The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanakorn kungrum, 2019-04-10 00:26:07

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

1. ทิลายุ ทบั ปาน 2. ทิลายุ ทับปาน
3. ทลิ ายุ ทับปาน
4 ทลิ ายุ ทบั ปาน ∑ =0( ) −

©©©©≠

ลาดบั ช่ือ-สกลุ ความสนใจ การแสดง พฤติกรรม รวม
ที่ ความคิดเหน็
การตอบ การรับฟังความ ทางานตามท่ี
คาถาม คดิ เห็น ได้รับมอบหมาย

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 20

ประวัตสิ

นาย ธนก

ส่วนตัว

กร กงุ รัมย์

เกดิ วันท

อาย:ุ 18 ป

ทอ่ี ย่ตู ามทะเบียนบ้าน

ทอ่ี ย่ทู สี่ ามารถติดต่อไ
อ.เมอ

ช่ือ: นาย ธนกร กงุ รัมย์
ชื่อเล่น: มอส, ตุ๊ต๊ะ
ท่ี 30 ต.ค.2543 : 30 / 10 / 2000
ปี นน. 62 kg สส. 176 cm.
น:12/7 ซ.เกษตร ม.5 ถ.เพชรเกษม ต.ราชกรูด

อ.เมอง จ.ระนอง 85000

ได้: 19 ซ.เกษตร ม.5 ถ.เพชรเกษม ต.ราชกรูด

อง จ.ระนอง 85000 ตู้ ปณ.26

เป็ นคนร่าเริง เข้ากับคนอื่นง่าย ชอบเข

รักเดก็ รักสัตว์ รักธรรมชาติ

อาหารคาวทชี่ อบ : ยาสมุนไพร,ต้มข่า
อาหารหวานทชี่ อบ : ขนมตระกูลทอง
ผลไม้ทช่ี อบ : ขนุน,พุทรา,มะม่วง,มะข

นิสัยส่วนตัว

ข้าสังคม แต่ไม่ชอบความวุ่นวาย

าไก่
ง,ขนมไทย
ขาม

ระดับประถมศกึ ษา : 1-4 ทร่ี .ร.บ้านป
ระดบั ประถมศึกษา : 5-6 ทร่ี .ร.บ้านร
ระดับมัธยมศกึ ษา : 1-3 ทรี่ .ร.สตรีระ
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ : 1-3 ว

เทคโนโลยีระนอง

ประวัตกิ ารศกึ ษา

ปอยเดนิ
ราชกรูด
ะนอง
วิทยาลัยเกษตรและ

ประว

วัตกิ ารเข้าร่วมกจิ กรรม



เกยี รตบิ ัตรและผลงาน

















ประวัตสิ

นาย ธนก

ส่วนตัว

กร กงุ รัมย์

เกดิ วันท

อาย:ุ 18 ป

ทอ่ี ย่ตู ามทะเบียนบ้าน

ทอ่ี ย่ทู สี่ ามารถติดต่อไ
อ.เมอ

ช่ือ: นาย ธนกร กงุ รัมย์
ชื่อเล่น: มอส, ตุ๊ต๊ะ
ท่ี 30 ต.ค.2543 : 30 / 10 / 2000
ปี นน. 62 kg สส. 176 cm.
น:12/7 ซ.เกษตร ม.5 ถ.เพชรเกษม ต.ราชกรูด

อ.เมอง จ.ระนอง 85000

ได้: 19 ซ.เกษตร ม.5 ถ.เพชรเกษม ต.ราชกรูด

อง จ.ระนอง 85000 ตู้ ปณ.26

เป็ นคนร่าเริง เข้ากับคนอื่นง่าย ชอบเข

รักเดก็ รักสัตว์ รักธรรมชาติ

อาหารคาวทชี่ อบ : ยาสมุนไพร,ต้มข่า
อาหารหวานทชี่ อบ : ขนมตระกูลทอง
ผลไม้ทช่ี อบ : ขนุน,พุทรา,มะม่วง,มะข

นิสัยส่วนตัว

ข้าสังคม แต่ไม่ชอบความวุ่นวาย

าไก่
ง,ขนมไทย
ขาม

ระดับประถมศกึ ษา : 1-4 ทร่ี .ร.บ้านป
ระดบั ประถมศึกษา : 5-6 ทร่ี .ร.บ้านร
ระดับมัธยมศกึ ษา : 1-3 ทรี่ .ร.สตรีระ
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ : 1-3 ว

เทคโนโลยีระนอง

ประวัตกิ ารศกึ ษา

ปอยเดนิ
ราชกรูด
ะนอง
วิทยาลัยเกษตรและ

ประว

วัตกิ ารเข้าร่วมกจิ กรรม



เกยี รตบิ ัตรและผลงาน

















บทที่ 5
โรงเรือนสกุ รและอุปกรณ

การเลย้ี งสุกรในปจ จุบนั พฒั นาเปน การเลี้ยงแบบอุตสาหกรรมมากขน้ึ มกี าร
จดั ระบบการผลิตสุกรเปน 2 ระบบใหญ คือ 1) ระบบการผลติ สุกรพนั ธุ เปนการเลย้ี งสุกร
พอ พนั ธุและแมพ ันธุ เพอ่ื ผลติ สุกรขายเปนพอ พนั ธแุ ละแมพันธุหรอื ลกู สกุ รขนุ ขายใหไป
ทําการขนุ ตอ ไป และ 2) ระบบการผลติ สกุ รขนุ เปนการเลยี้ งสกุ รขนุ ขายสงตลาด ดังนน้ั
การจัดการเกี่ยวกับโรงเรอื นจึงเปน ปจจยั ท่มี ีความสาํ คญั ถา มีการออกแบบโรงเรอื นให
เหมาะสมกบั ระบบการผลติ สกุ รแลว ทําใหส กุ รมีการเจรญิ เติบโตดี มีสขุ ภาพดี ลดปญ หา
เรื่องโรคระบาดตาง ๆ ประหยดั แรงงานและคา ใชจาย และใชป ระโยชนจากโรงเรอื นได
อยางมีประสทิ ธิภาพ ทําใหส ามารถลดตนทุนการผลิตลงได

5.1 สถานที่ต้ังฟารมสกุ ร

การเรมิ่ ตน สรา งฟารมสกุ รควรพิจารณาถงึ สถานที่ตั้งฟารม ใหเ หมาะสม เพราะ
การลงทุนกอ สรา งโรงเรอื นเปนการลงทุนสงู การเลอื กสถานทีต่ ง้ั ฟารม สุกรควรพิจารณา
ดงั น้ี

1. บรเิ วณที่จะกอ สรางโรงเรือนควรเปน ท่ีดอน นา้ํ ไมท ว ม ถาหลกี เลี่ยงไมไ ด
ควรถมดินและยกพน้ื โรงเรอื นใหส งู ขนึ้ และควรเปนสถานทก่ี วางขวางสามารถทีจ่ ะขยาย
กจิ การไดใ นอนาคต

2. การคมนาคมสะดวก เพอ่ื ใหสามารถขนสงวตั ถุดบิ ตาง ๆ และอาหารสตั ว
เขา มาใชในฟารม และขนสง ผลผลิตไปสตู ลาดไดอยางสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ยงั
สามารถทราบขา วสารการเคลอ่ื นไหวของภาวะตลาดไดร วดเร็ว

3. ไมค วรอยใู กลแ หลง ชุมชน เพราะกลิน่ มลู และเสยี งสุกรอาจรบกวนผูอื่น
4. บริเวณนนั้ ไมเปน สถานทเ่ี คยเกดิ โรคระบาดของสกุ รมากอ น เพราะโรค
ระบาดของสกุ รบางโรคสามารถอาศัยอยใู นดนิ ไดเปนเวลานาน ถา ใชสถานท่ีน้นั เลีย้ งสุกร

AT 328 73

5. เปนแหลงท่ีมนี าํ้ สะอาดและไมมีสงิ่ เจอื ปนท่ีเปน อันตรายอยา งเพียงพอ เพ่อื
ใชน้าํ ในการกินและใชทําความสะอาดโรงเรือนและอปุ กรณ กอนตั้งฟารม ควรตรวจสอบนาํ้
ในบริเวณนนั้ กอ นวาเหมาะสมกับการทจ่ี ะนาํ มาใชเลย้ี งสกุ รหรอื ไม

6. มีระบบระบายนา้ํ สะดวก สภาพพ้นื ท่ีต้งั ฟารมควรมีความลาดเทพอสมควร
เพือ่ สะดวกในการระบายนาํ้ ทิง้ ไมใ หเ กดิ ความชื้นแฉะหรือเปน บอ ซึ่งเปน แหลงเพาะพนั ธุ
ยงุ แมลงวนั และสะสมเชื้อโรค

7. ไมมศี ัตรหู รอื โจรผูรา ยรบกวน เชน งู เหยีย่ ว เสือ มนุษย เปน ตน
8. ใกลแหลงชวยเหลือทางดา นวิชาการและการเงนิ เชน สถานบี ํารงุ พนั ธสุ กุ ร
สถานีรักษาโรคสตั ว ธนาคาร เปน ตน

5.2 การวางผงั ฟารม สุกร

การวางผงั ฟารมสกุ ร ควรมีหลกั การดงั นี้ (ภาพที่ 5.1 และภาพที่ 5.2)

1. จดั วางโรงเรือนตามความยาวในแนวทศิ ตะวนั ออก-ตะวันตก เพ่อื ลดความ
รอนจากแสงแดดท่สี อ งเขา มาในโรงเรือน

2. ขนาดของโรงเรือน ขน้ึ อยูกับเน้อื ทขี่ องฟารมและจาํ นวนสกุ รที่เลย้ี ง ไมค วร
เล้ยี งสุกรแนนจนเกนิ ไปหรือเล้ียงนอยจนโหรงเหลง ควรคํานึงถึงขนาดพ้นื ทต่ี อตัวสุกร
และสามารถใชป ระโยชนไดเตม็ ที่ โรงเรือนแตล ะหลังควรหา งกันไมน อยกวา 20 เมตร
และอยูหางจากบรเิ วณรัว้ ไมน อ ยกวา 20 เมตร เพอื่ ความปลอดภยั ในการปองกันโรคและ
การระบายอากาศบริเวณรอบโรงเรอื น

3. จดั วางโรงเรอื นอยางเปน ระเบยี บ อยาใหบ ังทิศทางลมธรรมชาติ และควรมี
ถนนภายในฟารม ระหวางโรงเรอื นตามความจําเปน เพอ่ื สะดวกในการขนสงภายในฟารม

4. ฟารมจะตองมรี ัว้ สามารถปอ งกันคนและสตั วผ านเขา-ออกได นอกจากน้นั
จะตอ งมีรัว้ แบงเขตเลย้ี งสกุ รและเขตที่พกั ใหแ ยกจากกัน

5. จัดใหม ีทางเขา -ออกฟารมเพยี งทางเดยี วและตอ งผานโรงฉีดพน นํ้ายาฆาเชอ้ื
หรอื บอนา้ํ ยาฆาเช้อื ทัง้ เขตฟารมและเขตทพ่ี ัก

74 AT 328

โรงเรือนขาย โรงเรือนพักสุกร 20 ม.
20 ม.
ขนุ ขุน อนุบาล พอแมพ ันธุ

โรงฉดี ฆา เช้ือ บอ ฆา เชือ้ 10-15 ม.

โกดัง 10-15 ม.
ขนุ ขนุ อนบุ าล พอแมพ นั ธุ

บา นพกั สํานักงาน เขตเลี้ยงสตั ว เหนือ
เขตทพี่ กั

แผนผังฟารม สุกรพันธุ

โรงเรือนขาย โรงเรือนพกั สกุ ร 20 ม.

ขุน 20 ม. ขนุ ขนุ ขุน
เลก็
ใหญ ใหญ กลาง

โรงฉีดฆาเชือ้ บอ ฆาเชอ้ื 10-15 ม.

โกดัง ขนุ ขนุ ขนุ 10-15 ม.
ใหญ ใหญ กลาง ขนุ
สํานักงาน เลก็
บานพกั เขตท่พี กั เขตเล้ียงสัตว
เหนือ
แผนผงั ฟารม สกุ รขุน

ภาพที่ 5.1 การวางผงั ฟารม

ภาพที่ 5.2 โรงฉดี พน น้ํายาฆา เช้ือหรอื บอน้าํ ยาฆาเช้ือ ผนังดานขา งมีสเปรยพน นํา้ ยาฆาเช้อื

AT 328 75

6. อาคารสํานักงานและบานพกั จะตองอยูน อกเขตเลีย้ งสกุ ร ควรตงั้ อยเู หนอื ลม
และอยูในทีส่ ูง เพอ่ื ใหร ะบายนํ้าไดดแี ละสามารถมองเหน็ โรงเรือนได

7. โรงผสมอาหารและโกดังเกบ็ อาหารและอปุ กรณ ควรตง้ั อยูระหวา งเขตทพี่ ัก
และเขตเล้ียงสุกร เพอื่ สะดวกในการขนสง อาหารและอปุ กรณเขา ไปยังโรงเรอื นเลี้ยงสุกร
และสามารถปองกนั โรคท่ีตดิ มากบั รถยนตบ รรทุกอาหารท่มี าสง

8. โรงเรือนพกั สกุ รและโรงเรือนจาํ หนายสกุ ร ควรตงั้ อยนู อกเขตเล้ียงสุกรหา ง
จากรว้ั ประมาณ 10 เมตร เพื่อปองกนั โรคระบาด

9. โรงเรือนเลย้ี งสุกรควรตง้ั อยูภายในรั้วเขตเล้ียงสุกร ลักษณะของโรงเรอื นขึน้ อยู
กบั ระบบการเลย้ี งสุกรวา เปน ระบบการเลย้ี งสกุ รพนั ธหุ รือระบบการเลีย้ งสกุ รขุน

10. การจดั วางโรงเรอื นสกุ ร ถา เลยี้ งสุกรพนั ธแุ ละขนุ ควรวางโรงเรือนสกุ รพอ
แมพันธุไวดานในสุด ถดั ออกมาเปนโรงเรอื นสกุ รเล็ก โรงเรอื นสุกรขุนรนุ และโรงเรือน
สุกรขุนใหญ ตามลาํ ดบั ถาเลย้ี งสกุ รขนุ อยางเดยี ว ควรวางโรงเรือนสกุ รขุนขนาดเลก็ อยู
ดานในสุด ถดั มาเปนโรงเรือนสกุ รขุนขนาดรุนและโรงเรอื นสุกรขนุ ขนาดใหญอยูด า นหนา
ของฟารม เพอื่ สะดวกในการจําหนา ยและปองกันโรคตดิ ตอ ไดอกี ดวย

5.3 ลักษณะโรงเรือนทีด่ ี

โรงเรือนสกุ รทดี่ ี ควรมลี กั ษณะดงั นี้

1. ปอ งกนั แดด ลม ฝน และศตั รูตาง ๆ ไดด ี
2. อากาศภายในโรงเรือนถา ยเทสะดวก ไมอับชน้ื สุกรอยไู ดอยา งสขุ สบาย
3. สามารถรกั ษาความสะอาดไดง าย ไมเ ปนทีข่ ังน้ํา และมีอปุ กรณเพียงพอ
4. สะดวกและประหยัดเวลาในการปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ใหสามารถใชแรงงานได
อยางมปี ระสิทธิภาพและลดการสูญเสียได เชน รางอาหารสามารถปองกนั สกุ รคุยเข่ีย
อาหารไมใหตกหลน ได
5. ระบายของเสยี ไดดี พน้ื ท่ีลาดเทเล็กนอ ย มีบอ พักมลู สุกรและระบบบาํ บัด
นาํ้ เสียอยนู อกโรงเรอื นกลิ่นจะไดน อ ยลง และทาํ ใหน ้ําสะอาดข้ึนกอนปลอยออกภายนอก
ฟารม

76 AT 328

6. สรา งงาย ราคาถกู ใชวสั ดกุ อ สรา งที่มีในทองถนิ่ และแข็งแรงทนทาน
7. มีการจัดแบง พืน้ ทภ่ี ายในโรงเรอื นอยางเหมาะสม ทาํ ใหส ามารถใชป ระโยชน
ไดอยา งเตม็ ท่ี

5.4 สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสมสําหรบั สุกร

ประเทศไทยมีสภาพอากาศรอ นช้ืน ทาํ ใหความรอนภายในรางกายระบายออก
ไดชา เพราะความชืน้ ในอากาศสงู ประกอบกับสกุ รไมม ีตอมเหงอื่ เม่อื ตองการระบาย
ความรอ นภายในรา งกาย สุกรอาศยั การระบายความรอนโดยการหายใจ ดงั นนั้ หาก
สภาพแวดลอ มมอี ณุ หภูมสิ ูงสกุ รจะหายใจถี่และแรง สุกรเปนสตั วไมชอบอากาศรอนชื้น
เพราะทําใหเกิดปญหาเก่ยี วกบั ระบบหายใจ สุกรเจบ็ ปว ยและออ นแอไดงา ย โดยเฉพาะ
ปญหาโรคปอดอกั เสบและปอดบวม ซงึ่ พบเห็นบอย ๆ

โรงเรอื นสุกรควรมีการระบายอากาศดี ไมอดุ อหู รือรอ นอบอา ว พืน้ คอกแหงไม
ชื้นแฉะ อุณหภมู ริ ะหวางกลางวนั และกลางคืนไมแตกตางกันมาก ไมร อนหรอื หนาวจัด
จนเกนิ ไปและไมค วรมีฝนตกหนักจนเกินไป อณุ หภมู ิภายในโรงเรอื นควรตํา่ กวาอุณหภมู ิ
ภายนอก อณุ หภูมภิ ายในโรงเรอื นท่เี หมาะสมสําหรบั แมสุกรเลย้ี งลกู ควรอยรู ะหวาง 60-65
องศาฟาเรนไฮต (15-18 องศาเซลเซียส) ลกู สกุ รหลังหยานมควรอยรู ะหวาง 70-75 องศา-
ฟาเรนไฮต (21-24 องศาเซลเซยี ส) และสุกรขนุ ควรอยูระหวาง 70-75 องศาฟาเรนไฮต
(21-24 องศาเซลเซียส) หากอุณหภูมิภายในโรงเรอื นสงู หรือตาํ่ กวานี้ มผี ลทาํ ใหสุกรเครยี ด
และการเจริญเติบโตไมดเี ทา ทีค่ วร จึงควรปรับปรุงสภาพโรงเรอื นใหมอี ุณหภูมทิ พี่ อเหมาะ
กับสกุ ร เชน กรณที ่ีโรงเรือนสุกรรอ นเกินไปควรติดพัดลมหรอื ติดหัวพน หมอกไอน้ํา
ภายในโรงเรอื นหรือติดทีพ่ นน้ําบนหลงั คา (ขนาด 2½ แกลลอนตอ 1 ชั่วโมง) หรอื ตดิ ต้ัง
ระบบทาํ ความเยน็ ดวยน้าํ และถา อุณหภูมภิ ายในโรงเรือนตาํ่ เกนิ ไปหรอื เวลากลางคนื
หรือฤดหู นาวหรือลมพัดแรง ควรติดผา ใบเปด ปด ไดเพ่อื ปอ งกันลมหรือปลูกตน ไม เชน
ตนกระถนิ เปนแนวกันลม

AT 328 77

5.5 โรงเรอื นสกุ ร

การสรางโรงเรือนสุกรใหม ีลักษณะอยา งไรน้นั ข้นึ อยกู ับ เงินทุน ปริมาณสกุ รท่จี ะ
เลี้ยง สภาพอากาศ และเปา หมายในการเลย้ี ง โรงเรือนเปน องคประกอบท่สี ําคัญในการ
เพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต การปองกนั โรค การจดั การตา ง ๆ และตนทนุ การผลติ
โรงเรอื นของสกุ รแตล ะประเภทมลี ักษณะแตกตา งกันออกไป ไดแก โรงเรือนพอพันธุ
โรงเรือนแมพ ันธุ โรงเรอื นคลอด โรงเรือนอนบุ าล และโรงเรอื นสกุ รขุน

โรงเรือนสกุ ร แบงเปน 2 ประเภทคอื

1. โรงเรือนเปด เปนโรงเรือนเปดโลงหรือมกี าํ แพงฝากั้นเปน บางสว น อณุ หภูมิ
อากาศภายในโรงเรือนจะผนั แปรไปตามอุณหภูมภิ ายนอก นก แมลงวนั ยุง และฝนุ
ละอองเขาออกไดง าย แตเ ดมิ โรงเรอื นสกุ รในประเทศไทยเปนโรงเรอื นเปด ทงั้ สิ้น (ภาพท่ี
5.3)

2. โรงเรอื นปด เปน โรงเรอื นทไ่ี ดร ับความนยิ มในปจ จุบนั โดยเฉพาะฟารมใหญ
โรงเรอื นแบบนี้มที งั้ ที่ปดแบบไมถ าวร ซ่งึ ดา นขา งโรงเรอื นปดดวยผาใบทส่ี ามารถชกั ขน้ึ
ลงได และแบบถาวรท่ีกอ อฐิ ทบึ ท้ังสองดา น สว นภายในโรงเรือนควบคมุ อุณหภูมิโดยใช
ระบบทาํ ความเย็นดว ยนํา้ เรยี กวา ระบบอแี วป (Evaporated cooling system) โรงเรือน
ระบบอีแวปนี้เรม่ิ ตนดดั แปลงใชก ับโรงเรือนพอ พนั ธุกอน ตอ มาขยายใชก ับโรงเรอื นขนุ
โรงเรือนอนุบาล และโรงเรอื นแมพันธุอมุ ทองดวย โรงเรือนระบบอีแวปจะตองลงทุนสูง
แตใหผลคมุ คา ทาํ ใหป ระสิทธิภาพการผลติ ดขี ้ึน เชน การผลติ น้ําเชอ้ื ของพอ พันธุ การ
เจรญิ เตบิ โตของสกุ รขุน การเพิ่มจํานวนสกุ รทเ่ี ล้ยี งไดม ากขึ้น นอกจากน้ียงั สามารถ
ควบคมุ การติดตอ ของโรคบางชนดิ ได ควบคุมนก แมลงวัน ยงุ ซ่งึ เปน พาหะของโรคได
ปจจบุ ันมีการออกแบบวัสดุทใ่ี ชเปน แผน ทําความเยน็ (cooling pad) ที่แตเ ดิมใชก ระดาษ
ราคาแพงมาเปน การใชมุงไนลอนหรืออฐิ แดงมีรูหรอื อิฐบลอ็ กท่ีออกแบบพิเศษ ซึง่ มรี าคา
ถูกกวา และมีประสทิ ธภิ าพในการทําใหอากาศในโรงเรือนเกิดความเยน็ ไดในระดบั เปนที่
พอใจ การพฒั นาโรงเรอื นระบบอแี วปจงึ เปนความกา วหนา ของการเลย้ี งสุกรในประเทศไทย
(ภาพที่ 5.4)

78 AT 328

ภาพที่ 5.3 ลักษณะโรงเรือนเปด

ภาพท่ี 5.4 ลกั ษณะโรงเรอื นปด

การสรา งโรงเรอื นสุกร ควรพจิ ารณาดังน้ี

ก. พืน้ คอก สําหรบั เล้ียงสกุ รมคี วามสําคญั เพราะมผี ลตอการเจริญเตบิ โตของ
สุกรและความสะดวกในการทําความสะอาด พนื้ คอกทน่ี ิยมคือ พื้นซีเมนตและพืน้ สแล็ต
ลกั ษณะของพน้ื ซเี มนตท ีด่ ีนน้ั ควรมีความลาดเอยี งไปทางดา นระบายมลู ความลาดเอียง
1 น้วิ ตอ 1 เมตร เพือ่ ปองกันไมใหพ้นื คอกเปยกแฉะอยเู สมอและทําความสะอาดไดงา ย
พืน้ คอกไมหยาบหรอื ล่นื จนเกนิ ไป ถา พ้ืนคอกหยาบเกินไปจะทาํ ใหส กุ รกบี เทาแตก หาก
เชื้อโรคเขาไปจะทาํ ใหเกิดฝห รอื เทา บวมได หากเกดิ ในสกุ รพอแมพันธจุ ะทําใหส กุ รตัวน้นั
ไมสามารถใชผสมพันธไุ ด ถาพื้นคอกล่นื เกินไปจะทาํ ใหสุกรลน่ื ขาฉกี หรอื แมสุกรแทงได
ดงั นัน้ พ้ืนคอกซีเมนตค วรมอี ัตราสวนผสมปนู :ทรายกลาง:หนิ เบอร 1 = 1:2:4 และควร
ผสมยากันซมึ ดวย พื้นผิวเรียบแตไ มต องขัดมนั

ข. ฝาผนังก้นั คอก ฝาผนงั ก้ันคอกควรทาํ อยา งแข็งแรง เพราะสุกรชอบงัดและ
กัดแทะ ทําใหค อกพงั ไดง า ย ฝาผนังคอกอาจเปน ไม เหล็กทอประปา ลวดถกั หรอื อฐิ

AT 328 79

ค. หลังคา วสั ดุทใี่ ชท ําหลังคานน้ั ถา ใชจ ากหรอื แฝกจะมีราคาถกู และทําให
อณุ หภมู ิภายในโรงเรือนเยน็ สบายแตไ มทนทาน ควรใชห ลังคาสังกะสี กระเบื้อง หรือ
อลูมเิ นยี มจะคงทนกวา แตร าคาแพง ถา ใชห ลังคาสงั กะสอี ุณหภมู ภิ ายในโรงเรือนจะรอน
โดยเฉพาะในชวงบาย ซ่งึ สามารถแกไขไดโ ดยใชจากหรือแฝกมุงซอนดานลางหรอื ทาสี
ดานในสังกะสี หรือเพม่ิ ความสูงของหลังคาจะชว ยบรรเทาความรอ นลงได

ง. การจดั สรางคอกภายในโรงเรอื นสกุ ร แบง ตามวัตถุประสงคในการเล้ียงได
2 แบบ คือ แบบโรงเรือนสุกรพนั ธแุ ละแบบโรงเรือนสุกรขนุ

1. การจัดสรา งคอกภายในโรงเรือนสกุ รพนั ธุ แบง ไดเปน 5 หนวยคือ

ก. คอกสุกรพอ พันธุ เปน คอกส่ีเหลย่ี ม ขนาด 2x3 เมตร พ้ืนคอกอาจ
เปนพื้นซเี มนตห รอื พืน้ สแลต็ ก็ได ฝาผนังอาจเปน อิฐบล็อกหรอื แปปน้าํ สงู 1-1.5 เมตร
เพื่อปอ งกนั ไมใหส กุ รกระโดดออกไปนอกคอก ดานหนา ตดิ รางอาหารและจบุ นาํ้ มีพ้นื ท่ี
เดินออกกาํ ลังกายและใชผสมพนั ธุ (ภาพที่ 5.5)

ข. คอกสุกรสาวทดแทน สุกรสาวทดแทนในระยะแรกนิยมเล้ียงรวมกนั
คอกละไมควรเกนิ 6 ตัว เพือ่ กระตุนใหส กุ รเปนสัดเร็วขน้ึ ลกั ษณะคอกเหมอื นคอกสุกร
พอพันธุหรือคอกสกุ รขุน

ค. คอกสุกรแมพ ันธุ (อุมทองและทอ งวา ง) เปนซองขงั เด่ยี ว ลกั ษณะ
เปนซองตดิ กนั แมส ุกรแตล ะตวั จะอยใู นซองเฉพาะ จะกนิ และนอนอยใู นซองนตี้ ลอดเวลา
เพื่อปองกันการกระทบกระเทือนและสะดวกในการควบคุมอาหารใหถ ูกตอง บางคร้งั จะ
ปลอยออกมาเม่ือผสมพันธุแ ละปลอ ยใหเดินออกกําลงั ภายในแปลงหญา เปนครง้ั คราว มี
รางอาหารและทใี่ หน้าํ อยหู นา ซอง พื้นคอกควรเปน พืน้ สแล็ต เพ่ือใหคอกแหงไมล ืน่ คอก
ชนิดนี้ควรสรา งไวป ระมาณ 1 ใน 3 ของจาํ นวนแมพนั ธทุ ้งั หมด (ภาพท่ี 5.6)

ง. คอกคลอดและเลีย้ งลกู เปน คอกที่ใชคลอดและเลี้ยงลูก ลกั ษณะเปน
คอกสเ่ี หล่ยี ม มี 2 สวนคือ 1) สว นซองสําหรบั ตวั แมเพอื่ ไมใ หเหยียบหรอื ทบั ลูก มรี าง
อาหารและท่ีใหน าํ้ ติดอยดู า นหนา ซอง และ 2) สว นพืน้ ทวี่ า งสําหรบั ลกู เปน ทก่ี กใหความ

80 AT 328


Click to View FlipBook Version