ระเบียบว่าดว้ ยการวัดและประเมินผล
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) พ.ศ.๒๕๖๔
โรงเรียนปางศลิ าทองศกึ ษา
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา กาแพงเพชร
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
คานา
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา เป็นโรงเรียนที่จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาขึ้นใช้ในปีการศึกษา 2552
โดยยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงเป็นหลักสูตรที่ใช้แนวคิดหลักสูตร
อิงมาตรฐาน (Standard – based Curriculum) ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ของสถานศึกษา เป็นเอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จะช่วย
ขับเคลื่อนกระบวนการนาหลักสูตรไปสกู่ ารปฏบิ ัตใิ หเ้ ปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ
โรงเรียนจึงได้จัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา
เพื่ออธิบายขยายความให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายต้ังแต่ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้อง มี ความเข้าใจท่ี
ชดั เจน ตรงกนั รวมทั้งรว่ มกันรบั ผิดชอบ และทางานร่วมกันอยา่ งเปน็ ระบบ ประกอบด้วย 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียน
ปางศลิ าทองศกึ ษา พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) พ.ศ.2564
ตอนที่ 2 แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนปางศลิ าทองศึกษา
พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) พ.ศ.2564
ตอนท่ี 3 ตวั อย่างเอกสารหลักฐานที่สถานศกึ ษาจดั ทา
คณะผจู้ ัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียนปาง
ศิลาทองศึกษา พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) พ.ศ.2564 จะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ที่เกยี่ วข้อง
ทุกฝ่ายท่ีจะช่วยสร้างความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติการวัดและประเมินผลผู้เรียนเป็นแนวทางเดียวกันและ
เป็น มาตรฐานเดียวกัน ส่งผลให้พัฒนาผู้เรียนได้ตามหลักการ เจตนารมย์ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ต่อไป
คณะผู้จดั ทา
สารบญั 1
22
คานา
สารบัญ
ตอนท่ี 1 ระเบยี บวา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รโรงเรียนปางศิลาทองศกึ ษา
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) พ.ศ.2564
ตอนที่ 2 แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รโรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา
พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) พ.ศ.2564
ภาคผนวก
- แบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ
1
ระเบียบโรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา
วา่ ดว้ ยการวดั และประเมนิ ผล
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
พ.ศ.๒๕๖๔
*******************************************************
โดยที่โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๑๒๓๙ / ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม
๒๕๖๐ เร่ืองให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ
ภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และ
ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ลงวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๑ เร่ือง การบริหาร
จัดการหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พร้อมทั้งคาส่ังสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ลงวนั ท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เรอื่ งยกเลกิ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ดั สาระท่ี ๒
การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การ
งานอาชพี และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาชั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และเปลย่ี นชอ่ื กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ จงึ เป็นการสมควรที่กาหนดระเบียบโรงเรยี นปางสลิ าทองศึกษา ว่าดว้ ยการวดั และประเมินผล
การเรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาชัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) เพื่อให้
การปฏบิ ัตงิ านสามารถดาเนนิ การไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและสอดคล้องกบั คาสัง่ และประกาศ ดงั กล่าว
ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา แห่งประราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๖ และที่
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ พร้อมทั้งมาตรา ๑๒ และมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและกลุ่มบริหารวิชาการ
โรงเรียน โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน จงึ วางระเบียบไวด้ ังตอ่ ไปน้ี
ขอ้ ๑ ระเบียบนเ้ี รยี กวา่ "ระเบียบโรงเรยี นปางสิลาทองศึกษา วา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) พ.ศ.๒๕๖๔"
ข้อ ๒ ระเบยี บนี้ให้บงั คับใชต้ ัง้ แต่ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เปน็ ตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ว่าด้วยการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ.๒๕๖๓ บรรดาข้อบังคับหรือคาสั่งอื่นใดในส่วนที่
กาหนดไว้ในระเบยี บน้ี หรือขดั แยง้ กบั ระเบียบน้ี และให้ใชร้ ะเบยี บน้แี ทน
2
ขอ้ 4 ระเบียบนใี้ ห้ใชค้ วบค่กู ับหลกั สตู รโรงเรียนปางศิลาทองศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๓ ตามคาสัง่ กระทรวง
ศึกษาธิการ ท่ี สพฐ ๑๒๓๙ / ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖0 เร่ืองให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัต
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และประกาศสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
ลงวันท่ี ๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๑ เร่อื ง การบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ พร้อมทั้งคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาช้ันพื้นฐาน ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เรื่อง
ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๓ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเปล่ียนช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เปน็ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ข้อ ๕ ใหผ้ บู้ รหิ ารโรงเรยี นรกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บนี้
3
หมวด 1
หลกั การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ข้อ ๖ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั การตอ่ ไปน้ี
๖.๑ โรงเรยี นเป็นผู้รบั ผดิ ชอบการประเมินผลการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น โดยเปดิ โอกาสใหท้ กุ ฝ่าย
ท่เี กยี่ วขอ้ งมสี ่วนร่วม
๖.๒ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการ
เรยี น
๖.๓ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวช้ีวัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมินการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
๖.๔ การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจดั การเรียนการ
สอน ต้องดาเนินการด้วยเทคนิควธิ กี ารท่หี ลากหลาย เพอ่ื ใหส้ ามารถวดั และประเมินผลผ้เู รียนได้อยา่ งรอบด้าน
ทั้งด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด ธรรมชาติวิชาและ
ระดับชั้นของผูเ้ รียน โดยต้งั อยู่บนพ้ืนฐานของความเทีย่ งตรง ยตุ ธิ รรม และเชื่อถอื ได้
๖.๕ การประเมนิ ผ้เู รยี น พจิ ารณาจากพัฒนาการของผเู้ รยี น ความประพฤติ การสงั เกต
พฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความ
เหมาะสมของแต่ละระดบั และรูปแบบการศึกษา
๖.6 เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนและผมู้ ีสว่ นเกีย่ วข้องตรวจสอบและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖.๗ ให้มกี ารเทียบโอนผลการเรยี นระหวา่ งสถานศึกษา และระหว่างรูปแบบการศกึ ษาตา่ งๆ
๖.๘ ใหโ้ รงเรียนจัดทาเอกสารหลักฐานการศกึ ษา เพอ่ื เปน็ หลกั ฐานการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
รายงานผลการเรียน แสดงวฒุ กิ ารศกึ ษา และรบั รองผลการเรยี นของผเู้ รียน
4
หมวด 2
วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ข้อ 7 การวัดและประเมนิ ผลกลมุ่ สาระการเรียนร้เู พื่อพัฒนาผเู้ รียน ให้ถือปฏิบตั ิดงั นี้
๗.๑ แจ้งใหผ้ ้เู รยี นทราบตัวข้ีวดั ช้นั ปี/ชว่ งช้นั วิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑก์ ารผ่าน
ตัวช้ีวดั ชนั้ ป/ี ชว่ งช้ัน กอ่ นทาการสอนรายวซิ า / กลุ่มสาระการเรียนรนู้ ้นั
๗.๒ ประเมินวิเคราะห์ผู้เรียน เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนในแต่ละรายวิชา ทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ เพ่อื ตรวจสอบความรู้ ทักษะและความพร้อมด้านต่าง ๆ ของผ้เู รยี นโดยใชว้ ธิ ีการที่เหมาะสม แลว้ นาผล
การประเมินมาปรับปรุงซ่อมเสริม หรือเตรียมผู้เรียนทุกคนให้มีความพร้อมและมีความรู้พ้ืนฐาน ซึ่งจะช่วยให้
การจัดกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรยี นประสบความสาเร็จในการเรียนได้เป็นอย่างดี แต่จะไม่นาผลการประเมนิ
นี้ไปใช้ในการพิจารณาตัดสินผลการเรยี น
๗.๓ การประเมินความก้าวหน้าระหว่างเรียน เป็นการมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนให้
บรรลุผลตามมาตรฐาน / ตัวชี้วัดช้ันปี / ตัวช้ีวัดช่วงช้ัน ผลการเรียนรู้ตามหน่วยการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอนได้
วางแผนไว้เพ่ือให้ได้ข้อมูลสารสนเทศไปพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถ และเกดิ การพฒั นาการสูงสุดตามศักยภาพ และใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมนิ ผลปลายภาค
เรียน นอกจากน้ียงั ใชเ้ ป็นข้อมูลในการปรบั ปรุงกระบวนการจัดการเรียนรขู้ องครผู ู้สอน
๗.๔ การประเมินความสาเร็จหลังเรียน เป็นการประเมินเพื่อมุ่งตรวจสอบความสาเร็จของ
ผู้เรยี นใน ๒ ลักษณะ คือ
๗.๔.๑ การประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ เป็นการประเมินผู้เรียนในหน่วยการ
เรียนรู้ที่ได้เรียนจบแล้ว เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนตามตัวช้ีวัดหรือผลการเรียนรู้พัฒนาการของ
ผู้เรียน เม่ือนาไปเปรียบเทียบกับผลการประเมินท่ีได้จากการประเมินความสาเร็จวิเคราะห์ผู้เรียน ทาให้
สามารถประเมินศักยภาพในการเรยี นรู้ของผู้เรียน และประสทิ ธิภาพในการจัดการเรยี นรู้ของครูผูส้ อน ขอ้ มลู ที่
ได้จากการประเมินความสาเร็จภายหลังการเรียน สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขวิธีการเรียน
ของผเู้ รียน การพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรู้ของครูผสู้ อน หรือซ่อมเสริมผูเ้ รียนให้บรรลุผลตามมาตรฐาน/
ตวั ชว้ี ดั หรอื ผลการเรียนรู้
7.๔.๒ การประเมินผลปลายภาค / ปลายปี เป็นการประเมินผลเพื่อตรวจสอบ
ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในการเรียนรู้ตามมาตรฐาน / ตัวซ้ีวัด หรือผลการเรียนรู้ และใช้เป็นข้อมูลสาหรับ
ปรับปรุงแก้ไข ซ่อมเสริมผู้เรียนท่ีไม่ผ่านการประเมินมาตรฐาน / ตัวซี้วัด หรือผลการเรียนรู้ การประเมินผล
ปลายภาค / ปลายปี สามารถใช้วิธีการและเคร่ืองมือได้อย่างหลากหลาย โดยเลือกใช้ให้สอดคล้องกับ
มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ อาจใช้แบบทดสอบชนิดต่าง ๆ หรือประเมินโดยใช้ภาระงาน หรือ
กิจกรรม
5
สาหรับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีโรงเรียนต้องจัดให้ผู้เรียนทุกระดับช้ันนั้น
ครูผู้สอนท่รี ับผิดชอบต้องดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนอยา่ งมีเป้าหมาย มรี ูปแบบและวิธีการตามบริบท
ที่เหมาะสมของโรงเรยี น ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนตามที่โรงเรียนกาหนด จึงจะ
ผา่ นเกณฑ์การจบแตล่ ะระดบั การศกึ ษา
ขอ้ ๘ การกาหนดสดั สว่ นคะแนนระหวา่ งเรียน กับคะแนนปลายภาค / ปลายปี โดยให้ความสาคญั
ของคะแนนระหวา่ งเรยี นมากกวา่ คะแนนปลายภาค / ปลายปี โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา จงึ กาหนดสดั ส่วน
คะแนนระหว่างเรียน : ละแนนปลายภาค / ปลายปี ดังนี้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 70 : 30
กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ 70 : 30
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 70 : 30
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 70 : 30
กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษา และพลศึกษา 80 : 20
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ 80 : 20
กลุม่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพ 80 : 20
กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ 70 : 30
6
หมวด 3
การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น
ข้อ ๙ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ถือเป็นความสามารถหลักท่ีสาคัญซ่ึงจาเป็นต้องปลูกฝังและ
พัฒนาให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ด้วยกระบวนการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ขณะเดียวกันก็
จาเป็นต้องตรวจสอบว่า ความสามารถตังกล่าวเกิดข้ึนแล้วหรือยัง เนื่องจากการพัฒนาความสามารถด้านการ
อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาตามลาดับอย่างต่อเนื่องในกระบวนการจัดการเรียนรู้
หรือกิจกรรมต่าง ๆ กระบวนการตรวจสอบความก้าวหน้าท่ีเกิดข้ึนทั้งความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติ จะ
ดาเนินไปดว้ ยกันในกระบวนการ โดยโรงเรยี นดาเนินการดงั นี้
๙.๑ แต่งต้ังคณะกรรมการการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนของโรงเรียน เพ่ือกาหนดแนวทางในการพัฒนา ประเมิน ปรับปรุงแก้ไข และตัดสินผลการประเมิน
ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น เปน็ รายภาค และจบการศกึ ษาแตล่ ะระดับ
๙.๒ ศึกษานิยามหรือความหมายของความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
กาหนดชอบเขต และตัวชี้วัด พิจารณากาหนดรูปแบบ วิธีการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่านคิด
วเิ คราะห์ และเขียน ให้สอดคล้องกับบริบท และจดุ เนน้ ของโรงเรยี นในแตล่ ะระดับการศึกษา
๙.๓ ให้ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นผู้ดาเนินการพัฒนา ประเมินและปรับปรุงแก้ไข
ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ตามรูปแบบและวธิ กี ารที่กาหนดอยา่ งต่อเนื่อง
๙.๔ เม่อื สิน้ สุดการเรยี นรู้ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้เป็นรายภาค ใหค้ รูผสู้ อนสรุปและตดั สินผล
การประเมิน บนั ทกึ และรายงานผลความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน นาเสนอต่อคณะกรรมการ
การพัฒนาและประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ของโรงเรียน
7
หมวด ๔
การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อ ๑0 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นสิ่งท่ีโรงเรียนต้องการพัฒนาให้เกิดกับผู้เรียนในด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรม ค่านยิ ม จติ สานึก สามารถอยูร่ ว่ มกับผู้อ่ืนในสงั คมได้อย่างมีความสขุ ทงั้ ในฐานะพลเมืองและพลโลก
ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาชัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กาหนด ซ่ึงมี
อยู่ ๘ คุณลักษณะ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ชื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ
ทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ เป็นการประเมินที่ผู้เรียนทุกคนจะต้องได้รับการประเมินตามเกณฑ์ที่
โรงเรียนกาหนดจงึ จะไดร้ ับการพฒั นาให้เลื่อนช้นั และจบการศกึ ษา ใหถ้ อื ปฏบิ ัตดิ ังนี้
๑๐.๑ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการการพฒั นาและประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียน
(๑) กาหนดแนวทางในการพัฒนา แนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และ
แนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ขปรบั พฤติกรรม
(๒) พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายภาค และจบ
การศกึ ษาแต่ละระดับช้ัน
(๓) จัดระบบการปรบั ปรุงแก้ไข หรือปรบั พฤติกรรมด้วยวธิ กี ารท่เี หมะสม และส่งต่อ
ขอ้ มูลของผูเ้ รียนเพอ่ื การพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
๑๐.๒ ให้มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยในห้องเรียน
ให้ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมินผู้เรียน นอกห้องเรียนให้ครูที่ปรึกษา ครูประจาชั้น / ครูประจาวิซา ร่วมกันประเมิน
ผเู้ รยี นเปน็ ระยะ ๆ เพ่ือให้มกี ารส่งั สมและพฒั นาอย่างต่อเนื่อง โดยกาหนดวิธีการและเครื่องมือการประเมินให้
เหมาะสมกบั ตวั ช้ีวดั
๑๐.๓ เมอ่ื สิน้ ภาคเรยี น / สนิ้ ปีการศกึ ษา ครทู ีป่ รึกษา / ครผู สู้ อน แตล่ ะคนส่งผลการประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกคนท่ีรับผิดชอบให้คณะกรรมการการพัฒนาและประเมินผลคุณ
สักษณะอันพึงประสงคข์ องโรงเรียน โดยมคี รวู ดั ผลเปน็ เลขานภุ าร
๑๐.๔ ครูวัดผลดาเนนิ การประมวลผลตามเกณฑท์ ีโ่ รงเรียนกาหนด
๑๐.๕ เสนอผ้บู ริหารโรงเรยี นพิจารณาอนมุ ตั ิ
8
หมวด ๕
การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
ข้อ ๑1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่โรงเรียนต้องจัดให้ผู้เรียนทุกระดับชั้น เพื่อส่งเสริม
พัฒนาความสามารถของตนเองตามความถนดั ความสนใจ ใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ โดยมงุ่ เน้นการพัฒนาองค์รวมของ
ความเป็นมนุษย์ท้ังทางด้านร่างกาย สติ ปัญญา อารมณ์ และสังคม สร้างเยาวชนของชาติให้เป็นผู้มีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชนเ์ พื่อสังคมและสามารถบริหารจัดการ
ตนเองได้ การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นให้ถอื ปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
๑๑.๑ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกาหนดเกณฑ์การ
ประเมนิ และแนวดาเนนิ การเกย่ี วกับการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
๑๑.๒ การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นรายกิจกรรม
(๑) ตรวจสอบเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมของผเู้ รียนให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรยี นกาหนด
(2) ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนแต่ละกิจกรรม เป็นผู้ประเมินกิจกรรมของ
ผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ช้ินงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกาหนดด้วยวิธีที่
หลากหลายและใชก้ ารประเมินตามสภาพจรงิ
(๓) ผู้เรียนท่ีมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ช้ินงาน
ของผูเ้ รยี นตามเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด เป็นผผู้ า่ นการประเมนิ รายกิจกรรม และนาผลการประเมนิ ไปบันทึกใน
ระเบียนแสดงผลการเรยี น
(๔) ผู้เรียนที่มีผลการประเมิน ไม่ผ่านตามเกณฑ์เวลาเข้าร่วมกิจกรรม หรือเกณฑ์
การปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน / ช้ินงานของผู้เรียนหรือทั้งสองเกณฑ์ ถือว่าไม่ผ่านการประเมินกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน ครูผู้สอนต้องดาเนินการซ่อมเสริมและประเมินจนผ่าน ทั้งนี้ควรดาเนินการให้เสร็จสิ้นในปี
การศึกษานัน้ ยกเว้นมีเหตุสุดวสิ ยั ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพนิ ิจของโรงเรียน
๑๑.๓ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อการตดั สิน
เป็นการประเมินการผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายภาค / รายปี เพื่อสรุปผลการ
ผ่านในแต่ละกิจกรรม สรุปผลรวมเพื่อเล่ือนระดับชั้น และประมวลผลรวมในปีสุดท้ายเพ่ือจบการศึกษาภาค
บงั คบั และจบการศึกษาชัน้ พ้ืนฐาน มแี นวปฏิบัติดังน้ี
(๑) ครูวัดผลเป็นผู้รับผิดชอบในการเก็บรวบรวมข้อมูล เก่ียวกับการร่วมกิจกรรม
พฒั นาผเู้ รยี นของผูเ้ รียนทกุ คนตลอดระดับการศกึ ษา
(๒) ครูวัดผลสรุป และตัดสินผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนเป็น
รายบุคคลตามเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกาหนด เกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษาท่ีโรงเรียนกาหนด โดยผู้เรียน
จะต้องผ่านกิจกรรม ๆ กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคม และ
สาธารณประโยชน์
9
(๓) นาเสนอผลการประเมินต่อคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เพอ่ื ให้ความเหน็ ชอบ
(๔) เสนอผบู้ ริหารโรงเรยี น พจิ ารณาอนุมตั ผิ ลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารจบแต่
ละระดับการศกึ ษา
10
หมาด ๖
การตัดสินผลการเรียน
ข้อ ๑๒ การตดั สินผลการเรยี น
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีคุณภาพเต็มศักยภาพ โรงเรียนตราษตระการคุณ จึงกาหนดหลักเกณฑ์
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อตัดสินผลการเรียนของผเู้ รียน ดังน้ี
๑๒.๑ ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ย
ละ ๘๐ ของเวลาเรียนทง้ั หมดในรายวิชาน้ัน ๆ
๑๒. ๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวช้ีวัด และผลการเรียนรู้ และผ่านการประเมินทุก
ตัวชวี้ ดั และผลการเรยี นรู้ โดยกาหนดเกณฑก์ ารผ่านไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ ๖0
๑๒.๓ ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา โดยใช้ผลการประเมินระหว่างภาค
และปลายภาคตามสดั สว่ นทีโ่ รงเรียนกาหนด
๑๒.๔ ผูเ้ รยี นตอ้ งได้รับการประเมิน และมีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนได้
ระดบั คุณภาพตเี ยี่ยม หรอื ดี หรอื ผา่ นเกณฑ์
๑๒.๕ ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมิน และมผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ได้ระดับ
คณุ ภาพดีเยยี่ ม หรือดี หรือผา่ นเกณฑ์
๑๒.๖ ผู้เรียนต้องเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ได้ระดับ "ผ่าน" ทุกกจิ กรรม
ขอ้ ๑๓ การเปล่ยี นผลการเรียน
๑๓.๑ การเปลีย่ นผลการเรียน "0"
ครผู ู้สอนจดั การสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี้ ัด และผลการเรียนรู้ท่ี
ผู้เรียนสอบไม่ผ่านก่อนจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒ คร้ัง ถ้าผู้เรียนไม่ดาเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาท่ี
กาหนดให้อยู่ในดุลพินิจของโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน สาหรับภาคเรียนที่ 2
ต้องดาเนินการใหเ้ สร็จส้ินภายในปกี ารศกึ ษาน้ัน
ถา้ ผเู้ รยี นสอบแกต้ วั ๒ ครงั้ แลว้ ยังไดร้ บั ผลการเรียน" 0"อกี ใหโ้ รงเรยี นแตง่ ตัง้ คณะกรรมการ
ดาเนินการเกี่ยวกบั การเปลยี่ นผลการเรยี น โดยปฏิบตั ิ ดังนี้
(๑) ถา้ เป็นรายวชิ าพนื้ ฐานและเพ่มิ เติม (บงั คบั ) ใหเ้ รยี นซ้ารายวชิ านน้ั
(๒) ถ้าเป็นรายวชิ าเพิ่มเติม (เลือกเสรี ให้เรียนซ้าหรอื เปลยี่ นรายวชิ าเรียนใหม่ ทั้งน้ี
ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาใหม่ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียน
แทนรายวชิ าใด
๑๓.๒ การเปลี่ยนผลการเรยี น "ร"
การเปล่ยี นผลการเรียน "ร" มี ๒ กรณี ดังน้ี
11
๑๓.๒.๑ กรณผี ู้เรียนได้ผลการเรยี น"ร" เพราะมเี หตสุ ดุ วสิ ัย เช่น เจ็บป่วย เมื่อผ้เู รยี น
ได้เข้าสอบหรือส่งผลงานที่ติดค้างอยู่เสร็จเรียบร้อย หรือแก้ปัญหาเสร็จส้ินแล้ว ให้ได้ระดับผลการเรียน
ตามปกติ (ตั้งแต่ 0 - ๔)
๑๓.๒. ๒ กรณีผูเ้ รียนไดผ้ ลการเรยี น "ร" แตม่ ไี ด้เกิดจากเหตสุ ดุ วิสยั เช่น ไมเ่ ข้าเรยี น
ซ่ึงเกิดจากความตั้งใจ ไม่ได้เป็นเหตุสืบเน่ืองมาจากการเจ็บป่วย หากโรงเรียนพิจารณาแลว้ เห็นว่าผู้เรียนไดผ้ ล
การเรยี น "ร" แต่ไม่ไดเ้ กดิ จากเหตุสดุ วิสัย เมอ่ื ผ้เู รยี นได้เขา้ สอบ หรือสง่ ผลงานที่คิดค้างอยู่เสรจ็ เรียบร้อย หรอื
แกป้ ญั หาเสรจ็ ส้นิ แลว้ ใหไ้ ด้ระดับผลการเรียนไม่เกิน "๑"
ถา้ ผ้เู รยี นไม่ดาเนินการแก้ไข "ร" ให้ครูผ้สู อนนาข้อมูลท่ีมีอยู่ตดั สินผลการเรียน (ต้ังแต่๐ - ๔)
ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนท่ีจะขยายเวลาแก้ "ร" ออกไปอีก ๑ ภาคเรียนสาหรับภาค
เรียนท่ี ๒ ต้องดาเนินการให้เสร็จส้ินภายในปีการศึกษาน้ัน เมื่อพันกาหนดนี้ หากผลการเรียนเป็น "0" ให้
ดาเนินการแก้ไขตามหลักเกณฑ์ โดยปฏิบัตดิ ังนี้
(๑) ถา้ เป็นรายวชิ าพน้ื ฐานและเพิ่มเติม (บังคับ) ให้เรยี นซ้ารายวชิ านนั้
(๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม (เลือกเสรี ให้เรียนซ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ทั้งน้ีให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของโรงเรียน ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาใหม่ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน
รายวชิ าใด
๑3.๓ การเปล่ยี นผลการเรียน "มส"
การเปลี่ยนผลการเรียน "มส" มี ๒ กรณี ดงั น้ี
๑๓.๓.๑ การเปลีย่ นผลการเรียน "มส" เพราะมีเวลาเรยี นไมถ่ ึงร้อยละ ๘0 แต่มเี วลา
เรยี นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖0 ของเวลาเรียนในรายวชิ านัน้ ใหโ้ รงเรยี นจดั ให้เรียนเพิ่มเติมโดยใช้ชว่ั โมงสอนช่อม
เสริม หรือใช้เวลาว่าง หรือใช้วันหยุด หรือมอบหมายงานให้ทา จนมีเวลาเรียนครบตามกาหนดไว้สาหรับ
รายวิชานั้น แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเรียนเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้ "มส" ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน "๑"
การแก้ "มส" กรณีนี้ ให้กระทาให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษาน้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดาเนินการแก้ "มส" ตาม
ระยะเวลาที่กาหนดไว้น้ีให้เรียนซ้า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะขยายเวลาการ แก้
"มส" ออกไปอกี ไม่เกนิ ๑ ภาคเรยี น สาหรับภาคเรยี นท่ี ๒ ตอ้ งดาเนินการให้เสร็จสิน้ ภายในปีการศกึ ษานั้น เม่ือ
พ้นกาหนดนี้ หากผลการเรียนเป็น "0" ใหด้ าเนินการแก้ไขตามหลักเกณฑ์ โดยปฏิบตั ดิ ังน้ี
(๑) ถ้าเป็นรายวิซาพื้นฐานและเพมิ่ เตมิ (บงั คบั ) ให้เรียนซา้ รายวชิ านั้น
(๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม (เลือกเสรี ให้เรียนซ้าหรือเปลยี่ นรายวชิ าเรยี นใหม่ ท้ังนี้
ให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของโรงเรยี น
๑๓.๓.๒ กรณผี ู้เรยี นไดผ้ ลการเรียน "มส" และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของ
เวลาเรียนทง้ั หมด ให้โรงเรียนดาเนนิ การดังน้ี
(๑) ถ้าเป็นรายวิชาพน้ื ฐานและเพิ่มเตมิ (บังคบั ) ให้เรยี นซ้ารายวชิ าน้ัน
12
(๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม (เลือกเสรี ให้เรียนช้าหรือเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ทั้งนี้ให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของโรงเรียน ในกรณีท่ีเปล่ียนรายวิชาใหม่ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน
รายวิชาใด
การเรียนซ้ารายวิชา หากผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว ๒ ครั้งแล้วไม่ผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน ให้เรียนซ้ารายวิชาน้ัน ท้ังนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน ในการจัดให้เรียนซ้าในช่วงใดช่วงหน่ึงที่
โรงเรยี นเหน็ ว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยดุ ชว่ั โมงหลงั เลกิ เรียน ภาคฤดรู ้อน เปน็ ตน้
ในกรณภี าคเรียนที่ ๒ หากผ้เู รยี นยงั มผี ลการเรยี น "๐" "ร" "มส" ใหด้ าเนนิ การให้เสร็จสนิ้ ก่อนเปิดภาค
เรียนปกี ารศกึ ษาถัดไป
๑๓.๔ การเปลย่ี นผลการเรียน "มผ"
กรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรยี น "มผ" โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทากิจกรรมใน
ส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทาจนครบ แล้วจึงเปล่ียนผลการเรียนจาก"มผ"เป็น"ผ"ได้ ทั้งน้ี ดาเนินการ
ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนน้ัน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน ท่ีจะพิจารณาขยายเวลา
ออกไปอกี ไม่เกิน ๑ ภาคเรยี น สาหรบั ภาคเรยี นที่ ๒ ต้องดาเนินการใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศึกษาน้นั
ขอ้ ๑๔ การเลื่อนระดบั ชั้น
เมอ่ื สน้ิ ปกี ารศกึ ษา ผู้เรียนจะไดร้ บั การเล่ือนระดบั ช้ัน เมือ่ มคี ณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์ดงั นี้
๑๔.๑ รายวิซาพ้ืนฐาน รายวิชาเพิ่มเติม (บังคับ) และรายวิซาเพิ่มเติม (เลือกเสรี) ได้รับการ
ตดั สนิ ผลการเรียนผา่ นเกณฑท์ ่โี รงเรยี นกาหนด
๑๔.๒ ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมินและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนดใน
การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
๑๔.๓ ระดบั ผลการเรียนเฉลย่ี ในปกี ารศึกษานนั้ ควรไดไ้ ม่ตา่ กวา่ ๑.๐๐
ทั้งน้ีรายวิซาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน โรงเรียนสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้
ไดร้ บั การแก้ไข่ในภาคเรียนถดั ไป
หรือถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเล็กน้อย และโรงเรียนพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนา
และซอ่ มเสริมได้ ให้อย่ใู นดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะผอ่ นผันให้เสื่อนระดบั ชน้ั ได้
ข้อ ๑๕ การสอนซอ่ มเสรมิ
การสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกหร่องกรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ
กระบวนการหรือเจตคติ / คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกาหนด โรงเรียนต้องจัดสอนซ่อมเสริม
เปน็ กรณีพเิ ศษนอกเหนือไปจากการสอนปกติ เพ่อื พฒั นาใหผ้ ู้เรียนสามารถบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ /
ตัวชี้วัด และผลการเรียนรู้ ท่ีกาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ที่หลากหลาย และตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล สามารถดาเนนิ การไดใ้ นกรณี ดังตอ่ ไปน้ี
๑๕.๑ ผู้เรียนมีความรู้ / ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอท่ีจะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น
ควรจัดการสอนซ่อมเสริมปรบั ความรู้ / ทกั ษะพ้นื ฐาน
13
๑๕.๒ ผู้เรียนไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการ หรอื เจตคติ / คุณลักษณะ
ที่กาหนดไวใ้ นมาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด และผลการเรยี นรู้ ในการประเมนิ ผลระหว่างเรียน
๑๕.๓ ผูเ้ รียนทไ่ี ดร้ ับผลการเรยี น "0" ให้จดั การสอนซอ่ มเสริมก่อนการสอบแกต้ ัว
ข้อ ๑๖ การเรียนซา้ ชน้ั
ผู้เรียนท่ีไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่า จะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน
ระดับชั้นที่สูงข้ึนโรงเรียนอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนช้าชั้นได้ท้ังน้ีให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้
ความสามารถของผ้เู รียนเปน็ สาคัญ การเรียนซ้าชน้ั มี ๓ ลักษณะ ดงั นี้
๑๖.๑ ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ากว่า ๑.00 และมี
แนวโนม้ ว่าจะเป็นปญั หาตอ่ การเรียนในระดบั ท่สี งู ขนึ้
๑๖.๒ ผูเ้ รียนมีผลการเรยี น "0" "ร" "มส" เกนิ ครึ่งหนึ่งของรายวชิ าที่ลงทะเบียนในปี
การศึกษาน้ัน
๑๖.๓ ผู้เรียนมีผลการเรียน "0" สะสมค้างปีในกรณีท่ีไม่สามารถดาเนินการแก้ไขให้
เสร็จส้นิ ในภาคเรยี นที่ ๒ ของปีการศึกษาน้นั เกนิ ๖ รหัสวชิ า
ท้ังน้ี หากเกิดลักษณะใดลักษณะหน่ึง หรือทั้ง ลักษณะ ให้โรงเรียนสามารถ
ดาเนินการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียน และทาบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่าง ผู้บริหาร ครู
ผู้ปกครอง และนักเรียน แล้วทาการประเมินผลจนผู้เรยี นสามารถผา่ นเกณฑ์การประเมินท่ีสถานศึกษากาหนด
ในกรณีได้ทาบันทึกข้อตกลงร่วมกันแลว้ แต่ไม่สามาระแก้ไขผลการเรียนได้ ก็ให้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา
ให้เรียนซ้าโดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้าช้ัน ให้
อย่ใู นดุลยพนิ ิจของโรงเรยี นในการแก้ไขผลการเรียน
14
หมวด 7
การให้ระดบั ผลการเรยี น
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ใหร้ ะดับผลการเรียนรายวิชา ประกอยด้วย ระบบตวั เลข ระบบรอ้ ยละ
และระบบท่ใี ชค้ าสาคัญสะทอ้ นมาตรฐาน
ข้อ ๑๗ การตดั สนิ เพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวชิ า สามารถเทียบกันได้ ดงั น้ี
ระบบตวั เลข ระบบรอ้ ยละ ระบบทใ่ี ช้คาสาคัญสะทอ้ นมาตรฐาน
4 80-100 ดีเยย่ี ม
3.5 75-79 ดีมาก
3 70-74 ดี
2.5 65-69 คอ่ นข้างดี
2 60-64 น่าพอใจ
1.5 55-59 พอใช้
1 50-54 ผา่ นเกณฑ์ข้ันต่า
0 0-49 ตา่ กวา่ เกณฑ์
ข้อ ๑๘ การตัดสินผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพ่ือการเล่ือนระดับชั้น และจบ
การศกึ ษา กาหนดเกณฑก์ ารตัดสนิ เปน็ 4 ระดบั และความหมายของแต่ละระดบั เปน็ ดังนี้
๓ = ดีเยย่ี ม หมายถงึ มผี ลงานท่แี สดงความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
ทม่ี ีคณุ ภาพตเี ลิศอยูเ่ สมอ
2 = ด่ี หมายถึง มีผลงานที่แสดงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ทีม่ ีคุณภาพเปน็ ท่ยี อมรับ
1 = ผ่าน หมายถงึ มผี ลงานทแ่ี สดงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น
ทม่ี คี ณุ ภาพเป็นที่ยอมรบั แต่ยังมขี ้อบกพรอ่ งบางประการ
0 = ไม่ผ่าน หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น
หรือถา้ มผี ลงาน ผลงานนั้นยังมขี อ้ บกพร่องทต่ี อ้ งรับการปรับปรงุ
แก้ไขหลายประการ
ข้อ ๑๙ การตดั สนิ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพอ่ื การเลือ่ นระดับชัน้ และจบการศึกษา
กาหนดเกณฑก์ ารตัดสินเปน็ 2 ระดบั และความหมายของแตล่ ะระดับ เป็นดงั น้ี
3 = ดเี ย่ียม หมายถึง ผ้เู รียนปฏิบัตติ นตามคณุ ลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวัน เพือ่ ประโยชนส์ ขุ ของตนเอง และสงั คม โดยมีผล
การประเมินระดบั ดีเยย่ี ม จานวน ๕ - ๘ คณุ ลักษณะ และไม่มี
คุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมินตา่ กว่าระดับดี
15
2 = ดี หมายถึง ผ้เู รียนมีคณุ ลักษณะในการปฏบิ ัติตนตามเกณฑ์ เพ่ือใหเ้ ป็นการ
ยอมรบั ของสังคม โดยพิจารณาจาก
1) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ยีย่ ม จานวน 1 - ๔ คณุ ลักษณะ และไมม่ ีคุณลกั ษณะ
ใด ไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากวา่ ระดับดี หรอื
๒) ได้ผลการประเมนิ ระดับดเี ยย่ี ม จานวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใด
ได้ผลการประเมนิ ตา่ กวา่ ระดับผา่ น หรือ
๓) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี จานวน ๕ - ๘ คณุ ลกั ษณะ และไมม่ คี ุณลกั ษณะใด
ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดบั ผา่ น
1 = ผ่าน หมายถงึ ผ้เู รียนรับรูแ้ ละปฏบิ ตั ิตนตามเกณฑ์และเงอ่ื นไขที่โรงเรียนกาหนด
โดยพิจารณาจาก
๑) ไดผ้ ลการประเมินระดับผ่าน จานวน ๕ - ๘ คณุ ลกั ษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใด
ไดผ้ ลการประเมินต่ากวา่ ระดับผา่ น หรือ
๒) ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไม่มีคุณลกั ษณะใดได้ผล
การประเมินต่ากวา่ ระดบั ผ่าน
0 = ไม่ผา่ น หมายถึง ผ้เู รยี นรบั รแู้ ละปฏิบัตติ นได้ไม่ครบตามเกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่
โรงเรียนกาหนด โดยมผี ลการประเมินระดบั ไม่ผา่ น ตงั้ แต่ 1
คุณลกั ษณะ
ข้อ ๒๐ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรม และผลงานของผูเ้ รยี นตามเกณฑท์ ี่โรงเรยี นกาหนด และให้ผลการประเมินเปน็ ผา่ นและไมผ่ า่ น
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น มี ๓ ลกั ษณะ คือ
๑. กิจกรรมแนะแนว
๒. กจิ กรรมนกั เรียน
๒.๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น คือ กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี และระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย คือ กิจกรรมสี
๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม ชมรม
๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
ใหใ้ ช้ตวั อกั ษรแสดงผลการประเมิน ดงั น้ี
"ผ" หมายถึง ผเู้ รยี นมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปฏบิ ตั ิกิจกรรมและมผี ลงาน
ตามเกณฑท์ ่ีโรงเรียนกาหนด
"มผ" หมายถึง ผ้เู รียนมเี วลาเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ปฏิบตั กิ จิ กรรมและมีผลงานไม่
เป็นไปตามเกณฑท์ ่โี รงเรียนกาหนด
16
หมวด ๘
การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรยี นเป็นการส่ือสาร ให้ผูป้ กครองและผเู้ รียนทราบความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน ซ่ึงโรงเรียนต้องสรุปผลการประเมิน และจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรือ
อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง
ข้อ ๒๑ เม่อื สิน้ ภาคเรียน / ปลายปี โรงเรยี นต้องจัดทารายงานผลการเรยี นใหผ้ เู้ กย่ี วข้องทราบ ดงั น้ี
๒๑.๓ แบบบันทกึ ผลการเรยี นประจารายวิชา
๒1.๒ แบบรายงานประจาตวั นกั เรียน
ขอ้ ๒๒ เม่ือจบการศกึ ษาระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (การศึกษาภาคบงั คับ) และระดบั มัธยมศึกษา
ตอนปลาย (การศึกษาชั้นพ้นื ฐาน) โรงเรียนต้องจดั ทารายงานผลการเรยี นให้ผู้เกีย่ วซ้องทราบ ตังนี้
๒๒.๓ ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.๑)
๒๒.๒ ประกาศนียบัตร (ปพ.๒)
๒๒.๓ แบบรายงานผ้สู าเร็จการศึกษา (ปพ.๓)
ข้อ ๒๓ รายงานคณุ ภาพการศกึ ษาใหผ้ ูเ้ กีย่ วข้องทราบ
17
หมวด ๙
เกณฑ์การจบการศึกษา
ขอ้ ๒๔ เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (จบการศกึ ษาภาคบังคบั ) กาหนดหลักเกณฑ์ ดังน้ี
๒๔.๑ ผู้เรยี นเรียนรายวิชาพ้นื ฐานและเพ่มิ เติมโดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน ๖๖ หนว่ ยกิต และ
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกติ
๒๔.๒ ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พื้นฐาน ๖๖ หนว่ ยกิต และเป็นรายวิชาเพิม่ เตมิ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑5 หนว่ ยกติ
๒๔.๓ ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ไดร้ ะดับคุณภาพ ดีเยี่ยมหรอื
ดี หรอื ผา่ นเกณฑ์
๒๔.๔ ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้ระดับคุณภาพ ดีเย่ียม หรือดี
หรอื ผา่ นเกณฑ์
๒๔.๕ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้
ระดับ "ผา่ น" ทุกกจิ กรรม
ข้อ ๒๕ เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (หลกั สตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน) กาหนดหลกั เกณฑ์
ดงั น้ี
๒๕.1 ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และ
เปน็ รายวชิ าเพิม่ เติมไม่น้อยกว่า 40 หนว่ ยกิต
๒๕.๒ ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พน้ื ฐาน ๔๑ หนว่ ยกติ และเป็นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ไมน่ อ้ ยกว่า 40 หนว่ ยกติ
๒๕.๓ ผู้เรยี นมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ได้ระดับคุณภาพ ดเี ย่ยี มหรือ
ดี หรอื ผ่านเกณฑ์
๒๕.๔ ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม หรือดี
หรอื ผ่านเกณฑ์
๒๕.๕ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้
ระดบั "ผา่ น" ทุกกิจกรรม
ข้อ ๒๖ ระยะเวลาในการจบหลักสูตร ผู้เรียนท่ีจบหลักสูตรในปีการศึกษา ต้องจบหลักสูตรภายใน
เดือน มีนาคม ของปีการศึกษานั้น ๆ หากไม่สามารถจบหลักสูตรในเดือนมีนาคม โรงเรียนกาหนดให้นักเรียน
"เรียนซ้า" เพื่อแก้ไขผลการเรียนและดาเนินการให้เสร็จส้ินตามเวลาที่สถานศึกษากาหนด ทั้งนี้ ไม่เกินเดือน
เมษายนของปีการศึกษานนั้ ๆ
18
หมวด ๑๐
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษาถือเป็นเอกสารสาคัญท่ีโรงเรียนต้องจัดทา เพ่ือใช้ในการดาเนินงานในด้าน
ต่าง ๆ ของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาช้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๖๐) กาหนดเอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่ีโรงเรียนจะตอ้ งดาเนนิ การดังน้ี
ข้อ ๒๗ เอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด เป็นเอกสารที่กระทรวงศึกษาธิการ
ควบคุมและบงั คบั แบบ เพ่ือใชเ้ ป็นหลักฐานสาหรบั การตรวจสอบ ยืนยนั และรับรองผลการเรยี นของผเู้ รียน
๒๗.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลผลการเรียนของ
ผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ได้แก่ผล
การเรียน ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลการประเมิน
คณุ ลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์ และผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน โรงเรียนจะตอ้ งจดั ทาและออกเอกสารน้ี
ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เม่ือผู้เรียนสาเร็จการศึกษาแต่ละระดับหรือเมื่อผู้เรียนออกจากโรงเรียนในทุกกรณี
เพ่อื ใชแ้ สดงผลการเรียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.
๒๕๖๐)
๒๗.๒ ประกาศนียบัตร (ปพ.๒) เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาท่ีมอบให้แก่ผู้จบการศึกษา
ภาคบังคับ และผู้จบหลักสูตรการศึกษาช้ันพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาช้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เพ่ือรับรองศักด์ิและสิทธ์ิของผู้สาเร็จการศึกษาตามวุฒิแห่ง
ประกาศนียบตั รนนั้
๒๗.๓ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.3) เป็นเอกสารสาหรับอนุมัติการจบการศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ของผู้เรียนใน
แต่ละรุ่นการศึกษา โดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลทางการศึกษาของผู้จบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปี
ท่ี ๓) และผ้จู บหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖) ใชเ้ ป็นเอกสารสาหรับตดั สินและอนุมัติผล
การเรียนให้ผู้เรียนเป็นผู้สาเร็จการศึกษา และใช้ในการตรวจสอบย่ืนยัน และรับรองความสาเร็จและวุฒิ
การศกึ ษาของผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาแตล่ ะคนตลอดไป
ข้อ ๒๘ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่โรงเรียนกาหนด เป็นเอกสารที่โรงเรียนจัดทาข้ึนเพ่ือบันทึก
พัฒนาการ ผลการเรยี นรู้ และขอ้ มูลสาคญั เก่ยี วกบั ผู้เรยี น
๒๘.๑ แบบบันทึกผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นเอกสารท่ีโรงเรียนจัดทาข้ึนเพื่อให้ครูผู้สอน
ใช้บันทึกข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนตามแผนการเรียนการสอน และประเมินผลการเรียน และใช้
เป็นข้อมูลในการพิจารณาตัดสินผลการเรียนแต่ละรายวิชา เอกสารน้ีจัดทาเพ่ือเป็นข้อมูลของผู้เรียนเป็นราย
หอ้ งนาไปใชป้ ระโยชน์ ดังนี้
19
(๑) ใช้เป็นเอกสารเพื่อการดาเนินงานของครูผู้สอนแต่ละคนในการวัดและ
ประเมินผล กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนในแตล่ ะรายกลมุ่ รายวิชา และรายหอ้ ง
๒) ใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเก่ียวกับ
วิธกี าร และกระบวนการวัดและประเมินผลกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
(๓) เป็นเอกสารที่ผู้บริหารโรงเรียน ใช้ในการอนุมัติผลกิจกรรมพัฒนา
ผเู้ รยี น ประจาภาค /ปกี ารศึกษา
๒๘.๒ แบบรายงานประจาตัวนักเรียน เป็นเอกสารที่โรงเรียนจัดทาขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลการ
ประเมินผลการเรียนรู้ และพัฒนาการต่าง ๆ ของผู้เรียนแต่ละคนตามเกณฑ์การตัดสินการผ่านระดับชั้น ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) รวมทั้งข้อมูลด้าน
อ่ืน ๆ ของผู้เรียนท้ังที่บ้านและที่โรงเรียน เป็นรายยุคคล สาหรับส่ือสารให้ผู้ปกครองของผู้เรียนแต่ละคนได้
รบั ทราบผลการเรยี นและพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ของผเู้ รียน และร่วมมือในการพฒั นาผเู้ รียนอย่างต่อเนื่อง
๒๘.๓ ใบรับรองผลการเรียน เป็นเอกสารท่ีโรงเรียนจัดทาขึ้นเพื่อรับรองสถานภาพความเปน็
ผ้เู รยี นในโรงเรียนท่ีกาลงั ศึกษาอยหู่ รือรบั รองผลการเรียน หรอื วฒุ ิของผู้เรยี นเป็นการชัว่ คราวตามทีผ่ ู้เรียนร้อง
ขอ ทั้งน้ีกรณีท่ีผู้เรียนกาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน หรือเม่ือเรียนจบการศึกษาไปแล้วแต่กาลังรอรับหลักฐาน
การศึกษา ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.๑)
ใบรับรองผลการเรยี นมีอายุใช้งานช่ัวคราว ประมาณ ๑๒0 วนั ซึง่ ผ้เู รียนสามารถนาไปใช้เป็น
หลกั ฐานแสดงคณุ สมบตั ิของผ้เู รียนในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมคั รเขา้ ทางานหรือเมื่อกรณอี ่ืนใดท่ผี ู้เรยี นแสดง
คุณสมบตั เิ ก่ียวกับวฒุ ิความรู้หรอื สถานภาพการเปน็ นกั เรยี นของตน
20
หมวด ๑๑
การเทยี บโอนผลการเรียน
ขอ้ ๒๙ โรงเรียนสามารถเทยี บโอนผลการเรียนของผเู้ รียนจากสถานศึกษาได้ในกรณตี ่าง ๆ ไดแ้ ก่ การ
ยา้ ยสถานศกึ ษา การเปลีย่ นรปู แบบการศกึ ษา การย้ายหลกั สตู ร การออกกลางคันและการขอกลับเขา้ ศกึ ษาต่อ
การศึกษาต่อต่างประเทศ และการขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ
ประสบการณ์จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ
การจัดการศกึ ษาโดยครอบครัว เป็นต้น
ข้อ ๓๐ การเทียบโอนผลการเรียน ควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน หรือต้นภาคเรียน ที่
โรงเรยี นผ้ขู อเทียบโอนผลการเรียน ทง้ั น้ผี ้เู รียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเน่ืองในโรงเรียน
ทร่ี ับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยโรงเรยี นท่ีรับการเทียบโอนควรกาหนดรายวิชาจานวนหนว่ ยกิตท่ีจะ
รบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม สามารถดาเนินการไดด้ ังน้ี
๓๐.๑ พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอื่น ๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้
ความสามารถของผู้เรียน
๓๐.๒ พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ท้ัง
ภาคความรู้และภาคปฏิบตั ิ
๓๐.3 พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัตใิ นสภาพจริง
ข้อ ๓1 การเทยี บโอนผลการเรียน ใหด้ าเนนิ การในรูปของคณะกรรมการการเทยี บโอนจานวนไม่น้อย
กว่า ๓ คน แต่ไมค่ วรเกนิ ๕ คน โดยมีแนวทางในการเทียบโอน ดังนี้
๓1.1 กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอ่ืน ให้นารายวิชาหรือหน่วยกิตท่ีมี
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด / ผลการเรียนรู้ / จดุ ประสงค์ / เน้อื หาทส่ี อดคล้องกันไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๖0 มา
เทยี บผลการเรียน และพจิ ารณาให้ระตบั ผลการเรียนใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู รทรี่ ับเทียบโอน
31.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน
(ถ้ามี โดยให้มีการประเมินด้วยเคร่ืองมือที่หลากหลาย และให้ระดับผลการเรยี นให้สอดคล้องกับหลักสูตรทรี่ ับ
เทียบโอน
31.3 กรณีการเทียบโอนนักเรียนท่ีเข้าโครงการแลกเปล่ียนต่างประเทศ ให้ดาเนินการตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองหลักการ และแนวปฏิบัติการเทียบช้ันการศึกษาสาหรับนักเรียน ท่ีเข้าร่วม
โครงการแลกเปลี่ยน
ทั้งน้ี วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามหลักการ และแนวทางการเทียบโอนผลการ
เรียนตามประกาศของกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง การเทยี บโอนผลการเรยี นการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
21
หมวด 32
บทเฉพาะกาล
ขอ้ ๓๒ ใหใ้ ช้ระเบียบโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา วา่ ด้วยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) พ.ศ.๒๕๖4 กับผู้เรียนใน
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๖4
ข้อ ๓3 การเปลี่ยนแปลงแก้ไข เพิ่มเติมระเบียบนี้ ต้องได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา แล้วเสนอขอความเป็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของโรงเรียนเพือ่ ประกาศใช้ตอ่ ไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖4
(ลงชอื่ )........................................... (ลงชือ่ )...........................................
(นายสวัสดิ์ ม่งุ งาม) (นายธนายทุ ธ คลงั วงษ์)
ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ผู้อานวยการโรงเรียนปางสิลาทองศกึ ษา
โรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา
22
แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู ร
โรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรุง 2560) พ.ศ 2564
สว่ นที่ 1 การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ
ส่วนที่ 2 การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
สว่ นที่ 3 การประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
ส่วนที่ 4 การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น
สว่ นท่ี 5 เกณฑ์การตดั สินการเล่ือนช้ัน และจบหลักสตู ร
สว่ นท่ี 6 การประเมนิ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นระดบั ชาติ
สว่ นที่ 7 แนวปฏบิ ัตใิ นช่วงการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัส COVID 19
23
แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
เป้าหมายสาคัญของการประเมินผลการเรียนหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ เพื่อนาผลการประเมินไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการ
เรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยการนาผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการ
ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนโดยตรง นาผลไปปรับปรุงแก้ไขผลการจัด
กระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น รวมทั้งนาไปใช้ในการพิจารณาตัดสินความสาเร็จทางการ ศึกษา
ของผู้เรียน ตลอดจนความสาเรจ็ ของผสู้ อนอีกดว้ ย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา พุทธศักราช 2551
(ปรับปรุง พ.ศ. 2560) พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย
สว่ นท่ี 1 การประเมินผลการเรียนรตู้ ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่ม โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ได้
ดาเนินการประเมินผล ในลักษณะตา่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี
1. การประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น
การประเมินผลก่อนเรียน กาหนดให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้อง
ประเมินผลก่อนเรียน เพ่ือหาสารสนเทศของผู้เรียนในเบื้องต้น สาหรับนาไปจัดกระบวนการเรียนรู้ให้
สอดคลอ้ งกบั พืน้ ฐานของผเู้ รียน ตามแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ แตจ่ ะไม่นาผล
การประเมินน้ีไปใช้ในการพิจารณาตัดสินผลการเรียน การประเมินผลก่อนเรียนประกอบด้วยการ ประเมิน
ดงั ตอ่ ไปน้ี
1.1 การประเมนิ ความพรอ้ มและพ้ืนฐานของผเู้ รียน
เป็นการตรวจสอบความรู้ ทักษะ และความพร้อมต่าง ๆ ของผู้เรียนที่เป็นพื้นฐานของ
เร่ืองใหม่ๆ ที่ผู้เรียนต้องเรียนโดยใช้วิธีการท่ีเหมาะสม เพ่ือจะได้ทราบว่าผู้เรียนมีความพร้อมและพ้ืนฐานที่จะ
เรียนทุก คนหรือไม่ แล้วนาผลการประเมินมาปรับปรุง ซ่อมเสริม หรือเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมและ
พื้นฐาน พอเพียงทุกคนซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนได้เป็นอย่างดี การประเมินพ้ืนฐาน
และความพร้อมของผู้เรียนก่อนเรียน จึงมีความสาคัญและจาเป็นที่ผู้สอนทุกคนจะต้องดาเนินการ เพ่ือเตรียม
ผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเรียนทุกคร้ังจะทาให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ
คาดหวังความสาเร็จได้อย่างแน่นอน การประเมินความพร้อมและพื้นฐานของผู้เรียนก่อนเรียนมีแนวปฏิบัติ
ดงั นี้
1) วิเคราะห์ความรูแ้ ละทกั ษะท่เี ปน็ พ้ืนฐานก่อนเรียน
2) เลือกวิธีการและจัดทาเคร่ืองมือสาหรับประเมินความรู้ และทักษะพื้นฐานอย่าง
เหมาะสมและมี ประสิทธภิ าพ
3) ดาเนนิ การประเมนิ ความรู้และทักษะพน้ื ฐานของผู้เรยี น
4) นาผลการประเมินไปดาเนินการปรับปรุงผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
อย่างพอเพียงก่อน ดาเนินการสอน
5) จดั การเรยี นการสอนในเรอื่ งทจ่ี ัดเตรยี มไว้
24
1.2 การประเมนิ ความรอบรใู้ นเรื่องที่จะเรยี นก่อนการเรยี น
เป็นการประเมนิ ผเู้ รยี นในเร่ืองทจ่ี ะทาการสอน เพ่ือตรวจสอบว่าผ้เู รียนมีความรู้และ
ทักษะในเร่ือง ที่จะเรียนน้ันมากน้อยเพียงไร เพ่ือนาไปเป็นข้อมูลเบื้องต้นของผู้เรียนแต่ละคนว่า เร่ิมต้นเรียน
เรื่องนั้น ๆ โดยมีความรู้เดิมอยู่เท่าไรเพ่ือจะได้นาไปเปรียบเทียบกับผลการเรียนภายหลัง การเข้าร่วมกิจกรรม
การเรยี น ตามแผนการเรยี นรแู้ ล้ว ว่าเกดิ พัฒนาการหรือเกิดการเรยี นรู้เพ่ิมขึ้นหรือไมเ่ พยี งไร ซึ่งจะทาให้ทราบ
ถึง ศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน และประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรมการเรียน ซึ่งจะใช้เป็นประโยชน์ใน
การสนองตอบการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนแต่ละกลุ่มต่อไป แต่ประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นในเบื้องต้นของการ
ประเมินผลกอ่ นเรียน ก็คอื ผู้สอนสามารถนาผลการประเมนิ ไปใช้เปน็ ขอ้ มูลในการจดั เตรยี ม วิธกี ารจดั กจิ กรรม
การเรียนให้สอดคล้องกับความรู้เดิมของผู้เรียนว่าต้องจัดอย่างเข้มข้นหรือมากน้อยเพียงไร จึงจะ ทาให้
แผนการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาการต่าง ๆ ตามตัวชี้วัด ด้วยกัน
ทุกคน ในขณะที่ไม่ทาให้ผู้เรยี นมีพ้ืนความรู้เดมิ อยู่แล้วเกิดความรู้สกึ เบ่ือหน่าย และเสียเวลาเรียน ในส่ิงที่ตนรู้
แลว้ การประเมนิ ความรอบรูก้ ่อนเรียนมีขน้ั ตอนการปฏิบตั ิเหมือนกับการประเมินความพรอ้ ม และพื้นฐานของ
ผู้เรียนต่างกนั เฉพาะความรู้ ทกั ษะทจ่ี ะประเมนิ เทา่ น้ัน
2. การประเมนิ ระหว่างเรยี น
การประเมินระหว่างเรียนเป็นการประเมินที่มุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนว่าบรรลุ
จุดประสงค์ การเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีครูได้วางแผนไว้หรือไม่ เพื่อนาสารสนเทศที่ได้จากการ
ประเมินไปสู่ การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถและเกิด
พฒั นาการ สงู สุดตามศกั ยภาพ การประเมินผลระหว่างเรียนมีแนวทางในการปฏบิ ัตติ ามข้นั ตอน ดงั น้ี
2.1 วางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลระหว่างเรียน ผู้สอนจัดทาแผนการเรียนรู้
กาหนด แนวทางการประเมินผลให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด ซ่ึงในแผนการเรียนรู้จะระบุภาระงานที่จะทาให้
ผเู้ รียน บรรลุตามตวั ชว้ี ัดอย่างเหมาะสม
2.2 เลือกวิธีการประเมินที่สอดคล้องกับภาระงานหรือกิจกรรมหลักท่ีกหนดให้ผู้เรียน
ปฏิบัติ ท้ังนี้ วิธีการประเมินท่ีเหมาะสมอย่างย่ิงสาหรับการประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากส่ิงท่ี
ผู้เรียนได้แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ ทักษะ และความสามารถ ตลอดจนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันเป็น
ผลจากการ เรียนรู้ ตามที่ผู้สอนได้จัดกระบวนการเรียนรู้ให้วิธีการประเมินท่ีผู้สอนสามารถเลือกใช้ใน
การประเมนิ ระหวา่ งเรยี น มดี ังน้ี
1) การประเมินดว้ ยการสือ่ สารสว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่
(1) การถามตอบระหว่างทากจิ กรรมการเรียน
(2) การพบปะสนทนาพดู คยุ กบั ผู้เรยี น
(3) การพบปะสนทนาพดู คุยกบั ผู้เก่ียวขอ้ งกับผเู้ รยี น
(4) การสอบปากเปล่าเพือ่ ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ และทัศนคติ
(5) การอ่านบันทกึ เหตุการณ์ต่าง ๆ ของผูเ้ รียน
(6) การตรวจแบบฝกึ หัดและการบ้าน พรอ้ มใหข้ ้อมูลปอ้ นกลบั
25
2) การประเมินจากการปฏบิ ัติ (Performance Assessment)
เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมที่ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติเพื่อให้ได้
ข้อมูลสารสนเทศว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด การประเมินการปฏิบัติผู้สอนต้องเตรียมการในสิ่ง
สาคญั 2 ประการ คอื
(1) ภาระงานหรือกิจกรรมทจ่ี ะให้ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิ (Tasks)
(2) เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics)
วิธกี ารประเมินการปฏบิ ตั ิจะเปน็ ไปตามลักษณะงาน ดงั นี้
ก. ภาระงานหรอื กิจกรรมที่ผ้สู อนกาหนดให้ผู้เรียนทาเป็นรายบุคคล/กลุ่ม จะประเมนิ วธิ ีการ
ทางานตามขั้นตอนและผลงานของผเู้ รียน
ข. ภาระงานหรือกิจกรรมท่ีผู้เรียนปฏิบัติเป็นปกติในชีวิตประจาวันจะประเมินด้วยวิธีการ
สังเกต จดบันทกึ เหตกุ ารณเ์ ก่ยี วกับผ้เู รยี น
ค. การสาธิต ได้แก่ การให้ผู้เรียนแสดงหรือปฏิบัติกิจกรรมตามที่กาหนด เช่น การใช้
เครื่องมือปฏิบัติงาน การทากายบริหาร การเล่นดนตรี จะประเมินวิธีการและขั้นตอนในการสาธิตของ ผู้เรียน
ด้วยวธิ ีการสังเกต
ง. การทาโครงงาน การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดให้ผู้สอน
ตอ้ งมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ฏิบัตโิ ครงงานอย่างน้อย 1 โครงงานในทุกชว่ งช้นั ดังนน้ั ผู้สอนจงึ ต้องกาหนดภาระ
งานในลักษณะของโครงงานใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ตั ใิ นรปู แบบหนึง่ ใน 4 รปู แบบต่อไปน้ี
(1) โครงงานสารวจ
(2) โครงงานส่ิงประดิษฐ์
(3) โครงงานแก้ปญั หาหรือการทดลองศึกษาคน้ คว้า
(4) โครงงานอาชพี
วธิ กี ารประเมนิ ผลโครงงาน ใช้การประเมิน 3 ระยะ คอื
1) ระยะกอ่ นทาโครงงาน โดยประเมินความพรอ้ มด้านการเตรียมการ และความเปน็ ไป ได้ใน
การปฏบิ ตั งิ าน
2) ระยะทาโครงงาน โดยประเมนิ การปฏิบัติจริงตามแผน วธิ กี ารและขั้นตอนกาหนดไว้ และ
การปรับปรุงงานระหวา่ งปฏิบัติงาน
3) ระยะส้ินสุดการทาโครงงาน โดยประเมินผลงานและวิธีการนาเสนอผลการดาเนิน
โครงงานการกาหนดให้ผเู้ รียนทาโครงงาน สามารถทาได้ 3 แบบ คือ
1) โครงงานรายบุคคล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกปฏิบัติงานตามความสามารถ
ความ ถนดั และความสนใจ
2) โครงงานกลุ่ม เป็นการทาโครงงานขนาดใหญ่และซับซ้อนต้องให้ผู้เรียนท่ีมี
ความสามารถต่างกนั หลายดา้ นชว่ ยกันทา การประเมินโครงงานควรเน้นการประเมินกระบวนการกลุ่ม
3) โครงงานผสมระหวา่ งรายบคุ คลกับกลุ่ม เป็นโครงงานท่ีผเู้ รียนทาร่วมกัน แต่เม่ือ
เสร็จ งานแล้วให้แต่ละคนรายงานผลดว้ ยตนเอง โดยไมต่ อ้ งไดร้ ับการชว่ ยเหลอื จากสมาชิกในกลุ่ม
26
ในการประเมินการปฏิบัติงานดังกล่าวมาข้างต้น ผู้สอนจาเป็นต้องสร้างเครื่องมือเพื่อใช้
ประกอบการประเมนิ การปฏบิ ตั ิ เชน่
- แบบวดั ภาคปฏบิ ตั ิ
- แบบสังเกตพฤติกรรม
- แบบตรวจสอบรายการ
- เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics)
เป็นตน้
3) การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
การประเมินสภาพจริง เป็นการประเมินจากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมอย่างใด
อย่างหนง่ึ โดยงานหรอื กจิ กรรมท่ีมอบหมายใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติจะเป็นงาน หรือสถานการณท์ ่ีเป็นจริง (Real life)
หรือ ใกล้เคียงกับชีวิตจริง จึงเป็นงานท่ีมีสถานการณ์ซับซ้อน (Complexity) และเป็นองค์รวม (Holistic)
มากกวา่ งานปฏบิ ัตใิ นกิจกรรมการเรยี นทั่วไป
วิธีการประเมินสภาพจริงไม่มีความแตกต่างจากการปฏิบัติ (Performance
Assessment) เพียงแต่อาจมีความยุ่งยากในการประเมินมากกว่า เนื่องจากเป็นสถานการณ์จริง หรือต้องจัด
สถานการณ์ให้ ใกล้จริง แต่จะเกิดประโยชน์กับผู้เรียนมาก เพราะจะทาให้ทราบความสามารถที่แท้จริงของ
ผู้เรยี นว่า มี จุดเดน่ และขอ้ บกพรอ่ งในเร่อื งใด อนั จะนาไปส่กู ารแก้ไขทตี่ รงประเด็นท่สี ุด
4) การประเมนิ ด้วยแฟม้ สะสมงาน (Portfolio Assessment)
การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน เป็นวิธีการประเมินที่ช่วยส่งเสริมให้การประเมิน
ตาม สภาพจริงมีความสมบูรณ์สะท้อนศักยภาพที่แท้จริงของผู้เรียนมากข้ึน โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวม
(Collect) ผลงานจากการปฏิบัติจริงท้ังในชั้นเรียนหรือในชีวิตจริงท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตามสาระการ
เรียนรู้ต่าง ๆ มาจัดแสดงอย่างเป็นระบบ (Organized) โดยมีจุดประสงค์เพ่ือสะท้อนให้เห็น (Reflect) ความ
พยายาม เจตคติ แรงจูงใจ พัฒนาการ และความสัมฤทธิ์ผล (Achievement) ของการเรียนรู้ของ ผู้เรียน การ
วางแผนดาเนินงาน การประเมินด้วยแฟ้มผลงานท่ีสมบูรณ์จะช่วยให้ผู้สอนสามารถประเมิน จากแฟ้มสะสม
งานแทนการประเมนิ จากการปฏบิ ตั ิจรงิ การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงานมแี นวทางในการดาเนนิ งานดังนี้
1) กาหนดโครงสร้างของแฟ้มสะสมงานจากวตั ถุประสงค์ของแฟม้ สะสมงานว่า
ตอ้ งการ สะท้อนส่ิงใดเกี่ยวกับความสามารถและพฒั นาการของผู้เรียน ทัง้ นี้อาจพจิ ารณาจากตัวชี้วัดตามสาระ
การ เรียนรูท้ ีส่ ะทอ้ นไดจ้ ากการให้ผเู้ รยี นจดั ทาแฟ้มสะสมงาน
2) กาหนดวิธีการเก็บรวบรวมผลงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแฟ้ม
สะสมงาน เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ทาแฟ้มสะสมงาน
3)กาหนดให้วิธกี ารประเมินงานเพ่ือพัฒนาช้นิ งาน ซึ่งส่งผลถึงการพัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ี
ความสามารถสูงสุด ทั้งน้ีครูควรจดั ทาเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) สาหรับให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็นข้อ ชี้นาใน
การพัฒนางาน
4)ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนางาน โดยมีส่วนร่วมในการประเมินจาก
ทุกฝ่ายแล้วนาข้อมูลที่สอดคล้องกันไปเป็นสารสนเทศหลกั ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) สาหรับ ให้
ผูเ้ รยี นใช้ในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง
5) จัดให้มีการนาเสนอผลงานท่ีได้สะสมไว้ โดยใช้วิธีการที่เหมาะสม ซึ่งผู้สอนและ
ผูเ้ รียนควรวางแผนร่วมกันในการคัดเลือกชิน้ งานทีด่ ีทสี่ ุด ทัง้ น้กี ารนาเสนอช้นิ งานแตล่ ะชิน้ ควรมหี ลักฐาน การ
พัฒนางานและการประเมินผลงานด้วยตนเอง เกณฑ์การประเมินผลงานประกอบไว้ด้วย ในการใช้ วิธีการ
27
ประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน ผ้สู อนควรคานึงด้วยว่าแฟ้มสะสมงานมีหลายประเภท การเลือกใช้แฟ้ม สะสมงาน
ประเภทใด ควรคานึงถึงรูปแบบและแนวทางในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานให้เหมาะสม เพื่อให้ แฟ้มสะสมงาน
ชว่ ยพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ของผ้เู รยี นดว้ ย
2.3 กาหนดสัดส่วนการประเมินระหว่างเรียนกับการประเมินผลปลายภาคเรียน หรือปลายปี
การประเมินระหว่างเรียนมีวัตถุประสงค์สาคัญ เพ่ือมุ่งนาสารสนเทศ มาพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุง
กระบวนการจัดการเรียนของผู้เรียน การประเมินระหว่างเรียนท่ีดาเนินการอย่างถูกต้อง เข้มงวด และ จริงจัง
จะให้ผลการประเมนิ ทส่ี ะท้อนภาพความสาเร็จ และศักยภาพของผู้เรียนไดถ้ ูกตอ้ ง สมบรู ณ์ และ น่าเชือ่ ถอื
ดังน้ัน ควรให้น้าหนักความสาคัญของการประเมินระหว่างเรียนในสัดส่วนท่ีมากกว่าการ
ประเมินตอนปลายภาคเรียนหรือปลายปี ทั้งน้ีโดยคานึงถึงธรรมชาติของรายวิชาและตัวช้ีวัดเป็นสาคัญ แต่
อย่างไรก็ตามในการประเมินเพื่อตดั สินผลการเรียนรายวชิ าปลายภาคเรียนหรือปลายปี ต้องนาผลการประเมิน
ระหว่างเรียนไปใช้ในการตัดสินผลการเรียนด้วย ท้ังน้ีให้เป็นไปตามสัดส่วนและแนวดาเนินการ ในระเบียบท่ี
สถานศึกษาผู้กาหนด
2.4 จัดทาเอกสารบันทึกข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ผู้สอนต้องจัดทาเอกสารบันทึก ข้อมูล
สารสนเทศเกี่ยวกับการประเมนิ ผลระหวา่ งเรียนอยา่ งเป็นระบบชัดเจน เพอื่ ใช้เป็นแหลง่ ข้อมลู ในการ ปรบั ปรุง
แก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน ใช้เป็นหลักฐานสาหรับการส่ือสารกับผู้เก่ียวข้องและใช้เป็นหลักฐาน สาหรับตรวจสอบ
การปฏบิ ัติงานของผสู้ อน ซ่งึ แสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและความยุตธิ รรมในการ ประเมนิ ทงั้ นี้ให้เป็นไปตาม
ระเบยี บทสี่ ถานศึกษากาหนด ข้อมูลหลักฐานการประเมนิ ระหว่างทีพ่ ึงแสดง ได้แก่
1) วิธีการและเคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการเก็บขอ้ มลู
2) ข้อมูลเก่ียวกับความสามารถของผู้เรียนตามวิธีการประเมิน เช่น บันทึกการสังเกต
พฤติกรรม บันทึกคะแนนจากผลการประเมินชน้ิ งาน บันทึกคะแนนการประเมินโครงงาน บันทึกเก่ียวกับ การ
ประเมนิ แฟม้ สะสมงาน เป็นต้น
3. การประเมนิ เพอ่ื สรุปผลการเรียน
การประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียนเป็นการประเมิน เพื่อมุ่งตรวจสอบความสาเร็จของผู้เรียนเมื่อ ผ่าน
การเรยี นรู้ในชว่ งเวลาหนงึ่ หรอื ส้นิ สุดการเรียนรายวชิ าปลายป/ี ปลายภาคประกอบดว้ ย
3.1 การประเมินหลงั เรยี น
เป็นการประเมินผู้เรียนในเรื่องที่ได้เรียนจบแล้ว เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ตาม
ตัวชี้วัดท่ีคาดหวังหรือไม่ เมื่อนาไปเปรียบเทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนว่าผู้เรียนเกิด พัฒนาการข้ึนมาก
นอ้ ยเพยี งไร ทาให้สามารถประเมินได้ว่าผู้เรยี นมีศักยภาพในการเรียนรู้เพียงไร และ กจิ กรรมการเรียนท่ีจัดขึ้น
มีประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียนอย่างไร ข้อมูลจากการประเมินภายหลังการ เรียน สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ไดม้ ากมาย ได้แก่
1) ปรับปรุงแก้ไขซ่อมเสริมผู้เรียนใหบ้ รรลตุ วั ช้ีวัด หรอื จุดประสงคข์ องการเรยี น
2) ปรับปรุงแกไ้ ขวิธีเรียนของผู้เรยี นใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น
3) ปรบั ปรงุ แก้ไขและพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรยี น
การประเมินหลังเรียนนี้ ถ้าจะให้สอดคล้องกับการประเมินก่อนเรียนเพ่ือการ
เปรียบเทียบพัฒนาการของผู้เรียนสาหรับการวจิ ัยในชั้นเรียน ควรใช้วิธีการและเคร่ืองมือประเมินชุด เดียวกัน
หรือคูข่ นานกนั
28
3.2 การประเมนิ ผลการเรยี นปลายภาค
เป็นการประเมินผลเพ่ือตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนในการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ตาม
ตัวช้ีวัด การประเมินผลนี้นอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อการสรุปตัดสินความสาเร็จของผู้เรียน ในแต่ละรายวิชา
รายภาค เป็นสาคัญแล้ว ยังใช้เป็นข้อมูลสาหรับปรับปรุงแก้ไข ซ่อมเสริมผู้เรียนท่ีไม่ผ่านการประเมินตัวชี้วัด
ของแต่ละรายวิชา ใหเ้ กิดพัฒนาการและมผี ลการเรยี นตามตวั ช้ีวัดอย่างครบถ้วน สมบูรณด์ ว้ ย
การประเมินผลการเรียนปลายภาค สามารถใช้วิธีการและเคร่ืองมือการประเมิน ได้อย่าง
หลากหลาย ให้สอดคลอ้ งกับตวั ชี้วัด เนอ้ื หาสาระ กจิ กรรมและช่วงเวลาในการประเมิน อยา่ งไรก็ ดเี พือ่ ให้การ
ประเมินผลการเรียนดังกล่าวมีส่วนท่ีเก่ียวข้องสัมพันธ์และสนับสนุนการเรียนการสอน จึงให้ นาผลการ
ประเมินผลระหว่างเรียนไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลการเรียนปลายภาค โดยสัดส่วนการ ประเมินผล
ระหวา่ งเรยี นมากกว่าการประเมินผลปลายภาคเรยี น
วธิ กี ารปฏบิ ัตกิ ารประเมนิ ผลตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่
การดาเนินการประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม โรงเรียน ได้กาหนดวิธีการปฏิบัติดังนี้
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการร่วมกันกาหนดหลักการประเมินผล 8 กลุม่ สาระ ดังน้ี
1. ทุกกลุ่มสาระให้มีการประเมินผลทุกรายวิชาให้ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ และคุณลกั ษณะ โดยมกี ารประเมินผลดังน้ี
1.1 การประเมินผลก่อนเรียน
1.1.1 ประเมินผลก่อนเรียนเพ่ือตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐานของ
ผเู้ รยี นและจดั กจิ กรรมซ่อมเสริมเพ่อื ใหม้ ีความรู้พน้ื ฐานเพยี งพอทจ่ี ะเรียน
1.1.2 ประเมินก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรอบรู้ในเนื้อหา และทักษะท่ี
จะเร่มิ เรียน เพอ่ื เปน็ ข้อมลู เปรียบเทียบผลการเรยี นหลังเรยี น แสดงการพัฒนาการของผเู้ รียน
1.1.3 การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผลเป็นระยะ ๆ และ
สอดคลอ้ งกับตวั ช้ีวัด โดยใชก้ ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลายทั้งวิธีการวัด เครื่องมือ และ
แหล่งข้อมูล เพอ่ื ม่งุ ตรวจสอบพฒั นาการของผูเ้ รียน และนาผลการประเมินไปปรับปรงุ แก้ไขจนผู้เรยี น สามารถ
บรรลตุ ามเกณฑ์ขัน้ ต่าทกี่ าหนดไว้ โดยใชว้ ธิ กี ารที่หลากหลายเหมาะสมกับศักยภาพของแตล่ ะ บุคคล ในกรณีท่ี
ผู้เรียนต้องการพัฒนาปรับปรุงผลการเรียนให้สูงขึ้น ให้ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ พัฒนาปรับปรุงแก้ไข
ผลงานช้ินงานตนเองจนเตม็ ศักยภาพของผ้เู รยี นภายในเวลาที่กาหนดให้
1.1.4 การประเมินรายภาค ในการประเมินผลปลายภาคสามารถประเมิน
จากการปฏิบัติการส่ือสาร เช่น การสัมภาษณ์จากผลงาน / ชิ้นงาน โครงงานหรือแบบทดสอบ ท้ังนี้ให้
สอดคลอ้ งกบั ตัวชี้วัด
2. การกาหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับการประเมินปลายภาค ให้กลุ่มสาระการเรียนรู้แต่ละ
กลุม่ ร่วมกันกาหนดตามหลกั การท่คี ณะกรรมการการบริหารหลักสตู รและวชิ าการดังน้ี
2.1 การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ
การประเมินผลทั้งหมด ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ให้มกี ารประเมินผล ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 70
2.2 การประเมินผลระหว่างเรยี นและการประเมนิ ผลปลายภาค ใหม้ กี ารประเมินท้ัง
ด้าน ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ และคณุ ลกั ษณะ
2.3 ในรายวิชาเดียวกันให้มีการกาหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับปลายภาค และ
วางแผน ประเมนิ ผลตลอดภาคเรยี นรว่ มกัน
29
2.4 ในกรณีท่ีมีการประเมินผลด้วยแบบทดสอบ ให้มีการประเมินโดยใช้วิธีการให้
ผู้เรียน ตอบแบบทดสอบอัตนยั โดยมีการใหค้ ะแนนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 70 ของการทดสอบครัง้ นนั้
3. การจัดทาเอกสารบนั ทกึ ข้อมูลสารสนเทศของผู้เรยี น ประกอบด้วย
3.1 ผู้สอนแต่ละรายวิชาจัดทาแผนการประเมินผลในรายวิชาของตนเองตลอดภาค
เรยี น โดยมีหัวขอ้ ดงั นี้
1) การประเมินผลก่อนเรยี น
2) การประเมนิ ระหว่างเรยี น
3) การประเมนิ ปลายภาค
4) อัตราส่วนน้าหนักคะแนนระหว่างความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P)
และ คุณลักษณะ (A) และรายละเอียดน้าหนักคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด พร้อมท้ังระบุวิธีการวัด เครื่องมือวัด
และประเมนิ ผลในแต่ละตัวช้ีวัด
5) กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประกอบด้วย คุณลักษณะตาม
ธรรมชาติ วิชา และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ทั้งนี้ให้ใช้แบบสรุปผลการประเมินตามแบบ
บันทึกที่ แนบทา้ ยคมู่ อื น้ี
3.2 จัดทาแบบบันทึกข้อมูลผลการประเมินที่แสดงสารสนเทศของผู้เรียน ทั้งนี้เพ่ือ
ใชเ้ ป็น แหลง่ ข้อมูลในการปรบั ปรุงแก้ไข ส่งเสรมิ ผเู้ รยี น และใชเ้ ปน็ หลักฐานสาหรับส่ือสารกับผู้เกี่ยวข้อง และ
ใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานของผสู้ อน ดังนั้นข้อมูลควรแสดงถึงรอ่ งรอยการพัฒนา พร้อม
ระบุข้อสังเกตท่ีเน้นข้อค้นพบท่ีเป็นจุดเด่นและจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งระหว่างเรียนและ ปลาย
ภาค
3.3 จดั ทาแบบบันทึกการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน
เพ่ือ แสดงร่องรอยหลักฐานการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน และสรุปผลการ
ประเมินตามแบบสรปุ ผลการประเมินแนบทา้ ยค่มู ือน้ี
3.4 จัดทาแบบบันทึกการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือแสดงร่องรอย
หลกั ฐาน การพัฒนาคณุ ลกั ษณะผ้เู รยี น และสรปุ ผลการประเมินตามแบบสรุปผลการประเมินแนบท้ายคู่มือน้ี
3.5 นาผลการประเมินจากข้อ3.2,3.3 และ3.4 มาสรุปและบนั ทึกลงในแบบปพ.5
4. การตดั สินผลการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่
4.1 การตดั สินผลการเรียนใหน้ าผลการประเมินระหว่างเรยี นรวมกบั ผลการประเมิน
ปลายภาค โดยใช้เกณฑด์ งั น้ี
ช่วงคะแนนเป็นรอ้ ยละ ความหมาย ระดบั ผลการเรียน
80 - 100 ผลการเรยี นดเี ยยี่ ม 4
75 - 79 ผลการเรยี นดีมาก 3.5
70 - 74 3
65 - 69 ผลการเรยี นดี 2.5
60 - 64 ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี 2
55 - 59 ผลการเรียนน่าพอใจ 1.5
50 - 54 1
0 - 49 ผลการเรียนพอใช้ 0
ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่าทกี่ าหนด
ผลการเรยี นต่ากว่าเกณฑ์ข้ันต่าทีก่ าหนด
30
เมอ่ื ครูผ้สู อนตดั สนิ ผลการเรียนแล้วให้ดาเนนิ การดังน้ี
ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุ่มสาระพิจารณาให้การเห็นชอบ / แก้ไข แล้วส่งให้
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพิจารณาเห็นชอบ เพื่อนาเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผล การ
เรยี น
ส่งผลการเรียนให้ ครูทปี่ รึกษากรอกผลการเรียนลงในแบบ ปพ.6 และนายทะเบียนวดั ผล
กรอกในแบบ ปพ.1
5. การให้ผลการเรียน “ร”
5.1 การให้ผลการเรียน “ร” หมายถงึ ผู้เรียนทมี่ ีลกั ษณะดงั นี้
1) ผู้เรยี นไมไ่ ดร้ ับการประเมนิ หรือประเมนิ แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ระหวา่ งเรยี น
2) ผู้เรียนไมไ่ ด้รบั การประเมนิ ปลายภาค
5.2 วธิ กี ารใหผ้ ลการเรียน “ร” เม่อื ผู้สอนพบว่าผู้เรยี นไม่ไดเ้ ข้ารบั การประเมินผล
ระหวา่ งเรยี นหรือปลายภาค ให้ผู้สอนรายงานพรอ้ มหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาเสนอผู้บริหารเพ่ืออนุมัติผล
การ เรียน “ร” แลว้ ประกาศผลให้นกั เรียนทราบ
6. การใหผ้ ลการเรียน “มส”
6.1 การให้ผลการเรียน “มส” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ของ
เวลาทัง้ หมด
6.2 วิธีการให้ผลการเรียน “มส” ให้ผู้สอนรายงานพร้อมแนบเวลาเรียนของผู้เรียน
เสนอ ผ้บู รหิ ารเพ่อื อนมุ ัติผลการเรยี น “มส” กอ่ นประเมินผลปลายภาค 2 สัปดาห์
7. การแกไ้ ข “0”
7.1 ผเู้ รยี นนาใบแจง้ ความจานงการแก้ไข “0” พบครูผสู้ อนประจาวชิ า
7.2 ผู้สอนดาเนินการพัฒนาผู้เรียนในผลการเรียนรู้ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ จนผู้เรียน
สามารถ บรรลผุ ลตามเกณฑท์ ีก่ าหนดไว้ โดยให้ผลการเรียนไมเ่ กิน “1”
7.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “0” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนเพื่อ
เสนอต่อ ผู้บรหิ ารอนมุ ตั ิ และแจง้ ผู้เกย่ี วขอ้ ง
8. การแกไ้ ข “ร”
8.1 ผูเ้ รยี นนาใบแจง้ ความจานงการแกไ้ ข “ร” พบครูผสู้ อนประจาวชิ า
8.2 ผู้สอนดาเนินการตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” น้ัน ๆ โดยให้ผลการเรียน
ตาม เกณฑ์ข้อ 4
8.3 ผสู้ อนรวบรวมและสรปุ ผลการแกไ้ ข “ร” ไปยงั งานวดั ผลของโรงเรียนผ่านคณะ
กรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการเห็นชอบ เพอ่ื เสนอต่อผบู้ รหิ ารอนมุ ัติ แลว้ แจ้งผู้เกี่ยวข้อง
9. การแกไ้ ข “มส”
9.1 ผ้เู รยี นนาใบแจง้ ความจานงไปพบครูผู้สอนประจาวิชา
9.2 ผู้สอนพิจารณาว่าผู้เรยี นมขี ้อบกพร่องอะไร ให้ดาเนินการพัฒนาแก้ไขในสง่ิ นั้น
จน บรรลุเกณฑ์ข้นั ตา่ ทก่ี าหนดไว้ โดยให้ผลการเรยี นไมเ่ กิน “1”
9.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ
กรรมการบริหารหลกั สตู รและวชิ าการเห็นชอบ เพ่อื เสนอผู้บรหิ ารอนมุ ัติ แล้วแจ้งผเู้ ก่ยี วข้อง
10. การแก้ไข “0” “ร” และ “มส” ให้ดาเนินการแก้ไขให้เสร็จส้ินภายใน 2 สัปดาห์
หลงั จาก ได้รับแจง้ ประกาศของงานวดั ผลโรงเรยี น
31
ส่วนท่ี 2 การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นการศึกษาได้พัฒนา
ความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของ
ความเป็นมนุษย์ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยรวมของ
สถานศึกษา มีการดาเนินการอย่างมีเป้าหมายชัดเจน มีรูปแบบ และวิธีการที่ครูที่ปรึกษากิจกรรมและ ผู้เรียน
ร่วมกันกาหนด ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามท่ีสถานศึกษากาหนด จึงจะผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ระดบั ชนั้
1. ลักษณะกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น แบง่ เปน็ 3 ลกั ษณะ คอื
1.1 กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เหมาะสมตาม
ความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะทาง
อารมณ์ การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา และการสร้างสัมพันธภาพที่ดี ซึ่งครูทุกคนต้องทาหน้าที่ แนะแนวให้
คาปรึกษาดา้ นชีวติ การศกึ ษาตอ่ และการพฒั นาตนเองสโู่ ลกอาชีพและการมีงานทา
1.2 กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองอย่างครบวงจรต้ังแต่
ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทางาน โดยเน้นการทางานร่วมกัน อย่าง
เป็นกลุ่ม ได้แก่ โครงงาน กิจกรรมตามความสนใจชุมนุมวิชาการ กิจกรรมพัฒนานิสัยรักการอ่าน การคิด
วิเคราะห์ และเขียน กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และ บาเพ็ญประโยชน์ และ
กิจกรรมพัฒนาคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รียน
1.3 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ เู้ รียนบาเพญ็ ตน ให้
เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และทอ้ งถิน่ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถงึ ความ รบั ผิดชอบ
ความดงี าม ความเสยี สละต่อสังคม มจี ติ สาธารณะ เชน่ กิจกรรมอาสาพัฒนาตา่ ง ๆ กจิ กรรม สร้างสรรคส์ งั คม
2. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนรายกจิ กรรม
1) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนตามจุดประสงค์ของแต่ละ
กิจกรรม โดยประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลการปฏิบัติกิจกรรมด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย
ตามสภาพจรงิ
2) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนดไวห้ รือไม่
3) ตัดสินให้ผู้เรียนท่ีผ่านจุดประสงค์สาคัญของกิจกรรม มีผลงานชิ้นงานหรือหลักฐาน
ประกอบและมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ให้เป็นผู้ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม ผู้เรียนท่ี มี
ผลการประเมินบกพร่องในเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง จะเป็นผู้ไม่ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม จะต้อง ซ่อม
เสรมิ ขอ้ บกพรอ่ งให้ผ่านเกณฑก์ ่อน จงึ จะได้รับการตดั สินใหผ้ ่านกจิ กรรม
3. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนเล่อื นชั้นจบหลักสตู ร
เป็นการประเมนิ สรุปผลการผา่ นกจิ กรรมตลอดปีการศึกษาของผู้เรยี นแตล่ ะคนเพื่อนาผล ไปพิจารณา
ตัดสินการเล่อื นช้นั โดยมขี ัน้ ตอนปฏิบัตดิ ังนี้
1) คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งรวบรวมผลการประเมินแต่ละกิจกรรมมาตัดสินตาม เกณฑ์
การตัดสนิ การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน และรายงานผลต่อผู้ปกครอง
2) คณะกรรมการสรุปผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้คณะกรรมการบริหาร
หลกั สตู รและวชิ าการเพอื่ พิจารณาเหน็ ชอบ
3) ผู้บรหิ ารสถานศึกษาพิจารณาตดั สนิ อนุมตั ิผลการประเมนิ รายภาค
32
4) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ รวบรวมผลการประเมินรายภาค ตัดสิน ผล
การเล่อื นชนั้ /จบหลกั สูตร เสนอผูบ้ รหิ ารอนมุ ัติ
4. เกณฑต์ ดั สนิ ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
1) เกณฑก์ ารตดั สนิ รายกิจกรรมพิจารณาสจาก
2) เข้ารว่ มกจิ กรรมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาทั้งหมด
3) ผู้เรยี นมีพฤตกิ รรมด้านการเรยี นรไู้ มน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 70
4) ผเู้ รยี นปฏบิ ัติกิจกรรมและผา่ นจุดประสงคส์ าคัญของแต่ละกจิ กรรมกาหนดทกุ ข้อ
5) ผูเ้ รียนต้องผ่านเกณฑ์ ขอ้ 1) ถือวา่ ผ่านรายกิจกรรม
6) เกณฑ์การตัดสินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมินผ่านท้ัง กิจกรรม
แนะแนว กจิ กรรมนกั เรียนทุกกิจกรรมและกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ถือว่าผา่ น กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรยี น
7) เกณฑ์การผ่านเล่ือนช้ัน / จบหลักสูตร ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมิน ผ่าน ทุกกิจกรรม
รายภาค
5. แนวทางการซ่อมเสรมิ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
1) กรณี ไมผ่ ่านเนื่องจากเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมไม่ครบ คณะกรรมการพฒั นาและการ ประเมิน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนไปปฏิบัติตามเวลาท่ีกาหนด ภายใต้การ ควบคุมดูแลของท่ี
ปรึกษากิจกรรมนั้น ๆ จนกวา่ ผเู้ รียนปฏบิ ัติกิจกรรมนั้นได้ อาจารย์ประจากิจกรรม สรปุ รายงานผลการปฏิบัติ
กิจกรรมให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือตัดสิน ผลการผ่านกิจกรรมราย
ภาค
2) กรณีไมผ่ ่านจุดประสงค์สาคัญของกจิ กรรมให้คณะกรรมการมอบหมายภาระงานที่ ผเู้ รยี น
ไม่ผา่ นไปปฏิบตั ิภายใต้การดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษากิจกรรม จนกวา่ ผเู้ รยี นจะปฏิบตั ิตามภาระงาน นัน้ ได้ ให้
ท่ีปรึกษาสรุปผลการปฏิบัติส่งให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินการซ่อมเสริม เพื่อ ตัดสินผลการผ่าน
กจิ กรรมเป็นรายภาค
3) คณะกรรมการสรุปผลการประเมินท้ังกรณีใน ข้อ 5.1 และ ข้อ 5.2 ส่ง คณะกรรมการ
บรหิ ารหลักสูตรและวิชาการ เหน็ ชอบและเสนอผบู้ ริหารอนุมัติต่อไป
สว่ นที่ 3 การพัฒนาและประเมนิ ผลคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ความสาคัญของคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหัวใจสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยที่มีการจัดการศึกษา
เปน็ วธิ กี ารหลกั ทสี่ าคญั ท่ีสุด การจดั การศึกษาใหผ้ ู้เรยี นเป็นมนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ์ จงึ จาเป็นต้องมีการพฒั นาผู้เรียน
ให้เปน็ ผทู้ ่มี ีการพัฒนาการทงั้ ด้านปัญญา จติ ใจ รา่ งกาย และสังคม การพัฒนาจติ ใจจงึ ถือเปน็ ส่ิงที่สาคัญ อยา่ ง
ย่ิง ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 23 “การจัดการศึกษา ท้ัง
การศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยต้องเน้นท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการ เรียนรู้
และบูรณาการตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั ” มาตรา 24 วรรค 4 “จดั การเรยี นการสอนโดย ผสมผสาน
สาระความรู้ต่าง ๆ อย่างเป็นสัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม และ คุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคไ์ วใ้ นทกุ วิชา
ดว้ ยเหตุดงั กล่าวขา้ งตน้ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกาหนดไว้ ใน
จดุ หมายของหลักสตู รเป็นขอ้ แรก คอื มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของ ตนเอง มี
วินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ
33
พอเพียง และกาหนดให้สถานศึกษาได้สร้างหลักสูตรสถานศึกษาด้วยตนเอง ทั้งน้ีเพ่ือให้เป็น หลักสูตรที่
ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นไปตามความต้องการจาเป็นของ ชุมชนท้องถิ่น
ของตนอง โดยที่สถานศึกษาจะต้องร่วมกับชุมชนกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน ด้าน คุณธรรม
จริยธรรมค่านิยมท่ีสอดคล้องกับสภาพปญั หา ความจาเป็นของชุมชน และท้องถิ่น และกาหนด เป็นเกณฑ์การ
จบหลักสูตรข้อหนึ่ง ในแต่ละระดับ คือ ผู้เรียนต้องผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามเกณฑ์ท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
2. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ได้กาหนดให้
สถานศกึ ษาทุกแหง่ พัฒนาผเู้ รยี น ดังน้ี
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซือ่ สตั ย์สุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. ม่งุ มน่ั ในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มีจิตสาธารณะ
ความหมายและตวั บง่ ช้คี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
2.1 คณุ ลกั ษณะ: รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ความหมาย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงออก ด้วยกาย
วาจาและใจ
ตวั บ่งชค้ี ุณลกั ษณะ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2.1.1 มคี วามจงรกั ภกั ดใี นสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2.1.2 ปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมศาสนา
2.2 คุณลกั ษณะ: ซือ่ สัตยส์ จุ ริต
ความหมาย ซ่ือสตั ย์สุจรติ หมายถงึ ลกั ษณะของบุคคลที่แสดงออกด้วยกาย วาจาและใจ
ตัวบง่ ช้คี ณุ ลักษณะ ซอื่ สัตยส์ จุ ริต
2.2.1 ไมน่ าสิง่ ของผอู้ น่ื มาเป็นของตน
2.2.2 ไม่พดู เท็จทั้งต่อหนา้ และลับหลัง
2.3 คณุ ลักษณะ: มวี นิ ัย
ความหมาย มีวินัย หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงออกถึงความเอาใจใส่ จดจ่อ
ต้ังใจ มุ่งม่ันต่อหน้าที่การงาน การศึกษาเล่าเรียน และการเป็นอยู่ของตนเอง และผู้อยู่ในความดูแล ตลอดจน
สังคมอย่างเต็มความสามารถด้วยความผูกพัน เพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จตามความมุ่งหมายในเวลาที่กาหนด
ยอมรบั ผลการกระทาท้ังผลดีและผลเสียทเี่ กดิ ขน้ึ รวมท้งั ปรบั ปรุงการปฏิบตั ใิ หด้ ีขน้ึ ด้วย
34
ตวั บ่งช้คี ณุ ลักษณะ มวี ินยั
2.3.1 มีความพยายามปฏิบัติภารกิจ หน้าที่การงาน การศึกษา หรือหน้าท่ีที่ได้รับ
มอบหมายอยา่ งเต็มความสามารถ
2.3.2 ตรงตอ่ เวลา
2.3.3 ทางานโดยคานึงถงึ คณุ ภาพของงาน
2.3.4 ดูแลรกั ษาสาธารณสมบัติ
2.4 คณุ ลักษณะ: ใฝเ่ รยี นรู้
ความหมาย ใฝ่เรียนรู้ หมายถงึ ลักษณะของบุคคลทแ่ี สดงออกถึงความใฝ่เรียนใฝร่ ู้
ตวั บ่งชี้คณุ ลักษณะ ใฝ่เรยี นรู้
2.4.1 มกี ารซักถามปญั หาในและนอกบทเรียนสมา่ เสมอ
2.4.2 รจู้ กั ใช้แหลง่ เรียนรูภ้ ายในและนอกโรงเรียนประกอบการเรยี นรู้
2.5 คุณลักษณะ: อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
ความหมาย อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงการ ประพฤติ
ปฏิบัติตนเป็นผู้ประหยัดเวลา ทรัพย์ และแรงงาน ทั้งของตนเองและส่วนรวม ตลอดจนวางแผน ออมเพื่อ
อนาคต
ตัวบ่งช้ีคุณลกั ษณะ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
2.5.1 เลือกใช้ส่งิ ของทเี่ หมาะสมกับสถานภาพของตนและการใชง้ าน
2.5.2 ใชน้ ้า ใชไ้ ฟ อยา่ งระมัดระวัง และเฉพาะส่วนที่จาเป็น
2.6 คณุ ลกั ษณะ: มงุ่ มัน่ ในการทางาน
ความหมาย มุ่งม่ันในการทางาน หมายถึง ความสามารถทางรา่ งกาย ความคิด จิตใจ ท่ี
จะปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ให้สาเร็จลุลว่ งตามเปา้ หมายทีก่ าหนด ไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปญั หาอปุ สรรค
ตัวบ่งชค้ี ณุ ลกั ษณะ มงุ่ ม่ันในการทางาน
2.6.1 มีความเข้มแขง็ พยายามเอาชนะปญั หาอุปสรรคโดยไมย่ ่อทอ้
2.6.2 มีจิตใจหนักแนน่ สามารถควบคุมอารมณ์และพฤตกิ รรมใหเ้ ป็นปกติเม่ือ พบ
กบั ปัญหาหรอื ส่งิ ยั่วยตุ า่ ง ๆ
2.7 คุณลักษณะ: รกั ความเป็นไทย
ความหมาย รักความเป็นไทย หมายถึง ลกั ษณะของบุคคลท่ีแสดงถึงการปฏิบตั ิตนทั้ง
กาย ใจ และความคดิ ทค่ี านึงถงึ ความเปน็ ไทย
ตัวบง่ ชคี้ ุณลกั ษณะ รกั ความเปน็ ไทย
2.7.1 ใช้ส่ิงของที่ผลิตในประเทศ
2.7.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกับวฒั นธรรมประเพณไี ทยและแต่งกาย แบบไทย
2.7.3 ใช้ภาษาไทยไดถ้ กู ตอ้ ง
2.8 คณุ ลกั ษณะ: มีจิตสาธารณะ
ความหมาย มีจิตสาธารณะ หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงถึงการใช้วาจา ใจ และ
กาย ตอ่ บุคคลอ่นื ดว้ ยความเมตตา ใหค้ วามชว่ ยเหลือ โดยไมห่ วงั สงิ่ ตอบแทน
ตวั บง่ ช้ีคณุ ลกั ษณะ มจี ติ สาธารณะ
2.8.1 รว่ มกจิ กรรมการบาเพ็ญประโยชน์สาธารณะ เชน่ วัด, โบราณสถาน
2.8.2 อาสาปฏบิ ตั ิกจิ กรรมสาธารณประโยชน์
35
3. เกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3.1 เกณฑก์ ารประเมินตัวบ่งช้ี
3.1.1 เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ
ดีเย่ยี ม หมายถึง ผู้เรยี นมพี ฤตกิ รรมตามตัวบ่งชี้ ร้อยละ 80 – 100
ของจานวนครงั้ ของการประเมนิ ท้งั หมด
ดี หมายถงึ ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตวั บง่ ช้ี ร้อยละ 65 – 79
ของจานวนครง้ั ของการประเมนิ ท้ังหมด
ผ่าน หมายถึง ผ้เู รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตวั บง่ ชี้ ร้อยละ 50 – 64
ของจานวนคร้งั ของการประเมนิ ทง้ั หมด
ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมีพฤตกิ รรมตามตัวบ่งช้ี รอ้ ยละตา่ 50
ของจานวนครัง้ ของการประเมนิ ทงั้ หมด
3.1.2 เกณฑก์ ารตดั สนิ การผา่ นแต่ละตัวบ่งช้ี
ผเู้ รียนต้องมีพฤติกรรมตามตวั บ่งช้อี ยใู่ นระดบั ผ่านข้นึ ไป ถือว่าผ่านแต่ละตัวบ่งชี้
3.2 เกณฑ์การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
3.2.1 ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินตัวบ่งช้ีมาเป็นระดับ
คณุ ภาพของคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์แต่ละข้อ
3.2.2 ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะ 8 ข้อ สรุปเป็น
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องรายวิชาน้ัน ๆ
3.2.3 ให้คิดค่าฐานนิยม จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายวิชา สรุปเป็น
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียนรายบคุ คล
3.3 เกณฑ์การตดั สินแตล่ ะคณุ ลักษณะ
ผู้เรียนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ผ่านข้ึนไป ถือวา่ ผา่ น
แนวการพัฒนาและประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ระดับผ้ปู ฏบิ ตั ิ
ในการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น โรงเรียนกาหนดให้ผู้สอนทุก
รายวิชา ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีนอกเหนือจากครูผู้สอนรายวิชา
ตา่ ง ๆ ได้ดาเนินการดังนี้
1.1 ครผู สู้ อนรายวชิ าต่าง ๆ ทกุ รายวิชา ใหจ้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาของตน
โดยสอดแทรก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาในคุณลักษณะใดคุณลักษณะหน่ึงท่ีเหมาะสม และ
สอดคล้องกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้นัน้ ๆ โดยใหร้ ะบไุ ว้ในแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทุกแผน
1.2 ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท้ังกิจกรรม
แนะแนว กจิ กรรมชุมนมุ ตา่ ง ๆ ซงึ่ เป็นกิจกรรมที่นอกเหนือจากรายวชิ าตา่ ง ๆ ให้ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมพัฒนา
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยระบไุ ว้ในแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1.3 ผู้รับผิดชอบท้ัง ข้อ 1.1 และ 1.2 ดาเนินการพัฒนาพร้อมกับประเมินผลและ
ปรบั ปรุงผู้เรยี น เป็นระยะ ๆ เพือ่ แสดงพฒั นาการของผเู้ รียน บนั ทึกร่องรอยหลักฐานการประเมนิ และปรับปรุง
อย่างต่อเนื่อง เม่ือเสร็จสิ้นภาคเรียน / ปลายปี หรือส้ินโครงการ กิจกรรม ให้มีการประเมินและสรุปผลบันทึก
ลงใน แบบ ปพ.5 และระบุ จุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียนแต่ละคน ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ พร้อมแนบข้อมูล
36
บันทึกหลักฐานร่องรอยการประเมินและปรับปรุงประกอบส่งให้คณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของ
ตนเอง ไดต้ รวจสอบความถกู ต้องสมบูรณ์
1.4 คณะกรรมการแต่ละกลมุ่ สาระรวบรวมผลการประเมินทั้งหมด และสรุปผลการ
ประเมินลงใน ใบ แบบ ปพ.5 ส่งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะของสถานศึกษาที่ได้รับการแต่งต้ังเพ่ือ
ดาเนินการ ต่อไป
2. ระดบั คณะกรรมการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องสถานศึกษา
ใหม้ กี ารประเมินและตัดสนิ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียนทุกภาค
เรียน / ปี โดยสถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับช้ันละ 3 - 5 คน ดาเนินการ ดังน้ี
2.1 คณะกรรมการทุกระดับช้ัน ศึกษาและทาความเขา้ ใจรว่ มกนั ในเร่ืองของเกณฑ์
การประเมิน ระดับคณุ ภาพ ตลอดจนแนวทางการประเมินท่สี ถานศกึ ษากาหนดไว้
2.2 คณะกรรมการประเมินแต่ละระดับชั้น นาผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์จากผู้ ปฏิบัติใน ข้อ 1 มาร่วมกันพิจารณาผลการประเมิน และข้อมูลจากการบันทึกร่องรอยหลักฐาน
ท่ีแนบมา เป็นรายบุคคลเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ แล้วตัดสินผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน บันทึกลง
ใน แบบ ปพ.5 ระบุจุดเด่นจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ
เห็นชอบ และเสนอผ้บู ริหารอนมุ ตั ผิ ลการประเมนิ
2.3 กรณีท่ีคณะกรรมการไม่สามารถตัดสินผลการประเมิน เนื่องจากข้อมูลไม่
เพยี งพอ ให้คณะกรรมการขอข้อมูลเพ่ิมเตมิ จากผ้รู ับผดิ ชอบ จนสามารถตดั สนิ ผลการประเมนิ ได้
2.4 นายทะเบียนนาผลการตัดสินมาดาเนินการจัดทา ปพ.4 และหลักฐาน
การศกึ ษาอ่ืนที่เก่ยี วขอ้ ง และประกาศใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งรบั ทราบต่อไป
3. การประเมนิ การเลอ่ื นช้นั / การจบหลกั สูตร
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ นาผลการประเมินรายภาค / รายปี
มาร่วมพิจารณาและ ตดั สนิ ผลการเล่ือนชนั้ 1 จบหลักสูตร
แนวทางในการซอ่ มเสรมิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1.คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะร่วมกันพิจารณาว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะใดที่
ตอ้ งพัฒนาปรับปรุง
2. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะกาหนดแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงพร้อม
ระยะเวลาโดย มอบหมาย ใหท้ ี่ปรกึ ษาในระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ดาเนินการติดตามชว่ ยเหลือแนะนาการ
ปฏิบตั งิ าน ตามแนวทางท่คี ณะกรรมการกาหนด
3. กิจกรรม ในการพัฒนาปรบั ปรงุ ผู้เรยี น
3.1 กาหนดภาระงานหรือกิจกรรมทสี่ อดคล้องกับตวั บ่งชี้ของคุณลักษณะที่
ต้องพัฒนา ปรบั ปรุง
3.2 ผู้เรียนร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะท่ีต้องพัฒนาปรับปรุง
ทั้งในและนอก โรงเรียน
3.3 ผู้เรียนเสนอโครงงาน / งาน ท่ีสอดคล้องกับคุณลักษณะท่ีต้องพัฒนา
ปรับปรุงให้คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะเห็นชอบ
37
4. ผู้เรียนปฏิบัติตามแนวทางท่ีคณะกรรมการกาหนดหรือเห็นชอบ และรายงานผล
การปฏิบัติให้ที่ ปรึกษาในระบบดูแลทราบเป็นระยะ ๆ พร้อมกับมีผู้รับรองผลการปฏิบัติโดยท่ีปรึกษาบันทึก
ขอ้ คดิ เหน็ ใน การปฏิบัตกิ ิจกรรมจนเสร็จส้ินกิจกรรม
5. ท่ีปรึกษาในระบบดูแล บันทึกผลแสดงพัฒนาการคุณลักษณะของผู้เรียนที่แสดง
รอ่ งรอย หลักฐานการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆ รวบรวมผลการปฏิบตั ิสง่ คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
6. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะพิจารณาร่องรอยหลักฐานผลการปฏิบัติ
กิจกรรมเทียบกับ เกณฑ์ที่กาหนด แล้วประเมินและตัดสินผลการซ่อมเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์สรุปผล
เสนอตอ่ คณะ กรรมการบริหารหลกั สตู รและวิชาการเห็นชอบ เพือ่ เสนอต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษาอนุมัติต่อไป
7. นายทะเบยี นวดั ผลดาเนินการจดั ทา ปพ.4 และแจ้งแกผ่ ู้เกย่ี วข้องต่อไป
ส่วนที่ 4 การพฒั นาและประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน
การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน จานวน 3 ขอ้ คอื
1. อ่านและเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลเป็นระบบ และเขียน
เสนอความคดิ ได้
ตัวบง่ ชี้ที่ 1 เขยี นรายงานเร่อื งทศ่ี ึกษาคน้ ควา้ ได้
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 ตอบคาถามจากเรื่องทีศ่ กึ ษาคน้ ควา้ ได้
ตัวบ่งชท้ี ่ี 3 เขียนแสดงความคิดเหน็ จากเรอ่ื งทีอ่ า่ นได้
ตวั บง่ ชี้ท่ี 4 เขยี นสรปุ จากเรอ่ื งทอี่ า่ นได้
2. นาความรู้ความเข้าใจท่ีได้จากการอ่านไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจ คาดคะเนเร่ืองราว
หรือเหตกุ ารณ์ และสรปุ เป็นแนวปฏบิ ตั ไิ ด้
ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1 ทาโครงงาน / รายงานในเรอื่ งท่สี นใจไดต้ ามศกั ยภาพ
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 นาเสนอโครงงาน / รายงานได้ตามศักยภาพ
ตัวบ่งชี้ท่ี 3 เนือ้ หาในการทาโครงงาน / รายงานสอดคล้องกบั เรอื่ งทีเ่ รยี น
ตัวบ่งชท้ี ี่ 4 เขียนข้ันตอนในการปฏิบตั งิ านได้
3. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถเขยี นถ่ายทอดความคิดเพอื่ การส่อื สารได้
ตัวบ่งชท้ี ี่ 1 เขยี นเรอื่ งราวเชงิ สร้างสรรค์ไดต้ ามศักยภาพ
ตวั บง่ ชี้ท่ี 2 เขียน / วาดภาพจากจินตนาการในเรอ่ื งท่ีตนสนใจได้
แนวทางและวธิ ีการประเมนิ
การประเมินความสามารถในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น โรงเรียนจะใชแ้ นวทางการวัดและ การ
ประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกาหนดแนวทางและวิธีการ
ประเมนิ ให้ครผู สู้ อนทกุ กลุม่ สาระการเรียนรนู้ าไปใชใ้ นการประเมนิ ดงั น้ี
1. วธิ กี ารประเมนิ
1.1 ความสามารถจริงของผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมทางการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ในส่วน
ที่เกย่ี วกบั การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น โดยการสังเกตของครู
1.2 มอบหมายให้ผเู้ รยี นไปศกึ ษาคน้ ควา้ แล้วเขียนเปน็ รายงาน
1.3 ผลงานเชิงประจักษ์ต่าง ๆ เก่ียวกับการอ่าน การคิด การวิเคราะห์ และเขียนท่ี รวบรวม
และนาเสนอในรปู ของแฟ้มสะสมงาน
38
1.4 การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบแบบเขียนตอบ หรือเขียนเรียงความ
1.5 การเขยี นรายงานจากการปฏิบตั ิโครงงาน
2. เกณฑ์การประเมินผลงานการเขยี นจากการอา่ น คิด วิเคราะห์
2.1 การใชก้ ระบวนการอา่ นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
2.2 การแสดงความคิดเห็นอยา่ งมวี ิจารณญาณ
2.3 ใช้กระบวนการเขียนสอ่ื ความอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
3. เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
เกณฑ์ระดับคุณภาพ : การอ่าน
ดีเยี่ยม ระบุสาระของเรอื่ งที่อ่านไดถ้ ูกต้องครบถ้วน ลาดบั เรือ่ งท่ีอ่านได้ถกู ต้อง ระบปุ ระเด็น
สาคัญของเรอื่ งทอ่ี ่านไดถ้ ูกต้อง ระบจุ ุดมุง่ หมาย และเจตคติ ของผูเ้ ขยี น
ดี ระบสุ าระของเรื่องท่อี า่ นได้ถูกต้องครบถ้วน ลาดบั เร่ืองทีอ่ า่ นไดถ้ กู ต้อง ระบุประเด็น
สาคญั ของเรอ่ื งที่อา่ นได้ถกู ต้อง ระบจุ ดุ มงุ่ หมาย และเจตคติของผเู้ ขยี นไม่ครบถ้วน
ผ่าน ระบุสาระของเรอื่ งทอี่ ่านไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น ลาดับเร่อื งท่อี ่านคอ่ นข้างถกู ตอ้ ง
ระบปุ ระเดน็ สาคญั ของเร่ืองทอ่ี ่านไดไ้ ม่สมบรู ณ์ ระบจุ ดุ มงุ่ หมาย และเจตคติ
ของผู้เขียนเพียงเล็กน้อย
ไมผ่ ่าน ระบสุ าระของเร่ืองทีอ่ า่ นไดไ้ มค่ รบถว้ น ลาดบั เร่ืองท่อี า่ นผดิ พลาดเลก็ น้อย
ระบุประเดน็ สาคญั ของเรื่องท่ีอ่านไม่ถูกตอ้ ง ไม่ระบจุ ุดมุง่ หมาย และเจตคติ
ของผู้เขียน
เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ : การคิด วเิ คราะห์
ดีเย่ียม แสดงความคดิ เห็นชัดเจน มเี หตุผลระบขุ อ้ มลู สนบั สนนุ ทนี่ า่ เช่ือถอื มคี วามคิด
ท่แี ปลกใหม่ เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมโดยสว่ นรวม
ดี แสดงความคิดเห็นคอ่ นขา้ งชดั เจน มเี หตุผลระบุข้อมูลสนบั สนนุ มีความคดิ
ทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ สงั คมโดยสงั คมรอบขา้ งตนเอง
ผ่าน แสดงความคิดเหน็ ทม่ี เี หตุผลระบุข้อมูลสนบั สนนุ ท่พี อรับได้มคี วามคิดทีเ่ ปน็
ประโยชนต์ อ่ ตนเอง
ไม่ผ่าน แสดงความคิดเหน็ มีเหตผุ ล ไมช่ ดั เจน ขาดขอ้ มลู สนบั สนนุ มีความคิดทีย่ ัง
มองไมเ่ หน็ ประโยชนท์ ี่ชดั เจน
เกณฑร์ ะดับคุณภาพ : การเขยี น
ดีเย่ยี ม มจี ุดประสงคใ์ นการเขยี นชัดเจนได้เนือ้ หาสาระ รูปแบบการเขยี นถูกต้องมี
ขน้ั ตอนการเขยี นชดั เจนง่ายต่อการตดิ ตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคาถกู ต้อง
พัฒนาสานวนภาษาทีส่ ่ือความหมายไดช้ ัดเจนกะทดั รดั
ดี มีจดุ ประสงค์ในการเขยี นชดั เจนไดเ้ นอ้ื หาสาระ รูปแบบการเขียนถกู ต้องมี
ขั้นตอนการเขยี นชดั เจนง่ายตอ่ การติดตาม ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคาผิดพลาดไม่
เกนิ 3 แหง่ พัฒนาสานวนภาษาที่สอ่ื ความหมายได้ชดั เจน
ผา่ น มจี ดุ ประสงคใ์ นการเขียนชดั เจนและคอ่ นข้างได้เน้อื หาสาระ รปู แบบการเขียน
ถกู ต้องมีขนั้ ตอนการเขยี นชัดเจนง่ายต่อการตดิ ตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคา
ผิดพลาดมากกวา่ 3 แห่ง ขาดการพัฒนาสานวนภาษาทีส่ ่อื ความหมายได้ชัดเจน
39
ไม่ผา่ น ขาดจุดประสงคใ์ นการเขยี นและเนือ้ หาสาระนอ้ ย ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคา
ผดิ พลาดมาก ขาดการพัฒนาสานวนภาษาทส่ี ่อื ความหมาย
4. การสรปุ ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น
4.1 ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน มา
เปน็ ระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะรายวชิ า
4.2 ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของแต่ ละ
รายวิชา สรปุ เปน็ ผลการประเมนิ การอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น ของผู้เรียนรายบุคคล
5. เกณฑก์ ารตัดสินความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน
5.1 ระดบั รายภาค
ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ผ่าน
ขึน้ ไปถอื วา่ ผา่ น
5.2 การเลือ่ นชัน้ / จบหลักสตู ร
ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ผา่ นทกุ รายภาค
แนวทางการพฒั นาและการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ระดบั ผู้ปฏบิ ัติดังน้ี
1. กลมุ่ ครผู ูส้ อนแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้
1.1 แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันกาหนดแนวทางในการพัฒนาความสามารถ
ในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ท่สี อดคล้องกบั ธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระ และสอดคล้องกบั มาตรฐาน
การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
1.2 ผู้สอนทุกรายวิชานาแนวทางที่กาหนดไว้ใน ขอ้ 1 วางแผนการจดั กจิ กรรมและ
ดาเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้สอดแทรกในการจดั การเรียนการสอนของตนเอง
1.3 ผู้สอนทกุ รายวชิ าดาเนินการประเมินและปรับปรุงความสามารถในการอ่าน คิด
วเิ คราะห์ และ เขยี น เป็นระยะ ๆ เม่ือส้ินภาคเรยี น / ปลายปี ประเมนิ ผลพรอ้ มบันทึกร่องรอยหลักฐานในการ
พัฒนา ปรับปรุง และรวบรวมหลักฐานการประเมินไว้ท่ีหมวดวิชาเพ่ือใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการ
ปฏิบตั งิ านของผสู้ อน ซง่ึ จะแสดงให้เห็นถงึ ความโปรง่ ใส และความยุตธิ รรมในการประเมนิ
1.4 บันทึกสรุปผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน
ลงใน แบบ ปพ.5 แบบสรุปผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
1.5 ผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของผลการ
ประเมินแต่ละ รายวชิ า แล้วสรุปผลการประเมินในระดบั กลุ่มสาระลงใน แบบ ปพ.5 แบบสรปุ ผลการอ่าน คิด
วิเคราะห์ และเขียน ส่งคณะกรรมการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดับโรงเรยี นตอ่ ไป
2. กล่มุ ผรู้ ับผดิ ชอบกจิ กรรมพฒั นาเรยี นรู้ และกลุ่มผรู้ บั ผดิ ชอบงาน โครงการ กจิ กรรม
ในระดบั โรงเรยี น
2.1 วางแผนกาหนดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ
เขียนที่สอดคล้อง กับกจิ กรรมในภาระงานท่ตี นเองรบั ผิดชอบ
2.2 ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาตามแผนท่ีวางไว้ และประเมินพัฒนาปรับปรุง
ผเู้ รียนเป็นระยะ ๆ พรอ้ มบนั ทกึ ร่องรอยหลกั ฐาน
2.3 เม่ือส้ินภาคเรียน ให้มีการประเมินผล และสรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากาหนด ไว้ พร้อมใหข้ อ้ สงั เกตท่เี ปน็ จุดเดน่ จดุ ด้อย ของผเู้ รียน บนั ทึกใน แบบ ปพ.5 และรวบรวม
40
หลักฐาน ร่องรอยการพัฒนาปรับปรุงไว้ท่ีผู้ปฏิบัติ เพื่อเป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้
ปฏิบตั ิ สง่ ผลการประเมินใหค้ ณะกรรมการประเมินระดับโรงเรียนต่อไป
3. ระดับคณะกรรมการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ของสถานศกึ ษา
3.1 แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น จานวน 3 – 5
คน ในแตล่ ะระดับชัน้ เปน็ รายภาค
3.2 คณะกรรมการประเมินฯ ศึกษาเกณฑ์การประเมิน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจ
ตรงกนั
3.3 นาผลการประเมินการอ่านจากระดับผู้ปฏิบัติร่วมกันประเมิน เพ่ือตัดสิน
ความสามารถในการ อา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ตามเกณฑท์ ีก่ าหนดไว้
3.4 กรณีทค่ี ณะกรรมการ ไม่สามารถตัดสินได้ คณะกรรมการขอข้อมูลจากผู้ปฏิบัติ
เพ่มิ เติม หรือทดสอบความสามารถซา้ แล้วจึงตดั สินผล
3.5 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินเพอ่ื เสนอผบู้ รหิ ารโรงเรยี นอนมุ ัตผิ ลการ
ประเมนิ
3.6 นายทะเบียนวัดผลบันทึกลงใน ปพ.1 แล้วแจ้งผลการประเมินการอ่าน คิด
วิเคราะห์ และ เขยี น ใหอ้ าจารยท์ ีป่ รกึ ษาเพอื่ แจ้งผ้ปู กครอง
4. แนวทางในการซ่อมเสริมและประเมินผลการซ่อมเสริมการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ
เขยี น
4.1 คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ร่วมกันพิจารณาว่า
ผู้เรียนมีจุดท่ีต้อง พัฒนาปรับปรุงด้านใด แต่งตั้งที่ปรึกษาโดยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกรรมการ
ดาเนินการซ่อมเสรมิ
4.2 กาหนดภาระงานใหผ้ เู้ รยี นพัฒนา ปรบั ปรงุ ในดา้ นท่ีตอ้ งพัฒนาปรับปรุงโดย
4.2.1 กรณี ไม่ผา่ นการประเมินการอา่ น
1) คณะกรรมการประเมินกาหนดภาระงานให้นกั เรียนอ่าน บันทกึ
การอ่าน พรอ้ มสง่ เอกสารท่ีได้อ่านไม่น้อยกว่า 5 เรือ่ ง หรอื กรรมการกาหนดเรื่อง 5 เรอ่ื ง ใหอ้ ่าน ภายในเวลา
ท่ี กาหนด
2) คณะกรรมการประเมินผลการอ่านโดยต้ังประเด็นคาถามที่
สอดคล้องกับ เกณฑ์การประเมิน ผู้เรียนตอบโดยการเขียนตอบหรือตอบปัญหาปากเปล่าก็ได้ หรืออยู่ในดุลย
พนิ จิ ของคณะกรรมการฯ
3) คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการอ่านให้ผ่าน และได้ระดับ
ไม่เกิน “ผ่าน” กรณีท่ีซ่อมเสริมไม่ผ่านให้คณะกรรมการประเมินกาหนดให้ผู้เรียนพัฒนาตามวิธีการ ข้อ 1-3
จนกวา่ ผู้เรยี นจะไดร้ บั การตัดสนิ ผา่ น
4.2.2 กรณผี เู้ รยี นไมผ่ ่านการคดิ วเิ คราะห์
1) คณะกรรมการประเมินกาหนดภาระงานให้ผู้เรียนไปฝึกคิด
วิเคราะห์ ใน เรื่องทีส่ นใจภายใน 1 สัปดาห์
2) คณะกรรมการประเมิน ประเมินการคิด วิเคราะห์ โดยตั้ง
ประเด็นคาถามทสี่ อดคลอ้ งกบั เกณฑก์ ารประเมนิ ผู้เรยี นตอบโดยการเขียนตอบ หรอื ตอบปากเปล่า
3) คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการคิด วิเคราะห์ โดยให้ผล
การประเมิน ไมเ่ กนิ “ผา่ น”
41
4) ในกรณที ่ผี ลการประเมนิ ไมผ่ า่ น ใหค้ ณะกรรมการประเมิน
กาหนดให้ผูเ้ รียนพฒั นาตามวธิ ีการใน ขอ้ 1)-3) จนกวา่ ผูเ้ รียนจะได้รับการตดั สิน ผา่ น
4.2.3 กรณีทีผ่ เู้ รียน ไม่ผา่ นการประเมนิ การเขยี น
1) คณะกรรมการประเมนิ กาหนดภาระงานใหผ้ เู้ รียนไปฝึกเขียน
ในเร่ืองที่ สนใจภายใน 1 สัปดาห์ ภายใต้การควบคมุ ดแู ลของครูทีป่ รกึ ษาในระบบดูแลช่วยเหลือ
2) ผู้เรียนส่งผลงานการเขียนที่ได้พัฒนาแล้วแก่คณะกรรมการ
ประเมนิ
3) คณะกรรมการประเมินทาการประเมินผลงานการเขียน
ประกอบการสมั ภาษณ์นักเรียนเก่ยี วกบั กระบวนการพฒั นาการเขยี น
4) คณะกรรมการตัดสินผลการเขียนโดยให้ผลการประเมินไม่เกิน
“ผา่ น”
5) ในกรณีท่ีผลการประเมินยังไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมิน
กาหนดให้ ผู้เรียนพฒั นาตามวิธีการ ขอ้ 1 – 4 จนกว่าผูเ้ รียนจะได้รับการตัดสินผา่ น
4.3 คณะกรรมการประเมินการอ่านตัดสินผลการประเมินการอ่าน ส่งผลการ
ประเมนิ เสนอ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และรวบรวมส่งให้
ผู้บริหาร สถานศกึ ษาอนุมัติ นายทะเบียนวัดผลบนั ทึกลง ปพ.1 และแจง้ ผเู้ ก่ียวข้องต่อไป
ส่วนท่ี 5 เกณฑ์การตัดสนิ การเล่อื นชน้ั และเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร
การตดั สนิ การเลอื่ นชน้ั
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนนน้ั ผ้สู อนตอ้ งคานงึ ถึงการพัฒนาผ้เู รยี นแต่ละคนเป็นหลัก และ ตอ้ ง
เก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรียนรวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียน ให้
พัฒนาจนเต็มตามศกั ยภาพ
ระดบั มธั ยมศึกษา
1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ
80 ของเวลาเรียนทัง้ หมดในรายวชิ านั้น ๆ
2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวช้ีวัด และผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด คือ
ตวั ช้วี ัด ท่ีตอ้ งผา่ น ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของแตล่ ะรายวิชา
3) ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั การตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวิชา
4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด
ในการ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนการพิจารณาเล่ือน
ชั้นในระดับมัธยมศึกษา ถ้าหากผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และ สถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถ
พฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยใู่ นดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อน ผนั ใหเ้ ล่อื นชน้ั ได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่าน
รายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน ระดับช้ันท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาจะตั้ง
คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรียนซา้ ชน้ั ได้ โดยทง้ั น้จี ะคานงึ ถึงวุฒภิ าวะ และความรคู้ วามสามารถของผู้เรียนเป็น
สาคญั
42
เกณฑก์ ารจบหลักสตู รระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน
66 หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเตมิ ไม่นอ้ ยกว่า 15 หนว่ ยกติ
2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน
66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพ่มิ เติมไมน่ ้อยกว่า 15 หน่วยกิต
3) ผูเ้ รียนมีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น ในระดับผา่ น เกณฑก์ ารประเมิน
ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
เกณฑ์การจบหลักสตู รระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน
41 หน่วยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติมไมน่ อ้ ยกวา่ 40 หนว่ ยกิต
2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน
41 หน่วยกิต และรายวิชาเพม่ิ เตมิ ไม่น้อยกว่า 40 หนว่ ยกติ
3) ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑก์ ารประเมิน
ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
ส่วนที่ 6 การประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระดบั ชาติ (National test)
ในการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่เป็นระดับ
มาตรฐานระดับชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดให้มีการประเมินเพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทุก
ระดับช้นั เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ งานเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ โรงเรยี นจึงไดก้ าหนดแนวทางปฏบิ ตั ิไว้ดังน้ี
1. ผู้แทนสถานศึกษาเข้ารับการประชุมชี้แจงวิธีการดาเนินการทดสอบร่วมกับสานักงานเขต
พืน้ ท่ี
2. จัดส่งรายชื่อคณะกรรมการดาเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยประธาน
กรรมการ คณะกรรมการกลาง กรรมการควบคุมห้องสอบ คณะกรรมการตรวจคาตอบชนิดเขียนตอบ และ
กรรมการรบั – ส่งข้อสอบ สง่ ไปให้สานกั งานเขตพ้นื ทเ่ี พือ่ แต่งตงั้
3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาประชุมชี้แจงคณะกรรมการ
ดาเนินการประเมิน คุณภาพตามคาส่ังจากข้อ 2 ถึงวิธีการดาเนินการสอบเพ่ือให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัตไิ ด้
ตรงกนั ตามแนว ปฏิบตั ใิ นคมู่ ือการประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรยี นเพื่อให้เกิดความยุตธิ รรม และ
เป็นไปตาม การดาเนินการสอบแบบทดสอบมาตรฐานอยา่ งเครง่ ครดั
4. คณะกรรมการกลางจัดพิมพ์รายชอ่ื พร้อมกาหนดรหสั / เลขท่ีนกั เรยี นตามจานวนนกั เรยี น
/ ห้องเรยี นที่กาหนดไว้ในคู่มือนาไปประกาศไวห้ น้าห้องสอบแตล่ ะห้อง เพือ่ ให้นกั เรยี นไดท้ ราบวา่ ตนเอง เลขที่
เทา่ ไร สอบหอ้ งท่เี ทา่ ใด พรอ้ มติดเลขท่ขี องนกั เรยี นไว้บนโต๊ะท่ีน่ังสอบ
43
5. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการประชุมช้ีแจงนักเรียนให้ตระหนักถึง
ความสาคัญของ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ท้ังในด้านส่วนตัว ระดับโรงเรียน ระดับเขต
และ ระดับชาติ ควรใหค้ วามร่วมมอื ตัง้ ใจในการสอบอย่างเต็มความสามารถ
6. กรณีที่นักเรียนไม่ได้รับการประเมินตามวันเวลาที่กาหนด ให้สถานศึกษาแต่งตั้ง
ผู้รับผิดชอบ ติดตาม และประสานงานกับเขตพ้ืนที่ดาเนินการประเมินให้เสร็จสิ้นภายใน 2 สัปดาห์ หลังจาก
ทราบ รายชื่อนกั เรยี นทย่ี งั ไม่ได้รบั การประเมิน
7. เม่ือสานักงานเขตพื้นที่แจ้งผลการประเมินมายังสถานศึกษา ให้นาผลการประเมินมา
ทบทวน คุณภาพร่วมกันระหว่างคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ กับคณะกรรมการสถานศึกษา
และแจ้ง ผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผลและดาเนินการต่อไป โดยเฉพาะผู้เรียนและครูผู้สอนนาไป
พิจารณา ในการพัฒนาปรบั ปรุงตนเองตอ่ ไป
ส่วนที่ 7 แนวปฏิบตั ิในชว่ งการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID 19
เน่ืองจากผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษา มีธรรมชาติ และความซับซ้อนของพฤติกรรมการเรียนรู้ที่
แตกต่างกัน ดังนั้น การวัดและประเมินผลผู้เรียน จึงต้องกาหนดรูปแบบและวิธีการให้เหมาะสมกับธรรมชาติ
และระดบั ความรูค้ วามสามารถของผู้เรยี น ดงั นี้
1. รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน
กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนสาหรับโรงเรียนใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ใน 3 รูปแบบซึ่งโรงเรียน
สามารถเลือกรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณาตามความเหมาะสมและบริบทของโรงเรียน โดย
โรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษาได้เลือกรปู แบบการจัดการเรียนการสอนในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ดงั ต่อไปน้ี
1.1. การเรียนในช้นั เรยี น (On-Site)
การเรียนการสอนท่ีเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนหรือในช้ันเรียน เป็น
หลัก โดยครูผู้สอนสามารถนารูปแบบการเรียนการสอนอ่ืน ๆ มาบูรณาการใช้กับ การเรียนในชั้นเรียนได้ เช่น
การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On-Air) หรือ การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต (Online) เป็นต้น โดยทางโรงเรียนปางสิลา
ทองศึกษาได้นารปู แบบนีม้ าใช้ ในชว่ งท่ีมกี ารแพรร่ ะบาดยังไม่มาก
1.2. การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online)
การเรียนการสอนแบบออนไลน์ เป็นการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดย
นักเรียนสามารถเลือกเรียนตามความสนใจ หรือครูอาจกาหนดเน้ือหาการเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนเข้าถึงเน้ือหา
ด้วยตนเองได้ทุกท่ีทุกเวลา เนื้อหาอาจประกอบด้วย ข้อความ , รูปภาพ , เสียง , วิดีโอและส่ือมัลติมีเดียอ่ืน ๆ
ซึ่งนักเรียน ครู และเพื่อนร่วมชั้นเรียน สามารถติดต่อ ส่ือสาร ปรึกษา หรือแลกเปล่ียนความคิดเห็นแบบ
เดียวกับการเรียน ในชั้นเรียนทั่วไป โดยใช้ช่องทางการส่ือสารผ่าน E-mail, Chat, Social Network เป็นต้น
โดยทางโรงเรยี นปางสลิ าทองศกึ ษาได้นารูปแบบนีม้ าใช้ ในช่วงท่มี ีการแพรร่ ะบาดระลอกใหม่
1.3. ให้คณะครูจัดการเรียนรู้ตามหลักสตู รโดยเนน้ ตวั ชวี้ ัดที่ต้องรู้ บูรณาการตัวชว้ี ดั ควรรู้กับ
กิจกรรมภาคปฏบิ ตั ิ
44
2. การนบั เวลาเรียนและการสอนชดเชย
2.1. การนับเวลาเรียน
การนบั เวลาเรียนและสอนชดเชย ใหส้ ถานศกึ ษาดาเนินการ ตามแนวปฏบิ ัติการนับเวลาเรยี น
การสอนชดเชยและการอนุมัติการจบการศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 ตามหนังสอื ทีอ่ ้างถึง 2
2.2. โรงเรียนปางศิลาทองศึกษาได้กาหนดรปู แบบการสอนชดเชย ดังน้ี
2.2.1. สอนชดเชยในวนั หยดุ
2.2.2. สอนชดเชยหลังเลกิ เรยี น
2.2.3. สอนชดเชยตามความเหมาะสมของสถานศึกษา
3. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ระดับช้ันเรียน และระดับสถานศึกษาเป็นอานาจหน้าที่ของสถานศึกษาในการประเมิน เพ่ือ
พฒั นาการเรียนรู้ของนักเรยี นและตัดสินผลการเรยี นตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากาหนด
3.1 คะแนนระหว่างเรียนหรอื คะแนนกลางภาค
กรณสี ถานการณโ์ ควดิ -19 ยงั ไม่คลค่ี ลายและยังตอ้ งเรียนผ่านออนไลน์ หรอื รปู แบบอืน่ ๆ ท่ี
ไม่ใช่ ช้ันเรียนปกติในชั้นเรียน สถานศึกษาสามารถพิจารณาจากใบงานท่ีมอบหมายให้นักเรียนปฏิบัติการ
สังเกตพฤติกรรมขณะจัดการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ การตอบคาถาม การพูดคุย การเสนองานในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ เช่น คลิปวดิ โี อ ไลน์ เฟซบุ๊ค เปน็ ตน้ เพอ่ื บรรลุตามมาตรฐานและตวั ช้วี ดั ของหลกั สูตร
3.2 คะแนนปลายปี/ปลายภาค
กรณีสถานการณ์โควิด -19 ยงั ไม่คล่ีคลาย และยงั ตอ้ งเรียนผ่านออนไลนห์ รอื รูปแบบอืน่ ๆ ที่
ไม่ใช่ ช้ันเรียนปกติในช้ันเรียน สถานศึกษาไม่จาเป็นต้องใช้คะแนนจากการสอบโดยข้อสอบเพียงอย่างเดียว
อาจพิจารณาจาก/ช้ินงาน แฟ้มสะสมงาน การสอบปากเปล่าทางไลน์ ซูม หรืออ่ืน ๆ ได้ตามความเหมาะสม
และบริบทของสถานศึกษา แต่ต้องคานึงถงึ คณุ ภาพผู้เรียนเปน็ สาคัญ
4. การเลอ่ื นช้นั
ระดับมัธยมศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดและแนวปฏิบัติการวัดและ
ประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรณีสถานการณ์
โควิด -19 ยังไม่คล่ีคลาย และยังต้องเรียนผ่านออนไลน์หรือรูปแบบอื่น ๆ ท่ีไม่ใช่ ชั้นเรียนปกติในชั้นเรียน
สถานศกึ ษาสามารถกาหนดแนวทางการนับเวลาเรยี นการจดั การเรียนการสอน ผ่านออนไลนห์ รือรูปแบบอ่นื ๆ
ที่ไม่ใช่เรียนปกติในช้ันเรียน หรือนับเวลาที่นักเรียนใช้ในการทาผลงาน/ชิ้นงานตามท่ีครูมอบหมาย และให้
สถานศึกษาดาเนินการตามแนวปฏิบัติการนับเวลาเรียน การสอนชดเชยและการอนุมัติ การจบการศึกษา ปี
การศกึ ษา 2563
45
ภาคผนวก
-แบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ ในงานวดั ผล
46
แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
โรงเรียนปางศลิ าทองศึกษา สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากาแพงเพชร
ชือ่ -สกลุ นักเรียน........................................................................................ชน้ั ม.........เลขท.ี่ ..............
ประเมินโดย ครูผ้สู อน นักเรยี น เพ่ือน ผปู้ กครอง
คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
อนั พงึ ประสงค์ ดีเยย่ี ม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไม่ผ่าน (๐)
1. รักชาติ 1.1 เปน็ พลเมอื งดีของชาติ
ศาสน์ 1.2 ธารงไว้ซึ่งความเปน็ ชาติไทย
กษตั รยิ ์
1.3 ศรัทธา ยึดม่ัน และปฏิบตั ติ นตามหลกั
ศาสนา
1.4 เคารพเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั ริย์
สรปุ ผลการประเมิน
2. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ 2.1 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อ
ตนเอง ทัง้ กาย วาจา ใจ
2.2 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงตอ่
ผอู้ ื่น ทงั้ กาย วาจา ใจ
สรุปผลการประเมิน
3. มวี นิ ัย 3.1 ปฏบิ ัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์
ระเบยี บ ขอ้ บังคับของครอบครัว
โรงเรียน และสังคม
สรุปผลการประเมนิ
4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 ต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรียน และ
เขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้
4.2 แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรทู้ ง้ั
ภายใน และภายนอกโรงเรียน ด้วยการ
เลือกใช้ส่ืออยา่ งเหมาะสม สรุปเปน็ องค์
ความรู้ และนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้
สรปุ ผลการประเมนิ
5. อยู่อยา่ ง 5.1 ดาเนนิ ชวี ติ อย่างพอประมาณ มเี หตุผล
พอเพยี ง รอบคอบ มคี ณุ ธรรม
5.2 มีภมู ิคมุ้ กันในตัวทีด่ ี ปรับตวั เพื่ออยูใ่ น
สังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
สรุปผลการประเมนิ
6. มุง่ มน่ั ในการ 6.1 ต้งั ใจ และรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิ
หนา้ ท่ีการงาน
ทางาน
6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายาม และ
อดทนเพอื่ ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย
สรุปผลการประเมนิ
47
คณุ ลกั ษณะอนั รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ
พึงประสงค์ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไม่ผ่าน (๐)
7. รกั ความเปน็ 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี
ไทย ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมีความ
กตัญญกู ตเวที
8. มีจิต
สาธารณะ 7.2 เหน็ คุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการ
สอื่ สารได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม
7.3 อนรุ ักษ์ และสบื ทอดภูมิปญั ญาไทย
สรุปผลการประเมิน
8.1 ชว่ ยเหลอื ผ้อู ืน่ ดว้ ยความเตม็ ใจโดยไม่
หวงั ผลตอบแทน
8.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมที่เป็นประโยชน์ตอ่
โรงเรียน ชมุ ชน และสงั คม
สรปุ ผลการประเมนิ
ลงชื่อผู้ประเมิน.............................................................................วนั ท.่ี .............................................