The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanakorn kungrum, 2019-04-10 00:26:07

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

จ. คอกอนุบาล สาํ หรบั เล้ยี งลกู สกุ รหยานมจนถงึ 10 สัปดาห (น้าํ หนัก
ประมาณ 15 กิโลกรมั ) ขนาด 3 ตารางเมตร บรรจุลูกสกุ รได 8-10 ตวั เม่อื ลูกสุกรแขง็ แรง
ดีแลว จึงนาํ ไปเลยี้ งในคอกสุกรขนุ ตอไป มีรางอาหารและทใ่ี หนา้ํ ตดิ อยดู า นขา ง (ภาพที่
5.8)

ผเู ลี้ยงบางรายนยิ มสรางโรงเรือนสุกรพนั ธุเปนชุดหรอื ยูนติ (unit) โดยมที กุ
หนว ยยอยอยูในหลังเดียวกัน คือ โรงเรือนหลงั หนง่ึ ประกอบดว ย คอกผสมพนั ธุ คอกอมุ
ทอ ง คอกคลอด-เลี้ยงลกู และคอกอนบุ าล ทาํ ใหงายและสะดวกในการจดั การ แตใ นกรณี
ทแี่ มส ุกรมีจาํ นวนมากตงั้ แต 300-400 แมข น้ึ ไปอาจมกี ารสรา งโรงเรือนท่แี ยกเปนสดั สวน
คือ โรงเรือนอมุ ทอง โรงเรือนคลอด และโรงเรอื นอนุบาล

2. การจัดสรางคอกภายในโรงเรอื นสกุ รขุน โรงเรือนสกุ รขนุ สําหรบั เล้ยี ง
สุกรหลังหยานมจนถึงน้าํ หนกั สงตลาด 90-120 กโิ ลกรัม ภายในโรงเรอื นประกอบดว ย
คอกตาง ๆ ดังน้ี

1. คอกสุกรรนุ นาํ้ หนกั 15-35 กิโลกรมั
2. คอกสกุ รขนุ นา้ํ หนัก 35-60 กโิ ลกรัม อาจแยกเปนสุกรพันธบุ า ง
3. คอกสกุ รขนุ น้าํ หนัก 60-120 กโิ ลกรมั สง ตลาด
4. คอกสุกรขุน เลี้ยงต้งั แต น้ําหนัก 15-100 หรอื 120 กโิ ลกรัม สงตลาด

คอกสุกรขนุ ควรจดั สรางเปน 2 แถว โดยแตละแถวมีคอกยอย ๆ เล้ยี งสุกรขุน
ตามนํ้าหนักทก่ี ลา วมาแลว คอกละไมควรเกิน 20 ตัว ลักษณะเปนคอกส่ีเหล่ยี ม มีราง
อาหารอยูด านหนาคอก อาจเปนปนู กอ ขนาดกวา ง 30 เซนติเมตร ลกึ 20 เซนติเมตร
รางแบบน้ตี องใหอ าหารทกุ วัน หรือใชถังอาหารอตั โนมตั ิตง้ั อยูกลางคอก เพอ่ื ใหอาหาร
ออกมาในชองกนิ อาหาร สกุ รจะกินอาหารไดต ลอดเวลา อาหารไมห กหลน และมีท่ใี หน ้าํ
เปน จุบ อตั โนมตั ใิ นจาํ นวนทีเ่ พียงพอ พนื้ คอกมคี วามลาดเอียงเล็กนอ ยไปทางดานหลงั
คอก เพอ่ื สะดวกในการทาํ ความสะอาด ควรจดั ใหสกุ รถายเปน ท่ีในสวนหลังคอกหรอื ทํา
เปน อางมีนาํ้ ขัง (สว มน้าํ ) (ภาพที่ 5.9)

AT 328 81

ภาพท่ี 5.5 คอกพอ พันธุ AT 328

ภาพท่ี 5.6 ซองตบั แมอมุ ทอ งและทองวาง

ภาพท่ี 5.7 คอกคลอด

ภาพท่ี 5.8 คอกอนุบาล
82

ภาพท่ี 5.9 คอกสกุ รขนุ

5.6 อปุ กรณตา งๆ ในโรงเรือนสกุ ร

อุปกรณตา ง ๆ ในโรงเรอื น ไดแ ก

1. ที่ใหน้ําสกุ ร ตองมนี ํา้ แรงพอสมควรและน้ําจะตองสะอาดและไมมีตะกอน
นิยมในปจจุบันมี 2 ชนดิ คือ

1.1 จบุ นา้ํ อตั โนมัติ (nipple) ขนาดเสนผา ศนู ยก ลาง 4-6 หุนตอเขา กบั ทอ
ประปา ปลายมลี ักษณะเปนลนิ้ สุกรจะใชปากกัดหรือดันนํา้ ใหไหลออกมา นยิ มใชใ นคอก
สกุ รขุน คอกสุกรพอพนั ธุ ซองตบั สุกรแมพนั ธุ และคอกอนุบาล (ภาพที่ 5.10)

1.2 ถว ยนาํ้ ภายในมีล้นิ ขนาดเสน ผาศูนยกลาง 6 หุนตอเขากบั ทอประปา
สกุ รจะใชจ มกู ดนั ใหนาํ้ ไหลออกมา นยิ มใชใ นคอกคลอด

2. รางอาหาร นิยมในปจ จบุ นั มี 3 ชนดิ คอื (ภาพที่ 5.11)

2.1 รางอาหารธรรมดา รางแบบน้ตี อ งใหอ าหารทกุ วันและมีความประสงค
จะใหส ุกรกินอยางจาํ กัด มี 2 แบบคอื

ก. รางปูนกอ ขนาดกวาง 30 เซนติเมตร ลกึ 20 เซนติเมตร ความ
ยาวตามจาํ นวนสกุ ร มักกอตดิ กบั ผนังดา นหนา คอกสุกรขนุ หรือสุกรพอ พันธหุ รือแมพันธุ
ซองตบั

ข. รางสงั กะสหี รือรางอลมู เิ นียม เปนรางเดย่ี ว ๆ มกั ตดิ กับฝาผนัง
คอกหรอื แผงกน้ั คอกดา นหนาคอกสกุ รพอ และแมพนั ธุ

AT 328 83

2.2 ถงั อาหารอัตโนมตั ิ ดา นฐานเปน ถาดอาหารทําดวยเหล็กหลอหรอื ปนู
หลอ สวนตัวถังเปน สแตนเลสหรือพลาสติกหมนุ รอบแกน เมือ่ สกุ รดนั ตวั ถังอาหารจะทาํ
ใหอาหารไหลออกมาเปนระยะ ๆ ในถาดอาหารดา นฐาน

2.3 รางอาหารอตั โนมตั ิ รางอาหารเปน ปนู กอ ยาว หรือรางสงั กะสหี รือราง
อลูมเิ นยี มเฉพาะตวั มที อลําเลียงอาหารจากถังเก็บอาหารตอ ลงมาทีร่ างอาหาร

ก ข

ภาพที่ 5.10 ก จบุ น้าํ อัตโนมัติ ข ถว ยนาํ้ ภายใน

กข

คง

ภาพที่ 5.11 รางอาหาร ก รางปนู ข รางอลมู เิ นียม

ค ถังอาหารอัตโนมตั ิ ง รางอาหารอัตโนมตั ิ

84 AT 328

ตารางที่ 5.1 พ้นื ท่ีคอกตอ ตวั ความยาวรางอาหาร ความสูงของคอกสุกร และวัสดใุ น
คอกสกุ ร

พ้ืนท่ีคอกตอ ตวั ความยาวรางอาหารตอ ตวั ความสูง
(นวิ้ )
(ตารางเมตร) (เซนตเิ มตร)
48
สกุ รพันธุ 4-6 36
1.2 36
คอกพอพันธุ (2x3 เมตร) 3.6 30
ซองอุมทอ งและทองวาง(0.6x2.15 เมตร) 3 ตารางเมตร
คอกคลอด (1.8x2 เมตร) ตอ 8-10 ตัว 36
คอกอนุบาล 1.5-2
30
คอกสุกรสาว 0.3 20 30
สกุ รขนุ 0.5 20 33
0.8 40 36
หยา นม-15 กิโลกรมั 1.2-1.6 40
15-30 กิโลกรมั 10 ตวั ตออนั
30-60 กิโลกรมั 3 ตวั ตอชอง
60-100 กิโลกรัม
จุบน้าํ อตั โนมตั ิ
ถงั อาหารอัตโนมตั ิ

5.7 การเตรยี มคอกหรอื โรงเรอื นสาํ หรับการนาํ สุกรเขา ใหม

ผูเล้ยี งสกุ รท่ีซอ้ื สกุ รมาจากทอ่ี ื่นควรจะระมดั ระวงั ใหมากในเรอื่ งโรคตดิ ตอ ฉะนน้ั
ควรเตรยี มคอกหรอื โรงเรอื นใหหางไกลจากคอกหรอื โรงเรือนทเ่ี ลีย้ งสุกรอยกู อนใหม าก
พอสมควร และใหอยูนานประมาณ 2 สปั ดาหเ ปน อยางนอ ย เพอ่ื ใหส กุ รทนี่ ําเขาใหมคอ ย
สรา งภูมิคมุ โรคข้ึนมากอน ควรปฏิบัติกับสกุ รนาํ เขา ใหมอ ยางนุมนวล อยา ใหเ ครยี ดและ
ควรจะฉีดยาปฏชิ ีวนะเปนรายตัวกอ นท่จี ะใหด ม่ื น้าํ หลังจากสุกรหายเหนอ่ื ยแลว จงึ จะให
อาหารแกส ุกรม้อื แรกจํานวนเพยี งครึ่งหนึ่งของปรมิ าณทีเ่ คยกนิ อาหารท่ใี หค วรผสมยา
ปองกนั โรคระบาดทางเดนิ หายใจ ติดตอกันประมาณ 2 สัปดาห หากไมปรากฏอาการ
ผดิ ปกติเกิดข้ึนควรฉีดวัคซนี ปองกันโรคตา ง ๆ ตอ ไป สว นพวกยาฉีดกค็ วรเตรียมไว
สําหรับสกุ รปว ยที่ไมก นิ อาหารจะตอ งรักษาเปนรายตัวไป

AT 328 85


Click to View FlipBook Version