI > 30 อ้วนระดบั 2

1. นา้ หนัก: ให้ช่งั นา้ หนกั ปัจจบุ ัน
2. ส่วนสงู : ผ้ใู หญ่ให้ดูจากบัตรประชาชนได้

66

การประเมนิ ภาวะโภชนาการในเดก็ ดช.อวบ
เส้นรอบวงเอวและความดันโลหติ ในผ้ใู หญ่ นน. 60 กก.
สงู 150 ซม.
ศาสตราจารย์แพทย์หญิงชตุ มิ า ศิริกุลชยานนท์
ภาควิชาเวชป้ องกนั ศาสตร์และสงั คม เส้นรอบวงเอวในผู้ใหญ่

วทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รงั สิต o คดั กรอง วธิ ีการวดั
- ภาวะอ้วนลงพุง
ดญ.ส้ม - ภาวะนา้ หนกั เกนิ
นน. 40 กก.
สงู 150 ซม. - โรคอ้วน
o ติดตามผลการลดนา้ หนกั

67

68



กิจกรรมเยย่ี มผปู้ ่วยที่บา้ น
(Home health care)

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

การประเมินความสามารถในการทากจิ วตั รประจาวนั
(The Barthel index of activities of daily living)

คะแนน

1 Feeding (รบั ประทานอาหารเม่ือเตรียมสารับไวใ้ หเ้ รียบร้อยตอ่ หนา้ ) 

 0 ไม่สามารถตักอาหารเขา้ ปากได้ ตอ้ งมีคนปอ้ นให้

 1 ตักอาหารเองได้แตต่ ้องมีคนชว่ ย เช่น ชว่ ยใชช้ อ้ นตักเตรียมไวใ้ ห้หรือตัดเปน็ เลก็ ๆ ไวล้ ่วงหนา้

 2 ตกั อาหารและชว่ ยตวั เองได้เปน็ ปรกติ

2 Grooming (ลา้ งหนา้ หวผี ม แปรงฟนั โกนหนวด ในระยะเวลา 24-48 ช่วั โมงท่ีผ่านมา) 

 0 ต้องการความช่วยเหลือ

 1 ทาเองได้ (รวมทงั้ ทที่ าไดเ้ องถ้าเตรียมอปุ กรณ์ไว้ให้)

3 Transfer (ลุกน่งั จากที่นอน หรือจากเตียงไปยงั เกา้ อ้ี) 

 0 ไม่สามารถน่ังได้ (นัง่ แล้วจะล้มเสมอ) หรือต้องใชค้ นสองคนชว่ ยกนั ยกขึ้น

 1 ต้องการความช่วยเหลอื อยา่ งมากจงึ จะน่ังได้ เชน่ ตอ้ งใชค้ นท่ีแข็งแรงหรือมที กั ษะ 1 คน

หรือใชค้ นทั่วไป 2 คน พยงุ หรือดนั ขนึ้ มาจึงจะนัง่ อยู่ได้

 2 ตอ้ งการความช่วยเหลอื บ้าง เช่น บอกใหท้ าตาม หรอื ชว่ ยพยุงเลก็ นอ้ ย หรือต้องมคี นดูแลเพอื่

ความปลอดภยั

 3 ทาเองได้

4 Toilet use (ใชห้ อ้ งนา้ ) 

 0 ชว่ ยตวั เองไมไ่ ด้

 1 ทาเองไดบ้ า้ ง (อย่างน้อยทาความสะอาดตวั เองได้หลังจากเสร็จธรุ ะ) แต่ต้องการความช่วยเหลือ

ในบางส่ิง

 2 ชว่ ยตัวเองได้ดี (ขน้ึ น่ังและลงจากโถส้วมเองได้ ทาความสะอาดไดเ้ รียบร้อยหลงั จากเสร็จธรุ ะ

ถอดใส่เสื้อผ้าไดเ้ รยี บร้อย)

5 Mobility (การเคลอื่ นท่ีภายในห้องหรือบ้าน) 

 0 เคลอ่ื นท่ีไปไหนไมไ่ ด้

 1 ต้องใช้รถเขน็ ชว่ ยตัวเองให้เคลอื่ นท่ีได้เอง (ไมต่ ้องมีคนเขน็ ให)้ และจะต้องเข้าออกมุมหอ้ งหรือประตูได้

 2 เดนิ หรอื เคลือ่ นที่โดยมคี นช่วย เช่น พยงุ หรอื บอกให้ทาตาม หรือตอ้ งให้ความสนใจดแู ลเพื่อ

ความปลอดภัย

 3 เดินหรือเคล่ือนที่ได้เอง

6 Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า) 

 0 ต้องมีคนสวมใสใ่ ห้ ช่วยตัวเองแทบไมไ่ ดห้ รอื ไดน้ อ้ ย

 1 ชว่ ยตัวเองไดป้ ระมาณรอ้ ยละ 50 ทีเ่ หลือตอ้ งมคี นชว่ ย

 2 ช่วยตัวเองไดด้ ี (รวมทงั้ การตดิ กระดุม รดู ซิบ หรอื ใชเ้ สอื้ ผ้าท่ีดัดแปลงให้เหมาะสมก็ได)้

79

7 Stairs (การขึ้นลงบนั ได้ 1 ช้ัน) 
 0 ไม่สามารถทาได้ 
 1 ต้องการคนชว่ ย 
 2 ขึ้นลงไดเ้ อง (ถา้ ตอ้ งใชเ้ ครือ่ งชว่ ยเดิน เช่น walker จะต้องเอาขึน้ ลงได้ด้วย) 

8 Bathing (การอาบน้า)
 0 ต้องมีคนช่วยหรอื ทาให้
 1 อาบน้าได้เอง

9 Bowels (การกล้ันการถ่ายอจุ จาระในระยะ 1 สปั ดาหท์ ่ีผ่านมา)
 0 กล้ันไม่ได้ หรอื ตอ้ งการการสวนอจุ จาระอย่เู สมอ
 1 กลั้นไม่ไดบ้ างครั้ง (เป็นนอ้ ยกวา่ 1 คร้ังตอ่ สปั ดาห์)
 2 กลัน้ ไดเ้ ป็นปรกติ

10 Bladder (การกล้ันปัสสาวะในระยะ 1 สัปดาหท์ ่ีผ่านมา)
 0 กลน้ั ไมไ่ ด้ หรือต้องการการสวนปัสสาวะแต่ไม่สามารถดแู ลเองได้
 1 กล้ันไม่ไดบ้ างครั้ง (เป็นน้อยกว่าวนั ละ 1 ครั้ง)
 2 กลั้นไดเ้ ป็นปรกติ

คะแนนรวม 

การพจิ ารณา (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)
คะแนนรวม > 12 คะแนน เปน็ กลุ่มที่ 1 ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ และ/หรอื ชว่ ยเหลอื ผูอ้ นื่ ชุมชน และสงั คมได้
คะแนนรวม 5-11 คะแนน เป็น กลมุ ที่ 2 ช่วยเหลือะดูแลตนเองได้บ้าง
คะแนนรวม < 4 คะแนน เป็น กล่มุ ท่ี 3 ชว่ ยเหลือตังเองไมไ่ ด้

80



การเตรยี มตัว และขอ้ ปฎิบัติ
ระหว่างการฝกึ ภาคสนาม

81

การเตรียมตัวและข้อปฎิบัติระหวา่ งการฝกึ ภาคสนาม

ผศ.สุเทพ มงคลเลิศลพ

จุดเน้น

 การตรงตอ่ เวลา โดยเฉพาะเวลานดั หมายในการทากิจกรรมต่างๆ
 กริ ยิ า มารยาท วฒั นธรรมไทย คาพดู คาจาใหส้ ภุ าพเมอื่ พักอาศยั ในชมุ ชนและการดงู าน
 การทากจิ กรรมกลมุ่ งานท่ีรบั มอบหมาย
 การปฏบิ ตั ิต่อเพ่ือนนักศกึ ษา เช่น การจ่ายตลาด การทาอาหาร การรกั ษาความสะอาด การทา

ความสะอาดบ้านพัก
 การใชน้ ้า ใช้ไฟ อย่างประหยัดตามความเหมาะสม
 การปฏิบัตติ ่อคนในชมุ ชน : ชาวบ้าน เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ ผนู้ าชุมชน ฯลฯ
 การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
 การปฏบิ ตั ติ นตามข้อปฏิบตั ทิ ี่ภาควิชาเวชศาสตร์สังคมและป้องกนั ไดก้ าหนดไว้อยา่ งเคร่งครดั

การเตรยี มตวั

1. ยาทน่ี กั ศกึ ษาใชป้ ระจา ร่ม หมวกและไฟฉาย
2. อุปกรณ์เครื่องเขียนประจาตัว เชน่ ดนิ สอ ปากกา และสมุด
3. เครือ่ งแต่งกายระหว่างฝึกภาคสนามตอ้ งสุภาพและมิดชดิ ขณะไปศึกษาข้อมลู ท่ี รพสต. รพช.

ต้องสวมกางเกงขายาวที่สุภาพ และนกั ศึกษาทุกคนตอ้ งแตง่ เคร่ืองแบบนกั ศกึ ษาในวันดูงาน
โรงพยาบาลชัยบาดาล ในวนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2562
4. หา้ มนักศึกษาผหู้ ญิงนุ่งกางเกงขาส้ันและสวมใสเ่ สอื้ รัดรูป โดยเด็ดขาดระหว่างการฝกึ
ภาคสนาม
5. ไม่นาของมคี า่ ท่ีไมจ่ าเปน็ ตดิ ไป ในการฝึกภาคสนาม
6. นักศกึ ษาต้องนาบัตรประชาชน บตั รประกันอุบตั เิ หตุของมหาวทิ ยาลยั ไปด้วย ในกรณจี าเปน็

เครอื่ งนอนสนาม

นักศกึ ษาตอ้ งเตรียมเคร่ืองนอนสนามและผ้าห่มไปเอง ส่วนมงุ้ ทางวิทยาลยั จะจดั ใหน้ กั ศึกษา

82

ข้อปฎบิ ตั ิระหวา่ งฝกึ ภาคสนาม

นักศึกษาควรระลกึ เสมอวา่ ตนเองเป็นนักศกึ ษา ดว้ ยความกรุณาและเอ้อื เฟ้ือของชมุ ชน จึงทาให้
นักศกึ ษามโี อกาสเขา้ ศึกษาชมุ ชนโดยพักคา้ งในหม่บู า้ น ทัง้ นี้ เพื่อความปลอดภยั และเพื่อรกั ษาภาพลักษณ์ที่ดี
ทง้ั ของตนเองและของมหาวิทยาลัย จงึ ขอกาหนดข้อปฎบิ ัตใิ นขณะฝกึ ภาคสนาม ดงั น้ี

1. หา้ มดมื่ เครอ่ื งดืม่ ที่มีแอลกอฮอล์ ไมส่ บู บุหรีแ่ ละห้ามเลน่ การพนันทุกชนิด รวมทง้ั การใช้ไพเ่ ปน็
อปุ กรณใ์ นทุกกรณี

2. ไม่พดู คุยหรอื แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับการเมือง ศาสนา
3. ห้ามขบั ขหี่ รอื ซ้อนทา้ ยจักยานยนต์ หรือขออาศัยรถยนต์ผู้ใด แตถ่ ้ามีความจาเปน็ ต้องใช้รถยนตใ์ ห้

ติดต่ออาจารย์
4. ห้ามนักศึกษาออกนอกเขตหมู่บา้ นหรอื โรงแรมท่พี ักทีว่ ทิ ยาลัยจัดให้โดยเด็ดขาด แตถ่ ้าจาเป็นตอ้ งขอ

อนุญาตอาจารย์
5. ไมแ่ สดงกริยาทไี่ มส่ มควรตามวฒั นธรรมของหม่บู า้ นกับบคุ คลตา่ งเพศ ทั้งกบั เพอ่ื นและประชาชน
6. ไมร่ บั ประทานอาหารประจามอ้ื ท่ีบ้านอ่ืน ทไี่ ม่ใชบ่ ้านของพอ่ แมท่ ี่กาหนดให้พกั อาศัย
7. ไม่พกั คา้ งท่บี ้านอน่ื ทีไ่ มใ่ ช่บ้านของพอ่ แม่ในหมบู่ า้ นทีก่ าหนดให้พกั อาศยั
8. ไม่ออกนอกบ้านเวลากลางคืน (ตงั้ แต่ 20.00 น.) แต่ถา้ มคี วามจาเปน็ ต้องขออนุญาตอาจารย์
9. ไมว่ างท้ิงขอ้ มูลของประชาชนในที่เปิดเผย หรือนามาวจิ ารณเ์ ลน่ กัน
10. ไมล่ ะเลยต่อภารกจิ ของทีม ท้ังงานวชิ าการและงานในบา้ นพอ่ แม่ในหมบู่ า้ น
11. ไม่ละเลยต่อการมีมารยาทอันดีต่อชุมชน และเพือ่ น
12. ติดป้ายชื่อตลอดเวลา ขณะปฏิบตั ิงาน

กรณีทนี่ ักศกึ ษาไมป่ ฏิบัติตามข้อปฏิบัติขา้ งต้น นักศึกษาจะได้รับการประเมนิ ผลการเรยี น
ไม่ผา่ น และจะถูกส่งตวั กลบั ทันที

83



ลกั ษณะชุมชน หมูบ่ ้าน
และแผนทท่ี ้องที่ฝึกภาคสนาม

84

ลักษณะชมุ ชน หมู่บ้าน และแผนที่ทอ้ งที่ฝกึ ภาคสนาม

โครงการฝึกภาคสนามนักศึกษาแพทย์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรงั สติ
ณ พืน้ ทอ่ี าเภอโคกเจรญิ จังหวดั ลพบรุ ี

ผศ.สุเทพ มงคลเลิศลพ
ผศ.นพ.ธีระ กุศลสขุ

“อาเภอโคกเจริญ จงั หวดั ลพบุรี”

ความเปน็ มาของอาเภอโคกเจริญ
อาเภอโคกเจริญ เดิมเปน็ สว่ นหน่งึ ของอาเภอโคกสาโรง จังหวัดลพบุรี เน่ืองจากอาเภอโคกสาโรงมี

พน้ื ทก่ี ารปกครองกวา้ งขวางประกอบกับมีประชากรจานวนมาก บางตาบลอยู่ห่างไกลจากท่ีว่าการอาเภอ
การคมนาคมไม่สะดวก ทาให้เจ้าหน้าท่ีไม่สามารถดแู ลทุกข์สุขของประชาชนได้ทั่วถึง กระทรวงมหาดไทยได้
ประกาศจัดตัง้ กง่ิ อาเภอโคกเจรญิ ข้นึ ในวนั ที่ 9 มีนาคม 2530 โดยมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 5 ตาบล
เพอ่ื ประโยชน์ในการปกครองและอานวยความสะดวกให้กับประชาชนในพ้ืนที่ได้ทั่วถึง ต่อมาก่ิงอาเภอโคก
เจริญ ได้รับการยกฐานะให้เป็นอาเภอโคกเจรญิ เมอ่ื วันท่ี 3 พฤศจิกายน 2536

ปจั จบุ นั แบ่งเขตการปกครองออกเปน็ 5 ตาบล 53 หมู่บา้ น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง
ไดแ้ ก่

1. องค์การบรหิ ารส่วนตาบลโคกเจริญ ครอบคลมุ พนื้ ที่ตาบลโคกเจรญิ ท้งั ตาบล
2. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลยางราก ครอบคลุมพืน้ ทตี่ าบลยางรากทงั้ ตาบล
3. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหนองมะคา่ ครอบคลมุ พ้นื ท่ตี าบลหนองมะค่าทั้งตาบล
4. องคก์ ารบริหารส่วนตาบลวงั ทอง ครอบคลุมพ้นื ท่ีตาบลวงั ทองทัง้ ตาบล
5. องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโคกแสมสาร ครอบคลมุ พน้ื ที่ตาบลโคกแสมสารทัง้ ตาบล

สภาพท่วั ไป อาเภอโคกเจรญิ
2.1. ท่ตี ั้งพ้ืนที่
อาเภอโคกเจรญิ ตั้งอยทู่ างทิศเหนือของจงั หวัดลพบุรี อาคารทีว่ า่ การอาเภอโคกเจริญ ตั้งอยู่
หมทู่ ี่ 9 ตาบลโคกเจริญ อาเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดลพบุรี
ประมาณ 85 กโิ ลเมตร

85

เนื้อทแ่ี ละอาณาเขต
อาเภอโคกเจริญ มีเน้ือทปี่ ระมาณ 317.4 ตารางกโิ ลเมตร มีอาณาเขตตดิ ต่อ ดงั นี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอวเิ ชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ และอาเภอไพศาลี
จังหวดั นครสวรรค์

ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับ อาเภอหนองม่วง และอาเภอสระโบสถ์ จงั หวดั ลพบรุ ี
ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับอาเภอศรเี ทพ จังหวัดเพชรบรู ณ์ และอาเภอชยั บาดาล

จงั หวดั ลพบรุ ี
ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับอาเภอหนองมว่ ง จังหวดั ลพบรุ ี และอาเภอไพศาลี

จงั หวดั นครสวรรค์

86

ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพโดยทัว่ ไปของอาเภอโคกเจรญิ เปน็ ท่รี าบลุ่มสลบั กับทดี่ อน และมีภเู ขาท่วั ไปอยทู่ างทศิ ตะวันออก

พนื้ ท่เี หมาะสาหรับการปลกู พชื ไร่ ทาสวน ทานา

ลกั ษณะภูมิอากาศ อากาศรอ้ นจัด
ฤดรู ้อน มีฝนตกปานกลาง
ฤดูฝน มอี ากาศหนาวจดั และมลี มแรง
ฤดูหนาว

สภาพทางสังคม

ด้านการศกึ ษา

โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาของรัฐ 2 แหง่

โรงเรียนประถมศกึ ษาขยายโอกาส 4 แห่ง

โรงเรียนประถมศึกษาสงั กัด สพฐ. 8 แห่ง

โรงเรียนเอกชน 1 แห่ง

ดา้ นการสาธารณสขุ

โรงพยาบาลของรัฐ 1 แห่ง

รพ.สต. / สถานีอนามัย 5 แหง่

ศนู ย์สาธารณสขุ มลู ฐานชมุ ชน 53 แหง่

ดา้ นศาสนาและวัฒนธรรม

วัด 44 แห่ง

ประเพณที อ้ งถนิ่ ทส่ี าคัญ ได้แก่ ประเพณีบญุ บัง้ ไฟ

อาชพี

ได้แก่ เกษตรกรรม (ไร่อ้อย , ข้าวโพด , ขา้ ว , มนั สาปะหลัง , พริก และฝา้ ย)

การทอผา้ พ้นื เมือง

87

ประชากรของอาเภอโคกเจริญ

ตารางแสดง : จานวนประชากรแยกรายตาบล อาเภอโคกเจรญิ จงั หวัดลพบุรี ปี พ.ศ. 2558

ตาบล จานวน จานวน ชาย จานวนประชากร รวม
หม่บู า้ น หลังคาเรือน 3,960 หญิง 7,823
โคกเจริญ 3,800 3,863 7,615
ยางราก 12 2,350 1,638 3,815 3,291
หนองมะคา่ 12 2,389 1,317 1,653 2,656
วงั ทอง 9 1,237 1,720 1,339 3,470
โคกแสมสาร 8 946 12,435 1,750 24,855
8 876 12,420
รวม 53 7,798

ข้อมูลบคุ ลากรดา้ นสุขภาพอาเภอโคกเจริญ
ตารางแสดง : จานวนบุคลากรด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพอาเภอโคกเจริญ จาแนกตามกลุ่ม
วิชาชพี ปี พ.ศ. 2558

หน่วยงาน แพทย์ ทนั ต เภสชั กร พยาบาล นวก.สธ. จพ.สสช. จพ. อนื่ ฯ รวม
แพทย์ วิชาชีพ ทันตฯ

รพ.โคกเจรญิ 3 3 3 27 4 - 2 59 101

สสอ.โคกเจรญิ - - - - 4 2 -17

รพ.สต.ยางราก - - - 1 2 1 127

รพ.สต.หนองมะค่า - - - 1 - 2 115

รพ.สต.วังทอง - - - 1 1 1 -14

รพ.สต.บา้ นลาโปง่ เพชร - - - 1 1 - - - 2

รพ.สต.โคกแสมสาร - - - 1 2 - 115

รวม 3 3 2 32 14 6 5 65 131

88

พ้ืนท่ีฝึกปฏบิ ตั ิงานภาคสนามสาหรบั นศพ. ณ ต.โคกเจรญิ ประกอบด้วย
1. หมู่ท่ี 6 และหมูท่ ี่ 12 ตาบลโคกเจรญิ
2. หมู่ท่ี 4 ตาบลโคกแสมสาร

89



การสารวจชมุ ชน

90

การสารวจชมุ ชน

ผศ. นพ.ธีระ กศุ ลสุข

1. กาหนดหน้าทีข่ องสมาชิกทีมในการศึกษาชุมชน
1.1 ผมู้ ีหนา้ ทีร่ วบรวมขอ้ มลู ท่วั ไปของหมบู่ ้าน
1.2 ผูม้ ีหน้าทีร่ วบรวมขอ้ มลู จากบุคคลสาคญั ในหมู่บา้ น เชน่ ผใู้ หญ่บา้ น, อสม. เป็นตน้
1.3 ผ้มู หี นา้ ที่รวบรวมข้อมลู รายบ้านประชาชน
1.4 ผู้มีหน้าท่ปี ระมวลผลข้อมลู , เตรยี มการนาเสนอ และนาเสนอ

2. ขั้นตอนปฏบิ ัตงิ านศึกษาชุมชน
1. การออกปฏิบตั ิงานศกึ ษาชุมชนใหน้ กั ศกึ ษาจดั เป็นกลมุ่ ย่อย 3-4 คน ทุกคนในกลุ่มย่อยต้องช่วยกัน
และผลัดกนั ในการสัมภาษณ์ สังเกต และบันทึกข้อมลู
2. สารวจข้อมูลระดบั หมูบ่ า้ น และข้อมลู พ้นื ฐานรายบา้ น โดย
2.1 เดินสารวจสภาพทัว่ ไปของหมบู่ า้ นโดยใช้แผนท่ีหมู่บ้านประกอบ เช่น ท่ีต้ังบ้านเรือน, ถนน
และสาธารณูปโภค เป็นต้น
2.2 การสัมภาษณ์ และการสังเกต จากบคุ คลในหมู่บ้าน ไดแ้ ก่ ผใู้ หญบ่ ้าน, อสม., ส.อบต., ผู้อาวุโส
ในหม่บู า้ น และเจา้ ของรา้ นคา้ ในหม่บู า้ น
2.3 รวบรวมขอ้ มูลท่วั ไปรายบา้ น เชน่ ข้อมลู เบ้ืองต้นของบุคคลท่ีอยู่อาศัยในบ้านเรือนนั้น ข้อมูล
เบื้องตน้ ดา้ นพฤตกิ รรม และข้อมลู สงิ่ แวดล้อมของบ้านเรือนน้ัน
3. ในแต่ละวนั นกั ศึกษาควรมกี ารประชุมสรุปขอ้ มลู ที่ได้ แก่เพื่อนนักศึกษาในบ้านพักเดียวกัน, ในทีม
เดยี วกัน และในหมู่บ้านเดยี วกนั ตามโอกาสของเวลาทมี่ ี เพอื่ สรปุ รว่ มกันในงานที่ดาเนินไปแล้ว และ
กาหนดงานทต่ี ้องชว่ ยกนั ทาต่อไป
4. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาสามารถศึกษาชุมชนไดถ้ กู ต้องตามความจริง และมคี วามกระจ่างชัดในความจรงิ น้ัน
ขอเสนอใหน้ กั ศึกษาพจิ ารณาปฏิบัติ ดงั นี้
4.1 พจิ ารณาขอ้ มลู ทีไ่ ด้วา่ เปน็ ความจริงหรอื ไม่ โดยพิจารณาแหล่งข้อมูล และวธิ กี ารได้มา ซึ่งข้อมูล
นั้น เช่น ขณะสัมภาษณป์ ระชาชนน่งั กันอย่หู ลายคน โดยมญี าตขิ อง อสม.นัง่ อยดู่ ้วย ดังนั้น เมื่อ
ถามความคิดเหน็ เกย่ี วกบั การทางานของ อสม. ผใู้ หข้ อ้ มลู อาจไมพ่ ูดถึงด้านทตี่ นไม่พอใจ
4.2 ทาความเข้าใจในข้อมลู ทส่ี ารวจไดว้ ่าหมายถงึ อะไร เช่น จากการสัมภาษณ์ประชาชนได้ข้อมูล
ว่า “ไมม่ ีปญั หาสุขภาพ” ข้อมูลนเี้ ป็นความรบั รขู้ องประชาชนผ้นู ้ันทีเ่ ขา้ ใจว่าตนเองไม่มีปัญหา
สขุ ภาพ ซง่ึ อาจถูกตอ้ งหรือไมถ่ กู ต้องกไ็ ด้
4.3 พจิ ารณาคน้ หาข้อมูลตอ่ เนือ่ งจากข้อมูลที่ได้ เช่น จากการสังเกตพบว่าถงั ขยะข้างถนนมีขยะล้น
ออกมา จึงเกิดความสงสัยในระบบการจัดเก็บขยะของหมบู่ ้าน จงึ พยายามค้นหาข้อมูลต่อเนื่อง
ในเรือ่ งระบบการจัดเก็บและทาลายขยะ โดยพิจารณาก่อนว่าข้อมูลท่ีต้องการน้ันอยู่ที่ไหน

91

(แหล่งขอ้ มูล) และจะเอามาได้อยา่ งไร (วิธกี ารรวบรวมขอ้ มูลโดยการสัมภาษณ์ และ/หรือ การ
สังเกต)
5. การประมวลผลขอ้ มลู จากการศกึ ษาชมุ ชน และเตรยี มการนาเสนอ
5.1 เมือ่ ไดข้ อ้ มลู มาแลว้ ใหน้ ามาวิเคราะห์ (กรณีขอ้ มลู เชิงปริมาณ) เชน่ คานวณค่ารอ้ ยละ
5.2 ขอ้ มลู บางชนิดอาจเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น สภาพส่ิงแวดล้อมของชุมชน, ประวัติการ
เจ็บปว่ ย และประวัติการรักษาของประชาชน สามารถนาเสนอโดยการบรรยาย ข้อมูล
ประชาชนรายบคุ คล อาจนาเสนอเปน็ กรณศี กึ ษาโดยไมร่ ะบุชือ่ นามสกุล ของประชาชน
5.3 นาขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ มาประกอบกันเพื่ออธิบายสภาพท่ีศึกษาได้ตามหัวข้อ
ต่างๆ ที่กาหนดในภารกจิ ศึกษาชุมชน
5.4 กรณีปญั หาสุขภาพปัจจุบันที่สาคัญ นักศึกษาสามารถสรุปภาพรวมของปัจจัยในชุมชนที่
เก่ียวขอ้ ง กับการเกดิ ปญั หาสขุ ภาพนน้ั การวินจิ ฉยั ชมุ ชน ในคูม่ ือการฝึกภาคสนาม
5.5 การกาหนดแนวทางพัฒนาสุขภาพของชมุ ชน โดยการกาหนดโครงการท่ีเหมาะสมเพื่อแก้ไข
ปจั จัยในชุมชนท่ีสนับสนุนให้เกิดปัญหาสุขภาพ และโครงการท่ีเหมาะสมเพื่อเสริมความ
เข้มแขง็ ของปัจจัยในชมุ ชนทตี่ า้ นทานการเกิดปญั หาสขุ ภาพ
6. ในการศึกษาชุมชนน้นั มีประเด็นทข่ี อเสนอแนะใหน้ กั ศกึ ษาพจิ ารณานาไปปฏิบตั ิ ดังนี้
6.1 ขณะรวบรวมขอ้ มลู จะเป็นช่วงเวลาท่นี ักศกึ ษาไดใ้ กลช้ ดิ กับประชาชนท่ีนักศึกษาได้รู้จักเป็นครั้ง
แรก ดงั น้นั นักศึกษาตอ้ งระมดั ระวงั ภาษากายและภาษาพูด ให้อยู่ภายใต้หลักการ “อ่อนน้อม
ถอ่ มตน” และ “เอาใจเขามาใสใ่ จเรา” เช่น

- การไหว้และกล่าวสวสั ดีเมื่อพบกับประชาชน
- แนะนาตนเองและขอ้ มลู ทน่ี กั ศึกษาต้องขอความอนุเคราะห์จากประชาชน
- การไหว้และกลา่ วขอบคุณเมือ่ นักศึกษาไดข้ ้อมลู เรยี บร้อยแล้ว
- การไมย่ นื หรือน่งั ในตาแหนง่ ท่สี ูงกว่าผใู้ หญ่
- การไม่ถามคาถามท่เี ปน็ เร่อื งส่วนตัว หากจาเป็นตอ้ งถามก็ต้องกล่าวขอโทษกอ่ น
- การสังเกตวา่ ประชาชนสะดวกทจ่ี ะใหข้ ้อมลู ขณะนัน้ หรือไม่ ถ้าประชาชนยังไม่สะดวก

นกั ศกึ ษาควรขอนัดหมายมาพบในเวลาตอ่ ไป
- การระวังภาษากายและภาษาพูดเมื่อนักศึกษาไดร้ บั ข้อมูลที่นักศึกษาไมเ่ หน็ ด้วย
6.2 การไม่นาข้อมูลของประชาชนมาพูดคุยวจิ ารณ์กันเล่น
6.3 นักศกึ ษาควรตั้งใจฟงั สงิ่ ทป่ี ระชาชนพูด เพราะทั้งหมดคือข้อมลู ของชมุ ชน ถึงแม้ประชาชนจะบอก
เล่านอกเหนือจากคาตอบทน่ี กั ศกึ ษาต้องการ การตงั้ ใจฟงั จะทาให้นักศึกษามีโอกาสได้รับข้อมูลที่
นกั ศกึ ษาไมไ่ ดต้ ้ังใจจะรวบรวมเพราะลืม หรือขอ้ มูลท่ีนักศึกษาไม่คุ้นเคยเพราะเป็นลักษณะเฉพาะ
ของชุมชน
6.4 การศึกษาดูงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลโคกแสมสาร ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี
6.4.1 พิจารณารว่ มกับเพื่อนนกั ศึกษา รวบรวมขอ้ มูลท่เี กย่ี วข้องกับการเกิดปัญหาสุขภาพของ
ประชาชนในหมูบ่ ้าน

92

6.4.2 บทบาทของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต่อการบริการสาธารณสุขด้านการส่งเสริม
คณุ ภาพปอ้ งกัน ควบคุมบรหิ ารการรักษาและสง่ ตอ่

6.4.3 ไม่นาความคิดเห็นเชงิ ลบของประชาชนเกี่ยวกับ รพสต.โคกแสมสาร ไปบอกเล่าแก่
เจา้ หนา้ ทข่ี อง รพสต.โคกแสมสาร

6.4.4 เมอ่ื ไดร้ บั ข้อมูลมาแลว้ ต้องนามาสรปุ เพือ่ นาเสนอ
6.5 ขณะที่อยใู่ นหมู่บ้าน นกั ศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ประจาหมู่บ้าน เพ่ือขอคาแนะนาใน

การศึกษาชมุ ชนไดต้ ลอดเวลา โดยเฉพาะในกาหนดการนิเทศงานน้ันจะเกิดประโยชน์กับ
นกั ศกึ ษาอย่างมาก หากนกั ศกึ ษาได้พูดคยุ กนั ก่อนเพื่อเตรียมคาถามที่สงสัย และ/หรือจะขอ
คาแนะนาจากอาจารยน์ เิ ทศงาน
6.6 เม่อื ออกจากหมู่บา้ น ให้นักศึกษารวบรวมเอกสารท้ังหมดท่ีบันทึกข้อมูลของประชาชนไป
สง่ ใหอ้ าจารย์ในวันนาเสนอผลการศกึ ษาชมุ ชน ห้ามท้งิ ขอ้ มลู ของประชาชนไว้ในหมูบ่ ้าน

93

12.1

แผนทเี่ ดนิ ดนิ

94

95


Click to View FlipBook Version