The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by earn.chanit, 2020-02-18 03:04:05

chinese culture

chinese culture

วัฒนธรรมจีน

จดั ทำโดย

นำงสำว กำนตพ์ ิชชำ สมุทโคดม เลขท่ี 4

นำงสำว ชนิษฐำ ฐำนะสิทธ์ิ เลขที่ 7

นำงสำว ณัฐณิชำ เสำวลกั ษณส์ กลุ เลขที่ 10

นำงสำว ณิชำรีย์ เจริญผล เลขที่ 12

นำงสำว ทกั ษพร แช่มสะอำด เลขที่ 14

เดก็ หญงิ นฎำ ประเสริฐดีงำม เลขท่ี 17

เด็กหญิง พรรษชล ยนตว์ ิภยั เลขที่ 22

นำงสำว พฒั นพร จงเลิศวรำวงศ์ เลขที่ 23

เด็กหญงิ อำริยำ องั ศวุ ฒั นำ เลขที่ 35

ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 3.4

เสนอ
คณุ ครู ฐิตภิ ทั ร ทองมำ

วฒั นธรรมจีน

จดั ทำโดย

นำงสำว กำนตพ์ ิชชำ สมทุ โคดม เลขที่ 4

นำงสำว ชนิษฐำ ฐำนะสิทธ์ิ เลขท่ี 7

นำงสำว ณัฐณิชำ เสำวลกั ษณ์สกลุ เลขท่ี 10

นำงสำว ณิชำรีย์ เจริญผล เลขท่ี 12

นำงสำว ทกั ษพร แช่มสะอำด เลขท่ี 14

เดก็ หญิง นฎำ ประเสริฐดีงำม เลขท่ี 17

เดก็ หญงิ พรรษชล ยนตว์ ิภยั เลขท่ี 22

นำงสำว พฒั นพร จงเลศิ วรำวงศ์ เลขที่ 23

เด็กหญงิ อำริยำ องั ศุวฒั นำ เลขท่ี 35

ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 3.4

เสนอ
คุณครู ฐิติภทั ร ทองมำ

รำยงำนน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ ำ ง23102 กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี 6
ภำคเรียนที่ 2 ปี กำรศึกษำ 2562
โรงเรียนสตรีวทิ ยำ

คำนำ

รำยงำนเล่มน้ีจดั ทำข้ึนเพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงของวิชำ ง23102 กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี 6
เพือ่ ศึกษำคน้ ควำ้ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั วฒั นธรรมจีน นำเสนอเป็นควำมรู้แกน่ กั เรียนและผสู้ นใจ

ประเทศจนี มีประวตั ศิ ำสตร์ท่ียำวนำนนบั หลำยพนั ปี วฒั นธรรมจีนนอกจำกแสดงถงึ ควำม
เจริญก้ำวหน้ำท้งั ทำงด้ำนวตั ถุและพฒั นำกำรทำงสังคมของประเทศจีนแลว้ ยงั สะทอ้ นถึงวิถีชีวิต
และแนวควำมคิดของประชำชนจีน ประชำชนจีนต้งั แต่สมยั โบรำณจนถึงปัจจุบนั ต้องเผชิญกับ
ปัญหำและอุปสรรคต่ำง ๆ ท้งั ที่เกิดจำกปรำกฏกำรณท์ ำงธรรมชำติ และจำกกำรกระทำของมนุษย์
จึงตอ้ งหำทำงด้ินรนต่อสู้เพอ่ื ควำมอยู่รอด ในช่วงเวลำท่ีผ่ำนมำ นกั ปรัชญำและนกั คิดผูย้ ิ่งใหญ่ใน
สมยั ตำ่ ง ๆ ของจีนไดพ้ ยำยำมขบคิดปัญหำต่ำง ๆ ทมี่ นุษยเ์ ผชิญ และไดม้ ำซ่ึงควำมคิดและคำสอนท่ี
มีคุณค่ำในกำรดำเนินชีวิต ประเทศจีนจึงได้มีศิลปะ หัตถกรรม และสิ่งปลูกสร้ำงทำงวตั ถุจำนวน
มำก ท่ีเป็ นมรดกทำงวฒั นธรรมอนั ทรงคุณค่ำของจีนที่ตกทอดมำจนถึงปัจจุบนั ท้งั น้ีจะเห็นไดว้ ำ่
ประชำชนทว่ั โลกตำ่ งหันมำใหค้ วำมสนใจในเรื่องรำวทเ่ี กีย่ วกบั ประเทศจนี โดยมีกำรเรียนภำษำจนี
และศึกษำวฒั นธรรมจีนกนั มำกข้ึน โดยเฉพำะสำหรับผทู้ ่ีตอ้ งมีกำรติดตอ่ ทำงธุรกจิ กบั คนจีน เขำ้ ใจ
ถึงวฒั นธรรมจีนซ่ึงมีอิทธิพลต่อควำมคิดของคนจีนจึงมีควำมสำคญั ต่อกำรสรำ้ งควำมสัมพนั ธ์กบั
คนทำงดำ้ นต่ำง ๆ

ผจู้ ดั ทำรำยงำนเลม่ น้ีหวงั ว่ำ รำยงำนเลม่ น้ีจะเป็นประโยชน์แก่นกั เรียน นกั ศึกษำตลอดจนผู้
ทส่ี นใจ หำกมีควำมผดิ พลำดประกำรใด ผจู้ ดั ทำขออภยั ไว้ ณ ทนี่ ้ีดว้ ย

คณะผจู้ ดั ทำ



กติ ติกรรมประกำศ

รำยงำนเร่ืองวฒั นธรรมจีนเล่มน้ีสำเร็จลุลว่ งไดด้ ว้ ยดี เพรำะคณะผจู้ ดั ทำไดร้ บั ควำม
ช่วยเหลือ ควำมกรุณำ และคำแนะนำอย่ำงดยี ง่ิ จำกคณุ ครูฐติ ิภทั ร ทองมำ ซ่ึงเป็นคณุ ครูท่ีปรึกษำ ทำ่ น
ไดใ้ หค้ ำปรึกษำ ช้ีแนะแนวทำง และสนบั สนุนกำรทำรำยงำนในทุกข้นั ตอน ทำใหค้ ณะผจู้ ดั ทำ
ไดร้ บั ประสบกำรณ์ในกำรทำงำนและรูถ้ งึ คณุ คำ่ ของวฒั นธรรมจนี มำกย่ิงข้นึ

ทำ้ ยท่ีสุด คณะผจู้ ดั ทำขอกรำบขอบพระคุณบพุ กำรีที่ไดอ้ บรมเล้ยี งดู รวมท้งั เพื่อนทุกคนท่ี
คอยเป็นกำลงั ใจ ให้กำรสนบั สนุนและควำมช่วยเหลืออยำ่ งดเี สมอมำ ทกุ ๆ คุณคำ่ ประโยชนท์ เ่ี กดิ
จำกรำยงำนเลม่ น้ี คณะผูจ้ ดั ทำขอมอบให้เป็นประโยชน์กบั ทกุ ท่ำนตลอดไป

คณะผจู้ ดั ทำ



สำรบัญ หนา้

คำนำ ก
กิตตกิ รรมประกำศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนำ 1
2
วตั ถุประสงคก์ ำรวจิ ยั 2
ขอบเขตกำรวิจยั 3
บทที่ 2 เอกสำรที่เก่ยี วขอ้ ง 3
กำรแต่งกำยในประเทศจนี (รวมทุกรำชวงศ)์ 9
อำหำรในประเทศจนี 14
ควำมเช่ือในประเทศจนี 19
เทศกำลในประเทศจีน 25
ศำสนำในประเทศจีน 30
บทที่ 3 วธิ ีดำเนินงำนโครงงำน 32
บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำน 34
บทที่ 5 สรุปผลกำรดำเนินงำนและขอ้ เสนอแนะ

บรรณำนกุ รม
ภำคผนวก



บทท่ี 1
บทนำ

ท่มี ำและควำมสำคัญของปัญหำในกำรทำวิจัย
บนโต๊ะอำหำรของคุณวนั น้ี มอี ำหำรอะไรบำ้ ง มกี ๋วยเตี๋ยว ซำลำเปำ แลว้ เรำก็ใชต้ ะเกียบใน

กำรกินขำ้ ว พอมองไปรอบๆ ตวั เรำ ก็เต็มแด้วยไปด้วยวฒั นธรรม ควำมเช่ือของชำวจีน ดังน้ัน
ภำยในเพจของเรำจะนำทุกทำ่ นไปสู่โลกวฒั นธรรมชำวจีน ภำยในหัวขอ้ ตำ่ งๆไมว่ ่ำจะเป็น กำรแตง่
กำย อำหำร ควำมเช่ือและเทศกำลของคนจีน

วฒั นธรรมจีนท่ีมีอิทธิพลต่อวฒั นธรรมไทย จีนเขำ้ มำสมยั กรุง สุโขทยั และกรุงศรีอยธุ ยำ
โดยเข้ำมำค้ำขำย ในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์เข้ำมำทำมำหำกิน ทำให้เกิดกำร
ผสมผสำนวฒั นธรรมไทยกบั จีน จนกลำยเป็นวฒั นธรรมไทย อิทธิพลวฒั นธรรมจนี ตอ่ วฒั นธรรม
ไทย ไดแ้ ก่

1. ควำมเช่ือทำงศำสนำ เป็นกำรผสมผสำน กำรบชู ำบรรพบรุ ุษ กำรนบั ถือเจำ้ ส่วนกำรไหว้
พระจนั ทร์ เทศกำลกนิ เจ ชำวไทยเช้ือสำยจีนรุ่นใหมย่ อมรบั วฒั นธรรมเดมิ ของจนี นอ้ ยลงทกุ ที

2. ดำ้ นศิลปกรรม เคร่ืองชำมสังคโลกเขำ้ มำในสมยั สุโขทยั
3. ดำ้ นวรรณกรรม กำรแปลวรรณกรรมจนี เป็นภำษำไทย เร่ิมข้ึนในสมยั รชั กำลท่1ี แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ ได้แก่ สำมก๊กอำนวยกำรแปลโดย เจ้ำพระยำคลงั (หน) กลำยเป็ นเพชรน้ำงำมแห่ง
วรรณคดีไทย
4. วฒั นธรรมอ่ืน ๆ มีอำหำรจีน และ "ขนมจันอับ" ท่ีกลำยเป็ นขนมที่มีบทบำทใน
วฒั นธรรมไทย ใชใ้ นพิธี ก๋วยเตี๋ยวก็กลำยมำเป็ นอำหำรหลกั ของไทย นอกจำกน้ียงั มีขำ้ วตม้ กยุ๊ ผดั
ซีอว๊ิ และซำลำเปำ เป็นตน้

1

วตั ถปุ ระสงค์กำรวจิ ยั
1. เพอ่ื เป็นขอ้ มลู เชิงลกึ สนบั สนุนสำหรับผทู้ ี่สนใจวฒั นธรรมจีน
2. เพือ่ ศกึ ษำถงึ กำรดำรงอยู่ของวฒั นธรรมจีนดำ้ นตำ่ ง ๆ ในสังคมไทย
3. เพ่ือเผยแพร่ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ในกำรถ่ำยทอดควำมหมำยของเทศกำลและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีจีนท่ีสำคญั

ขอบเขตกำรวจิ ัย
1. กำรแตง่ กำยจนี
2. อำหำรจนี
3. ควำมเชื่อของชำวจนี
4. ขนบธรรมเนียม ประเพณี พธิ ีกรรมในเทศกำลสำคญั ของจีน

2

บทท่ี 2
เอกสำรทเ่ี กย่ี วข้อง
กำรจดั ทำโครงงำนคอมพิเตอร์ กำรพฒั นำเพอื่ กำรศกึ ษำ เรื่อง วฒั นธรรมจนี น้ีผจู้ ดั ทำไดศ้ กึ ษำ
เอกสำรทเี่ ก่ยี วขอ้ งดงั ต่อไปน้ี
1. กำรแตง่ กำยในประเทศจนี (รวมทุกรำชวงศ)์
2. อำหำรในประเทศจีน
3. ควำมเช่ือในประเทศจีน
4. เทศกำลในประเทศจนี
5. ศำสนำในประเทศจนี
1. กำรแต่งกำยในประเทศจีน (รวมทุกรำชวงศ์)
สมัยรำชวงศ์โจว เมื่อมีระบบปิ ตำธิปไตยก็เกิดแนวคิดควำมแตกต่ำงระหว่ำงชนช้ันข้ึน
เส้ือผำ้ เริ่มมกี ำรแยกระดบั ชนช้นั คนต่ำงลำดบั ชนช้นั กนั กำรแตง่ กำยกจ็ ะแตกตำ่ งกนั ไปตำมโอกำส
ทตี่ ำ่ งกนั เส้ือผำ้ ท่สี ูงส่งท่ีสุดเรียกวำ่ “ชดุ เหมี่ยนฝ”ู เป็นชุดทกี่ ษตั ริยแ์ ละขุนนำงใหญส่ วมใส่ยำมอยู่
ในทอ้ งพระโรงหรือเขำ้ ร่วมพิธีกรรมสำคญั ในสมยั ชนุ ชิวจ้นั กว๋ั ยงั มีชดุ คลุมยำวทรงกระบอกตรง
แบบหน่ึง เส้ือตวั บนและกระโปรงตวั ล่ำงเชื่อมต่อกนั ชดุ แบบน้ีเรียกว่ำ “ชดุ เซินอี”

3

ปลำยสมยั จ้นั กวั๋ เนื่องจำกมชี นกลุ่มนอ้ ยทำงตะวนั ตกเดินทำงเขำ้ มำสู่ภำคกลำงของจีน กำร
แต่งกำยของพวกเขำทเี่ รียกว่ำชดุ “หูฝู” ก็เร่ิมแพร่หลำยเขำ้ มำ ชุด “หูฝู” แตกต่ำงกบั เส้ือผำ้ ของชน
เผำ่ ชำวจนี ด้งั เดมิ ตรงท่ีเส้ือตวั บนเป็นเส้ือแขนกระบอกส้ันและตวั ล่ำงเป็นกำงเกง เอวรดั เขม็ ขดั หนงั
เส้ือผำ้ แบบน้ีเหมำะสำหรับกิจกรรมข่ีมำ้ และยิงธนูของชำวเผ่ำเล้ียงสัตวเ์ ร่รอนทำงตะวนั ตกเฉียง
เหนือ แต่ชำวจีนภำคกลำงกร็ ู้สึกว่ำกำรสวมเครื่องแต่งกำยเชน่ น้ีทำให้เคล่ือนไหวไปมำไดส้ ะดวก
ดงั น้ัน กำรแต่งกำยแบบน้ีจึงเริ่มเป็ นท่ีนิยมในภำคกลำงของจีน หลงั จำกรวมแผ่นดินจีนเป็ นหน่ึง
เดยี ว จกั รพรรดจิ ๋นิ ซีก็ทรงออกกำหนดสีของเครื่องแตง่ กำย โดยให้สีดำเป็นสีสูงสุด ขุนนำงข้นั สำม
ข้ึนไปใส่ชุดสีเขียว สำมญั ชนทวั่ ไปใส่สีขำว ต่อมำในสมัยรำชวงศ์ฮั่น ผูค้ นนิยมสวมเส้ือสีเขม้ เป็น
ชุดพิธีกำร เส้ือผำ้ ประกอบดว้ ยเส้ือคลุมยำวท่ีเรียกว่ำ “ผำว” ชุดตวั ในท่ีเรียกวำ่ “ตนั อี” เส้ือตวั ส้ันท่ี
เรียกว่ำ “หรู” และกระโปรง กำรทอผำ้ และศลิ ปะกำรปักลำยในสมยั รำชวงศฮ์ นั่ ไดพ้ ฒั นำไปอย่ำง
มำกแลว้ ผำ้ ไหมและสิ่งทอก็มีหลำกหลำยชนิด ผูค้ นท่ีมีฐำนะก็มีโอกำสสวมเส้ือผำ้ สวยงำมที่ตดั
ดว้ ยผำ้ ไหมและผำ้ ต่วน คนทวั่ ไปกจ็ ะสวมเส้ือตวั ส้ันกบั กำงเกงขำยำวท่ีทำจำกผำ้ ดิบ สมยั รำชวงศ์
ฮั่นยงั แบ่งแยกตำแหน่งระดบั ช้นั ขุนนำงดว้ ยสีของแถบรัดเอวที่ตำ่ งกนั เคร่ืองแต่งกำยของสตรีใน
สมยั รำชวงศฮ์ นั่ มีสองแบบหลกั แบบแรกจะเป็ นเส้ือกระโปรงอย่ำงละตวั และอีกแบบหน่ึงจะเป็น
เส้ือคลุมยำวทเ่ี รียกวำ่ ชุด “ผำว”

4

สมัยรำชวงศ์เว่ย รำชวงศ์จิ้นและรำชวงศ์เหนือใต้ เป็ น
ยุ ค ข อ ง ก ำ ร ผ ส ม ผ ส ำ น ท ำ ง ช น ช ำ ติ ค ร้ ั ง ใ ห ญ่ ใ น
ประวตั ิศำสตร์จีนโบรำณ และก็เป็ นยุคสมยั ที่เกิดกำร
เปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ในประวตั ิศำสตร์กำรแต่งกำย
สมยั โบรำณ ชนกลุ่มน้อยในดินแดนตะวนั ตกจำนวน
มำกมำยได้ยำ้ ยเขำ้ มำอำศยั อยู่ในดนิ แดนภำคกลำงของ
จีน กำรแต่งกำยของทำงเหนือและทำงใต้ กำรแต่งกำย
ของคนภำคกลำงกับคนนอกพ้ืนที่ไดส้ ่งอิทธิพลถึงกัน
ชุดหูฝูได้กลำยเป็ นรูปแบบกำรแต่งกำยท่ีทนั สมัยใน
เวลำน้ัน รูปแบบโดยรวมของชุดก็คือ ชุดแนบตวั ปก
คอกลม แขนเส้ือและกำงเกงทรงแคบ สะดวกในกำรเคลอื่ นไหว เมอื่ ชำวฮนั่ ไดส้ วมใส่เส้ือผำ้ แบบน้ี
ก็ไดน้ ำไปปรับเปลยี่ นใหเ้ ขำ้ กบั ควำมเคยชินของตนเอง โดยปรบั เพมิ่ ควำมกวำ้ งให้กบั แขนเส้ือและ
กำงเกง ในเวลำน้นั ขณะทก่ี ำรแตง่ กำยของชนกล่มุ นอ้ ยท่ีเหมำะแก่กำรดำรงชีวติ และใชแ้ รงงำนเป็น
ท่ีนิยมในหมู่รำษฎรชำวฮนั่ ชนช้ันปกครองของชนกลุ่มนอ้ ยกลบั นิยมชมชอบชุดเหมยี่ นฝูของชน
ช้นั ปกครองชำวฮ่ัน เพรำะควำมซับซ้อนและควำมกวำ้ งของชุดสำมำรถสะทอ้ นควำมเป็ นชนช้ัน
ปกครองและควำมสูงส่งภมู ฐิ ำนได้

สมัยรำชวงศ์สุยและรำชวงศ์ถงั ถือเป็ นช่วงยุคทองของระบอบสังคมแบบศกั ดินำของจนี
ซ่ึงเกิดกำรพัฒนำและมีควำมเจริญรุ่งเรือง เมืองหลวงฉำงอำนในเวลำน้นั เป็ นเมืองนำนำชำติที่
ย่ิงใหญ่ เป็ นศูนยร์ วมชำวต่ำงชำติและชนกลุ่มน้อย ท้ังพระสงฆ์ พ่อค้ำวำณิช ขุนนำงทูตำนุทูต
นักศึกษำต่ำงชำติ เป็ นตน้ ดังน้ันกำรแต่งกำยในสมยั รำชวงศถ์ งั จึงไดร้ ับอิทธิพลจำกภำยนอกอยำ่ ง
มำก กำรแตง่ กำยของบรุ ุษในสมยั รำชวงศถ์ งั จะสวมชุดคลมุ ยำวท่เี รียกว่ำ “ผำวซนั ” เป็นหลกั ซ่ึงเป็น
กำรผสมผสำนระหวำ่ งเส้ือคลมุ ยำวทเ่ี รียกวำ่ “ผำว” ในสมยั กอ่ นกบั ชดุ หูฝู กำรแต่งกำยของสตรีจะ
แสดงให้เห็นถึงท่วงท่ำทีส่ ง่ำงำมและหลำกหลำย กระโปรงที่เรียกว่ำ “หรู” เป็ นตวั แทนของเครื่อง
แต่งกำยของหญิงสำวสมัยน้ัน มีลกั ษณะเด่นท่ีเส้ือตวั ส้ันเข้ำรูปคอกลมหรือมีสำบทบั กนั พร้อม
กระโปรงเอวสูงยำวจรดพ้นื ทเ่ี อวยงั รดั ดว้ ยสำยผำ้ ทท่ี ง้ิ ตวั 2 เสน้ กำรแตง่ กำยของสตรีสมยั รำชวงศ์
ถงั ส่วนใหญเ่ ป็นเส้ือที่เรียกวำ่ “ซนั ” กระโปรงและผำ้ คลุมไหล่ ผหู้ ญิงนิยมเอำปลำยเส้ือสอดเขำ้ ไป
ในกระโปรง ลกั ษณะของกระโปรงจำกช่วงหนำ้ อกยำวลงมำจรดพ้ืนเพือ่ แสดงถงึ ร่ำงกำยท่สี ูงเพรียว

5

เรียกว่ำ “ชุดกระโปรงหรูฉวิน” คอเส้ือค่อนขำ้ งต่ำ เปิ ดหนำ้ อกส่วนหน้ำ พร้อมกับผำ้ คลุมไหล่ที่
ปลิวไปตำมแรงลม กำรแต่งกำยเช่นน้ีนับเป็ นควำมทนั สมยั ท่ีสุดในสมยั น้นั ในเร่ืองของสีน้ัน
จกั รพรรดจิ ะสวมชดุ สีเหลอื ง รำษฎรจะสวมไดแ้ ต่เส้ือผำ้ สีอ่อนเท่ำน้นั

รำชวงศ์หยวน เป็ นรำชวงศ์ที่ปกครองโดยชนเผ่ำมองโกล กำรแต่งกำยในสมยั น้ีก็รับเอำ
รูปแบบจำกชำวฮน่ั ในขณะเดยี วกนั กม็ ลี กั ษณะเด่นของชำวเผ่ำมองโกลผสมผสำนอยูด่ ว้ ย

กำรแต่งกำยในสมยั รำชวงศ์หมิงน้ัน ไดถ้ ูกฟ้ื นฟูนำเอำลกั ษณะเด่นของชำวฮั่นกลบั มำอีก
คร้งั โดยใชเ้ ส้ือคลมุ ยำวทเ่ี รียกว่ำ “ผำว” เป็นหลกั สตรีสูงศกั ด์ิส่วนใหญ่สวมเส้ือคลุมยำวแขนกวำ้ ง
สีแดง สำหรบั สตรีทว่ั ไป ในชีวติ ประจำวนั กจ็ ะสวมเส้ือตวั ส้ันและกระโปรงยำว เอวรัดดว้ ยแถบผำ้
กระโปรงทรงกวำ้ ง โดยจะสวมไดแ้ ต่สีฟ้ำอมเขียวและสีออ่ นๆ เท่ำน้นั สำหรับบรุ ุษ หำกเป็นบณั ฑติ
ส่วนใหญ่แลว้ จะสวมเส้ือยำวตวั กวำ้ งสีดำทรงตรง หำกเป็นรำษฎรทว่ั ไปก็จะสวมเส้ือตวั ส้นั ชุดขุน
นำงในสมยั รำชวงศ์หมิงจะปักลำยไวบ้ นเส้ือคลุมยำวเพ่อื แยกแยะลำดบั ช้นั ยศของขุนนำง ลวดลำย
เหลำ่ น้ีเรียกวำ่ “ป่ จู ือ” ขุนนำงฝ่ำยบ๋นุ หรือฝ่ำยอกั ษรจะใชร้ ูปสตั วป์ ี ก ขนุ นำงฝ่ำยบหู๊ รือฝ่ำยรบจะใช้
รูปสตั วส์ ี่เทำ้

6

สมยั รำชวงศ์ชิง ผหู้ ญิงชำวแมนจูจะสวมชดุ คลมุ ยำวทรงกวำ้ งท่มี ีควำมยำวถงึ เทำ้ ดำ้ นนอก
สวมเส้ือกกั๊ ไมม่ ีแขนท่ีเรียกวำ่ “ขน่ั เจยี น” หรือ “หมำ่ เจ่ีย” ทบั เอำไว้ เนื่องจำกชำวแมนจูมีช่ือเรียก
อีกช่ือวำ่ “ฉีเหริน (ชำวกองธง)” ดงั น้นั ชุดคลมุ ยำวของสตรีจงึ เรียกว่ำ “ชุดฉีผำว (ชุดกเี่ พำ้ )” แต่ชดุ น้ี
ไมเ่ หมือนกบั ชดุ กี่เพำ้ ที่เป็นสัญลกั ษณ์กำรแตง่ กำยของผหู้ ญิงจนี ท่ีสืบต่อกนั มำในภำยหลงั ชุดกี่เพำ้
ของชำวแมนจูในสมยั รำชวงศ์ชิงน้นั มีควำมกวำ้ งและหลวม ต่อมำ มีกำรเปลี่ยนเป็ นเขำ้ รูปช่วงเอว
และผ่ำนกำรปรับปรุงอีกมำกมำย อีกท้งั ยงั เพิ่มเติมควำมเป็ นกระโปรงแบบตะวนั ตกเขำ้ ไป จึง
กลำยเป็นชุดก่เี พำ้ ในปัจจุบนั กำรแตง่ กำยของสตรีชำวฮน่ั ในสมยั รำชวงศช์ ิงกม็ รี ูปแบบพ้ืนฐำนมำ
จำกสมยั รำชวงศห์ มิง นน่ั คือ ดำ้ นบนสวมเส้ือ “เอ๋ำ” หรือเส้ือ “ซัน” ดำ้ นล่ำงสวมกระโปรงหรือ
กำงเกง

สำหรับกำรแต่งกำยของบุรุษน้ัน ชุดยำวและเส้ือกก๊ั ตวั ส้ัน “หม่ำกวำ้ ” เป็ นกำรแต่งกำยท่ีผูช้ ำยใน
สมยั รำชวงศช์ ิงท้งั ชำวแมนจูและชำวฮนั่ นิยมใส่ เส้ือหม่ำกวำ้ เป็นเส้ือกก๊ั ตวั ส้นั ที่สวมทบั ชุดคลุมยำว
ควำมยำวระดบั เอว เดมิ เป็นชดุ ท่คี นทำงเหนือใส่สำหรับขี่มำ้ หลงั จำกชำวแมนจูรวบรวมแผน่ ดนิ จนี
กค็ อ่ ยๆ เป็นที่นิยมไปทวั่ ประเทศ พอมำถงึ ปลำยสมยั รำชวงศช์ ิง กำรแต่งกำยแบบตะวนั ตกก็เร่ิมเขำ้

7

มำสู่วิถีชีวิตของชำวจีน ทำให้กำรแต่งกำยของชำวจีนเขำ้ สู่ยุคสมยั จุดหักเหคร้ังใหม่ ในช่วงกำร
เปล่ยี นผำ่ นจำกสมยั เกำ่ สู่สมยั ใหม่ ชดุ แบบต่ำงๆ เชน่ ชดุ จงซำนจวง ชุดนกั เรียน ชดุ ก่ีเพำ้ ทีป่ รบั ปรุง
ใหม่ ก็เร่ิมเป็นท่ีรูจ้ กั ยอมรับในหมชู่ นช้นั ตำ่ งๆ

ก่ีเพำ้ หรือฉีเผำ ตำมสำเนียงจีนกลำงน้ี มีตน้ กำเนิดในสมยั รำชวงศ์ชิง (ค.ศ.1644-1911) ซ่ึง
ปกครองแบบ 8 แว่นแควน้ หรือปำฉี โดยผปู้ กครองชำวแมนจู คำวำ่ ‘ฉี’ ในปำฉีและคำว่ำ ‘เผำ’ น้นั
หมำยถึงเส้ือผำ้ ชุดยำวตลอดลำตวั จึงเป็ นที่มำของ ‘ฉีเผำ’นน่ั เอง โดยไดร้ ับควำมนิยมสูงสุดในรัช
สมยั ‘คงั ซี’ และ ‘หยงเจง้ิ ’ (ค.ศ.1662-1736) ยคุ รุ่งเรืองแห่งรำชวงศช์ ิง ซ่ึงต่ำงจำกสมยั รำชวงศห์ มงิ
(ค.ศ.1368-1644) ยุคก่อนหนำ้ น้นั ท่ีแฟช่ันของหญิงชำวฮนั่ ซ่ึงเป็นชนกลุ่มใหญข่ องแผ่นดนิ จีน มกั
แยกเส้ือกบั กระโปรงออกจำกกนั อยำ่ งไรก็ตำม ในยคุ กลำงรำชวงศช์ ิง ชดุ ของสำวแมนจูกบั สำวฮ่ัน
ต่ำงก็เริ่มเลยี นแบบซ่ึงกนั และกนั

หลงั ปี ค.ศ.1840 วฒั นธรรมตะวนั ตกไดค้ ่อยๆ จู่โจมเขำ้ สู่แดนมงั กรพร้อมกบั ยุคล่ำอำณำ
นิคม เมืองชำยฝ่ังทะเล โดยเฉพำะเมืองสำคญั อย่ำง ‘เซี่ยงไฮ้’ ซ่ึงมีชำวตะวนั ตกเขำ้ อยู่อำศยั ปะปน
กบั ชำวจีน จึงได้รับอิทธิพลตะวนั ตกก่อนพ้ืนที่อ่ืนๆ ของประเทศ ไม่เวน้ แมแ้ ต่แฟชน่ั กำรแต่งกำย
แบบฝรง่ั ทีค่ ่อยๆ แทรกซึม และนำไปสู่กำรเปลยี่ นแปลงรูปแบบของชุดก่เี พำ้ ทเ่ี รำเห็นกนั ในปัจจบุ นั
จึงมีวิวฒั นำกำรจำกชุดสตรีชำวแมนจู ที่ถูกสตรีชำวฮัน่ นำไปประยุกตด์ ดั แปลง ผสมผสำนกำรดูด
ซับเอำวฒั นธรรมเคร่ืองแต่งกำยทเ่ี นน้ ส่วนโคง้ เวำ้ เขำ้ รูปแบบตะวนั ตก โดยจะมีลกั ษณะของแขน
ปก ชำย กำรผ่ำขำ้ ง และควำมส้ันยำวเปลย่ี นไปตำมควำมนิยมในแตล่ ะยุคสมยั

ต้งั แต่ทศวรรษท่ี 50 จนถึงยุคปฏิวตั วิ ฒั นธรรม (ค.ศ.1966-1976) ชุดก่ีเพำ้ กถ็ ูกตีตรำว่ำเป็น
ส่วนหน่ึงของคำ่ นิยมคร่ำครึท้งั 4 (แนวคิด วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตแบบเก่ำ) ท่ีสมควรถกู
ขจดั ให้สิ้นแผ่นดินจีน เมื่อผ่ำนพน้ ยุคแห่งควำมขดั แยง้ ภำยใน เขำ้ สู่ยุคเปิ ดประเทศ สังคมจีนเร่ิม
เปิ ดกวำ้ งรบั แนวคดิ ใหม่ๆ เส้ือผำ้ ที่เคยถกู บงั คบั ให้ใชไ้ ดไ้ ม่เกนิ 3 สี คอื ดำ เทำ และน้ำเงนิ ก็ไดร้ ับ
กำรปลดปลอ่ ยให้มีอสิ ระเสรีทำงสีสัน บรรดำสำวจีนจงึ เริ่มสลดั ชุดฟอร์มสมยั ปฏิวตั ิ แลว้ หยบิ กี่เพำ้
ที่ถูกแช่เย็นไวร้ ำว 30 ปี มำปัดฝุ่นและแปลงโฉม แต่เน่ืองจำกปิ ดประเทศไปนำน ทำให้ชุดก่ีเพ้ำ
ในช่วงทศวรรษท่ี 80 ดูคอ่ นขำ้ งจะเชยไปกระทงั่ ปลำยปี ค.ศ. 2000 ‘ฮวำยง่ั เหนียนหัว’ (In the mood
for love) ภำพยนตร์เรื่องเยี่ยมของผูก้ ำกับ หว่องกำร์ไว (หวงั เจียเว่ย) ออกฉำยทว่ั ประเทศ ปลุก
กระแสแฟช่ันชุดกี่เพำ้ ให้ต่ืนข้นึ ในแดนมงั กรอีกคร้ัง โดยเร่ืองน้ีไดอ้ อกแบบให้นำงเอก จำงมน่ั อ้ีว์
สวมชุดกเ่ี พำ้ สุดคลำสสิกใหผ้ ชู้ มไดย้ ลโฉมอย่ำงจใุ จถงึ 23 ชดุ

8

ช่วง 10 กว่ำปี มำน้ี ชุดก่ีเพำ้ ถูกออกแบบให้ทันสมัย มีรูปลักษณ์ใหม่ๆ ให้เห็นตำมเวที
แคทวอล์กอยู่เสมอ ตลอดจนจดั เป็ นเคร่ืองแต่งกำยพิธีกำรของชำติจีนที่ปรำกฏในเวทีระดับโลก
ศำสตร์แห่งศิลป์ ของชุดกี่เพำ้ ยงั มีควำมต่ำงกันระหว่ำงสไตล์นครเซี่ยงไฮ้กบั กรุงปักกิ่ง ก่ีเพำ้ ของ
เซ่ียงไฮ้จะได้รับอิทธิพลเส้ือผ้ำแบบตะวนั ตกมำกกว่ำ มีรูปแบบที่หลำกหลำย ดูทันสมัยและ
คลอ่ งแคลว่ ส่วนสไตลป์ ักก่ิงน้นั จะดเู ป็นทำงกำร และสุภำพเรียบรอ้ ย

ชดุ กเี่ พำ้ ยุคหลงั ปฏวิ ตั ิวฒั นธรรมมกั จะตดั เยบ็ ออกมำคลำ้ ยรูปขวด โดยส่วนเอวจะคลำ้ ยคอ
ขวด สะโพกค่อนขำ้ งหลวม ถือเป็นดีไซน์ “โบรำณ” ผสม “โมเดริ ์น” และมกั ใชผ้ ำ้ ทีม่ ลี วดลำยมำตดั
เยบ็

2. อำหำรในประเทศจนี
อำหำรจีน หมำยถึง อำหำรท่ีประกอบข้ึนตำมวฒั นธรรมของชำวจีน ซ่ึงรวมท้ังจีน

แผ่นดินใหญ่ ไต้หวนั และ ฮ่องกง ซ่ึงมีหลำกหลำยชนิดตำมแต่ละท้องถิ่น โดยทั่วไปนิยม
รับประทำนอำหำรจำนผกั และธัญพืชเป็ นหลกั นอกจำกในรำชสำนกั ที่จะมีอำหำรประเภทเน้ือ
อำหำรที่รู้จกั กนั เชน่ ก๋วยเตีย๋ ว ตมิ่ ซำ หูฉลำม กระเพำะปลำ
วฒั นธรรมกำรกนิ เป็ นกำรกินร่วมกนั โดยอุปกรณ์กำรกนิ หลัก คือ ตะเกยี บ

ไคว่จึ หรือ ตะเกียบนับเป็ นมรดกทำงวฒั นธรรมอันล้ำค่ำอย่ำงหน่ึงของจีน ท้งั ยงั เป็ น
อปุ กรณก์ ำรรบั ประทำนอำหำรท่มี ีเอกลกั ษณโ์ ดดเด่นในระดบั โลก ตะเกยี บไดร้ ับกำรขนำนนำมจำก
ชำวตะวนั ตกวำ่ เป็น “อำรยธรรมของโลกตะวนั ออก” คนจีนเร่ิมใชต้ ะเกียบต้งั แต่สมยั รำชวงศซ์ ำง
หรือนำนกวำ่ 3,000 ปี มำแลว้ ในยคุ กอ่ นรำชวงศฉ์ ิน ตะเกียบมชี ่ือเรียกวำ่ “挟” (jiā, จยำ) ตอ่ มำใน
สมยั รำชวงศฉ์ ินและรำชวงศ์ฮั่นเรียกตะเกียบว่ำ “箸” (zhù, จู)้ แต่เน่ืองจำกคนจีนสมยั โบรำณ

9

เชื่อถือเร่ืองโชคลำง จึงถือว่ำคำว่ำ “จู”้ ซ่ึงไปพอ้ งเสียงกบั คำว่ำ “住” (zhù, จู้) ที่หมำยถึง หยุด มี
ควำมหมำยไม่เป็ นมงคล ดังน้ันจึงเปลี่ยนมำเรียกว่ำ “筷” (kuài, ไคว่) ซ่ึงพอ้ งเสียงกับคำว่ำ “เร็ว”
แทน และนี่ก็คือที่มำของชื่อเรี ยกของอำหำรจีนจะมีอุปกรณ์กำรทำหลักๆเพียงสี่อย่ำง
คอื มดี เขียง กระทะกน้ กลม และตะหลวิ

ในสมยั ชุนชิว-จ้นั ก๋ัว ได้เร่ิมมีกำรแบ่งอำหำรจนี เป็ น 2 ตระกูลใหญ่ คือ อำหำรเมืองเหนือ
และอำหำรเมืองใต้ กระทง่ั ตน้ รำชวงศช์ ิง ไดม้ กี ำรแบ่งอำหำรเป็น 4 ตระกลู ใหญ่ ไดแ้ ก่

1. อำหำรเสฉวน (川菜-ชวนไช่)

ลกั ษณะพิเศษของอำหำรเสฉวน รสเผ็ดและมีรสซ่ำ เป็ นอำหำรที่มีรสจดั ท่ีสุด เนื่องจำก
มณฑลเสฉวน ต้งั อยู่ในพ้ืนที่ต่ำบริเวณน้ันมอี ำกำศช้ืน คนทว่ั ไปจึงนิยมทำนพริกเพอ่ื ขบั ควำมช้ืน
ออกจำกตวั ร่ำงกำย เวลำนำนเขำ้ คนทอ้ งถิ่นก็นิยมทำนของเผ็ด ชำวเสฉวนเกอื บทกุ คนลว้ นเป็นคน
ทำนเผด็ เก่ง

กำรทำอำหำรเสฉวน ตอ้ งถือรสซ่ำ เผ็ด สด หอม ไม่เล่ียนและทำให้รู้สึกว่ำอร่อยเป็นหลกั
เคร่ืองปรุงหลกั ๆของอำหำรเสฉวน คือ พริก ซ่ึงมีอยู่หลำยแบบ เช่น พริกแห้ง พริกทอด พริกบด
ผสมน้ำมนั พริกเผำและพริกป่ น และยงั มี "พริกซ่ือชวน" ประกอบด้วยพริก กระเทียม ขิงและ
เตำ้ เจ้ยี ว

เตำ้ หู้ทรงเคร่ืองสูตรเสฉวน ไก่ผดั มะม่วงหิมพำนต์ หมอ้ ไฟเสฉวน

10

2. อำหำรกวำงตุ้ง (粤菜-เยว่ ไ์ ช)่

อำหำรกวำงตุง้ เป็นอำหำรพ้ืนเมืองของมณฑลกวำงตุง้ เป็ นหน่ึงในรสสัมผสั แห่งอำหำร 4
อย่ำงท่ีมีชื่อเสียงของจีน ซ่ึงมีประวตั ิเก่ำแก่นับแต่สมัยรำชวงศ์ฉิน โดยเมื่อสมยั รำชวงศ์ซ่งใต้
เน่ืองจำกพ่อครัวหลวงติดตำมกษตั ริยไ์ ปเมืองหยำงเฉิง หรือเมืองกว่ำงโจวในปั จจุบนั อำหำร
กวำงตุง้ ไดร้ ับกำรตอบรับและพฒั นำอย่ำงรวดเร็ว หลงั เหตุกำรณ์สงครำมฝิ่ น เมืองกว่ำงโจว ใน
ฐำนะท่ำเรือที่ทำกำรคำ้ ขำยกับต่ำงประเทศแห่งแรก มีกำรติดต่อกับต่ำงประเทศอย่ำงบ่อยคร้ัง
อำหำรกวำงตุง้ จงึ ไดป้ ระยุกตร์ วมลกั ษณะพิเศษของอำหำรฝร่ังเขำ้ ไวด้ ้วย และกลำยเป็ นอำหำรจีน
ชนิดหน่ึงท่ีมชี ่ือเสียงท้งั ในจนี และต่ำงประเทศ

อำหำรกวำงตุง้ ประกอบดว้ ยอำหำรกว่ำงโจว อำหำรฉำวโจว (จนี แตจ้ วิ๋ ) และอำหำรตุงเจียง
ซ่ึงมีอำหำรกว่ำงโจวเป็ นตวั แทน อำหำรกว่ำงโจวพฒั นำเป็ นรสชำติอำหำรบนพ้ืนฐำนที่รวบรวม
อำหำรพ้ืนเมืองดีเด่นของทอ้ งท่ีต่ำงๆ ในมณฑลกวำงตุง้ โดยรับเอำส่วนที่เป็ นหัวกะทิของรสชำติ
อำหำรในมณฑลอ่ืนๆ ของจีน มำผสมกบั ขอ้ ไดเ้ ปรียบของอำหำรฝรัง่ อำหำรกว่ำงโจวใชเ้ ครื่องปรุง
หลำกหลำยและละเอียดอ่อน ฝี มือประณีต เชี่ยวชำญในกำรปรับเปล่ียน และแบ่งออกเป็ นหลำย
ประเภท วีธีกำรทำมีมำกถึง 21 แบบ โดยเช่ียวชำญในกำรผดั ทอด อบ ตม้ ตุ๋น เป็ นตน้ เนน้ กำรเร่ง
ไฟ และให้ควำมสำคญั กบั สี กลิ่น รสชำติ และรูป ซ่ึงรสชำติส่วนใหญ่ค่อนขำ้ งสดชื่น นุ่ม กรอบ
และใชน้ ้ำมนั นอ้ ย

หมหู นั ผดั ผกั นำ้ มนั หอย ตม่ิ ซำ

3. อำหำรซำนตง (鲁菜-หลู่ไช)่
เป็ นอำหำรจีนท่ีโดดเด่นในดำ้ นกำรเป็ นอำหำรในรำชสำนัก และได้รวมอำหำรที่ได้รับ

อิทธิพลจำกชำวแมนจูและชำวมองโกลเขำ้ ไวด้ ว้ ย จะข้ึนชื่อในเร่ืองของควำมสด ควำมหอม และ
รสชำตทิ ี่พิถพี ถิ นั

11

ปลำเก๋ำรำดซอส หอยเป๋ ำฮ่ือต๋นุ น้ำแดง ไก่ตุ๋นเติ้งโจ

4. อำหำรเจยี งซู (苏菜-ซูไช่)

มีรสชำติเค็มออกหวำน เน้นควำมสดใหม่ของอำหำร ซ่ึงได้รับควำมนิยมท้ังจีนและ
ตำ่ งประเทศอย่ำงมำกดว้ ย โดยยงั สำมำรถแบ่งยอ่ ยไดเ้ ป็นอำหำรจิงหลนิ อำหำรหวยั หยำง อำหำรซูซี
และอำหำรสีวไ์ ห่ ซ่ึงอำหำร 4 อย่ำงน้ีแมจ้ ะมีเอกลกั ษณ์พิเศษของตน แต่ก็มีส่วนที่ตรงกันก็คือ ชู
รสชำติด้งั เดิมของวตั ถดุ บิ ดว้ ยกำรต๋นุ อบ น่ึง และผดั เป็นสำคญั

อำหำรจงิ หลินถอื กำเนิดข้นึ ในสมยั รำชวงศฉ์ ิน มชี ่ือเสียงเป็นท่ีนิยมในสมยั รำชวงศส์ ุยและ
สมยั รำวชงศถ์ งั เรื่อยไปจนถึงสมยั รำชวงศ์หมิงและรำชวงศ์ชิง อำหำรจิงหลินจะเนน้ ควำมสดของ
รสชำติ มีวิธีกำรห่นั ละเอียดประณีต เกง่ ในกำรควบคมุ ไฟ

อำหำรหวยั หยำงไดผ้ สมลกั ษณะพเิ ศษของอำหำรทำงภำคใตท้ ่สี ดและกรอบ เขำ้ กบั ลกั ษณะ
พิเศษของอำหำรภำคเหนือท่ีเป็ นแบบเค็ม สด และมีรสเขม้ ขน้ จนกลำยเป็ นรสชำติที่มีเอกลกั ษณ์
เฉพำะของตนซ่ึงมีควำมหวำนและเค็มท่ีพอเหมำะ และในรสเค็มมีอมรสหวำน อำหำรหวยั หยำงมี
วธิ ีกำรหน่ั อำหำรท่ีมีควำมละเอยี ดทสี่ ุด เตำ้ หูแ้ หง้ ที่มีควำมหนำ 2 เซนตเิ มตรกอ้ นหน่ึง สำมำรถหั่น
เป็นแผ่นบำงไดถ้ ึง 30 เเผ่น

อำหำรซูซีมชี ่ือเสียงในเรื่องกำรทำขนม เนน้ รูปร่ำงควำมสวยงำมของขนมเป็นพิเศษ และมี
รสหวำนกำลงั ดี ขนมท่ที ำกรอบแต่ไมแ่ ขง็ ท้งั อร่อยท้งั สวยงำมดว้ ย

อำหำรสีวไ์ ห่มีควำมคลำ้ ยกบั อำหำรซำนตง นอกจำกปลำ ปู กุง้ หอยต่ำงๆ แลว้ ยงั จะนิยม
เลอื กเน้ือ หมู ไก่ เป็ดเป็นวตั ถดุ ิบ ชอบใส่ซีอว๊ิ ดำเพอ่ื เพมิ่ สีสนั ของอำหำร รสชำติจะออกเค็ม วธิ ีปรุง
มกั จะเป็นกำรตม้ และทอดเป็นส่วนใหญ่

12

ปูน่ึง หมเู น้ือใส ลกู ชิ้นหวั สิงห์

และปัจจบุ นั มี 8 ตระกูลใหญ่ โดยเพม่ิ
5. อำหำรฮกเก้ยี น (闽菜-หม่ินไช่)
6. อำหำรอนั ฮยุ (徽菜-ฮุยไช)่
7. อำหำรหูหนนั (湘菜-เซียงไช่)
8. อำหำรเจอ้ เจียง (浙菜-เจอ้ ไช)่

หรืออำจเเบ่งไดเ้ ป็น 10 เเบบ คอื

1. อำหำรเสฉวน 2. อำหำรกวำงตงุ้

3. อำหำร 4. อำหำรไหหลำ

5. อำหำรปักก่งิ 6. อำหำรซัวเถำ

7. อำหำรชำนตง 8. อำหำรเซ่ียงไฮ้

9. อำหำรจนี แตจ้ ว๋ิ 10. อำหำรจีนแคะหรือจนี ฮำกกำ

13

3. ควำมเชื่อในประเทศจีน
1. ควำมเช่ือเร่ืองตัวเลข

สำหรับเลข 2,6,8 น้นั ถือวำ่ เป็นเลขนำโชคของชำวจีน โดย เลข 9 น้นั ถอื วำ่ เป็นเลขทด่ี ีนิยม
ใชใ้ นงำนแต่งงำนคนจีนเชื่อว่ำกนั วำ่ เลขเหล่ำน้ีจะชว่ ยใหก้ ำรทำมำคำ้ ขำย สะดวก ไร้อปุ สรรค ชีวิต
มีเงิน ทอง ส่วนเลขที่ไม่ดีในแบบจีนน้ัน คือ เลข 4 มีควำมหมำย ไม่ดี แปลว่ำ ตำย เลข 1 ให้
ควำมหมำย โดด เดี่ยว เลข 5 เกย่ี วขอ้ งกบั ควำมหมำย “ไม่” แปลว่ำ ไมส่ ำเร็จ ไม่ร่ำ รวย แตเ่ มอ่ื รวม
กบั เลข 4 จะเท่ำกับ เลข 54 แปลว่ำ ไม่ตำย เลข 54 จึงเป็ นเลขท่ีดี ส่วนเลขที่ไม่เป็ นมงคลอีกเลข ก็
คอื เลข 7 คนจีนถือว่ำเป็น เลขผีสำง หรือควำมตำย ควำมโกรธแคน้ หรือ เลิก ละท้ิงไป

2. เทศกำลกนิ เนื้อหมำประจำปี
เป็ นกำรเฉลิมฉลองประจำปี ตำมประเพณี คนจีนเช่ือว่ำกินเน้ือหมำแลว้ จะทำให้อุณหภูมิ

ร่ำงกำยสูงข้นึ สุขภำพแข็งแรง และยงั ทำให้โชคดดี ว้ ย โดยจดั ในยู่หลิน มณฑลกวำงซี ประเทศจนี
ระหวำ่ งครีษมำยนั ซ่ึงผูเ้ ขำ้ ร่วมเทศกำลกนิ เน้ือหมำและลิ้นจี่ เทศกำลน้ีกินเวลำประมำณสิบวนั โดย
ระหว่ำงน้นั ประมำณว่ำมีกำรบริโภคหมำ 10,000 –15,000 ตวั เทศกำลดงั กลำ่ วถูกผูส้ นบั สนุนสวสั ดิ
ภำพสัตว์วิจำรณ์ เเละรัฐบำลทอ้ งถ่ินของยู่หลินปฏิเสธควำมเกย่ี วขอ้ งหรือกำรสนับสนุนอย่ำงเป็น
ทำงกำรใด ๆ ต่อเทศกำล โดยอธิบำยวำ่ เป็นประเพณีทอ้ งถน่ิ โดย "ผอู้ ยู่อำศยั ส่วนนอ้ ยของยู่หลนิ "

14

3. อกั ษร “ฝ”ู (福)

ทุกปี เม่ือยำ่ งเขำ้ สู่เทศกำลตรุษจีน ตำมปฏิทนิ จนั ทรคติ
จนี ตรงกบั วนั ข้ึน 1 คำ่ เดือนอำ้ ย ซ่ึงจะยำวนำนเรื่อยไปจนถึงวนั
ข้ึน 15 ค่ำเดือนอำ้ ย ซ่ึงเป็ นวนั เทศกำลโคมไฟ ชำวจีนผูน้ ิยมสี
แดงในสำยเลือดจะตกแต่งประดบั ประดำบำ้ นเรือนและรำ้ นคำ้
ด้วยกระดำษแดง ภำพวำด และภำพกระดำษตัดสีสันสดใส
สรำ้ งบรรยำกำศของควำมสนุกสนำนร่ืนเริง

และเพื่อเป็ นกำรต้อนรับควำมสุขและขอโชคขอพร ชำวจีนช่ำงคิดก็ยงั นำอกั ษรจีนที่
หมำยถึงควำมผำสุกและโชคดีสิริมงคล เช่นตวั ‘福’ (ฝ)ู หรือตวั 春 (ชุน) มำตดิ ทบี่ ำนประตูหน้ำ
บำ้ น ตำมกำแพง หรือบริเวณเหนือกรอบบนของประตู ซ่ึงประเพณีดงั กล่ำวมีมำต้งั แตก่ อ่ นสมยั ซ่ง
และตำมทท่ี รำบกนั โดยทวั่ ไปว่ำ กำรติดตวั ฝูน้ีกค็ วรกลบั หวั เพื่อใหพ้ อ้ งกบั เสียง (ในภำษำจนี กลำง)
ที่มีควำมหมำยวำ่ สิริมงคลหรือโชคดไี ดม้ ำถึงบำ้ นแลว้

คำ 福 ออกเสียงว่ำ“ ฝู” หมำยถึงโชคหรือโชคลำภ และในภำษำจีนกลำงกำรพูดคำว่ำ
ฝูตำ้ วเล่อ แปลว่ำ "โชคหรือโชคลำภมำถึงแลว้ " แต่คำว่ำ "ตำ้ ว" ยงั สำมำรถบ่งบอกถึงกำรลม้ หรือ
พลกิ ควำ่ ดงั น้นั กำรเปล่ยี นตวั อกั ษร 福 ฝู กลบั หัวกลบั หำง คือกำรเล่นคำทแี่ สดงถึงโชคลำภที่มำถงึ

เร่ืองกำรกลบั หัวตวั อกั ษรน้ี ยงั มีเหตุที่มำเมื่อคร้ังอดีตกำล ซ่ึงเล่ำสืบกันมำในหมู่สำมญั ชน
ว่ำ สมยั จกั รพรรดหิ มิงไท่จู่ จูหยวนจำงแห่งรำชวงศ์หมิง ไดใ้ ช้อกั ษร‘ฝู’เป็นเคร่ืองหมำยลบั ในกำร
สังหำรคน หม่ำฮองเฮำทรำบเร่ืองจึงคิดอุบำยเพ่ือหลีกเลี่ยงภยั ดงั กล่ำวไม่ให้เกิดแก่รำษฎร ด้วยมี
พระรำชเสำวนียใ์ ห้ทกุ บำ้ นตดิ ตวั ฝูทห่ี นำ้ ประตูเพ่ือลวงใหฮ้ ่องเตส้ บั สน

รุ่งข้ึนชำวเมืองต่ำงนำตวั อกั ษรฝูมำติดที่หนำ้ ประตูตำมน้นั ทว่ำมีบำ้ นหน่ึงไมร่ ู้หนงั สือจึง
ติดตวั ฝูกลบั หัวดว้ ยควำมไม่ต้งั ใจ เม่ือฮ่องเตท้ อดพระเนตรเหน็ เขำ้ ก็ทรงกร้ิว รับส่ังให้ประหำรคน
ในบำ้ นท้งั หมด หมำ่ ฮองเฮำเห็นท่ำไมด่ ีจึงรีบทูลยบั ย้งั ไวว้ ่ำ ‘บำ้ นน้ีทรำบว่ำพระองคจ์ ะเสดจ็ มำ จงึ
ต้งั ใจติดตวั ฝูกลบั หัว ( 福倒-ฝเู ตำ้ ) เพอ่ื แสดงควำมปิ ตยิ นิ ดีตอ่ กำรเสด็จเยือนของพระองค์ รำวกบั
ว่ำควำมสุขสวสั ดีและโชคลำภได้มำถึงท่ีบำ้ น’ ได้ยินดงั น้ีแลว้ จูหยวนจำงจงึ ไวช้ ีวติ ชำวบำ้ นผูน้ ้นั
กำรตดิ ตวั ฝูกลบั หวั สืบต่อมำนอกจำกเพื่อขอโชคสิริมงคลตำมควำมหมำยของตวั อกั ษรแลว้ ยงั เป็น
กำรระลึกถงึ คณุ ควำมดีของหม่ำฮองเฮำในเหตกุ ำรณ์คร้ังน้นั ดว้ ย

15

4. ขนมมงคล

1. ขนมเข่ง เร่ิมด้วยขนมยอดนิยมที่ทุกคนคุน้ เคยกนั ดี ขนมเข่งเป็ นขนมเน้ือเนียนทำจำก
แป้งและมะพร้ำว รสหวำนของขนมเป็ นสัญลกั ษณ์แทนควำมหวำนช่ืน อุดมสมบูรณ์ และชีวิตอนั
รำบรื่น ภำษำจีนแตจ้ ว๋ิ เรียกขนมเข่งว่ำ “ตกี ว้ ย” แปลว่ำ ขนมหวำน

2. ขนมเทยี น ก็เป็นขนมยอดนิยมอีกชนิด ขนมเทยี นแตกตำ่ งจำกขนมเขง่ ตรงที่มไี ส้รสเค็ม
นิดๆ พร้อมกลิ่นหอมเผ็ดร้อนของพริกไทย ช่วยตดั เลี่ยนไดเ้ ป็ นอย่ำงดี ขนมเทียนสื่อถึงชีวิตอัน
รุ่งโรจน์โชติช่วงเหมือนแสงไฟหรือแสงเทียน และยงั มีควำมหมำยมงคลเช่นเดียวกบั ขนมเขง่ คือ
ควำมหวำนช่ืนและรำบรื่นในชีวติ ดว้ ย

3. ขนมปยุ ฝ้ำย ขนมเน้ือเบำฟูฟ่ อง สีสนั สวยงำมตำมปกติ
แลว้ ขนมปยุ ฝำ้ ยทเ่ี รำคนุ้ ชินกนั จะมหี ลำยสี แต่ถำ้ เป็นขนมทีใ่ ช้
สำหรบั พธิ ีไหวม้ กั จะทำเป็นสีมงคลอย่ำง สีชมพู ขนมปยุ ฝำ้ ย
หมำยถงึ ควำมเจริญรุ่งเรืองและเฟ่ื องฟสู มช่ือ

จนั อบั

4. จันอับ (จับกิม หรือ แต่เหล่ียว) ขนมชนิดน้ีเรียกได้ว่ำ
ซ้ือ 1 ไดถ้ ึง 5 เพรำะจนั อบั ไม่ใช่ช่ือขนม แต่เป็ นชื่อของ “กล่องใส่
ขนม” ชนิดหน่ึง จนั อบั ประกอบด้วยขนมถึง 5 ชนิด ไดแ้ ก่ ถว่ั ตดั
งำตดั ชิ้นฟักเช่ือม ขำ้ วพอง และลูกกวำดถว่ั เคลือบน้ำตำลสีขำว
ชมพู จันอบั ทำจำกธัญพืชและน้ำตำล จึงสื่อถึงควำมหอมหวำน
และเจริญงอกงำมรุ่งเรืองในชีวติ

16

ข 5. ขนมปลำ ขนมปู และขนมกุ้ง ขนมชนิดน้ี
นิยมใช้ในพิธีแต่งงำนของจีน โดยใช้ชนิดละ 2 ชิ้น
เป็ นคู่กัน หมำยถึงควำมเหลือกินเหลือใช้สำหรับคู่
บำ่ วสำว

6. ซำลำเปำ ขนมหรือของว่ำงมงคลอีกชนิดท่เี รำเหน็
กนั ในชีวติ ประจำวนั บ่อยๆ คำวำ่ เปำ แปลวำ่ ห่อ คนจีนไหว้
ซำลำเปำในพธิ ีเพรำะเช่ือวำ่ จะเป็นกำรห่อโชคลำภ ห่อเงนิ ห่อ
ทองมำให้

7. ขนมเป๊ี ยะ มกั มีตวั อกั ษรมงคลสีแดงประทบั อยกู่ ลำ
ขนม ขนมเปี๊ ยะเป็นสญั ลกั ษณข์ องควำมพรั่งพรอ้ ม สมบูรณ์
สมหวงั ควำมเป็นศริ ิมงคล และควำมสำมคั คี

8. ขนมโก๋ ขนมสีขำวแผน่ โตๆ ทกี่ ินทีไรก็คอแห้ง แต่หยุด
ไม่ไดเ้ พรำะแป้งเนียนๆ น้นั หอมหวำนถกู ใจ ขนมโก๋อย่ใู นพิธี
มงคลของจนี หลำยพิธี หมำยถึงควำมร่ำรวยและชีวิตควำมเป็นอยู่ท่ี
ดขี ้นึ

5. เทพเจ้ำจีน
1. เจ้ำแม่กวนอิม คือ พระผูท้ รงเปี่ ยมด้วยควำมรักควำม

เมตตำต่อสรรพสัตว์ เป็ นองคเ์ ทพท่ีทรงศกั ด์ิสิทธ์ิ และได้รับควำม
นิยมในกำรนำมำบชู ำกนั ทวั่ โลก ซ่ึงถำ้ ชำวออกบธู ไดน้ ำมำบชู ำไว้
ท่ีทำงำนกจ็ ะไดค้ วำมรักควำมเมตตำจำกลกู คำ้ และรวมถงึ เร่ืองอนื่ ๆ
ดว้ ย

17

2. เทพเจ้ำไฉ่ซิงเอี๊ย สำหรบั ชำวจีนน้นั ท่ำนถอื เป็นเทพเจำ้
ที่มีควำมสำคญั มำกท่ีสุดในช่วงเปล่ียนปี นกั ษตั ร (ช่วงข้ึนปี ใหม่)
เพรำะทำ่ นคอื เทพเจำ้ แห่งโชคลำภท่ีชำวไทยนิยมบชู ำกนั ผทู้ กี่ รำบ
ไหว้บูชำก็จะได้แต่โชคลำภเงินทอง มีแต่ควำมเจริญรุ่งเรื อง
ทำงดำ้ นกำรงำน

3. เทพเจ้ำกวนอู แต่เดิมจีนโบรำณให้ควำมเคำรพนบั ถอื งกั
ฮยุ เป็นเทพเจำ้ แห่งควำมซ่ือสัตยแ์ ละไดร้ ับกำรยกยอ่ งว่ำเป็นเทพเจ้ำ
แห่งสงครำม เป็นผมู้ คี วำมจงรักภกั ดตี อ่ ชำติ มีสญั ลกั ษณแ์ ห่งควำม
เป็นสิริมงคลของกำรตอ่ สู้ แข่งขนั และชิงชยั ปัจจบุ นั น้ีเทพเจำ้ แห่ง
ควำมซ่ือสัตย์ ไดเ้ ปลีย่ นชื่อมำเป็นเทพเจำ้ กวนอแู ทนในหลงั ยุคสำม
ก๊กมำนบั พนั ปี

4. ฮก ลก ซิ่ว เป็น 3 เทพเจำ้ จนี ทเี่ ป็นอีกหน่ึงสญั ลกั ษณ์
แทนควำมเป็นมงคล 3 ประกำรของจีน เทพเจำ้ ฮก – อำนำจบำรมี ,
เทพเจำ้ ลก – กำรมีโชคลำภวำสนำ , เทพเจำ้ ซ่ิว – อำยยุ นื ยำว
ปรำศจำกโรคภยั

5. พระกษติ ิครรภ์โพธสิ ัตว์ (ตจี้ ้งั หวำงผ่ซู ำ) พระ
โพธิสัตวผ์ เู้ ป็นเลิศทำงกำรโปรดสตั วใ์ นยมโลกใหพ้ น้ ทกุ ข์ กำร
ไดเ้ คำรพสกั กำระองคพ์ ระกษิตคิ รรภโ์ พธิสตั วจ์ ะนำมำซ่ึงควำม
สงบร่มเยน็ แกช่ ีวติ ชำวออกบูธหลำยๆ คนท่กี รำบไหวบ้ ชู ำ
สำมำรถขอพรใหต้ นเองประสบควำมสำเร็จในดำ้ นกำรงำนที่
ประกอบธุรกจิ กนั

6. เจ้ำพ่อเห้งเจยี เป็นตวั ละครหน่ึงในไซอิว๋ แตใ่ น
ปัจจุบนั ตวั ละครน้ีเสมือนมตี วั ตนดำรงอยู่ในโลกควำมเป็นจริง
และเป็นท่ีเคำรพของกล่มุ คนมำกมำย เจำ้ พ่อเหง้ เจียเป็น
สญั ลกั ษณข์ องนกั สู้ผไู้ มย่ อมแพต้ อ่ อปุ สรรคต่ำงๆ และยงั ให้
โชคลำภแก่ผทู้ ี่บูชำ

18

4. เทศกำลในประเทศจีน
ชำวจีนให้ควำมสำคญั กับครอบครัวเป็ นอย่ำงมำก ดงั น้ันงำนเทศกำลในจีนจึงไม่ใช่เพื่อ

เฉลิมฉลองเพียงอย่ำงเดียวเท่ำน้นั แต่ชำวจีนจะถือโอกำสวนั หยุดในช่วงเทศกำลต่ำง ๆ กลบั ไป
พบปะกบั ครอบครวั หลงั จำก ท่ตี อ้ งเหินห่ำงเน่ืองดว้ ยเหตุผลเรื่องงำนหรือกำรแยกครอบครัวออกมำ
ซ่ึงเทศกำลทน่ี ำเสนอในวนั น้ีไดแ้ ก่
1. เทศกำลตรุษจีน

เทศกำลตรุษจีนหรือเทศกำลฤดูใบไ้ มผ้ ลิหรือข้นึ ปี เพำะปลูกใหม่และยงั รูจ้ กั กนั ในนำมวนั
ข้ึนปี ใหม่ทำงจนั ทรคติ เทศกำลตรุษจนี เป็นเทศกำลทส่ี ำคญั มำกของชำวจนี ท้งั ทแี่ ผน่ ดนิ ใหญ่และผู้
ท่มี ีเช้ือสำยจนี ทวั่ โลก โดยเฉพำะชุมชนขนำดใหญ่ของคนจนี ในประเทศต่ำงๆ นบั เป็นวนั พเิ ศษและ
มีควำมสำคญั ย่ิงสำหรับคนจนี จะมีกำรเฉลิมฉลองกนั ไปทว่ั โลกจะจดั งำนฉลองปี ใหม่โดยเริ่มข้ึน
ในวนั ที่ 1 เดือน 1 ตำมปฏิทินจันทรคติของจีน โดยจะไปส้ินสุดในวนั ท่ี 15 ซ่ึงตรงกับเทศกำล
หยวนเซียว ซ่ึงในวนั ตรุษจนี น้ีชำวจีนหรือชำวไทยเช้ือสำยจีนถือว่ำเป็ นวนั ท่ีสมำชิกในครอบครัว
ไม่วำ่ จะไปประกอบธุรกิจกำรงำนที่ไหน หำกอยใู่ นจงั หวดั หรือในประเทศเดยี วกนั บรรดำสมำชิก
ในครอบครัวชำวจนี เหลำ่ น้นั จะกลบั บำ้ นมำพบปะกนั อยำ่ งพร้อมเพรียงกนั คลำ้ ยกบั วนั สงกรำนตท์ ่ี
ถือเป็นวนั ข้ึนปี ใหมข่ องชำวไทย

2. วนั เช็งเม้ง
วนั เช็งเมง้ เป็นงำนทีส่ ำคญั มำกที่สุดของชำวจนี มีประวตั ิควำมเป็นมำยำวนำนกวำ่ 2,000 ปี

เป็นวนั ที่ลูกหลำนชำวจีนหรือชำวไทยเช้ือสำยจนี พำกนั ไปเซ่นไหวบ้ รรพบุรุษที่สุสำนฝังศพ (ฮวง
จยุ้ ) เพอ่ื แสดงควำมกตญั ญแู ละรำลึกถงึ คณุ งำมควำมดีของบรรพบุรุษ สำหรบั ในประเทศไทยวนั เช็ง
เมง้ ถือวนั ที่ 5 เมษำยนของทกุ ปี เป็นหลกั

19

3. เทศกำลไหว้พระจนั ทร์
เทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์ เป็นเทศกำลทส่ี ืบทอดกนั มำเป็นพนั ปี ตรงกบั วนั ข้นึ 15 คำ่ เดอื น 8

ตำมปฏิทินทำงจนั ทรคติ ส่วนตำมจนั ทรคติแบบไทยจะประมำณเดอื นกนั ยำยนของทกุ ปี เน่ืองจำก
เทศกำลน้ีจดั ข้ึนในช่วงกลำงฤดูใบไมร้ ่วง จึงเรียกว่ำ “จงชิว” (Zhong Qiu) เพื่อระลึกถึงฉำงเอ๋อ
(Chang’e) เทพธิดำแห่งพระจนั ทร์ซ่ึงเช่ือกนั วำ่ ถือกำเนิดในวนั น้ี ในคืนของเทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์
พระจนั ทร์จะเต็มดวงและสวยท่ีสุดในรอบปี สมำชิกในครอบครัวจะมำรวมตวั กนั ที่บำ้ นคนใดท่ี
ทำงำนต่ำงถิ่น ตำ่ งหมบู่ ำ้ น หรือแยกครอบครวั อยู่ เมอื่ ถงึ เทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์กต็ ะเดินทำงกลบั มำ
บ้ำน ตำมคำกล่ำวของนักปรำชญ์จีนสมยั น้ันว่ำ “ดวงจนั ทร์กลมเต็มดวงมำกท่ีสุด สมำชิกใน
ครอบครัวก็จะสำมคั คีกลมเกลียวมำกที่สุด ดั่งควำมกลมของพระจนั ทร์” ในคืนวนั ดงั กล่ำว ยำม
เท่ียงคืนคำบเกย่ี วกบั วนั ใหม่หลงั จำกสมำชิกในครอบครวั ทำพิธีไหวด้ วงจนั ทร์กนั เสร็จแลว้ ต่ำงก็
ร่วมรับประทำนขนมไหว้พระจนั ทร์ เพ่ือแสดงถึงควำมสำมัคคี ควำมกลมเกลียวในครอบครัว
นนั่ เอง ดงั น้นั รูปลกั ษณข์ องขนมไหวพ้ ระจนั ทร์จะตอ้ งเป็นกอ้ นวงกลมเท่ำน้นั จึงจะใหค้ วำมหมำย
ดงั กลำ่ ว

20

4. เทศกำลวนั ไหว้บ๊ะจ่ำง
เทศกำลวนั ไหวบ้ ๊ะจำ่ ง (ขนมจำ้ ง) หรือเทศกำลตวนอู่ หรือเทศกำลตวงโหงว เป็นเทศกำลท่ี

สืบทอดกนั มำแต่โบรำณของชำวจนี ท้งั ในประเทศจนี และประเทศตำ่ งๆ ตรงกบั วนั ท่ี 5 เดือน 5 ตำม
ปฏิทินทำงจนั ทรคติ เพื่อระลึกถึง “ซีหยวน” หรือ “คุกง้วน” (Qu Yuan) กวีผูร้ ักชำติท่ีปลิดชีวิต
ตนเองโดยกำรกระโดดลงแม่น้ำฉำงเจียง หรือ แม่น้ำแยงซี (Yangtze River) เน่ืองจำกถูกขุนนำง
กังฉินใส่ร้ำยเพรำะไม่พอใจในควำมซื่อตรงของซีหยวนจนทำให้ สูญเสียผลประโยชน์ นอกจำกน้ี
ทำงรัฐบำลจีนยงั กำหนดให้วนั น้ีเป็ นวนั กวจี ีน (The Chinese Poet’s Day) เน่ืองจำกซีหยวนเป็นกวี
คนสำคญั ของจีน ซ่ึงตำมทศั นคติของชำวจีนเชื่อว่ำ เป็ นเทศกำลทีแ่ สดงควำมกตญั ญูตอ่ บรรพบุรุษ

5. วันสำรทจนี
วนั สำรทจีนหรือ เทศกำลสำรทจีน (Sart Chin Day or Ghost Festival or Spirit Festival) ตรง

กบั วนั ที่ 15 เดือน 7 ตำมปี ปฏิทินทำงจนั ทรคติของจนี โดยปกติแลว้ จะชำ้ กวำ่ ปี ปฏิทนิ ทำงจนั ทรคติ
ของไทยประมำณ 2 เดอื น ซ่ึงตำมปี ปฏิทนิ ทำงจนั ทรคติของไทยวนั สำรทจีนจะตรงกบั วนั ข้ึน 14 คำ่
เดอื น 9 ถือเป็นวนั สำคญั ทล่ี ูกหลำนชำวจนี จะแสดงควำมกตญั ญตู อ่ บรรพบรุ ุษท่ีลว่ งลบั ไปแลว้ และ
ยงั ถือเป็นเดือนทีป่ ระตนู รกเปิ ดให้วิญญำณท้งั หลำยมำรบั กศุ ลผลบุญไดอ้ กี ดว้ ย
เทศกำลสำรทจนี ถอื เป็นวนั สำคญั ท่ลี กู หลำนชำวจีนจะแสดงควำมกตญั ญูตอ่ บรรพบรุ ุษ โดยพิธีเซ่น
ไหว้ และยงั ถอื เป็นเดอื นท่ปี ระตูนรกเปิ ดให้วิญญำณท้งั หลำยมำรบั กุศลผลบญุ ได้

วันเพ็ญ 15 ค่ำเดือน 7 ตำมปฏิทินจันทรคติจีน คือ วันเทศกำลจงเยฺวี๋ยน วันเทศกำล
Zhongyuan ของจนี หรือทีเ่ รำเรียกว่ำ วนั สำรทจีน เป็นวนั ซ่ึงทกุ ครอบครัวทำพิธีเซ่นไหวบ้ รรพบรุ ุษ
ท่ลี ว่ งลบั ไปแลว้ ดงั น้นั บำงคร้งั ชำวจนี จึงเรียกวนั ดงั กล่ำวว่ำ GuiJie กุ่ยเจีย๋ หรือ Wangren Jie หวำง
เหรินเจยี๋

21

ชำวจีนเชื่อกนั ว่ำวนั เพ็ญ 15 ค่ำเดือน 7 เป็ นวนั ซ่ึงวิญญำณของผูท้ ี่ล่วงลับไปแลว้ จะได้
กลบั มำเยอื นโลกมนุษยเ์ พือ่ มำเย่ยี มครอบครวั ของตน เพรำะฉะน้นั ในวนั น้ีชำวจีนจะทำพิธีเซ่นไหว้
บรรพบุรุษกนั ทุกครวั เรือน

5. เทศกำลกนิ เจ
เทศกำลกนิ เจ เป็นประเพณีแบบลทั ธิเต๋ำรวม 9 วนั เริ่มตน้ ต้งั แตว่ นั ข้นึ 1 ค่ำถึงข้นึ 9 คำ่

เดอื น 9 ตำมปฏทิ ินจีนทกุ ๆ ปี (รวมเป็นเวลำ 9 วนั 9 คนื ) ซ่ึงจะตรงกบั วนั ข้นึ 1 คำ่ เดอื น 11 ของ
ไทย ดงั น้นั เทศกำลกนิ เจจงึ อย่รู ะหวำ่ งเดอื นกนั ยำยน-ตลุ ำคมของทกุ ๆ ปี ปัจจุบนั เทศกำลกนิ เจจดั
ข้นึ ในประเทศเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ไดแ้ ก่ สิงคโปร์ มำเลเซีย และไทย ตลอดจนหมู่เกำะเรียวใน
อนิ โดนีเซียและอำจมีในบำงประเทศเอเชีย เช่น ภูฏำน ญป่ี ่นุ เกำหลี และประเทศจีน(ประกอบดว้ ย
ฮอ่ งกงและมณฑณไตห้ วนั ) ซ่ึงกำรกินเจในเดอื น 9 น้ี เช่ือกนั วำ่ น่ำจะเกิดข้นึ เม่อื รำว พ.ศ. 2170 ตรง
กบั สมยั อำณำจกั รอยธุ ยำ

22

6. เทศกำลโคม(元宵节)
เทศกำลโคมไฟ คือ เทศกำลฉลองในวนั ท่ี 15 เดือน 1 ตำมปฏิทินจนั ทรคติ เป็ นสัญลกั ษณ์

ของวนั สุดทำ้ ยในกำรฉลองเทศกำลปี ใหมข่ องจีนตำมปฏทิ ินทำงจนั ทรคติ ในเทศกำลโคมไฟ เดก็ ๆ
จะถือโคมไฟกระดำษ ออกไปวดั กนั ในตอนกลำงคนื และพำกนั ทำยปริศนำทอี่ ยบู่ นโคมไฟ เรียกวำ่
ไชเติงหมี

ในสมยั โบรำณ โคมไฟจะทำเป็นรูปแบบง่ำยๆ จะมีเพยี งแตข่ องกษตั ริย์ และขนุ นำงเทำ่ น้นั
ท่ีจะมีโคมไฟท่ีหรูหรำใหญ่โต แต่ในสมัยปัจจุบัน โคมไฟได้ถูกประดับประดำด้วยรูปแบบท่ี
ซับซ้อนมำกข้ึน ตวั อย่ำงเช่น มกั จะทำโคมไฟเป็นรูปสัตวต์ ่ำงๆ โคมไฟมกั จะทำเป็นสีแดงเพ่อื เป็น
สญั ลกั ษณ์ของควำมโชคดี.

ในฮ่องกง ยกให้วนั น้ีเปรียบเสมือนกบั วนั วำเลนไทน์ ในบำงแห่งเทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์ ก็
จะถูกรูจ้ กั กนั ในชื่อของเทศกำลโคมไฟเหมอื นกนั เชน่ สงิ คโปร์และมำเลเซยี

7. วันชำติจีน(国庆节)
วนั ชำติจีนถือเป็ นวนั หยุดตำมกฎหมำยของประเทศจีน เป็ นวนั เฉลิมฉลองควำมเป็ นชำติ

จนี ทม่ี ีควำมย่งิ ใหญม่ ำก โดยกฎหมำยของประเทศระบุใหว้ นั ท่ี 1 ตุลำคมของทุกปี เป็นวนั ชำตจิ นี มำ
ต้งั แต่ ปี คริสตศกั รำช 1949 วนั ชำติจีน (จีนตวั ย่อ: 国庆节; จีนตวั เต็ม: 國慶節; พินอิน:
guóqìng jié) เฉลิมฉลองตรงกับวนั ที่ 1 ตุลำคมของทุกปี เป็ นวนั หยุดรัฐกำรในสำธำรณรัฐ
ประชำชนจนี เพือ่ เฉลมิ ฉลองวนั ชำตขิ องประเทศ

วนั ชำติมีกำรเฉลิมฉลองข้ึนทว่ั จีนแผ่นดนิ ใหญ่ ฮ่องกงและมำเก๊ำ โดยมีกำรเฉลิมฉลองท่ี
ภำครัฐจดั ข้ึนเป็ นอนั มำก รวมท้ังกำรแสดงพลุดอกไมไ้ ฟและคอนเสิร์ต สถำนที่สำธำรณะ เช่น
จตั ุรัสเทียนอนั เหมินในกรุงปักกงิ่ ถูกตกแต่งด้วยธีมร่ืนเริง รูปภำพของผูน้ ำซ่ึงเป็ นที่เคำรพนบั ถือ
เช่น เหมำเจ๋อตงุ มกี ำรแสดงในท่สี ำธำรณะ

23

กำรจดั แสดงพลุดอกไมไ้ ฟมกั จดั ข้ึนทว่ั ประเทศในนครทุกแห่ง รวมท้งั ฮ่องกง ที่ซ่ึงมีกำร
แสดงพลดุ อกไมไ้ ฟเพอ่ื เฉลิมฉลองวนั ชำติจนี มีมำต้งั แต่ พ.ศ. 2540 ทวี่ กิ ตอเรียฮำร์เบอร์ในตอนเย็น
มกี ำรจดั ขบวนหลำยแห่งในนครปักกงิ่ และบำงขบวนมขี นำดใหญม่ ำก

8. เทศกำลหน่มุ เลยี้ งววั กบั สำวทอผ้ำ
คืนแรม 1 ค่ำเดอื น 7 น้ี ถอื เป็นวนั แห่งควำมรกั ของคนจีน แตบ่ ำ้ งก็เรียกวำ่ “เทศกำลแห่ง

กำรเยบ็ ปักถกั ร้อย” และ “เทศกำลของหญิงสำว”
ควำมเป็ นมำของเทศกำลน้ีมำจำก เร่ืองรำวควำมรักของหนุ่มเล้ียงววั กบั สำวทอผำ้ ท่ีมำเจอ

กันตรงสะพำนนกส่ีเชว่ในวนั แรม 7 ค่ำเดือน 7 ของทุกปี ในวนั น้ีจะมองเห็นดวงดำวสว่ำงไสว
ระยิบระยบั ของตะวนั ออกเฉียงเหนือซ่ึงก็คือ “ดำวหนุ่มเล้ียงววั ” (牛郎) และอีกด้ำนหน่ึง
ของฟำกฟ้ำทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ ก็จะมีดวงดำวส่องสวำ่ งถึงกนั ดำวน้นั กค็ อื “ดำวสำวทอผำ้ ” (
织女)

ในคืนแรม 7 ค่ำเดือน 7 น้ีเหลำ่ สำวนอ้ ยและหญงิ สำวท่ีแตง่ งำนแลว้ จะพำกนั ไหวด้ ำวหนุ่ม
เล้ยี งววั กบั สำวทอผำ้ ในสมยั โบรำณ เหลำ่ หญิงที่แต่งงำนแลว้ จะนำดำ้ ยมำสนเขม็ ท้งั หมด 7 เลม่ ซ่ึง
ตอ้ งสนเข็มอยำ่ งรวดเร็ว อนั เป็ นควำมหมำยท่ีแสดงถึงฝีมือในกำรทอผำ้ พฒั นำและมีควำมประณีต
ละเอยี ดอ่อนมำกข้นึ บำ้ งก็มีหญงิ สำวจบั แมงมุมใส่ไวใ้ นกล่อง รอวนั รุ่งข้ึนเปิ ดกลอ่ งดู ถำ้ ปรำกฏวำ่
แมงมุมตวั น้นั ชกั ใยแมงมมุ ยิง่ หนำยงิ่ ทึบน้นั ยิ่งดี เพรำะหมำยถงึ ฝีมือกำรเยบ็ ปักถกั ร้อยของนำงจะ
ยง่ิ ประณีตละเอียดออ่ นมำกข้ึน

24

5. ศำสนำในประเทศจนี
1. ลทั ธิเต๋ำ หรือ ศำสนำเต๋ำ (จนี : 道教 Dàojiao; องั กฤษ: Taoism)

เป็นศำสนำทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั กำรดำรงชีวิตอย่กู บั ธรรมชำติ โดยคำว่ำ เต๋ำ แปลว่ำ "มรรค" หรือ
"หนทำง" ซ่ึงไม่สำมำรถรูไ้ ดด้ ว้ ยอกั ษรและชื่อ ถ่ำยทอดไมไ่ ด้ เล่ำจ๊อื ศำสดำของศำสนำเต๋ำไดเ้ ขียน
ข้อควำมส่ือถึง "เต๋ำ" ไว้ในชื่อคมั ภีร์ชื่อ "เตำ้ เต๋อจิง" (道德經 Dàodéjīng) แนวคิดสำคญั อีก
ประกำรหน่ึงในศำสนำเต๋ำคือเร่ือง "หยินหยำง" ซ่ึงหมำยถึง ธรรมชำตทิ ี่เป็นของค่ตู รงกนั ขำ้ ม สิ่งที่
เป็ นของคู่
สญั ลกั ษณ์ หยิน-หยำง

หยิน (陰 yīn) คือพลังลบ มีลักษณะสีดำ เป็ นพลงั ควำมมืด พบในทุกสิ่งทุกอย่ำงท่ีให้
ควำมหนำวเยน็ ควำมมืด อ่อนนุ่ม ช้ืนแฉะ ลกึ ลบั และเปล่ยี นแปลง เช่น เงำมดื น้ำ ฯลฯ หยำง (陽
yáng) คือพลงั บวกมีลกั ษณะสีขำว เป็ นพลงั แสงสว่ำง พบในทุกส่ิงทุกอย่ำงที่ให้ควำมอบอุ่น สว่ำง
ไสว มน่ั คง สดใส เช่น ดวงอำทติ ย์ ไฟ ฯลฯ

เอกภพเกิดข้ึนโดยมีหยินและหยำง จำกกำรปะทะกนั ของสองสิ่งน้ี ทุกสิ่งทุกอย่ำงก็อุบตั ิ
ข้ึนมำ ทุกสิ่งทุกอย่ำงมีพลงั ท้งั สองน้ีท้งั น้นั บำงคร้ังหยินอำจมีพลงั แข็งแรง แต่บำงคร้ัง หยำง ก็มี
พลงั มำกกว่ำ ยกตวั อย่ำงเช่น ท่อนไม้ ตำมปกติเป็ นหยิน แต่เมื่อโยนเขำ้ ไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูป
เป็ นหยำงไป ในชีวิตหยินและหยำงก่อให้เกิดควำมลม้ เหลวและควำมสำเร็จ เป็ นตน้ เช่นเดียวกนั
หยำงและหยินไม่ใช่เป็ นตวั แทนของควำมดีและควำมชว่ั แต่ท้งั สองน้ีมีควำมจำเป็ นต่อกฎเกณฑ์
และระเบยี บของเอกภพ ท้งั สองน้ีไม่ใชอ่ ยูใ่ นภำวะปะทะกนั ตลอดเวลำ แตย่ ำมใดมคี วำมสำมคั คกี นั
ท้งั สองอยำ่ งน้ีกเ็ ป็นสิ่งดีดว้ ยกนั

25

2. ลทั ธิขงจ๊ือ หรือศำสนำขงจ๊ือ (องั กฤษ: Confucianism)

เป็นระบบดำ้ นจริยธรรมและปรัชญำของจีน ซ่ึงพฒั นำจำกกำรสอนของขงจอ๊ื (551 - 479 ปี
กอ่ น ค.ศ.) นกั ปรชั ญำชำวจนี ลทั ธิขงจ๊ือถอื กำเนิดข้ึนเป็น "งำนสอนดำ้ นจริยธรรม-สังคมกำรเมอื ง"
ในยคุ ชุนชิวแตภ่ ำยหลงั พฒั นำส่วนที่เป็นอภิปรัชญำ และจกั รวำลวิทยำในสมยั รำชวงศฮ์ นั่ หลงั กำร
ละท้ิงลทั ธิฟำเฉียในประเทศจีนหลงั รำชวงศฉ์ ิน ลทั ธิขงจื๊อไดก้ ลำยมำเป็ นอุดมกำรณ์แห่งรัฐอยำ่ ง
เป็ นทำงกำรของจีน กระท่ังถูกแทนท่ีด้วย "หลกั 3 ประกำรแห่งประชำชน" เมื่อมีกำรสถำปนำ
สำธำรณรัฐจีน ตำมด้วยคอมมิวนิสต์ลัทธิเหมำหลังสำธำรณรัฐจีนถูกแทนท่ีด้วยสำธำรณรัฐ
ประชำชนจีนในจีนแผ่นดินใหญ่

มนุษยนิยมเป็นแก่นของลทั ธิขงจือ๊ ซ่ึงเป็นควำมเช่ือท่ีวำ่ มนุษยส์ ำมำรถสอน พฒั นำและทำ
ให้สมบูรณ์ได้ผ่ำนควำมพยำยำมส่วนตนและร่วมกบั สังคม โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง กำรฝึ กตนและกำร
เกิดข้ึนเอง (self-creation) ลทั ธิขงจ๊ือมงุ่ เนน้ กำรพฒั นำคณุ ธรรมและกำรธำรงรักษำจริยธรรม โดยมี
หลกั พ้ืนฐำนที่สุด คือ เหริน (rén) ย่ี (yì) และหลี่ (lǐ) เหรินเป็ นขอ้ ผูกมัดปรัตถนิยมและควำมมี
มนุษยธรรมแก่ปัจเจกบุคคลอ่ืนภำยในชุมชน ย่ีเป็ นกำรค้ำจุนควำมชอบธรรมและอุปนิสัยทำง
ศีลธรรมในกำรทำดี และหล่ีเป็ นระบบจำรีตและควำมเหมำะสมซ่ึงตดั สินว่ำ บุคคลควรปฏบิ ตั ิตน
อย่ำงไรใหเ้ หมำะสมภำยในชุมชน ลทั ธิขงจ๊อื ถอื วำ่ บุคคลควรยอมถวำยชีวิตให้ หำกจำเป็น เพื่ออทุ ิศ
แก่กำรค้ำจุนค่ำนิยมทำงศีลธรรมหลกั เหรินและย่ี ผูน้ ับถือลัทธิขงจ๊ืออำจเป็ นผูเ้ ชื่อในศำสนำ
พ้ืนบ้ำนของจีนด้วยก็ได้ เพรำะลทั ธิขงจ๊ือเป็ นอุดมกำรณ์มนุษยนิยมและอเทวนิยม และไม่ขอ้ ง
เก่ียวกบั ควำมเช่ือในสิ่งเหนือธรรมชำตหิ รือในพระเจำ้ ทมี่ ีตวั ตน

หลำยวัฒนธรรมและประเทศได้รับอิทธิพลอย่ำงมำกจำกลัทธิขงจ๊ือ รวมท้ัง จีน
แผ่นดินใหญ่ ไตห้ วนั เกำหลี ญ่ีป่ ุนและเวียดนำม เช่นเดียวกับอีกหลำยดินแดนท่ีชำวจนี เขำ้ ไปต้งั
รกรำกจำนวนมำก เช่น สิงคโปร์ แมแ้ นวคิดลทั ธิขงจื๊อจะแพร่หลำยในพ้ืนท่ีเหล่ำน้ี มีคนส่วนนอ้ ย
นอกแวดวงวชิ ำกำรทรี่ ะบุว่ำตนเองเป็นผนู้ บั ถอื ลทั ธิขงจื๊อ และกลบั เหน็ ว่ำจริยศำสตร์ขงจอื๊ เป็นแนว
ปฏิบตั เิ ตมิ เต็มสำหรับอุดมกำรณแ์ ละควำมเช่ืออ่นื มำกกว่ำ ซ่ึงมที ้งั ประชำธิปไตย มำกซิสต์ ทุนนิยม
ศำสนำคริสต์ ศำสนำอิสลำม และศำสนำพุทธ

26

3. ลทั ธบิ ัวขำว (จนี : 白蓮教 ไป๋ เหลยี นเจ้ียว)

เป็ นขบวนกำรทำงศำสนำและกำรเมืองที่เกิดข้ึนใน
ประเทศจีนสมยั รำชวงศห์ ยวน เป็ นลทั ธิบูชำพระแม่องค์ธรรม
เป็ นพระเป็ นเจำ้ สูงสุด และรอคอยยุคพระศรีอริยเมตไตรย ซ่ึง
เป็นอตุ มรฐั ทเ่ี ช่ือว่ำสังคมจะรุ่งเรืองสงบสุขตลอดไป

ควำมเช่ือหลกั ของลทั ธิบวั ขำวคือกำรบชู ำพระเป็ นเจำ้
คือพระแม่องค์ธรรม พระผูส้ ร้ำง สรรพส่ิงและให้สรรพชีวิต
ท้งั หลำยมำเกดิ บนโลก ชีวิตท้งั หลำยจึงเป็นบุตรของพระแม่องคธ์ รรม ลว้ นแต่มีธรรมชำติบริสุทธ์ิ
มำแต่เดิม แต่ต่อมำสรรพสัตวก์ ลบั ใชช้ ีวติ หลงผิด สูญเสียธรรมชำตเิ ดิมจนไม่อำจกลบั ไปหำพระแม่
องคธ์ รรมได้

พระแม่องคธ์ รรมจึงเมตตำต่อสรรพสัตว์ด้วยกำรส่งพระพุทธเจ้ำ พระโพธิสัตว์ และสิ่ง
ศกั ด์ิสิทธ์ิตำ่ ง ๆ ลงมำบนโลกเพ่อื ชว่ ยแนะนำสัง่ สอนมนุษยใ์ ห้ปฏิบตั ิในหนทำงที่ถูกและกลบั ไปสู่
พระแม่องคธ์ รรมได้ ในกำรน้ีพระแม่องคธ์ รรมไดส้ ่งพระทีปังกรพุทธเจ้ำและพระศำกยมุนีพุทธเจำ้
มำช่วยเวไนยสัตว์ได้จำนวนหน่ึงแลว้ แต่สรรพสัตว์ส่วนมำกยงั ตกคำ้ งอยู่ พระแม่จึงสัญญำต่อ
มนุษยว์ ำ่ ตอ่ ไปจะส่งพระศรีอริยเมตไตรยลงมำเพอ่ื ชว่ ยเหลือเวไนยสัตวท์ เี่ หลอื ท้งั หมด

ในทำ้ ยยุคของพระพทุ ธเจำ้ แตล่ ะพระองค์ จะมีกำรชมุ นุมอริยะบนสวรรคเ์ พื่อสรุปผลกำร
ช่วยสรรพสตั ว์ กำรชุมนุมทำ้ ยสมยั พระทีปังกรเรียกวำ่ ชิงหยำงฮยุ่ (ตะวนั เขยี ว) ทำ้ ยสมยั พระศำกย
มนุ ีเรียกว่ำ หงหยำงฮุ่ย (ตะวนั แดง) และทำ้ ยสมยั พระเมตไตรยเรียกวำ่ ไป๋ หยำงฮุ่ย (ตะวนั ขำว) ลทั ธิ
บวั ขำวเช่ือวำ่ ตนเองกำลงั อยู่ในปลำยสมยั ตะวนั แดง จงึ ม่งุ หวงั และรอคอยกำรมำถึงของสมยั ตะวนั
ขำว ซ่ึงพระศรีอำรยจ์ ะลงมำโปรดช้ีแนะกำรบำเพญ็ วิถีธรรมทีถ่ กู ตอ้ งเพ่อื กลบั สู่บำ้ นเดิม

แมล้ ทั ธิบวั ขำวจะสลำยตวั ไปจำกกำรปรำบปรำมของทำงกำรชิง แต่แนวคิดและขนบของ
ลทั ธิบวั ขำวยงั สืบทอดมำอกี ในหลำยลทั ธิ โดยเฉพำะในลทั ธิเซียนเทียนเตำ้ ซ่ึงหวง เต๋อฮยุ ไดก้ อ่ ต้งั
ข้ึนในเวลำต่อมำ ลทั ธิน้ียงั คงรักษำควำมเชื่อหลกั ได้แกก่ ำรบชู ำพระแม่องคธ์ รรม พระผูส้ ร้ำงสรร
พส่ิง และส่งสรรพชีวิตท้งั หลำยมำเกดิ บนโลก และรอคอยกำรมำถึงของยุคพระศรีอริยเมตไตรยซ่ึง
เช่ือวำ่ เป็นสงั คมในอุดมคติทีล่ ทั ธิน้ีจะสร้ำงข้ึนสำเร็จในอนำคต

27

4. ลัทธิเซียนเทียนเต้ำ (จนี : 先天道 Xiāntiān Dào)
เป็ นลทั ธิศำสนำหน่ึงที่หวง เต๋อฮุย ก่อต้งั ข้ึนในสมยั รำชวงศช์ ิง โดยสืบควำมเช่ือมำจำก

ลทั ธิบวั ขำวในสมยั รำชวงศห์ ยวน นอกจำกน้ียงั รบั คำสอนมำจำกลทั ธิหลวั ดว้ ย ลทั ธิเซียนเทียนเตำ้
เป็นตน้ กำเนิดของอีก 5 ลทั ธิทีแ่ ยกตวั ออกมำภำยหลงั ไดแ้ ก่ ลทั ธิอนุตตรธรรม ลทั ธิถงซัน่ เซ่อ ลทั ธิ
ฉือฮยุ่ ถงั ลทั ธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลทั ธิเตำ้ เยวยี่ น

ลทั ธิเซียนเทียนเตำ้ เชื่อวำ่ พระแม่องคธ์ รรมคือพระเป็ นเจำ้ พระผูส้ ร้ำงโลก และสรรพชีวิต
ไวร้ วม 9.6 พนั ลำ้ นชีวิต แต่ดว้ ยควำมหลงลืมธรรมชำตเิ ดิมแทข้ องตนจึงตอ้ งเวยี นวำ่ ยตำยเกิดอยู่ใน
สงั สำรวฏั และไมอ่ ำจกลบั สู่สวรรคไ์ ด้ พระแมอ่ งคธ์ รรมจงึ ส่งพระพุทธเจำ้ ศำสดำ และนกั ปรำชญ์
ท้งั หลำยมำเกิดบนโลกเพอ่ื ฉุดช่วยสรรพสตั วใ์ ห้กลบั ไปสู่ธรรมชำตเิ ดมิ โดยแบ่งออกเป็นสำมยคุ ยุค
แรกเป็ นยคุ พระทีปังกรพุทธเจำ้ ไดช้ ่วยสรรพสัตวไ์ ด้ 200 ลำ้ นชีวิต ต่อมำเป็ นยุคพระศำกยมนุ ีพุทธ
เจ้ำช่วยสรรพสัตวไ์ ด้อีก 200 ลำ้ นชีวิต เหลืออีก 9.2 พนั ลำ้ นชีวิตพระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจำ้ ใน
อนำคตจะเสด็จมำโปรดนำกลบั สู่สวรรค์

ผูน้ บั ถือลทั ธิเซียนเทียนเตำ้ จะอุทศิ ตนชว่ ยเหลือพระแม่องคธ์ รรมเพอื่ นำสรรพสัตวก์ ลบั สู่
สวรรคด์ ังเดิม โดยสอนเนน้ หลกั จริยธรรม กำรทำบุญ นบั ถือบูชำสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิโดยมีพระแม่องค์
ธรรมเป็ นสิ่งสูงสุด และรับคำสอนจำกสิ่งศักด์ิสิทธ์ิผ่ำนทำงร่ำงทรงซ่ึงฝึ กตนมำรับหน้ำที่น้ี
โดยเฉพำะ

ลทั ธิเซียนเทียนเตำ้ (รวมถึงลทั ธิที่แยกมำภำยหลงั ) ใชค้ ำสอนซ่ึงเป็ นกำรผสำนควำมเชื่อ
ของ 3 ศำสนำ ไดแ้ ก่ ศำสนำพุทธ ลทั ธิขงจื๊อ และลทั ธิเต๋ำ ต่อมำไดเ้ อำคำสอนของศำสนำคริสตแ์ ละ
ศำสนำอสิ ลำมมำใชด้ ว้ ย จงึ นบั เป็น 5 ศำสนำและเชื่อวำ่ คำสอนของลทั ธิตนไม่ใชศ่ ำสนำ แต่เป็นสัจ
ธรรมแทส้ ำกลของทุกศำสนำ

28

5. ลัทธิอนตุ ตรธรรม (จนี : 一貫道 Yīguàn Dào อกี ว้ นเตำ้ )
ในประเทศไทยเรียกว่ำวิถีอนุตตรธรรม เป็ นศำสนำท่ีหวงั เจฺว๋อี ก่อต้งั ข้ึนในประเทศจีน

สมยั รำชวงศช์ ิงเม่ือปี ค.ศ. 1877 คำสอนเป็ นกำรผสำนควำมเชื่อระหว่ำงลทั ธิขงจ๊ือ ลทั ธิเต๋ำ และ
ศำสนำพทุ ธแบบจีน ท้งั ยงั ยอมรับขนบทมี่ ำจำกต่ำงประเทศ เชน่ ศำสนำคริสต์ ศำสนำอิสลำมดว้ ย

ลทั ธิอนุตตรธรรมเกิดข้นึ และแพร่หลำยท่จี ีนแผ่นดินใหญ่ ต่อมำเกิดกำรเปล่ียนแปลงกำร
ปกครองไปเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ ลทั ธิอนุตตรธรรมถกู รัฐบำลกวำดลำ้ งอยำ่ งหนกั จึงยำ้ ยไปเผย
แผท่ ี่ไตห้ วนั ต้งั แตป่ ี ค.ศ. 1946 ในปัจจบุ นั ถือเป็นศำสนำท่ีมศี ำสนิกชนมำกที่สุดเป็ นอนั ดบั สำมใน
ไตห้ วนั (รองจำกศำสนำพุทธและศำสนำเต๋ำ) ในประเทศจีนลทั ธิน้ียงั ไม่ได้รับกำรยอมรับ ส่วน
ไตห้ วนั ไดร้ ับรองในปี ค.ศ. 1987 ปัจจบุ นั ลทั ธิอนุตตรธรรมมีศำสนิกชนมำกกวำ่ 10 ลำ้ นคน
ใน 86 ประเทศทว่ั โลก

29

บทที่ 3
วิธีดำเนนิ งำนโครงงำน

3.1 วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในกำรพฒั นำ
3.1.1 เคร่ืองคอมพิวเตอร์พรอ้ มเช่ือมต่อระบบเครือข่ำยอนิ เทอร์เน็ต
3.1.2 โปรแกรมทใี่ ชใ้ นกำรเขยี นโปรแกรม เชน่ Notepad
3.1.3 คมู่ ือวฒั นธรรมจนี
3.1.4 โทรศพั ทม์ อื ถอื

3.2 ข้ันตอนกำรดำเนนิ งำน
3.2.1 เลือกหัวขอ้ โครงงำน
3.2.2 ศึกษำคน้ ควำ้ หำขอ้ มลู ทีเ่ กี่ยวกบั โครงงำน
3.2.3 จดั ทำขอ้ เสนอโครงงำน
3.2.4 กำรจดั ทำโครงงำน
3.2.5 กำรเขยี นรำยงำน

3.3 กำรรับผดิ ชอบงำนในส่วนต่ำงๆ

3.3.1 เน้ือหำขอ้ มูล รบั ผดิ ชอบโดย

1. นำงสำว ณฐั ณิชำ เสำวลกั ษณ์สกุล เลขท่ี 10

2. นำงสำว ทกั ษพร แชม่ สะอำด เลขท่ี 14

3. เด็กหญงิ พรรษชล ยนตว์ ภิ ยั เลขที่ 22

3.3.2 รูปเลม่ รำยงำน รับผดิ ชอบโดย

1. นำงสำว ชนิษฐำ ฐำนะสิทธ์ิ เลขท่ี 7

2. นำงสำว ณิชำรีย์ เจริญผล เลขท่ี 12

3. เดก็ หญิง นฎำ ประเสริฐดีงำม เลขที่ 17

30

3.3.3 เวป็ ไซต์ รบั ผิดชอบโดย เลขที่ 4
1. นำงสำว กำนตพ์ ชิ ชำ สมทุ โคดม เลขที่ 23
2. นำงสำว พฒั นพร จงเลศิ วรำวงศ์ เลขที่ 35
3. เด็กหญงิ อำริยำ องั ศวุ ฒั นำ

วนั ท่ี/เดือน/ปี ตำรำงกำรดำเนินงำน ผ้รู ับผดิ ชอบ
09/11/62 รำยกำร สมำชิกกลมุ่
สมำชิกกลมุ่
10/11/62-15/11/62 เลอื กหวั ขอ้ โครงงำน สมำชิกกลุ่ม
16/11/62-27/11/62 กำหนดหัวขอ้ ย่อย สมำชิกกลมุ่
08/01/63 -15/01/63 ศกึ ษำคน้ ควำ้ ขอ้ มูล สมำชิกกลุม่
16/01/63-28/01/63 สมำชิกกลุ่ม
29/01/63-01/02/63 ทำรูปเล่ม สมำชิกกลุ่ม
02/02/63-10/02/63 ร่ำงเวบ็ ไซต์ สมำชิกกลมุ่
ทำเวบ็ ไซต์
14/02/63 ตรวจสอบและแกไ้ ข
ส่งโครงงำนและนำเสนอเวบ็ ไซต์

31

บทท่ี 4
ผลกำรดำเนนิ งำน
กำรจดั ทำโครงงำนคอมพวิ เตอร์กำรพฒั นำเพอ่ื กำรศกึ ษำเรื่องวฒั นธรรมจนี มวี ตั ถุประสงค์
เพอ่ื เป็นแนวทำงสำหรับคนทส่ี นใจเร่ืองรำวควำมเป็นมำของวฒั นธรรมจนี ทมี่ กี ำรสืบทอดมำ
ยำวนำน ต้งั แตส่ มยั โบรำณถึงปัจจุบนั อกี ท้งั ยงั มีอิทธิพลผสมผสำนเขำ้ กบั วฒั นธรรมไทย ซ่ึงมีผล
กำรดำเนินงำนโครงงำน ดงั น้ี
4.1 ผลกำรพฒั นำโครงงำน
กำรจดั ทำโครงงำนคอมพวิ เตอร์กำรพฒั นำเพอ่ื กำรศกึ ษำ เร่ืองวฒั นธรรมจนี มวี ตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื เป็นแนวทำงสำหรบั คนที่สนใจเร่ืองรำวควำมเป็นมำของวฒั นธรรมจนี ทม่ี กี ำรสืบทอดมำ
ยำวนำน ต้งั แตส่ มยั โบรำณถงึ ปัจจบุ นั อีกท้งั ยงั มีอทิ ธิพลผสมผสำนเขำ้ กบั วฒั นธรรมไทย คณะ
ผูจ้ ดั ทำไดด้ ำเนินตำมข้นั ตอนกำรดำเนินงำนทไี่ ดว้ ำงแผนไว้ และไดน้ ำเสนอเผยแพร่ผลงำนผำ่ น
เวบ็ ไซต์ ซ่ึงเป็นเครือข่ำยอินเตอร์เนต็ ที่สำมำรถเขำ้ ถงึ ไดง้ ่ำย สะดวกและรวดเร็ว
4.2 ตวั อย่ำงผลงำน

32

33

บทท่ี 5

สรุปผลกำรดำเนินงำน และข้อเสนอแนะ

กำรจดั ทำโครงงำน คอมพวิ เตอร์กำรพฒั นำเพื่อกำรศกึ ษำเรื่องวฒั นธรรมจนี สำมำรถ
สรุปผลกำรดำเนินงำนโครงงำนและขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี

5.1 กำรดำเนนิ งำนจดั ทำโครงงำน

5.1.1 วตั ถปุ ระสงค์โครงงำน

5.1.1.1 เพ่อื เป็นแนวทำงสำหรบั คนที่สนใจศกึ ษำควำมเป็นมำของวฒั นธรรมจนี
5.1.1.2 เพ่ือนำเสนอขอ้ มูลดำ้ นต่ำง ๆ ที่เกี่ยวกบั วฒั นธรรมจนี
5.1.1.3 เพ่อื นำเสนอขอ้ มูลกำรผสมผสำนวฒั นธรรมจนี และวฒั นธรรมไทย

5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ หรือโปรแกรมหรือทีใ่ ช้ในกำรพฒั นำ

5.1.2.1 เคร่ืองคอมพิวเตอร์พร้อมเช่ือมต่อระบบเครือข่ำยอนิ เทอร์เน็ต
5.1.2.2 โปรแกรมท่ีใชใ้ นกำรเขยี นโปรแกรม เช่น Notepad
5.1.2.3 คมู่ ือวฒั นธรรมจีน
5.1.2.3 โทรศพั ทม์ ือถอื

5.2 สรุปผลกำรดำเนินงำน
กำรจดั ทำเวบ็ ไซตเ์ พื่อกำรศกึ ษำเรื่องวฒั นธรรมจีน ผจู้ ดั ทำไดเ้ ขยี นรำยงำนและดำเนินงำน

ตำมข้นั ตอนดำเนินงำนในบทที่ 3 แลว้ และไดม้ กี ำรออกแบบเวบ็ ไซต์ และเขียนลงในโปรแกรม
Notepad บนั ทกึ งำนในรูปหนำ้ เวบ็ ไซต์ จำกน้นั ไดเ้ ผยแพร่ผลงำนผ่ำนเครือขำ่ ยอนิ เทอร์เนต็ ท่ี
สำมำรถเขำ้ ถงึ ไดท้ ุกทีท่ ุกเวลำ

5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ข้อเสนอแนะทว่ั ไป
5.3.1.1โปรแกรม Notepad เป็นโปรแกรมที่ใชเ้ ขียนเวบ็ ไซตไ์ ดง้ ำ่ ยและรวดเร็ว แต่

ถำ้ เรำใชป้ ระโยชนใ์ นทำงท่ีไม่ถกู ตอ้ งและไมเ่ หมำะสม ก็จะส่งผลต่อกำรละเมดิ ลขิ สิทธ์ิและไดร้ บั
ควำมรูท้ ่ีไม่ถกู ตอ้ ง เพรำะน้นั ผจู้ ดั ทำควรเผยแพร่ส่ิงดๆี ใหบ้ ุคคลทีเ่ ขำ้ มำเย่ยี มหรือศึกษำไดค้ วำมรู้
และส่ิงดีๆนำไปเผยแพร่ตอ่ ให้ผอู้ ่ืนมำศกึ ษำควำมรูท้ ีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อไป

34

5.3.1.2 ควรมกี ำรจดั ทำเน้ือหำท่ีครอบคลมุ เร่ืองรำวเก่ยี วกบั วฒั นธรรมจนี และมี
กำรอำ้ งองิ จำกเวบ็ ไซตต์ ำ่ งๆเพ่ือควำมน่ำเชื่อถอื ของเน้ือหำ

5.3.1.3 ควรมกี ำรจดั ทำเวบ็ ไซตใ์ หน้ ่ำสนใจ มรี ูปภำพประกอบ ใชข้ นำดและสี
ตวั อกั ษรท่ีเหมำะสม

5.3.2 ปัญหำ อุปสรรค และแนวทำงในกำรพัฒนำ
5.3.2.1 เครื่องคอมพวิ เตอร์ดบั ระหวำ่ งกำรทำงำน งำนจึงหำยเละทำให้กำรทำ

โครงงำนดำเนินกำรล่ำชำ้ ตำมไปดว้ ย
5.3.2.2 เครือข่ำยอินเตอร์เน็ตทใ่ี ชใ้ นกำรคน้ ควำ้ หำขอ้ มูลและติดตอ่ สื่อสำร

ระหว่ำงกนั ในกลุ่มชำ้ ทำให้ตอ้ งมีกำรนดั ประชมุ จึงตอ้ งเสียเวลำในกำรเดินทำงมำเจอกนั เพื่อคยุ เรื่อง
โครงงำนและทำให้ไดข้ อ้ มลู มำประกอบกำรทำโครงงำนชำ้ ตำมไปดว้ ย

5.3.2.3 เน่ืองจำกกำรเขียนโปรแกรม Notepad ตอ้ งมีกำรไปศกึ ษำเพม่ิ เตมิ เพอ่ื นำ
คำส่ังใหมๆ่ ไปใชส้ ร้ำงเวบ็ ไซตใ์ ห้มคี วำมสวยงำมมำกข้นึ

35

บรรณำนุกรม

กำรแต่งกำยของหญงิ จีน. [ออนไลน]์ . เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : https://oknation.nationtv.tv.com.
(วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มลู : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).

ควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงไทย-จีน. [ออนไลน์]. เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก : https://my.dek-
d.com/kantong3014/blog/.

(วนั ท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).
ชุดประจำชำตขิ องจนี . [ออนไลน์]. เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก : http://www.chinatownsalaya.com.

(วนั ท่สี ืบคน้ ขอ้ มลู : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).
เทศกำลกนิ เจ. [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : https://th.wikipedia.org

(วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).
เทศกำลของประเทศจนี . [ออนไลน]์ . เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก :

https://sites.google.com/site/angsutorntunma/theskal-cin.
(วนั ท่สี ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).
เทศกำลและวันหยดุ ของประเทศจีน. [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : https://thaimoderntravel.co.th.
(วนั ทีส่ ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).
เทศกำลสำคญั ของจนี . [ออนไลน์]. เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก : https://medium.com.
(วนั ทสี่ ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).
รวม 6 เทพเจ้ำจีน ท่คี วรบูชำเพ่ือเสริมควำมมงคลสำหรับผ้อู อกบูธ. [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก :
https://www.zipeventapp.com/blog/2019/10/28/for-exhibitor2019-zipevent/.
(วนั ทสี่ ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจิกำยน 2562).

36

วฒั นธรรมกำรแต่งกำยของจนี . [ออนไลน]์ . เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก : http://www.chinatownsalaya.com.

(วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจิกำยน 2562).

วัฒนธรรมไทยกบั วัยรุ่นไทย. [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก :

https://sites.google.com/site/wathnthrrmthiykabwayrunthiy/home/wathnthrrm-thiy-kab-
way-

run-ni-paccuban/wathnthrrm-xindeiy-mi-xiththiphl-tx-thiy/wathnthrrm-cin-thi-mi-xthi-
phl-tx-

wathnthrrm-thiy. (วนั ท่สี ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).

วนั คล้ำยวนั เกดิ เทพเจ้ำแชกงุ . [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : http://www.discoverhongkong.com

(วนั ท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจิกำยน 2562).

วนั ไหว้พระจนั ทร์ 2562 ประวตั ิเทศกำลไหว้พระจนั ทร์. [ออนไลน]์ . เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก :

https://www.sanook.com/horoscope/69721/. (วนั ทสี่ ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำย 2562).

วิวฒั นำกำรกำรแต่งกำยของชนชำติฮนั่ จำกอดีตถึงปัจจุบนั . [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก :

http://www.cim.chinesecio.com. (วนั ทีส่ ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจิกำยน 2562).

ศำสนำแบบจนี . [ออนไลน]์ . เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : https://sites.google.com/site/janenene233/sasna-
baeb-cin.

(วนั ทส่ี ืบคน้ ขอ้ มลู : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).

ไหว้พระจนั ทร์. [ออนไลน์]. เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก : http://www.jiewfudao.com.

(วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจิกำยน 2562).

8 ควำมหมำยขนมมงคลจีน. [ออนไลน์]. เขำ้ ถงึ ไดจ้ ำก : https://th.openrice.com.

(วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มลู : 27 พฤศจิกำยน 2562).

37

8 ควำมหมำยขนมมงคลจีน. [ออนไลน์]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : https://th.openrice.com.
(วนั ทีส่ ืบคน้ ขอ้ มูล : 27 พฤศจกิ ำยน 2562).

38

ภำคผนวก

คณะผจู้ ดั ทำ

39

เวป็ ไซต์
https://drive.google.com/folderview?id=1exBhySJds4_x3Jib3Xn38PIpfx4-ya58

40

41

42

43

44

45


Click to View FlipBook Version