The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by earn.chanit, 2020-02-18 03:04:05

chinese culture

chinese culture

46

47

48

49

50

51

ข้อมูลอ้ำงองิ

52

วฒั นธรรมจนี

บนโต๊ะอำหำรของคุณวนั น้ี มีอำหำรอะไรบำ้ ง มกี ๋วยเตีย๋ ว ซำลำเปำ แลว้ เรำก็ใชต้ ะเกียบใน
กำรกินขำ้ ว พอมองไปรอบๆ ตวั เรำ ก็เตม็ ไปดว้ ยวฒั นธรรม ควำมเช่ือของชำวจนี ดงั น้นั ภำยในเพจ
ของเรำจะนำทุกทำ่ นไปสู่โลกวฒั นธรรมชำวจีน ภำยในหวั ขอ้ ต่ำงๆไม่ว่ำจะเป็น กำรแตง่ กำย อำหำร
ควำมเชื่อและเทศกำลของคนจีน
วัฒนธรรมจีนทม่ี อี ิทธิพลต่อวฒั นธรรมไทย

จีนเขำ้ มำสมัยกรุง สุโขทัยและกรุงศรีอยุธยำโดยเข้ำมำคำ้ ขำย ในสมยั กรุงธนบุรีและ
กรุงรัตนโกสินทร์เขำ้ มำทำมำหำกิน ทำให้เกิดกำรผสมผสำนวฒั นธรรมไทยกับจีน จนกลำยเป็ น
วฒั นธรรมไทย อทิ ธิพลวฒั นธรรมจีนตอ่ วฒั นธรรมไทยไดแ้ ก่
1. ควำมเช่ือทำงศำสนำ เป็ นกำรผสมผสำน กำรบูชำบรรพบุรุษ กำรนับถือเจ้ำ ส่วนกำรไหว้
พระจนั ทร์ เทศกำลกนิ เจ ชำวไทยเช้ือสำยจีนรุ่นใหม่ยอมรบั วฒั นธรรมเดมิ ของจนี นอ้ ยลงทกุ ที
2. ดำ้ นศลิ ปกรรม เครื่องชำมสังคโลกเขำ้ มำในสมยั สุโขทยั
3. ด้ำนวรรณกรรม กำรแปลวรรณกรรมจีนเป็ นภำษำไทย เริ่มข้ึนในสมัยรัชกำลท่ี1 แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ ไดแ้ ก่ สำมก๊กอำนวยกำรแปลโดย เจ้ำพระยำคลงั (หน) กลำยเป็ นเพชรน้ำงำมแห่ง
วรรณคดไี ทย
4. วฒั นธรรมอ่นื ๆ มอี ำหำรจนี และ "ขนมจนั อบั " ท่ีกลำยเป็นขนมท่มี บี ทบำทในวฒั นธรรมไทย ใช้
ในพิธี ก๋วยเตี๋ยวก็กลำยมำเป็ นอำหำรหลกั ของไทย นอกจำกน้ียงั มีขำ้ วตม้ ก๊ยุ ผดั ซีอิ๊ว และซำลำเปำ
เป็ นตน้

กำรแต่งกำยจีน (รวมทกุ รำชวงศ์)

ประเทศจีนมีสุภำษิตสองวรรคกล่ำวว่ำ “คนย่อมสวมอำภรณ์ พระพุทธรูปย่อมปิ ดทอง”
และ “คนงำมเพรำะเส้ือผำ้ อำชำงำมเพรำะอำน” กล่ำวถึงควำมสำคญั ของเคร่ืองแตง่ กำยของคนเรำ

53

เครื่องแตง่ กำยหลำกหลำยรูปแบบเป็นสญั ลกั ษณ์อยำ่ งหน่ึงของสังคมท่ีมีอำรยธรรม ขณะเดยี วกนั ก็
ยงั แสดงถงึ ควำมเป็นชนชำตทิ ีเ่ ด่นชดั

ประเทศจนี มี 56 ชนเผำ่ กำรแต่งกำยของแต่ละชนเผำ่ ลว้ นมลี กั ษณะโดดเด่นของตนเอง ชน

เผ่ำฮ่นั มีจำนวนมำกกว่ำร้อยละ 90 ของประชำกรจีนท้งั หมด จำกประวตั ิศำสตร์ที่ผ่ำนมำ กำรแตง่

กำยของชนชำติฮ่ันที่สืบทอดต่อกันมำมีวิวฒั นำกำรเปล่ียนแปลงมำหลำยคร้ังตำมยุคสมยั ที่

เปลย่ี นไป

โดยเร่ิมจำก 1.รำชวงศโ์ จว 6.รำชวงศถ์ งั

2.รำชวงศจ์ ้นั กว๋ั 7.รำชวงศห์ ยวน

3.รำชวงศฮ์ น่ั 8.รำชวงศห์ มิง

4.รำชวงศเ์ วย่ 9.รำชวงศช์ ิง

5.รำชวงศส์ ุย และ สมยั ปัจจบุ นั

สมัยรำชวงศ์โจว เมื่อมีระบบปิ ตำธิปไตยก็เกิดแนวคิดควำมแตกต่ำงระหว่ำงชนช้นั ข้ึน
เส้ือผำ้ เร่ิมมีกำรแยกระดบั ชนช้นั คนตำ่ งลำดบั ชนช้นั กนั กำรแต่งกำยก็จะแตกต่ำงกนั ไปตำมโอกำส
ท่ีตำ่ งกนั เส้ือผำ้ ทีส่ ูงส่งทีส่ ุดเรียกว่ำ “ชุดเหม่ยี นฝ”ู เป็นชดุ ท่ีกษตั ริยแ์ ละขนุ นำงใหญ่สวมใส่ยำมอยู่
ในทอ้ งพระโรงหรือเขำ้ ร่วมพธิ ีกรรมสำคญั ในสมยั ชุนชิวจ้นั กวั๋ ยงั มชี ดุ คลุมยำวทรงกระบอกตรง
แบบหน่ึง เส้ือตวั บนและกระโปรงตวั ล่ำงเช่ือมต่อกนั ชุดแบบน้ีเรียกวำ่ “ชุดเซินอี”

ชดุ เหมีย่ นฝู ชดุ เซินอี

54

ปลำยสมยั จ้นั ก๋วั เนื่องจำกมีชนกลุ่มนอ้ ยทำงตะวนั ตกเดนิ ทำงเขำ้ มำสู่ภำคกลำงของจีน กำร
แต่งกำยของพวกเขำทเ่ี รียกวำ่ ชดุ “หูฝู” ก็เริ่มแพร่หลำยเขำ้ มำ ชุด “หูฝู” แตกต่ำงกบั เส้ือผำ้ ของชน
เผำ่ ชำวจีนด้งั เดิมตรงทเี่ ส้ือตวั บนเป็นเส้ือแขนกระบอกส้ันและตวั ล่ำงเป็นกำงเกง เอวรดั เข็มขดั หนงั
เส้ือผำ้ แบบน้ีเหมำะสำหรับกิจกรรมขี่มำ้ และยิงธนูของชำวเผ่ำเล้ียงสัตว์เร่รอนทำงตะวนั ตกเฉียง
เหนือ แต่ชำวจีนภำคกลำงก็รู้สึกว่ำกำรสวมเคร่ืองแต่งกำยเช่นน้ีทำให้เคลื่อนไหวไปมำได้
สะดวก ดงั น้นั กำรแต่งกำยแบบน้ีจึงเร่ิมเป็นที่นิยมในภำคกลำงของจนี

หลงั จำกรวมแผ่นดินจีนเป็ นหน่ึงเดียว จกั รพรรดิจิ๋นซีกท็ รงออกกำหนดสีของเคร่ืองแตง่
กำย โดยให้สีดำเป็ นสีสูงสุด ขุนนำงข้นั สำมข้ึนไปใส่ชุดสีเขียว สำมญั ชนทว่ั ไปใส่สีขำว ต่อมำใน
สมัยรำชวงศ์ฮั่น ผูค้ นนิยมสวมเส้ือสีเขม้ เป็ นชุดพิธีกำร เส้ือผำ้ ประกอบด้วยเส้ือคลุมยำวท่ีเรียกว่ำ
“ผำว” ชดุ ตวั ในที่เรียกว่ำ “ตนั อี” เส้ือตวั ส้นั ทเี่ รียกวำ่ “หรู” และกระโปรง

55

กำรทอผำ้ และศิลปะกำรปักลำยในสมยั รำชวงศ์ฮน่ั ได้พฒั นำไปอย่ำงมำกแลว้ ผำ้ ไหมและ
ส่ิงทอก็มหี ลำกหลำยชนิด ผูค้ นที่มีฐำนะก็มีโอกำสสวมเส้ือผำ้ สวยงำมท่ีตดั ดว้ ยผำ้ ไหมและผำ้ ต่วน
คนทว่ั ไปกจ็ ะสวมเส้ือตวั ส้ันกบั กำงเกงขำยำวท่ีทำจำกผำ้ ดิบ สมยั รำชวงศฮ์ น่ั ยงั แบ่งแยกตำแหน่ง
ระดบั ช้ันขุนนำงดว้ ยสีของแถบรัดเอวท่ีต่ำงกนั เครื่องแต่งกำยของสตรีในสมยั รำชวงศฮ์ ัน่ มีสอง
แบบหลกั แบบแรกจะเป็ นเส้ือกระโปรงอยำ่ งละตวั และอีกแบบหน่ึงจะเป็ นเส้ือคลุมยำวที่เรียกวำ่
ชดุ “ผำว”

สมัยรำชวงศ์เว่ย รำชวงศ์จนิ้ และรำชวงศ์เหนือ
ใต้ เป็นยุคของกำรผสมผสำนทำงชนชำติ คร้ังใหญ่
ในประวตั ิศำสตร์จนี โบรำณ และก็เป็นยคุ สมยั ทเ่ี กิดกำร
เปลี่ยนแปลงคร้ังใหญ่ในประวตั ิศำสตร์กำรแต่งกำย
สมยั โบรำณ ชนกลุ่มนอ้ ยในดินแดนตะวนั ตกจำนวน
มำกมำยได้ยำ้ ยเขำ้ มำอำศยั อยู่ในดินแดนภำคกลำงของ
จีน กำรแต่งกำยของทำงเหนือและทำงใต้ กำรแต่งกำย
ของคนภำคกลำงกบั คนนอกพ้นื ทไ่ี ดส้ ่งอิทธิพลถึง
กนั ชุดหูฝไู ดก้ ลำยเป็นรูปแบบกำรแต่งกำยทีท่ นั สมยั ใน
เวลำน้นั รูปแบบโดยรวมของชุดก็คือ ชุดแนบตวั ปก
คอกลม แขนเส้ือและกำงเกงทรงแคบ สะดวกในกำรเคลื่อนไหวไปมำ เม่ือชำวฮน่ั ไดส้ วมใส่เส้ือผำ้

56

แบบน้ี ก็นำไปปรับเปลี่ยนใหเ้ ขำ้ กบั ควำมเคยชินของตนเอง โดยกำรเพม่ิ ควำมกวำ้ งใหก้ บั แขนเส้ือ
และกำงเกง ในเวลำน้ัน ขณะที่กำรแต่งกำยของชนกลุ่มน้อยที่เหมำะแก่กำรดำรงชีวิตและใช้
แรงงำนเป็ นท่ีนิยมในหมู่รำษฎรชำวฮั่น ชนช้นั ปกครองของชนกลุ่มน้อยกลบั นิยมชมชอบชุดเห
มี่ยนฝูของชนช้นั ปกครองชำวฮน่ั เพรำะควำมซบั ซอ้ นและควำมกวำ้ งของชุดสำมำรถสะทอ้ นควำม
เป็นชนช้นั ปกครองและควำมสูงส่งภมู ฐิ ำนได้

สมยั รำชวงศ์สุยและรำชวงศ์ถงั ถือเป็นช่วงยุคทอง
ของระบอบสังคมแบบศักดินำของจีน ซ่ึงเกิดกำรพัฒนำ
และมีควำมเจริญรุ่งเรือง เมืองหลวง ฉำงอำนในเวลำ
น้ันเป็ นเมืองนำนำชำติท่ียิ่งใหญ่ เป็ นศูนยร์ วมชำวต่ำงชำติ
และชนกลุ่มนอ้ ย ท้งั พระสงฆ์ พ่อคำ้ วำณิช ขนุ นำงทตู ำนุทตู นกั ศกึ ษำตำ่ งชำติ เป็นตน้ ดงั น้นั กำร
แต่งกำยในสมยั รำชวงศถ์ งั จงึ ไดร้ ับอทิ ธิพลจำกภำยนอกอยำ่ งมำก

กำรแต่งกำยของบรุ ุษในสมยั รำชวงศถ์ งั จะสวมชดุ คลุมยำวท่เี รียกวำ่ “ผำวซัน” เป็นหลกั ซ่ึง
เป็นกำรผสมผสำนระหว่ำงเส้ือคลุมยำวท่ีเรียกวำ่ “ผำว” ในสมยั ก่อนกบั ชดุ หูฝู

กำรแต่งกำยของสตรี จะแสดงให้เห็นถึง
ท่วงท่ำท่ีสง่ำงำมและหลำกหลำย กระโปรงที่เรียกว่ำ
“หรู” เป็ นตัวแทนของเคร่ืองแต่งกำยของหญิงสำว
สมยั น้ัน มีลกั ษณะเด่นทเี่ ส้ือตวั ส้ันเขำ้ รูปคอกลมหรือ
มีสำบทบั กันพรอ้ มกระโปรงเอวสูงยำวจรดพ้ืน ท่ีเอว
ยงั รัดด้วยสำยผำ้ ท่ีท้ิงตวั 2 เส้น กำรแต่งกำยของสตรี
สมยั รำชวงศถ์ งั ส่วนใหญ่เป็ นเส้ือที่เรียกว่ำ “ซัน” กระโปรงและผำ้ คลุมไหล่ ผูห้ ญิงนิยมเอำปลำย
เส้ือสอดเขำ้ ไปในกระโปรง ลกั ษณะของกระโปรงจำกช่วงหนำ้ อกยำวลงมำจรดพ้ืนเพ่ือแสดงถงึ
ร่ำงกำยทสี่ ูงเพรียว เรียกว่ำ “ชุดกระโปรงหรูฉวิน” คอเส้ือคอ่ นขำ้ งต่ำ เปิ ดหนำ้ อกส่วนหนำ้ พร้อม
กับผำ้ คลุมไหล่ท่ีปลิวไปตำมแรงลม กำรแต่งกำยเช่นน้ีนบั เป็ นควำมทนั สมยั ท่ีสุดในสมยั น้นั ใน
เร่ืองของสีน้นั จกั รพรรดิจะสวมชุดสีเหลอื ง รำษฎรจะสวมไดแ้ ตเ่ ส้ือผำ้ สีออ่ นเท่ำน้นั

57

รำชวงศ์หยวน เป็นรำชวงศท์ ่ีปกครองโดยชนเผำ่ มองโกล กำรแตง่ กำยในสมยั น้ีก็
รบั เอำรูปแบบมำจำกชำวฮน่ั ในขณะเดียวกนั ก็มลี กั ษณะเด่นของชำวเผำ่ มองโกลผสมผสำนอยู่ดว้ ย

กำรแต่งกำยในสมัยรำชวงศ์หมิงน้ันได้ถูกฟ้ื นฟูนำเอำลกั ษณะเด่นของชำวฮั่นกลบั มำอกี
คร้งั โดยใชเ้ ส้ือคลมุ ยำวทเี่ รียกว่ำ “ผำว” เป็นหลกั สตรีสูงศกั ด์ิส่วนใหญ่สวมเส้ือคลมุ ยำวแขนกวำ้ ง
สีแดง สำหรบั สตรีทว่ั ไป ในชีวติ ประจำวนั ก็จะสวมเส้ือตวั ส้ันและกระโปรงยำว เอวรัดดว้ ยแถบผำ้
กระโปรงทรงกวำ้ ง โดยจะสวมไดแ้ ตส่ ีฟ้ำอมเขยี วและสีอ่อนๆ เทำ่ น้นั สำหรับบุรุษ หำกเป็นบณั ฑติ
ส่วนใหญแ่ ลว้ จะสวมเส้ือยำวตวั กวำ้ งสีดำทรงตรง หำกเป็นรำษฎรทวั่ ไปกจ็ ะสวมเส้ือตวั ส้ัน ชุดขนุ
นำงในสมยั รำชวงศห์ มิงจะปักลำยไวบ้ นเส้ือคลุมยำวเพ่อื แยกแยะลำดบั ช้นั ยศของขนุ นำง ลวดลำย
เหล่ำน้ีเรียกวำ่ “ป่ จู อื ” ขุนนำงฝ่ำยบ๋นุ หรือฝ่ำยอกั ษรจะใชร้ ูปสตั วป์ ี ก ขุนนำงฝ่ำยบหู๊ รือฝ่ำยรบจะใช้
รูปสตั วส์ ่ีเทำ้

58

สมยั รำชวงศ์ชิง ผหู้ ญงิ ชำวแมนจูจะสวมชุดคลมุ ยำวทรงกวำ้ งที่มีควำมยำวถึงเทำ้ ดำ้ นนอก
จะสวมเส้ือกก๊ั ไม่มแี ขนทเ่ี รียกว่ำ “ขนั่ เจยี น” หรือ “หม่ำเจีย่ ” ทบั เอำไว้ เนื่องจำกชำวแมนจูมีชื่อเรียก
อกี ช่ือว่ำ “ฉีเหริน (ชำวกองธง)” ดงั น้นั ชุดคลมุ ยำวของสตรีจึงเรียกวำ่ “ชุดฉีผำว (ชดุ กเี่ พำ้ )” แต่ชดุ น้ี
ไมเ่ หมือนกบั ชดุ กเี่ พำ้ ที่เป็นสัญลกั ษณ์กำรแตง่ กำยของผหู้ ญิงจีนที่สืบต่อกนั มำในภำยหลงั ชุดกเี่ พำ้
ของ ชำวแมนจูในสมยั รำชวงศช์ ิงน้นั มีควำมกวำ้ งและหลวม ตอ่ มำ มีกำรเปลี่ยนเป็นเขำ้ รูปช่วงเอว
และผ่ำนกำรปรับปรุงอีกมำกมำย อีกท้งั ยงั เพิ่มเติมควำมเป็ นกระโปรงแบบตะวนั ตกเขำ้ ไป จึง
กลำยเป็นชุดกเ่ี พำ้ ในปัจจบุ นั กำรแต่งกำยของสตรีชำวฮนั่ ในสมยั รำชวงศช์ ิงก็มรี ูปแบบพ้ืนฐำนมำ
จำกสมยั รำชวงศห์ มิง นนั่ คือ ดำ้ นบนสวมเส้ือ “เอ๋ำ” หรือเส้ือ “ซัน” ด้ำนล่ำงสวมกระโปรงหรือ
กำงเกง

สำหรับกำรแต่งกำยของบุรุษน้ัน ชุดยำวและเส้ือกัก๊ ตวั ส้ัน “หม่ำกวำ้ ” เป็ นกำรแต่งกำยที่
ผชู้ ำยในสมยั รำชวงศช์ ิงท้งั ชำวแมนจแู ละชำวฮนั่ นิยมใส่ เส้ือหม่ำกวำ้ เป็นเส้ือกก๊ั ตวั ส้ันท่ีสวมทบั ชุด
คลุมยำว ควำมยำวระดบั เอว เดิมเป็ นชุดท่ีคนทำงเหนือใส่สำหรบั ข่ีมำ้ หลังจำกชำวแมนจรู วบรวม
แผ่นดินจีน กค็ ่อยๆ เป็นที่นิยมไปทว่ั ประเทศ

พอมำถึงปลำยสมยั รำชวงศช์ ิง กำรแต่งกำยแบบตะวนั ตกกเ็ ร่ิมเขำ้ มำสู่วิถีชีวติ ของชำวจนี

ทำให้กำรแต่งกำยของชำวจีนเขำ้ สู่ยุคสมยั จุดหักเหคร้ังใหม่ ในช่วงกำรเปล่ียนผ่ำนจำกสมยั เกำ่ สู่

สมยั ใหม่ ชุดแบบต่ำงๆ เช่น ชุดจงซำนจวง ชุดนักเรียน ชุดก่ีเพำ้ ที่ปรับปรุงใหม่ ก็เร่ิมเป็ นท่ีรู้จกั

ยอมรบั ในหม่ชู นช้นั ตำ่ งๆ โดยเฉพำะชดุ “จงซำนจวง” ของผชู้ ำย ท่ีไดใ้ ชเ้ ร่ือยมำจนถงึ ช่วงทศวรรษ

ที่ 70-80 ในศตวรรษท่ี 20 ชุดจงซำนจวงเกดิ ข้นึ ในปี ค.ศ.1923 เป็นชุดทด่ี ร.ซุน ยดั เซน็

59

ผูน้ ำกำรปฏิวตั ปิ ระชำธิปไตยของจีนไดก้ ำหนดข้นึ รูปแบบภูมิฐำน สง่ำงำม เรียบร้อยเป็ นทำงกำร
ดำ้ นหนำ้ ของเส้ือมีกระเป๋ ำเยบ็ ตดิ 4 ใบ เม่ือก่อนเคยเป็น “ชดุ ประจำชำติ” ของจีน และเป็นสัญลกั ษณ์
ของกำรแต่งกำยใน ยุคใหม่ของจีน กำรเกิดข้ึนของชุดดงั กล่ำวนบั เป็ นกำรเปล่ียนแปลงคร้งั ใหม่
ของกำรแต่งกำยจีน พอมำถงึ ชว่ งทศวรรษที่ 1980 รูปแบบและสไตลก์ ำรแต่งกำยของผูค้ นกย็ ิง่
มคี วำมหลำกหลำยมำกข้นึ ชดุ จงซำนจวงจงึ เร่ิมห่ำงหำยไปจำกรูปแบบกำรแตง่ กำยของบรุ ุษ

ปัจจบุ นั แมว้ ฒั นธรรมกำรแต่งกำยของชำวจีนจะไม่สำมำรถคงควำมเป็ นรูปแบบเอกลกั ษณ์
เครื่อง แต่งกำยประจำชำติได้อย่ำงประเทศในแถบอินเดีย เนื่องจำกไดร้ ับเอำค่ำนิยมแบบเส้ือผำ้
จำกชำวตะวนั ตกมำเป็นส่วนใหญ่ แตเ่ รำก็ยงั คงไดพ้ บเหน็ แบบแฟชน่ั ท่บี ่งบอกควำมเป็นเอกลกั ษณ์
ของ ชำวจนี เชน่ ปกเส้ือคอจีน กี่เพ่ำ(ชดุ ประจำชำติ) เป็นตน้ ซ่ึงยงั เป็นทน่ี ิยม คงควำมสวยงำม

กี่เพำ้ หรือฉีเผำ ตำมสำเนียงจีนกลำงน้ี มีตน้ กำเนิดในสมยั รำชวงศช์ ิง (ค.ศ.1644-1911) ซ่ึง
ปกครองแบบ 8 แว่นแควน้ หรือปำฉี โดยผปู้ กครองชำวแมนจู คำว่ำ ‘ฉี’ ในปำฉีและคำว่ำ ‘เผำ’ น้นั
หมำยถึงเส้ือผำ้ ชุดยำวตลอดลำตวั จึงเป็ นท่ีมำของ ‘ฉีเผำ’นนั่ เอง โดยได้รับควำมนิยมสูงสุดในรัช
สมยั ‘คงั ซี’ และ ‘หยงเจ้ิง’ (ค.ศ.1662-1736) ยคุ รุ่งเรืองแห่งรำชวงศช์ ิง ซ่ึงตำ่ งจำกสมยั รำชวงศห์ มงิ
(ค.ศ.1368-1644) ยุคก่อนหนำ้ น้นั ที่แฟชน่ั ของหญงิ ชำวฮนั่ ซ่ึงเป็นชนกลุ่มใหญ่ของแผ่นดินจนี มกั
แยกเส้ือกบั กระโปรงออกจำกกนั อยำ่ งไรกต็ ำม ในยุคกลำงรำชวงศช์ ิง ชุดของสำวแมนจกู บั สำวฮ่นั
ต่ำงก็เริ่มเลียนแบบซ่ึงกนั และกนั

หลงั ปี ค.ศ.1840 วฒั นธรรมตะวนั ตกไดค้ ่อยๆ จู่โจมเขำ้ สู่แดนมงั กรพร้อมกบั ยุคล่ำอำณำ
นิคม เมืองชำยฝ่ังทะเล โดยเฉพำะเมืองสำคญั อย่ำง ‘เซี่ยงไฮ้’ ซ่ึงมีชำวตะวนั ตกเขำ้ อยูอ่ ำศยั ปะปน
กบั ชำวจีน จึงได้รับอิทธิพลตะวนั ตกก่อนพ้ืนท่ีอื่นๆ ของประเทศ ไม่เวน้ แมแ้ ต่แฟชนั่ กำรแตง่ กำย
แบบฝร่ังทีค่ ่อยๆ แทรกซึม และนำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงรูปแบบของชุดก่เี พำ้ ทเ่ี รำเห็นกนั ในปัจจุบนั
จึงมีวิวฒั นำกำรจำกชุดสตรีชำวแมนจู ท่ีถูกสตรีชำวฮ่ันนำไปประยุกตด์ ัดแปลง ผสมผสำนกำรดดู
ซับเอำวฒั นธรรม เครื่องแต่งกำยท่ีเนน้ ส่วนโคง้ เวำ้ เขำ้ รูปแบบตะวนั ตก โดยจะมีลกั ษณะของ
แขน ปก ชำย กำรผ่ำขำ้ ง และควำมส้ันยำวเปล่ยี นไปตำมควำมนิยมในแต่ละยุคสมยั

60

ต้งั แต่ทศวรรษท่ี 50 จนถึงยุคปฏิวตั ิวฒั นธรรม(ค.ศ.1966-1976) ชุดก่ีเพำ้ ก็ถูกตีตรำว่ำเป็น
ส่วนหน่ึงของคำ่ นิยมคร่ำครึท้งั 4 (แนวคิด วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตแบบเก่ำ) ท่ีสมควรถูก
ขจดั ให้ส้ินแผ่นดินจีน เมื่อผ่ำนพน้ ยุคแห่งควำมขดั แยง้ ภำยใน เขำ้ สู่ยุคเปิ ดประเทศ สังคมจีนเร่ิม
เปิ ดกวำ้ งรบั แนวคิดใหม่ๆ เส้ือผำ้ ท่เี คยถูกบงั คบั ให้ใชไ้ ด้ไม่เกิน 3 สี คอื ดำ เทำ และน้ำเงนิ กไ็ ดร้ ับ
กำรปลดปล่อยให้มีอิสระเสรีทำงสีสัน บรรดำสำวจีนจงึ เร่ิมสลดั ชดุ ฟอร์มสมยั ปฏวิ ตั ิ แลว้ หยบิ ก่ีเพำ้
ที่ถูกแช่เย็นไวร้ ำว 30 ปี มำปัดฝุ่นและแปลงโฉม แต่เน่ืองจำกปิ ดประเทศไปนำน ทำให้ชุดก่ีเพำ้
ในช่วงทศวรรษท่ี 80 ดูค่อนขำ้ งจะเชยไป

" หว่องกำร์ไว"

61

กระทง่ั ปลำยปี ค.ศ.2000 ‘ฮวำยง่ั เหนียนหัว’ (In the mood for love) ภำพยนตร์เรื่องเยี่ยมของ
ผกู้ ำกบั หวอ่ งกำร์ไว (หวงั เจยี เวย่ ) ออกฉำยทวั่ ประเทศ ปลกุ กระแสแฟชนั่ ชดุ ก่เี พำ้ ใหต้ ืน่ ข้นึ ในแดน
มงั กรอีกคร้งั โดยเรื่องน้ีได้ออกแบบให้นำงเอก จำงมนั่ อ้ีว์ สวมชุดกี่เพำ้ สุดคลำสสิกให้ผูช้ มไดย้ ล
โฉมอย่ำงจใุ จถงึ 23 ชดุ

ช่วง 10 กว่ำปี มำน้ี ชุดกี่เพำ้ ถูกออกแบบให้ทนั สมัย มีรูปลักษณ์ใหม่ๆ ให้เห็นตำมเวที
แคทวอลก์ อยเู่ สมอ ตลอดจนจดั เป็นเคร่ืองแต่งกำยพิธีกำรของชำตจิ นี ทป่ี รำกฏในเวทีระดบั โลก

ศำสตร์แห่งศิลป์ ของชดุ กีเ่ พำ้ ยงั มคี วำมต่ำงกนั ระหวำ่ งสไตลน์ ครเซ่ียงไฮก้ บั กรุงปักกิ่ง โดย
ก่ีเพำ้ ของเซี่ยงไฮ้จะไดร้ ับอิทธิพลเส้ือผำ้ แบบตะวนั ตกมำกกว่ำ มีรูปแบบที่หลำกหลำย ดูทนั สมยั
และคลอ่ งแคล่ว ส่วนสไตลป์ ักกิง่ น้นั จะดเู ป็นทำงกำร และสุภำพเรียบร้อย

ทุกวนั น้ีชำวจนี ส่วนใหญ่ยอมรับกนั วำ่ ชำ่ งตดั เยบ็ ชดุ ก่เี พำ้ ฝีมอื เยี่ยมน้นั อยูท่ เ่ี ซ่ียงไฮ้ ขณะที่
มหี ลำยเสียงลงควำมเห็นวำ่ หุ่นเน้ือนมไข่แบบสำวฝรั่ง ใส่ชุดกีเ่ พำ้ ยงั ไงกไ็ ม่มีเสน่ห์เท่ำสำวจนี และ
สำวเอเชีย นบั วนั กำรแต่งกำยทีเ่ นน้ สรีระแบบตะวนั ตกกเ็ ขำ้ มำมีอิทธิพลต่อเส้ือผำ้ ชำวจีนมำกข้ึน
ค.ศ.1933-1934 แฟชนั่ ผ่ำขำ้ งชุดก่เี พำ้ สูงข้นึ เรื่อยๆ ถึงระดบั น่อง และรัดรูปเขำ้ เอวมำกข้ึนในปี ถดั มำ
ค.ศ.1935 สำวจีนนิยมก่ีเพำ้ ท่ียำวคลุมเทำ้ มิดชิด ซ่ึงถูกเรียกว่ำ ‘กี่เพำ้ รุ่นกวำดพ้ืน (เส่ำต้ีฉีเผำ)’ แต่
กลบั ผำ่ ขำ้ งตำ่ ลงมำอยู่ใตห้ วั เขำ่

วิวฒั นำกำรของชุดก่ีเพำ้ ฉีกแนวโบรำณอกี คร้งั ในปี ค.ศ.1937 จำกเดมิ ท่ีเป็นแบบกระดมุ เปิ ด
อกขำ้ งขวำอย่ำงเดยี ว ก็เร่ิมมแี บบกระดุมเปิ ดอกท้งั ซ้ำยขวำ และส่วนแขนส้นั ข้นึ คอื จะยำวจำกชว่ ง

62

ไหลล่ งมำเพยี ง 2 นิ้ว ค.ศ.1938 ชดุ กี่เพำ้ ในเซ่ียงไฮเ้ ร่ิมนิยมคอปกที่สูงข้ึน ชำยกระโปรงยำวคลุมถึง
พ้ืน เนน้ รัดรูป และแขนกดุ ซ่ึงช่วยเพิ่มควำมเซ็กซี่ให้กบั ชดุ กเี่ พำ้

ชดุ ก่ีเพำ้ ยคุ หลงั ปฏิวตั ิวฒั นธรรมมกั จะตดั เยบ็ ออกมำคลำ้ ยรูปขวด โดยส่วนเอวจะคลำ้ ยคอ
ขวด สะโพกค่อนขำ้ งหลวม ถือเป็นดไี ซน์ ‘โบรำณ’ ผสม ‘โมเดิร์น’ และมกั ใชผ้ ำ้ ท่ีมีลวดลำยมำตดั
เยบ็

เคร่ืองแต่งกำยของชำวจีนหรือทีเ่ รียกว่ำกเี่ พำ้ ท่ีไดเ้ ขำ้ มำในไทยน้นั เขำ้ มำมีอิทธิพลตอ่ กำร
แต่งกำยของชำวไทยอย่ำงมำก เช่น ชุดแต่งงำน และรวมไปถึงกำรดัดแปลงเป็ นเส้ือคอจีน ส่วน
ใหญ่ ลกู หลำนเช้ือสำยจีนจะใส่กี่เพำ้ กนั มำกในชว่ งเทศกำลสำคญั ของชำวจีนโดยเฉพำะ เด็กๆ ชำว
จนี มสี ีท่แี สดงถงึ ควำมมงั่ คงั่ และรุ่งเรืองคือสีแดง ดงั น้นั ชดุ จนี จงึ มกั จะมสี ีแดงปนอยดู่ ว้ ย

ภำพวำดของกำรแต่งกำยจนี
ชุดจีนเป็นวฒั นธรรมจนี อกี อย่ำงหน่ึงซ่ึงโดดเดน่ เป็นเอกลกั ษณ์ และเป็นทน่ี ่ำจดจำของคน

ทั่วโลก คุณ Nancy Duong ซ่ึงเป็ นผูท้ ่ีได้รวบรวมข้อมูลจำกหนังสือ "5,000 Years of Chinese
Costumes" ท้ังยงั ศึกษำคน้ ควำ้ ประวตั ิศำสตร์และวฒั นธรรมจีนอย่ำงละเอียด ซ่ึงในน้ันเธอได้
อธิบำยว่ำ "เคร่ืองแต่งกำยจีนมีประวตั ิศำสตร์ยำวนำนประมำณ 5 พนั ปี แต่ที่ฉันวำดไวใ้ นน้ี
ครอบคลมุ ไดแ้ ค่ 2,500 ปี เทำ่ น้นั "

เริ่มต้งั แต่สมยั รำชวงศ์ฉิน (秦) มำจนถึงจีนยุคหลงั มีภำพวำดแสดงถึงลกั ษณะทรงผม
แบบจีนในยุคต่ำงๆ, เคร่ืองแต่งกำยผูช้ ำยจีน ชุดจีนเป็ นตน้ ตำรับท่ีมีอิทธิพลต่อชุดประจำชำติใน
ประเทศเพอ่ื นบำ้ น เชน่ เวียดนำม เกำหลี ญ่ีป่ นุ ฯลฯ

63

เร่ิมจำก
ชุดแรก แดงเหลอื ง เป็นชุดในสมยั รำชวงศฉ์ ิน 秦朝 ก่อนคริตศกั รำช 221 ปี ( 2215 ปีกอ่ น
โดยประมำณ)
ชุดกลำง เขยี วเหลอื ง กำรแตง่ กำยสมยั รำชวงศถ์ งั ประมำณ 1400 ปี ทีแ่ ลว้
ชุดทีส่ ำม กเ่ี พำ้ สีฟ้ำ ยุคใกล้ กอ่ นปี 1949 กอ่ นกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครองคร้งั ใหญใ่ นจนี

อำหำรจนี

หมำยถึง อำหำรที่ประกอบข้ึนตำมวฒั นธรรมของชำวจีน ซ่ึงรวมท้ังจีนแผ่นดินใหญ่
ไตห้ วนั และ ฮ่องกง ซ่ึงมหี ลำกหลำยชนิดตำมแต่ละทอ้ งถน่ิ โดยทว่ั ไปนิยมรับประทำนอำหำรจำน
ผักและธัญพืชเป็ นหลัก นอกจำกในรำชสำนักท่ีจะมีอำหำรประเภทเน้ือ อำหำรที่รู้จักกัน
เช่น ก๋วยเตีย๋ ว ต่ิมซำ หูฉลำม กระเพำะปลำ

วัฒนธรรมกำรกินเป็ นกำรกนิ ร่วมกันโดยอุปกรณ์กำรกินหลัก คือ ตะเกยี บ

ไคว่จึ หรือ ตะเกียบนับเป็ นมรดกทำงวฒั นธรรมอนั ล้ำค่ำอย่ำงหน่ึงของจีน ท้งั ยงั เป็ น
อปุ กรณก์ ำรรับประทำนอำหำรท่ีมีเอกลกั ษณ์โดดเดน่ ในระดบั โลก ตะเกยี บไดร้ บั กำรขนำนนำมจำก
ชำวตะวนั ตกวำ่ เป็น “อำรยธรรมของโลกตะวนั ออก” คนจีนเร่ิมใชต้ ะเกียบต้งั แต่สมยั รำชวงศซ์ ำง
หรือนำนกวำ่ 3,000 ปี มำแลว้ ในยุคก่อนรำชวงศฉ์ ิน ตะเกยี บมชี ่ือเรียกว่ำ “挟” (jiā, จยำ) ต่อมำใน
สมยั รำชวงศฉ์ ินและรำชวงศฮ์ นั่ เรียกตะเกียบว่ำ “箸” (zhù, จู)้ แต่เน่ืองจำกคนจีนสมยั โบรำณ
เช่ือถือเรื่องโชคลำง จึงถือว่ำคำว่ำ “จู้” ซ่ึงไปพอ้ งเสียงกบั คำว่ำ “住” (zhù, จู)้ ท่ีหมำยถึง หยุด มี
ควำมหมำยไม่เป็ นมงคล ดังน้นั จึงเปลี่ยนมำเรียกว่ำ “筷” (kuài, ไคว่) ซ่ึงพอ้ งเสียงกบั คำว่ำ “เร็ว”

64

แทน และนี่ก็คือที่มำของช่ือเรี ยกของอำหำรจีนจะมีอุปกรณ์กำรทำหลักๆเพียงส่ีอย่ำง
คือ มดี เขยี ง กระทะกน้ กลม และตะหลวิ

ในสมยั ชุนชิว-จ้นั กั๋ว ไดเ้ ร่ิมมีกำรแบ่งอำหำรจีนเป็ น 2 ตระกูลใหญ่ คือ อำหำรเมืองเหนือ
และอำหำรเมอื งใต้ กระทง่ั ตน้ รำชวงศช์ ิง ไดม้ ีกำรแบ่งอำหำรเป็น 4 ตระกูลใหญ่ ไดแ้ ก่
1. อำหำรเสฉวน (川菜-ชวนไช่)

ลกั ษณะพิเศษของอำหำรเสฉวน รสเผ็ดและมีรสซ่ำ เป็ นอำหำรท่ีมีรสจดั ท่ีสุด เนื่องจำก
มณฑลเสฉวน ต้งั อยู่ในพ้ืนท่ีต่ำบริเวณน้นั มอี ำกำศช้ืน คนทวั่ ไปจึงนิยมทำนพริกเพ่ือขบั ควำมช้ืน
ออกจำกตวั ร่ำงกำย เวลำนำนเขำ้ คนทอ้ งถิ่นกน็ ิยมทำนของเผด็ ชำวเสฉวนเกอื บทุกคนลว้ นเป็นคน
ทำนเผด็ เกง่

กำรทำอำหำรเสฉวน ตอ้ งถือรสซ่ำ เผด็ สด หอม ไม่เลี่ยนและทำให้รู้สึกว่ำอร่อยเป็นหลกั
เครื่องปรุงหลกั ๆของอำหำรเสฉวน คือ พริก ซ่ึงมีอยู่หลำยแบบ เช่น พริกแห้ง พริกทอด พริกบด
ผสมน้ำมนั พริกเผำและพริกป่ น และยงั มี "พริกซื่อชวน" ประกอบด้วยพริก กระเทียม ขิงและ
เตำ้ เจ้ยี ว

65

เตำ้ หูท้ รงเคร่ืองสูตรเสฉวน

ไก่ผดั มะมว่ งหิมพำนต์

หมอ้ ไฟเสฉวน
2. อำหำรกวำงตุ้ง (粤菜-เยว่ ไ์ ช)่

อำหำรกวำงตงุ้ เป็นอำหำรพ้ืนเมืองของมณฑลกวำงตุง้ เป็ นหน่ึงในรสสัมผสั แห่งอำหำร 4
อย่ำงที่มีชื่อเสียงของจีน ซ่ึงมีประวตั ิเก่ำแก่นับแต่สมยั รำชวงศ์ฉิน โดยเมื่อสมยั รำชวงศ์ซ่งใต้

66

เนื่องจำกพ่อครัวหลวงติดตำมกษตั ริ ยไ์ ปเมืองหยำงเฉิง หรือเมืองกว่ำงโจวในปัจจุบัน อำหำร
กวำงตุง้ ได้รับกำรตอบรับและพฒั นำอย่ำงรวดเร็ว หลงั เหตุกำรณ์สงครำมฝ่ิ น เมืองกว่ำงโจว ใน
ฐำนะท่ำเรือท่ีทำกำรคำ้ ขำยกับต่ำงประเทศแห่งแรก มีกำรติดต่อกับต่ำงประเทศอย่ำงบ่อยคร้ัง
อำหำรกวำงตุง้ จึงไดป้ ระยุกตร์ วมลกั ษณะพิเศษของอำหำรฝรั่งเขำ้ ไวด้ ว้ ย และกลำยเป็ นอำหำรจีน
ชนิดหน่ึงทีม่ ีช่ือเสียงท้งั ในจีนและตำ่ งประเทศ

อำหำรกวำงตงุ้ ประกอบดว้ ยอำหำรกว่ำงโจว อำหำรฉำวโจว (จนี แตจ้ ิว๋ ) และอำหำรตงุ เจียง
ซ่ึงมีอำหำรกว่ำงโจวเป็ นตวั แทน อำหำรกว่ำงโจวพฒั นำเป็ นรสชำติอำหำรบนพ้ืนฐำนที่รวบรวม
อำหำรพ้ืนเมืองดีเด่นของทอ้ งที่ต่ำงๆ ในมณฑลกวำงตุง้ โดยรับเอำส่วนท่ีเป็ นหัวกะทิของรสชำติ
อำหำรในมณฑลอนื่ ๆ ของจนี มำผสมกบั ขอ้ ไดเ้ ปรียบของอำหำรฝร่งั อำหำรกวำ่ งโจวใชเ้ ครื่องปรุง
หลำกหลำยและละเอียดอ่อน ฝี มือประณีต เชี่ยวชำญในกำรปรับเปล่ียน และแบ่งออกเป็ นหลำย
ประเภท วีธีกำรทำมีมำกถึง 21 แบบ โดยเชี่ยวชำญในกำรผดั ทอด อบ ตม้ ตุ๋น เป็ นตน้ เนน้ กำรเร่ง
ไฟ และให้ควำมสำคญั กบั สี กลิ่น รสชำติ และรูป ซ่ึงรสชำติส่วนใหญ่ค่อนขำ้ งสดชื่น นุ่ม กรอบ
และใชน้ ้ำมนั นอ้ ย

หมูหนั
ผดั ผกั นำ้ มนั หอย

67

ต่มิ ซำ
3. อำหำรซำนตง (鲁菜-หลู่ไช่)

เป็ นอำหำรจีนท่ีโดดเด่นในดำ้ นกำรเป็ นอำหำรในรำชสำนัก และไดร้ วมอำหำรท่ีได้รับ
อิทธิพลจำกชำวแมนจูและชำวมองโกลเขำ้ ไวด้ ว้ ย จะข้ึนช่ือในเร่ืองของควำมสด ควำมหอม และ
รสชำตทิ พี่ ถิ พี ิถนั

ปลำเก๋ำรำดซอส

68

หอยเป๋ ำฮอื่ ตุ๋นน้ำแดง

ไก่ตุ๋นเตง้ิ โจว

4. อำหำรเจยี งซู (苏菜-ซูไช)่
มีรสชำติเค็มออกหวำน เน้นควำมสดใหม่ของอำหำร ซ่ึงได้รับควำมนิยมท้ังจีนและ

ต่ำงประเทศอยำ่ งมำกดว้ ย โดยยงั สำมำรถแบ่งย่อยไดเ้ ป็นอำหำรจงิ หลิน อำหำรหวยั หยำง อำหำรซูซี
และอำหำรสีว์ไห่ ซ่ึงอำหำร 4 อย่ำงน้ีแมจ้ ะมีเอกลกั ษณ์พิเศษของตน แต่ก็มีส่วนที่ตรงกันก็คือ ชู
รสชำติด้งั เดมิ ของวตั ถดุ ิบดว้ ยกำรตุ๋น อบ น่ึง และผดั เป็นสำคญั

อำหำรจงิ หลินถือกำเนิดข้ึนในสมยั รำชวงศฉ์ ิน มชี ่ือเสียงเป็นที่นิยมในสมยั รำชวงศส์ ุยและ
สมยั รำวชงศถ์ งั เร่ือยไปจนถึงสมยั รำชวงศห์ มิงและรำชวงศช์ ิง อำหำรจิงหลินจะเนน้ ควำมสดของ
รสชำติ มวี ิธีกำรหน่ั ละเอยี ดประณีต เก่งในกำรควบคมุ ไฟ

อำหำรหวยั หยำงไดผ้ สมลกั ษณะพิเศษของอำหำรทำงภำคใตท้ ีส่ ดและกรอบ เขำ้ กบั ลกั ษณะ
พิเศษของอำหำรภำคเหนือท่ีเป็ นแบบเค็ม สด และมีรสเขม้ ขน้ จนกลำยเป็ นรสชำติท่ีมีเอกลกั ษณ์
เฉพำะของตนซ่ึงมีควำมหวำนและเค็มท่ีพอเหมำะ และในรสเค็มมีอมรสหวำน อำหำรหวยั หยำงมี
วิธีกำรหนั่ อำหำรทม่ี คี วำมละเอียดทีส่ ุด เตำ้ หู้แหง้ ท่ีมคี วำมหนำ 2 เซนติเมตรกอ้ นหน่ึง สำมำรถห่ัน
เป็นแผน่ บำงไดถ้ ึง 30 เเผน่

อำหำรซูซีมีช่ือเสียงในเรื่องกำรทำขนม เนน้ รูปร่ำงควำมสวยงำมของขนมเป็นพิเศษ และมี
รสหวำนกำลงั ดี ขนมท่ีทำกรอบแตไ่ ม่แขง็ ท้งั อร่อยท้งั สวยงำมดว้ ย

69

อำหำรสีวไ์ ห่มีควำมคลำ้ ยกบั อำหำรซำนตง นอกจำกปลำ ปู กุง้ หอยต่ำงๆ แลว้ ยงั จะนิยม
เลอื กเน้ือ หมู ไก่ เป็ดเป็นวตั ถดุ บิ ชอบใส่ซีอ๊วิ ดำเพอื่ เพ่มิ สีสันของอำหำร รสชำตจิ ะออกเค็ม วธิ ีปรุง
มกั จะเป็นกำรตม้ และทอดเป็นส่วนใหญ่

ปนู ่ึง

หมูเน้ือใส

ลกู ชิ้นหวั สิงห์

70

และปัจจบุ นั มี 8 ตระกูลใหญ่ โดยเพิ่ม
5. อำหำรฮกเก้ยี น (闽菜-หมน่ิ ไช)่
6. อำหำรอนั ฮยุ (徽菜-ฮุยไช)่
7. อำหำรหูหนนั (湘菜-เซียงไช)่
8. อำหำรเจอ้ เจยี ง (浙菜-เจอ้ ไช)่

หรืออำจเเบ่งไดเ้ ป็น 10 เเบบ คอื
1. อำหำรเสฉวน เป็ นอำหำรจีนที่ใชเ้ ครื่องเทศและของป่ ำมำก เคร่ืองปรุงท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์คอื พริก
หอมหรือพริกเสฉวน เป็ นอำหำรรสจดั รวมท้งั รสเผ็ดร้อน ใช้เตำ้ ซี่เป็ นเครื่องปรุงมีเคร่ืองเทศมำก
อำหำรที่มชี ่ือเสียงคือซุปเสฉวน

2. อำหำรกวำงตุ้ง เป็นอำหำรจนี ท่เี ดน่ ดำ้ นกำรใชเ้ ทคนิคกำรปรุงเพ่ือคงควำมสดใหมข่ องอำหำรมำก
ที่สุดมกั ใช้น้ำมนั หอยและผกั มำก ปรุงเนน้ กำรปรุงอำหำรได้ดูสด รสชำตินุ่มนวล และมีอำหำร
ประเภทติ่มซำทเี่ ป็นรูจ้ กั กนั ดี อำหำรทม่ี ีชื่อเสียง ไดแ้ ก่ หมหู ัน เป็ดย่ำงและนกพริ ำบทอดกรอบ

3. อำหำรฮกเกยี้ น เป็ นอำหำรจีนท่ีเด่นดำ้ นกำรใช้น้ำซุป มกั ใช้ขำ้ วหมกั สีแดงสด โดยท่ีนำมำหมกั
เตำ้ หูย้ ้สี ีแดงมนี ้ำซุปใสทีเ่ กำ่ ทีส่ ุดและใชเ้ คร่ืองปรุงบำงอยำ่ งจำกเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เช่นน้ำปลำ
และ ผงกะหร่ี อำหำรทมี ชี ่ือเสียงคือพระกระโดดกำแพง

4. อำหำรไหหลำ อำหำรส่วนใหญม่ ีเตำ้ เจ้ียวถวั่ เหลืองและถวั่ ดำ เป็ นเอกลกั ษณ์พเิ ศษ และใชน้ ้ำส้ม
ปรุงรสได้ โดยทว่ั ไปจะมีชนิดอำหำรคลำ้ ยอำหำรจีนแบบอื่นๆ แต่จะมีรสชำติและหน้ำตำที่เป็ น
เอกลกั ษณ์ เช่น ขนมไหวพ้ ระจนั ทร์แบบไหหลำจะมีไส้นอ้ ยกว่ำแบบอ่ืน และบ๊ะจ่ำงแบบไหหลำก็
จะเนน้ ขำ้ วเหนียวมำกกว่ำแบบอน่ื อำหำรที่มีชื่อเสียงคอื ขนมจีนไหหลำ

71

5. อำหำรปักกิ่ง เนน้ กำรทอดท่ีกรอบและน่ิมนวล แตอ่ ำหำรไขมนั คอ่ นขำ้ งสูง ท้งั น้ีเพรำะภูมอิ ำกำศ
ที่หนำวเยน็
6. อำหำรซัวเถำ เนน้ ในกำรต๋นุ และเคยี่ วเปื่ อย รสชำตขิ องอำหำรที่เป่ื อยนุ่มจนแทบละลำยเมอ่ื ถกู ล้ิน
7. อำหำรชำนตง เป็นอำหำรจนี ทม่ี คี วำมโดดเดน่ ในดำ้ นเป็นอำหำรในรำชสำนกั และไดร้ วมอำหำร
ทีไ่ ดร้ บั อทิ ธิพลจำกชำวแมนจูและชำวมองโกลเขำ้ ไวด้ ว้ ย เช่น เป็ดปักก่ิงและหมอ้ ไฟมองโกเลยี
8. อำหำรเซ่ียงไฮ้ เป็ นอำหำรจีนท่ีไดร้ ับอิทธิพลอำหำรตะวนั ตกมำก เพรำะเป็ นเมืองท่ำเมืองเดียว
ของจีนในสมยั ท่ีเริ่มติดตอ่ กบั ชำตติ ะวนั ตก อำหำรทมี่ ีชื่อเสียงเช่น เป็ดอดั แหง้ และอำหำรทป่ี รุงจำก
ปขู น
9. อำหำรจีนแต้จว๋ิ มลี กั ษณะคลำ้ ยอำหำรจีนกวำงตงุ้ แตเ่ นน้ อำหำรทะเลมำกกวำ่
10. อำหำรจนี แคะ หรือจนี ฮำกกำ เป็นอำหำรที่เนน้ ขำ้ ว เน้ือสัตว์ ผกั ดองและผกั ตำกแหง้ อำหำรท่ีมี
ชื่อเสียงคอื ลูกชิน้ หมแู คะและผกั ดำตม้ หมสู ำมช้นั

72

ควำมเชื่อจนี
1. ควำมเชื่อเรื่องตัวเลข

สำหรับเลข 2,6,8 น้นั ถือว่ำเป็นเลขนำโชคของชำวจีน โดย เลข 9 น้นั ถือวำ่ เป็นเลขที่ดีนิยม
ใชใ้ นงำนแต่งงำนคนจีนเช่ือว่ำกนั วำ่ เลขเหล่ำน้ีจะช่วยใหก้ ำรทำมำคำ้ ขำย สะดวก ไร้อปุ สรรค ชีวิต
มีเงิน ทอง ส่วนเลขท่ีไม่ดีในแบบจีนน้ัน คือ เลข 4 มีควำมหมำย ไม่ดี แปลว่ำ ตำย เลข 1 ให้
ควำมหมำย โดด เดยี่ ว เลข 5 เกยี่ วขอ้ งกบั ควำมหมำย “ไม่” แปลวำ่ ไม่สำเร็จ ไมร่ ่ำ รวย แต่เมอื่ รวม
กับ เลข 4 จะเท่ำกบั เลข 54 แปลว่ำ ไม่ตำย เลข 54 จึงเป็ นเลขท่ีดี ส่วนเลขที่ไม่เป็ นมงคลอีกเลข ก็
คือ เลข 7 คนจนี ถอื วำ่ เป็น เลขผสี ำง หรือควำมตำย ควำมโกรธแคน้ หรือ เลกิ ละท้งิ ไป

2. พวกเขำมีเทศกำลกินเนือ้ หมำประจำปี
เป็ นกำรเฉลิมฉลองประจำปี ตำมประเพณี คนจีนเช่ือว่ำกินเน้ือหมำแลว้ จะทำให้อุณหภูมิ

ร่ำงกำยสูงข้ึน สุขภำพแข็งแรง และยงั ทำให้โชคดดี ้วย โดยจดั ในย่หู ลิน มณฑลกวำงซี ประเทศจนี
ระหวำ่ งครีษมำยนั ซ่ึงผูเ้ ขำ้ ร่วมเทศกำลกนิ เน้ือหมำและล้ินจ่ี เทศกำลน้ีกนิ เวลำประมำณสิบวนั โดย
ระหวำ่ งน้นั ประมำณว่ำมกี ำรบริโภคหมำ 10,000 –15,000 ตวั เทศกำลดงั กลำ่ วถูกผสู้ นบั สนุนสวสั ดิ
ภำพสัตวว์ ิจำรณ์ เเละรัฐบำลทอ้ งถิ่นของยู่หลินปฏิเสธควำมเกี่ยวขอ้ งหรือกำรสนบั สนุนอยำ่ งเป็น
ทำงกำรใด ๆ ตอ่ เทศกำล โดยอธิบำยวำ่ เป็นประเพณีทอ้ งถนิ่ โดย "ผอู้ ยอู่ ำศยั ส่วนนอ้ ยของยูห่ ลิน"

73

3. อักษร “ฝู” (福)

ทุกปี เมื่อย่ำงเข้ำสู่ เทศกำลตรุ ษจีน ตำมปฏิทิน
จันทรคติจีนตรงกับวนั ข้ึน 1 ค่ำ เดือนอ้ำย ซ่ึงจะยำวนำน
เรื่อยไปจนถึงวนั ข้ึน 15 คำ่ เดือนอำ้ ย ซ่ึงเป็นวนั เทศกำลโคมไฟ
ช ำ ว จี น ผู ้นิ ย มสี แ ด งใน สำ ย เลื อ ด จะ ต กแ ต่ง ป ระ ดับ ประดำ
บ้ำนเรือนและร้ำนคำ้ ด้วยกระดำษแดง ภำพวำด และภำพ
กระดำษตดั สีสันสดใส สร้ำงบรรยำกำศของควำมสนุกสนำน
รื่นเริง

และเพื่อเป็ นกำรตอ้ นรับควำมสุขและขอโชคขอพร ชำวจีนช่ำงคิดก็ยงั นำอักษรจีนที่
หมำยถงึ ควำมผำสุกและโชคดีสิริมงคล เชน่ ตวั ‘福’ (ฝู) หรือตวั 春 (ชนุ ) มำตดิ ท่บี ำนประตูหน้ำ
บำ้ น ตำมกำแพง หรือบริเวณเหนือกรอบบนของประตู ซ่ึงประเพณีดงั กล่ำวมมี ำต้งั แต่กอ่ นสมยั ซ่ง
และตำมทท่ี รำบกนั โดยทว่ั ไปวำ่ กำรตดิ ตวั ฝูน้ีก็ควรกลบั หวั เพื่อใหพ้ อ้ งกบั เสียง (ในภำษำจีนกลำง)
ท่ีมีควำมหมำยว่ำ สิริมงคลหรือโชคดไี ดม้ ำถงึ บำ้ นแลว้

คำ 福 ออกเสียงว่ำ“ ฝู” หมำยถึงโชคหรือโชคลำภ และในภำษำจีนกลำงกำรพูดคำว่ำ
ฝูตำ้ วเล่อ แปลว่ำ "โชคหรือโชคลำภมำถึงแลว้ " แต่คำว่ำ "ตำ้ ว" ยงั สำมำรถบ่งบอกถึงกำรลม้ หรือ
พลกิ ควำ่ ดงั น้นั กำรเปล่ยี นตวั อกั ษร 福 ฝู กลบั หวั กลบั หำง คือกำรเลน่ คำที่แสดงถงึ โชคลำภทีม่ ำถงึ

เรื่องกำรกลบั หัวตวั อกั ษรน้ี ยงั มีเหตุที่มำเม่ือคร้ังอดีตกำล ซ่ึงเล่ำสืบกันมำในหมู่สำมญั ชน
ว่ำ สมยั จกั รพรรดิหมิงไท่จู่ จูหยวนจำงแห่งรำชวงศ์หมิง ได้ใชอ้ กั ษร‘ฝู’เป็นเครื่องหมำยลบั ในกำร
สังหำรคน หม่ำฮองเฮำทรำบเร่ืองจึงคิดอุบำยเพื่อหลีกเลี่ยงภยั ดังกล่ำวไม่ให้เกิดแก่รำษฎร ดว้ ยมี
พระรำชเสำวนียใ์ ห้ทกุ บำ้ นตดิ ตวั ฝทู ห่ี นำ้ ประตูเพือ่ ลวงใหฮ้ ่องเตส้ ับสน

รุ่งข้ึนชำวเมืองต่ำงนำตวั อกั ษรฝูมำติดท่ีหนำ้ ประตูตำมน้ัน ทว่ำมีบำ้ นหน่ึงไม่รู้หนงั สือจงึ
ติดตวั ฝกู ลบั หัวดว้ ยควำมไมต่ ้งั ใจ เมื่อฮ่องเตท้ อดพระเนตรเห็นเขำ้ ก็ทรงกร้ิว รับส่ังให้ประหำรคน
ในบำ้ นท้งั หมด หมำ่ ฮองเฮำเห็นท่ำไม่ดจี ึงรีบทูลยบั ยง้ั ไวว้ ่ำ ‘บำ้ นน้ีทรำบวำ่ พระองค์จะเสดจ็ มำ จึง
ต้งั ใจตดิ ตวั ฝกู ลบั หวั ( 福倒-ฝเู ตำ้ ) เพ่อื แสดงควำมปิ ตยิ นิ ดีต่อกำรเสดจ็ เยือนของพระองค์ รำวกบั
ว่ำควำมสุขสวสั ดีและโชคลำภได้มำถึงท่ีบำ้ น’ ได้ยินดงั น้ีแลว้ จูหยวนจำงจึงไว้ชีวิตชำวบำ้ นผูน้ ้นั
กำรตดิ ตวั ฝกู ลบั หวั สืบต่อมำนอกจำกเพื่อขอโชคสิริมงคลตำมควำมหมำยของตวั อกั ษรแลว้ ยงั เป็น
กำรระลกึ ถึงคณุ ควำมดีของหม่ำฮองเฮำในเหตกุ ำรณ์คร้งั น้นั ดว้ ย

74

4.ขนมมงคล

ขนมเขง่

1. ขนมเข่ง เร่ิมด้วยขนมยอดนิยมท่ีทุกคนคุน้ เคยกนั ดี ขนมเข่งเป็ นขนมเน้ือเนียนทำจำกแป้งและ
มะพร้ำว รสหวำนของขนมเป็ นสัญลกั ษณ์แทนควำมหวำนชื่น อุดมสมบูรณ์ และชีวิตอนั รำบร่ืน
ภำษำจีนแตจ้ ิว๋ เรียกขนมเขง่ วำ่ “ตกี ว้ ย” แปลว่ำ ขนมหวำน

ขนมเทียน

2. ขนมเทียน ก็เป็ นขนมยอดนิยมอีกชนิด ขนมเทียนแตกต่ำงจำกขนมเข่งตรงที่มีไส้รสเค็มนิดๆ
พร้อมกล่ินหอมเผด็ ร้อนของพริกไทย ช่วยตดั เล่ียนไดเ้ ป็นอยำ่ งดี ขนมเทียนส่ือถึงชีวติ อนั รุ่งโรจน์

75

โชติช่วงเหมือนแสงไฟหรือแสงเทียน และยงั มีควำมหมำยมงคลเช่นเดียวกบั ขนมเข่ง คือควำม
หวำนชื่นและรำบรื่นในชีวิตดว้ ย

ขนมปยุ ฝ้ำย

3. ขนมปยุ ฝ้ำย ขนมเน้ือเบำฟฟู ่ อง สีสันสวยงำม ตำมปกตแิ ลว้ ขนมปุยฝำ้ ยที่เรำคนุ้ ชินกนั จะมีหลำย
สี แตถ่ ำ้ เป็นขนมที่ใชส้ ำหรับพิธีไหวม้ กั จะทำเป็นสีมงคลอย่ำงสีชมพู ขนมปุยฝำ้ ยหมำยถึงควำม
เจริญรุ่งเรืองและเฟื่ องฟสู มช่ือ

76

จนั อบั

4. จันอับ (จบั กิม หรือ แต่เหล่ยี ว) ขนมชนิดน้ีเรียกไดว้ ่ำซ้ือ 1 ไดถ้ งึ 5 เพรำะจนั อบั ไมใ่ ชช่ ื่อขนม แต่

เป็นช่ือของ “กลอ่ งใส่ขนม” ชนิดหน่ึง จนั อบั ประกอบดว้ ยขนมถงึ 5 ชนิด ไดแ้ ก่ ถว่ั ตดั งำตดั ชิ้นฟัก
เชื่อม ขำ้ วพอง และลูกกวำดถวั่ เคลือบน้ำตำลสีขำวชมพู จนั อบั ทำจำกธัญพืชและน้ำตำล จึงสื่อถึง
ควำมหอมหวำนและเจริญงอกงำมรุ่งเรืองในชีวติ

ขนมปลำ

77

ขนมปู

ขนมกงุ้

5. ขนมปลำ ขนมปู และขนมก้งุ ขนมชนิดน้ีนิยมใชใ้ นพิธีแตง่ งำนของจนี โดยใชช้ นิดละ 2 ชิน้ เป็น
คู่กนั หมำยถึงควำมเหลือกนิ เหลือใชส้ ำหรับคู่บำ่ วสำว

78

6. ซำลำเปำ ขนมหรือของวำ่ งมงคลอีกชนดิ ท่ีเรำเหน็ กนั ในชีวิตประจำวนั บอ่ ยๆ คำว่ำ เปำ แปลวำ่
ห่อ คนจนี ไหวซ้ ำลำเปำในพิธีเพรำะเช่ือวำ่ จะเป็นกำรห่อโชคลำภ ห่อเงนิ ห่อทองมำให้

ขนมเป๊ี ยะ

7. ขนมเป๊ี ยะ มกั มีตวั อกั ษรมงคลสีแดงประทบั อยกู่ ลำงขนม ขนมเปี๊ ยะเป็นสญั ลกั ษณข์ องควำมพร่งั
พร้อม สมบรู ณ์ สมหวงั ควำมเป็นศริ ิมงคล และควำมสำมคั คี

ขนมโก๋

79

8. ขนมโก๋ ขนมสีขำวแผ่นโตๆ ทกี่ ินทีไรกค็ อแหง้ แตห่ ยุดไม่ไดเ้ พรำะแป้งเนียนๆ น้นั หอมหวำน
ถกู ใจ ขนมโก๋อยใู่ นพิธีมงคลของจนี หลำยพธิ ี หมำยถึงควำมร่ำรวยและชีวติ ควำมเป็นอยทู่ ด่ี ีข้ึน

5. เทพเจ้ำจีน
1. เจ้ำแม่กวนอมิ คอื พระผทู้ รงเป่ี ยมดว้ ยควำมรัก

ควำมเมตตำต่อสรรพสัตว์ เป็ นองค์เทพที่ทรงศกั ด์ิสิทธ์ิ
และได้รับควำมนิยมในกำรนำมำบูชำกันท่ัวโลก ซ่ึงถำ้
ใครออกบูธไดน้ ำมำบูชำไวท้ ีท่ ำงำนก็จะไดค้ วำมรกั ควำม
เมตตำจำกลกู คำ้ และรวมถึงเรื่องอน่ื ๆ ดว้ ย

2. เทพเจ้ำไฉ่ซิงเอ๊ีย สำหรับชำวจีนน้นั ท่ำนถือ
เป็ นเทพเจ้ำท่ีมีควำมสำคัญมำกที่สุดในช่วงเปลี่ยนปี
นักษตั ร (ช่วงข้ึนปี ใหม่) เพรำะท่ำนคือเทพเจ้ำแห่งโชค
ลำภที่ชำวไทยนิยมบูชำกนั ผูท้ ี่กรำบไหวบ้ ูชำก็จะได้แต่
โชคลำภเงินทอง มีแต่ควำมเจริญรุ่งเรืองทำงดำ้ นกำรงำน

3. เทพเจ้ำกวนอู แตเ่ ดมิ จนี โบรำณให้ควำมเคำรพ
นบั ถอื งกั ฮยุ เป็นเทพเจำ้ แห่งควำมซ่ือสัตยแ์ ละไดร้ ับกำรยก
ย่องว่ำเป็ นเทพเจำ้ แห่งสงครำม เป็ นผูม้ ีควำมจงรกั ภกั ดีตอ่
ชำติ มีสัญลักษณ์แห่งควำมเป็ นสิริมงคลของกำรต่อสู้
แข่งขนั และชิงชยั ปัจจุบนั น้ีเทพเจ้ำแห่งควำมซื่อสัตย์ ได้
เปลี่ยนชื่อมำเป็ นเทพเจำ้ กวนอูแทนในหลังยุคสำมก๊กมำ
นบั พนั ปี

80

4. ฮก ลก ซิ่ว เป็ น 3 เทพเจ้ำจีนท่ีเป็ นอีกหน่ึง
สัญลกั ษณแ์ ทนควำมเป็นมงคล 3 ประกำรของจีน เทพเจำ้
ฮก – อำนำจบำรมี , เทพเจำ้ ลก – กำรมีโชคลำภวำสนำ ,
เทพเจำ้ ซ่ิว – อำยุยนื ยำวปรำศจำกโรคภยั

5.พระกษิติครรภ์ โพธิสั ตว์ (ตี้จ้ังหวำงผู่
ซำ) พระโพธิสัตวผ์ ูเ้ ป็ นเลิศทำงกำรโปรดสัตวใ์ น
ยมโลกให้พน้ ทุกข์ กำรไดเ้ คำรพสักกำระองคพ์ ระกษิติ
ครรภ์โพธิสัตว์จะนำมำซ่ึงควำมสงบร่มเยน็ แก่ชีวิต ชำว
ออกบูธหลำยๆ คนท่ีกรำบไหวบ้ ูชำสำมำรถขอพรให้
ตนเองประสบควำมสำเร็จในด้ำนกำรงำนที่ประกอบ
ธุรกิจกนั

6. เจ้ำพ่อเห้งเจีย เป็ นตวั ละครหน่ึงในไซอ๋ิว แต่
ในปัจจบุ นั ตวั ละครน้ีเสมอื นมีตวั ตนดำรงอยูใ่ นโลกควำม
เป็ นจริงและเป็ นท่ีเคำรพของกลุ่มคนมำกมำย เจ้ำพ่อ
เห้งเจียเป็ นสัญลกั ษณ์ของนักสู้ผูไ้ ม่ยอมแพต้ ่ออุปสรรค
ต่ำงๆ และยงั ให้โชคลำภแก่ผทู้ ีบ่ ูชำ

81

เทศกำลจนี
ชำวจีนให้ควำมสำคญั กบั ครอบครัวเป็ นอย่ำงมำก ดงั น้ันงำนเทศกำลในจีนจึงไม่ใช่เพ่ือ

เฉลิมฉลองเพียงอย่ำงเดียวเท่ำน้นั แต่ชำวจีนจะถือโอกำสวนั หยุดในช่วงเทศกำลต่ำง ๆ กลบั ไป
พบปะกบั ครอบครวั หลงั จำก ท่ตี อ้ งเหินห่ำงเนื่องดว้ ยเหตุผลเรื่องงำนหรือกำรแยกครอบครวั ออกมำ
ซ่ึงเทศกำลทน่ี ำเสนอในวนั น้ีไดแ้ ก่

1.เทศกำลตรุษจีน
เทศกำลตรุษจีนหรือเทศกำลฤดูใบไมผ้ ลิหรือข้ึนปี เพำะปลูกใหม่และยงั รูจ้ กั กนั ในนำมวนั

ข้ึน ปี ใหมท่ ำงจนั ทรคติ เทศกำลตรุษจีนเป็นเทศกำลท่ีสำคญั มำกของชำวจีนท้งั ท่ีแผ่นดินใหญ่และ
ผูท้ ี่มีเช้ือสำยจีนทว่ั โลก โดยเฉพำะชุมชนขนำดใหญ่ของคนจนี ในประเทศต่ำงๆ นบั เป็ นวนั พิเศษ
และมคี วำมสำคญั ย่ิงสำหรบั คนจีน จะมีกำรเฉลมิ ฉลองกนั ไปทวั่ โลกจะจดั งำนฉลองปี ใหม่โดยเริ่ม
ข้นึ ใน วนั ท่ี 1 เดอื น 1 ตำมปฏทิ ินจนั ทรคตขิ องจีน โดยจะไปส้ินสุดในวนั ท่ี 15 ซ่ึงตรงกบั เทศกำล
หยวนเซียว ซ่ึงในวนั ตรุษจีนน้ีชำวจีนหรือชำวไทยเช้ือสำยจนี ถือวำ่ เป็ นวนั ทสี่ มำชิกในครอบครวั
ไม่วำ่ จะไปประกอบธุรกจิ กำรงำนท่ีไหน หำกอย่ใู นจงั หวดั หรือในประเทศเดียวกนั บรรดำสมำชิก
ในครอบครวั ชำวจีนเหลำ่ น้นั จะกลบั บำ้ นมำพบปะกนั อยำ่ งพรอ้ มเพรียงกนั คลำ้ ยกบั วนั สงกรำนตท์ ่ี
ถือเป็นวนั ข้นึ ปี ใหมข่ องชำวไทย

82

2.วันเช็งเม้ง
วนั เชง็ เมง้ เป็นงำนทส่ี ำคญั มำกทีส่ ุดของชำวจนี มีประวตั คิ วำมเป็นมำยำวนำนกว่ำ 2,000 ปี

เป็ นวนั ที่ลูกหลำนชำวจนี หรือชำวไทยเช้ือสำยจีนพำกนั ไปเซ่นไหวบ้ รรพบุรุษที่สุสำนฝังศพ (ฮวง
จุ้ย) เพื่อแสดงควำมกตญั ญูและรำลึกถึงคุณ งำมควำมดีของบรรพบุรุษ สำหรับในประเทศไทย
วนั เชง็ เมง้ ถอื วนั ท่ี 5 เมษำยนของทุกปี เป็นหลกั
ตำนำนกำรเกิดเช็งเมง้

ในยุคชุนชิว องค์ชำยฉงเอ่อแห่งแควน้ จ้นิ หนีภยั ออกนอกแควน้ ไปมีชีวิตตกระกำลำบำก
นอกเมอื ง โดยมีเจ้ียจอื่ ทุยติดตำมไปดแู ลรับใช้

เจ้ียจ่อื ทุยมจี ิตใจเมตตำถึงขนำดเชือดเน้ือท่ขี ำของตนเป็นอำหำรให้องคช์ ำยเสวยเพือ่ ประทงั
ชีวิต ภำยหลงั เมื่อองคช์ ำยฉงเอ่อเสด็จกลบั เขำ้ แควน้ และไดร้ ับกำรสถำปนำข้นึ เป็นเจำ้ ผคู้ รองแควน้
นำม จิ้นเหวินกง และไดส้ ถำปนำตอบแทนขนุ นำงทุกคนทีเ่ คยใหค้ วำมช่วยเหลือตน แตล่ มื เจ้ียจือ่ ทยุ
ไป นำนวนั เขำ้ จึงมีคนเตือนถึงบุญคุณเจ้ียจ่ือทุย จิ้นเหวินกงเพ่ิงนึกข้ึนไป จึงต้องกำรตอบแทน
บุญคุณเจ้ียจือ่ ทุย โดยจดั หำบำ้ นให้เขำและมำรดำให้เขำ้ มำอยูอ่ ย่ำงสุขสบำยในเมือง แต่ทว่ำเจ้ียจื่อ
ทุยปฏิเสธ

จิ้นเหวินกงได้คิดแผนเผำภูเขำ โดยหวงั ว่ำเจ้ียจ่ือทุยจะพำมำรดำออกมำจำกบำ้ น แต่ผล
สุดทำ้ ยกลบั ไมเ่ ป็นไปอย่ำงท่คี ดิ สองแม่ลกู กลบั ตอ้ งเสียชีวิตในกองเพลิง ดงั น้นั เพ่ือเป็นกำรรำลึก
ถึงเจ้ียจื่อทุย จ้ินเหวินกงจึงมีคำส่ังให้วนั น้ีของทุกปี ห้ำมไม่ให้มีกำรก่อไฟ และให้รับประทำนแต่
อำหำรสด ๆ และเยน็ ๆ จนกลำยเป็นทม่ี ำของเทศกำลวนั กินอำหำรเยน็ หรือ เทศกำลหันสือเจีย๋ (寒
食节) ซ่ึงเป็นวนั สุกดบิ ก่อนวนั เชง็ เมง้ 1 วนั

เนื่องจำกคนโบรำณนิยมถือปฏิบตั ิกิจกรรมตำมประเพณีวนั หันสือเจ๋ียต่อเนื่องไปจนถึง
วนั เช็งเม้ง นำนวนั เขำ้ เทศกำลท้งั สองก็รวมเป็ นวนั เช็งเมง้ วนั เดียว กำรไหว้เจ้ียจื่อทุยจึงค่อย ๆ
เปลยี่ นมำเป็นกำรไปเซ่นไหวบ้ รรพบุรุษแทน

83

3.เทศกำลไหว้พระจนั ทร์
เทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์ เป็นเทศกำลทส่ี ืบทอดกนั มำเป็นพนั ปี ตรงกบั วนั ข้นึ 15 คำ่ เดอื น 8

ตำมปฏิทินทำงจนั ทรคติ ส่วนตำมจนั ทรคติแบบไทยจะประมำณเดือนกนั ยำยนของทกุ ปี เนื่องจำก
เทศกำลน้ีจดั ข้ึนในช่วงกลำงฤดูใบไม้ร่วง จึงเรียกว่ำ จงชิว (Zhong Qiu) เพ่ือระลึกถึงฉำงเอ๋อ
(Chang’e) เทพธิดำแห่งพระจนั ทร์ซ่ึงเช่ือกนั วำ่ ถือกำเนิดในวนั น้ี ในคืนของเทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์
พระจนั ทร์จะเต็มดวงและสวยทสี่ ุดในรอบปี สมำชิกในครอบครัวก็จะมำรวมตวั กนั ที่บำ้ นคนใดท่ี
ทำงำนต่ำงถ่นิ ตำ่ งหม่บู ำ้ น หรือแยกครอบครัวอยู่ เมอ่ื ถงึ เทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์ก็ตะเดินทำงกลบั มำ
บำ้ น ตำมคำกล่ำวของนักปรำชญ์จีนสมยั น้ันว่ำ “ดวงจนั ทร์กลมเต็มดวงมำกที่สุด สมำชิกใน
ครอบครัวก็จะสำมคั คีกลมเกลียวมำกท่ีสุด ดั่งควำมกลมของพระจนั ทร์” ในคืนวนั ดังกล่ำว ยำม
เท่ียงคืนคำบเกี่ยวกบั วนั ใหม่หลงั จำกสมำชิกในครอบครวั ทำพิธีไหวด้ วงจนั ทร์กนั เสร็ จแลว้ ต่ำงก็
ร่วมรับประทำนขนมไหว้พระจนั ทร์ เพื่อแสดงถึงควำมสำมัคคี ควำมกลมเกลียวในครอบครัว
นนั่ เอง ดงั น้นั รูปลกั ษณ์ของขนมไหวพ้ ระจนั ทร์จะตอ้ งเป็นกอ้ นวงกลมเท่ำน้นั จึงจะให้ควำมหมำย
ดงั กลำ่ ว

84

4.เทศกำลวันไหว้บ๊ะจ่ำง

เทศกำลวนั ไหวบ้ ะ๊ จำ่ ง (ขนมจำ้ ง) หรือเทศกำลตวนอู่ หรือเทศกำลตวงโหงว เป็นเทศกำลท่ี
สืบทอดกนั มำแต่โบรำณของชำวจนี ท้งั ในประเทศจีนและประเทศต่ำงๆ ตรงกบั วนั ท่ี 5 เดอื น 5 ตำม
ปฏิทินทำงจนั ทรคติ เพื่อระลึกถึง “ซีหยวน” หรือ “คุกงว้ น” (Qu Yuan) กวีผูร้ ักชำติท่ีปลิดชีวิต
ตนเองโดยกำรกระโดดลงแม่น้ำฉำงเจียง หรือ แม่น้ำแยงซี (Yangtze River) เนื่องจำกถูกขุนนำง
กังฉินใส่ร้ำยเพรำะไม่พอใจในควำมซ่ือตรงของซีหยวนจนทำให้ สูญเสียผลประโยชน์ นอกจำกน้ี
ทำงรัฐบำลจีนยงั กำหนดให้วนั น้ีเป็ นวนั กวีจีน (The Chinese Poet’s Day) เน่ืองจำกซีหยวนเป็นกวี
คนสำคญั ของจีน ซ่ึงตำมทศั นะคติของชำวจนี เช่ือวำ่ เป็นเทศกำลที่แสดงควำมกตญั ญตู อ่ บรรพบรุ ุษ

ประวตั ิ สำหรบั เทศกำลไหวบ้ ะ๊ จำ่ ตวนอู่เจี๋ย หรือเทศกำลตวงโหงว เป็นเทศกำลทส่ี ืบทอดกนั มำแต่
โบรำณของประเทศจีน ตรงกบั วนั ท่ี 5 เดือน 5 ตำมปฏิทินจีน (จนั ทรคติ) ของทุกปี เพ่ือเป็ นกำร
ระลึกถึงวนั ที่ ชวีหยวน ขุนนำงผูร้ ักชำติแห่งแควน้ ฉู่ นอกจำกน้ี ในประเทศจีน บริเวณแม่น้ำฉำง
เจยี น (แยงซีเกียง), ฮอ่ งกง, ไตห้ วนั , มำเก๊ำ ยงั มีกำรละเลน่ แข่งเรือมงั กร ท่ีเป็นกำรแข่งขนั ที่ย่ิงใหญ่
ในเทศกำลไหวบ้ ๊ะจำ่ ง หรือ "ขนมจำ้ ง"

โดยควำมเป็นมำของเทศกำลไหวบ้ ๊ะจ่ำง หรือขนมจำ้ ง ตำมตำนำนเล่ำวำ่ ในสมยั ชุนชิว-จ้นั
ก๋ัว ประเทศจีนถูกแบ่งเป็ นแควน้ เล็ก ๆ จำนวนมำก แควน้ ฉินเป็ นแควน้ ท่ีเขม้ แข็งที่สุดในขณะน้นั
ส่วนแควน้ ฉู่เป็นแควน้ ทอี่ ่อนแอและเล็ก ซ่ึงมกั ถูกแควน้ ฉินกดขขี่ ม่ เหง "ชวีหยวน" ซ่ึงเป็ นขุนนำง
ตงฉิน รับรำชกำรด้วยควำมซื่อสัตย์สุจริต ถือเอำประโยชน์ของรำษฎรเป็ นท่ีต้ัง เขำห่วงใย
ประเทศชำติบำ้ นเมืองของตนมำก จงึ เสนอใหแ้ ควน้ ฉู่ร่วมมือกบั แควน้ ฉีเพ่ือต่อตำ้ นแควน้ ฉิน แตก่ ็
ถูกขนุ นำงกงั ฉินคอยใส่ร้ำยป้ำยสีต่อองคฮ์ ่องเตเ้ สมอ ๆ

จนฮ่องเตเ้ ริ่มมีใจเอนเอียง ชวีหยวนรู้สึกทุกข์ระทมตรมใจมำก จึงไดแ้ ต่งกลอนข้ึนเพื่อ
คลำยควำมทุกข์ใจ กลอนบทน้นั มีช่ือว่ำ "หลีเซำ" ที่มีเน้ือหำเก่ียวกบั ควำมห่วงใยบ้ำนเมืองและ
รำษฎร จนต่อมำฮ่องเตแ้ ควน้ ฉู่ถูกกลลวงของแควน้ ฉิน และสวรรคตในแควน้ ฉิน รัชทำยำทองค์
ต่อมำจงึ ไดข้ ้นึ ครองรำชบลั ลงั ก์แทน

หลงั จำกท่ีฮ่องเตอ้ งค์ใหม่ข้ึนครองรำชย์ พระองค์ได้ทรงหลงเช่ือคำยุยงของเหล่ำขุนนำง
กังฉินพวกน้ัน ในท่ีสุดจึงได้มีพระบรมรำชโองกำรให้เนรเทศชวีหยวนออกจำกแควน้ ฉู่ไป ชวี
หยวนเศร้ำโศกเสียใจมำก หลงั จำกเดินทำงรอนแรมมำถึงแม่น้ำเปำะล่อกัง (บำงตำรำว่ำเป็ นแมน่ ้ำ
แยงซีเกียง) ชวีหยวนจึงได้ตดั สินใจกระโดดน้ำตำย เพ่ือแสดงออกถึงควำมรู้สึกจงรักภักดีต่อ
ประเทศชำตแิ ละควำมคบั แคน้ ใจท่มี ตี อ่ สงั คม ในวนั ข้นึ 5 ค่ำ เดือน 5 เม่ือ 278 ปี กอ่ นคริสตศ์ กั รำช

เม่ือชำวแควน้ ฉู่รู้ขำ่ วกำรฆ่ำตวั ตำยของชวีหยวน ตำ่ งพำกนั มำยงั ริมแม่น้ำ ชำวประมงกอ็ อก
พำยเรือหำเพื่อหวงั ว่ำจะงมเขำข้ึนมำได้ ในขณะที่คน้ หำศพ บำงคนก็นำขำ้ วป้ัน ไข่ตม้ ท่ีเตรียมไว้

85

ให้ชวีหยวนโยนลงแม่น้ำ เพ่ือหวงั ว่ำปลำ ปู กุง้ หอยในน้ำจะกินอำหำรพวกน้ีแลว้ ไม่ไปกดั กินร่ำง
ของชวีหยวน จำกน้นั ทุกปี เมื่อครบรอบวนั ตำยของชวหี ยวน ชำวบำ้ นจะนำเอำอำหำรไปโปรยลง
แมน่ ้ำเปำะลอ่ กงั

เม่ือทำมำไดส้ องปี ก็มีชำวบำ้ นผหู้ น่ึงฝันเหน็ ชวีหยวนท่ีมำในชดุ อนั สวยงำม และไดก้ ล่ำว
ขอบคณุ ชำวบำ้ นที่นำเอำอำหำรไปโปรยเพอ่ื เซ่นไหว้ แตช่ วหี ยวนบอกว่ำอำหำรเหล่ำน้นั ไดถ้ กู สัตว์
น้ำกนิ เสียจนหมด เนื่องจำกบริเวณน้นั มีสัตวน์ ้ำอำศยั อยูเ่ ป็นจำนวนมำก ชวหี ยวนจึงแนะนำใหน้ ำ
อำหำรเหล่ำน้นั ห่อดว้ ยใบไผห่ รือใบจำกกอ่ นนำไปโยนลงน้ำ

ในปี ตอ่ มำชำวบำ้ นต่ำงก็ทำตำมท่ชี วหี ยวนแนะนำ ชวหี ยวนกไ็ ดม้ ำเขำ้ ฝันชำวบำ้ นอีกว่ำได้
กินมำกหน่อย แตก่ ย็ งั โดนสัตวน์ ้ำแยง่ ไปกนิ ได้ ชำวบำ้ นตอ้ งกำรให้ชวีหยวนไดก้ นิ อำหำรทพ่ี วกเขำ
เซ่นไหวไ้ ปใหอ้ ย่ำงอม่ิ หนำสำรำญ จึงไดถ้ ำมชวีหยวนวำ่ ควรทำเชน่ ไรดี จึงไดค้ ำแนะนำว่ำเวลำที่จะ
นำอำหำรไปโยนลงแมน่ ้ำให้ตกแต่งเรือเป็นรูปมงั กร เมือ่ สตั วน์ ้ำท้งั หลำยไดเ้ หน็ กจ็ ะนึกว่ำเป็น
เคร่ืองเซ่นของพระยำมงั กร จะไดไ้ มก่ ลำ้ เขำ้ มำกิน จึงทำให้เป็นท่ีมำของประเพณีกำรไหวข้ นมจำ้ ง
(ขนมบ๊ะจำ่ ง) และประเพณีกำรแขง่ เรือมงั กรมำจนถึงปัจจบุ นั

86

5.วันสำรทจีน
วนั สำรทจีนหรือ เทศกำลสำรทจนี (Sart Chin Day or Ghost Festival or Spirit Festival) ตรง

กบั วนั ที่ 15 เดือน 7 ตำมปี ปฏิทนิ ทำงจนั ทรคตขิ องจีน โดยปกตแิ ลว้ จะชำ้ กว่ำปี ปฏทิ นิ ทำงจนั ทรคติ
ของไทยประมำณ 2 เดอื น ซ่ึงตำมปี ปฏิทนิ ทำงจนั ทรคติของไทยวนั สำรทจีนจะตรงกบั วนั ข้นึ 14 คำ่
เดอื น 9 ถือเป็นวนั สำคญั ทลี่ ูกหลำนชำวจีนจะแสดงควำมกตญั ญูตอ่ บรรพบุรุษท่ลี ว่ งลบั ไปแลว้ และ
ยงั ถอื เป็นเดือนทปี่ ระตนู รกเปิ ดใหว้ ิญญำณท้งั หลำยมำรับกศุ ลผลบญุ ไดอ้ ีกดว้ ย

เทศกำลสำรทจีนถือเป็ นวนั สำคญั ท่ีลูกหลำนชำวจีนจะแสดงควำมกตญั ญูต่อบรรพบุรุษ
โดยพธิ ีเซ่นไหว้ และยงั ถอื เป็นเดอื นทป่ี ระตนู รกเปิ ดใหว้ ิญญำณท้งั หลำยมำรับกุศลผลบุญได้

Zhongguo nongli qiyue shiwuri shi Zhongyuan Jie.

จงกว๋อ หนงล่ี ชีเยฺว่ ฉือหว่รู ่ือ ฉ้ือ จงเยฺว๋ียน เจี๋ย
วันเพ็ญ 15 ค่ำเดือน 7 ตำมปฏิทินจันทรคติจีน คือ วนั เทศกำลจงเยฺว๋ียน วันเทศกำล
Zhongyuan ของจีน หรือท่เี รำเรียกว่ำ วนั สำรทจีน เป็นวนั ซ่ึงทกุ ครอบครัวทำพิธีเซ่นไหวบ้ รรพบรุ ุษ
ทีล่ ่วงลบั ไปแลว้ ดงั น้นั บำงคร้งั ชำวจนี จงึ เรียกวนั ดงั กล่ำววำ่ GuiJie กุย่ เจ๋ยี หรือ Wangren Jie หวำง
เหรินเจ๋ีย

Gui = ผี ซ่ึงเป็นคำเรียกคนทีถ่ ึงแก่กรรมแลว้
Wangren = คนทต่ี ำยไปแลว้
Jie = เทศกำล
GuiJie หรือ Wangren Jie จงึ แปลวำ่ เทศกำลเซ่นไหวผ้ ซู้ ่งึ ลว่ งลบั ไปแลว้

ชำวจีนเช่ือกนั ว่ำวนั เพ็ญ 15 ค่ำเดือน 7 เป็ นวนั ซ่ึงวิญญำณของผูท้ ี่ล่วงลบั ไปแล้ว จะได้
กลบั มำเยอื นโลกมนุษยเ์ พอ่ื มำเยย่ี มครอบครัวของตน เพรำะฉะน้นั ในวนั น้ีชำวจีนจะทำพธิ ีเซ่นไหว้
บรรพบรุ ุษกนั ทกุ ครวั เรือน

87

6.เทศกำลกนิ เจ

เทศกำลกินเจ เป็ นประเพณีแบบลทั ธิเต๋ำรวม 9 วนั เริ่มตน้ ต้งั แต่วนั ข้ึน 1 ค่ำถึงข้ึน 9 ค่ำ
เดือน 9 ตำมปฏทิ นิ จีนทุกๆ ปี (รวมเป็นเวลำ 9 วนั 9 คนื ) ซ่ึงจะตรงกบั วนั ข้ึน 1 คำ่ เดือน 11 ของไทย
ดงั น้นั เทศกำลกินเจจึงอยู่ระหวำ่ งเดอื นกนั ยำยน-ตุลำคมของทกุ ๆ ปี ปัจจบุ นั เทศกำลกินเจจดั ข้นึ ใน
ประเทศเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ได้แก่ สิงคโปร์ มำเลเซีย และไทย ตลอดจนหมู่เกำะเรียวใน
อินโดนีเซียและอำจมีในบำงประเทศเอชีย เช่น ภูฏำน ญ่ีป่ ุน เกำหลี และประเทศจีน(ประกอบดว้ ย
ฮอ่ งกงและมฑทลไตห้ วนั ) ซ่ึงกำรกินเจในเดอื น 9 น้ี เช่ือกนั วำ่ น่ำจะเกิดข้นึ เม่ือรำว พ.ศ. 2170 ตรง
กบั สมยั อำณำจกั รอยุธยำ

ประวตั ิ ประเพณีถอื ศลี กนิ เจหรือกินเจซ่ึงเป็นพิธียนั ตรกรรมบูชำที่ยงิ่ ใหญ่ที่สุด โดยอำศยั
พระแม่แห่งดวงดำวมำรีจี ( 摩利支 ) ในแบบของพระพุทธศำสนำนิกำยมหำยำน แต่ในทำง
ลทั ธิเต๋ำเรียกว่ำ เตำ้ โบห้ งวนกุนหรือเตำ้ โบเ้ ทียนจุนในภำษำฮกเก้ยี น ( 斗姆元君,斗姆天
尊 ) เป็นศนู ยก์ ลำงสมมตขิ องพธิ ีศกั ด์ิสิทธ์ิน้ี มกั อิงประวตั ิผกู ติดอยกู่ บั ฝ่ำยตำนำนเทพแห่งดำวนพ
เครำะห์มำกกว่ำ ซ่ึงเป็ นศำสตร์แห่งลัทธิเต๋ำ ต่อมำเม่ือพระพุทธศำสนำเผยแผ่เขำ้ สู่เมืองจีน นับ
จำกน้นั เป็นตน้ มำเมื่อพระพุทธศำสนำเจริญข้นึ จึงปรำกฏตำนำนควำมเชื่อท่ีผกู โยงกบั พระพทุ ธเจ้ำ
7 พระองคแ์ ละพระโพธิสัตวอ์ ีก 2 พระองค์ เรียกว่ำ กิ้วอว้ งฮุดโจ้วในภำษำจีนแตจ้ ๋ิว ( 九皇佛
祖 ) โดยคติควำมเช่ือในประเพณีของชำวจีน โดยเฉพำะลทั ธิขงจ้ือซ่ึงเนน้ ในเรื่องบรรพบรุ ุษและ
ควำมกตญั ญู บรรดำบรู พกษตั ริยท์ ีเ่ คยอุทิศตนเพอื่ ให้ประชำชนมคี วำมเจริญโดยใชห้ ลกั เมตตำธรรม
ก็จะเป็ นบุคคลผูไ้ ด้รับกำรสรรเสริญจำกประชำชน ตำมตำนำนสำมำรถรวบรวมได้ 9 พระองค์ ซ่ึง
อยู่ในยุคสมยั ต่ำงๆกนั ท้งั 9 พระองค์รวมเรียกว่ำพระรำชำธิรำช 9 พระองค์ ในภำษำจีนฮกเก้ียน
เรียกว่ำ : ก๋ิวอ๋องไต่เต่ , ( 九皇大帝 ) ซ่ึงชำวจีนเชื่อว่ำทุกส่ิงทุกอย่ำงในโลกเป็ นธรรมชำติ
และดำเนินไปตำมวิถีแห่งสวรรค์ อำศัยตำมควำมเช่ือในลัทธิเต๋ำ จึงส่งผลให้เกิดกำรนบั ถือดวง
วิญญำณท่ีสถิตอยู่ในสรวงสวรรค์ พระเจ้ำแผ่นดินท้งั เกำ้ พระองคเ์ มื่ออยู่ในโลกมนุษยไ์ ดป้ ระกอบ
กรรมดมี ำกมำย เมื่อสิ้นพระชนม์แลว้ จึงไดจ้ ตุ ิเป็นเทพเจำ้ ประจำดำวนพเครำะห์ ทำหน้ำท่ีคมุ้ ครอง
มวลหมู่ประชำรำษฎร์ให้บงั เกิดควำมร่มเยน็ สืบไป

88

7.เทศกำลโคม(元宵节)

เทศกำลโคมไฟ คือ เทศกำลฉลองในวนั ที่ 15 เดือน 1 ตำมปฏิทินจนั ทรคติ เป็ นสัญลกั ษณ์
ของวนั สุดทำ้ ยในกำรฉลองเทศกำลปี ใหม่ของจนี ตำมปฏทิ ินทำงจนั ทรคติ ในเทศกำลโคมไฟ เดก็ ๆ
จะถือโคมไฟกระดำษ ออกไปวดั กนั ในตอนกลำงคนื และพำกนั ทำยปริศนำทอ่ี ยบู่ นโคมไฟ เรียกวำ่
ไชเตงิ หมี

ในสมยั โบรำณ โคมไฟจะทำเป็นรูปแบบง่ำยๆ จะมีเพยี งแต่ของกษตั ริย์ และขุนนำงเท่ำน้นั
ท่ีจะมีโคมไฟที่หรูหรำใหญ่โต แต่ในสมยั ปัจจุบนั โคมไฟได้ถูกประดับประดำด้วยรูปแบบที่
ซับซ้อนมำกข้นึ . ตวั อย่ำงเชน่ มกั จะทำโคมไฟเป็นรูปสตั วต์ ำ่ งๆ โคมไฟมกั จะทำเป็นสีแดงเพื่อเป็ น
สัญลกั ษณ์ของควำมโชคดี.

ในฮ่องกง ยกใหว้ นั น้ีเปรียบเสมอื นกบั วนั วำเลนไทน์ ในบำงแห่งเทศกำลไหวพ้ ระจนั ทร์ ก็
จะถกู รูจ้ กั กนั ในช่ือของเทศกำลโคมไฟเหมอื นกนั เช่น สิงคโปร์และมำเลเซีย

ประวตั ิ ในเดือนแรกของปฏิทนิ จนั ทรคติเรียกวำ่ เดือนหยวน และในสมยั กอ่ นเรียกเวลำ
กลำงคืนว่ำ เซียว ในภำษำจนี กลำง ดังน้ัน ในประเทศจนี วนั น้ีจงึ ถกู เรียกว่ำ เทศกำลหยวนเซียว ใน
วนั ที่ 15 ของเดือนแรกในปี จนั ทรคติน้ีเป็ นวนั ท่ีพระจนั ทร์เต็มดวง ตำมประเพณีของลทั ธิเต๋ำวนั ท่ี
15 ในเดอื นแรกของปฏิทินจนั ทรคติ เรียกวำ่ ซ่ำงหยวน ตรงกบั คำเรียก "เทพแห่งฟ้ำ" " ท่ำนเป็นผทู้ ี่
ชอบแสงสวำ่ ง และวตั ถแุ ห่งควำมสุข ดงั น้นั ผคู้ นจงึ ไดแ้ ขวนโคมไฟสีสันสวยงำมนบั พนั ๆ เพอ่ื เป็น
กำรแสดงควำมขอบคณุ ทำ่ น ในปัจจุบนั ผคู้ นจะมีกำรละเล่นแกป้ ริศนำที่อยู่ในโคมไฟ และกนิ ขนม
บวั ลอยในเทศกำลหยวนเซียว เรียกว่ำ ขนมทงั หยวน และครอบครัวก็มีกำรมำรวมตวั กันอย่ำงมี
ควำมสุข

89

8.วนั ชำติจีน(国庆节)

วนั ชำติจีนถือเป็ นวนั หยุดตำมกฎหมำยของประเทศจีน เป็ นวนั เฉลิมฉลองควำมเป็ นชำติ
จนี ทม่ี คี วำมย่งิ ใหญม่ ำก โดยกฎหมำยของประเทศระบุให้วนั ที่ 1 ตุลำคมของทุกปี เป็นวนั ชำตจิ ีนมำ
ต้งั แต่ปี คริสตศกั รำช 1949 วนั ชำติจีน (จีนตวั ย่อ: 国庆节; จีนตัวเต็ม: 國慶節; พินอิน:
guóqìng jié) เฉลิมฉลองตรงกบั วนั ท่ี 1 ตุลำคมของทุกปี เป็ นวนั หยุดรัฐกำรในสำธำรณรัฐ
ประชำชนจีนเพอ่ื เฉลมิ ฉลองวนั ชำตขิ องประเทศ

วนั ชำติมีกำรเฉลิมฉลองข้ึนทว่ั จีนแผ่นดนิ ใหญ่ ฮ่องกงและมำเก๊ำ โดยมีกำรเฉลิมฉลองที่
ภำครัฐจดั ข้ึนเป็ นอนั มำก รวมท้งั กำรแสดงพลุดอกไมไ้ ฟและคอนเสิร์ต สถำนที่สำธำรณะ เช่น
จตั ุรัสเทียนอนั เหมินในกรุงปักกิง่ ถูกตกแต่งด้วยธีมร่ืนเริง รูปภำพของผูน้ ำซ่ึงเป็ นท่ีเคำรพนบั ถือ
เช่น เหมำเจ๋อตงุ มกี ำรแสดงในทสี่ ำธำรณะ

กำรจดั แสดงพลุดอกไมไ้ ฟมกั จดั ข้ึนทว่ั ประเทศในนครทุกแห่ง รวมท้งั ฮ่องกง ท่ีซ่ึงมีกำร
แสดงพลดุ อกไมไ้ ฟเพ่อื เฉลมิ ฉลองวนั ชำตจิ นี มีมำต้งั แต่ พ.ศ. 2540 ท่วี กิ ตอเรียฮำร์เบอร์ในตอนเย็น
มกี ำรจดั ขบวนหลำยแห่งในนครปักกง่ิ และบำงขบวนมีขนำดใหญม่ ำก

90

9.เทศกำลหน่มุ เลยี้ งวัวกบั สำวทอผ้ำ
คืนแรม 1 คำ่ เดือน 7 น้ี ถอื เป็นวนั แห่งควำมรักของคนจนี แต่บำ้ งกเ็ รียกว่ำ “เทศกำลแห่งกำร

เยบ็ ปักถกั รอ้ ย” และ “เทศกำลของหญิงสำว”
ควำมเป็ นมำของเทศกำลน้ีมำจำก เร่ืองรำวควำมรักของหนุ่มเล้ียงววั กบั สำวทอผำ้ ที่มำเจอ

กันตรงสะพำนนกส่ีเชว่ในวนั แรม 7 ค่ำเดือน 7 ของทุกปี ในวนั น้ีจะมองเห็นดวงดำวสว่ำงไสว
ระยิบระยบั ของตะวนั ออกเฉียงเหนือซ่ึงก็คือ “ดำวหนุ่มเล้ียงววั ” (牛郎) และอีกด้ำนหน่ึง
ของฟำกฟ้ำทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือ ก็จะมีดวงดำวส่องสวำ่ งถึงกนั ดำวน้นั ก็คือ “ดำวสำวทอผำ้ ” (
织女)นน่ั เอง

ในคืนแรม 7 คำ่ เดือน 7 น้ีเหล่ำสำวนอ้ ยและหญิงสำวทแี่ ตง่ งำนแลว้ จะพำกนั ไหวด้ ำวหนุ่ม
เล้ียงววั กบั สำวทอผำ้ ในสมยั โบรำณ เหล่ำหญงิ ทแ่ี ตง่ งำนแลว้ จะนำดำ้ ยมำสนเขม็ ท้งั หมด 7 เล่ม ซ่ึง
ตอ้ งสนเข็มอย่ำงรวดเร็ว อนั เป็ นควำมหมำยที่แสดงถึงฝีมือในกำรทอผำ้ พฒั นำและมีควำมประณีต
ละเอียดออ่ นมำกข้นึ บำ้ งก็มีหญิงสำวจบั แมงมุมใส่ไวใ้ นกล่อง รอวนั รุ่งข้นึ เปิ ดกล่องดู ถำ้ ปรำกฏว่ำ
แมงมุมตวั น้นั ชกั ใยแมงมุม ย่งิ หนำยิง่ ทึบน้นั ยงิ่ ดี เพรำะหมำยถึง ฝีมอื กำรเยบ็ ปักถกั ร้อยของนำงจะ
ย่งิ ประณีตละเอียดอ่อนมำกข้ึน

เทพนิยำยของหนุ่มเล้ยี งววั กบั สำวทอผำ้
สำวทอผำ้ เป็ นลูกสำวของซีหวงั มู่ มีอยู่วนั หน่ึงได้เดินทำงมำยงั โลกมนุษยแ์ ละไดพ้ บกับ
หนุ่มเล้ยี งววั ท้งั สองคนต่ำงมคี วำมรกั ให้แกก่ นั จึงตกลงใจแต่งงำนกนั จำกน้นั จึงใหก้ ำเนิดลกู ชำย
ลูกสำวอย่ำงละคน ตอ่ มำ พระชนนีไดน้ ำตวั สำวทอผำ้ กลบั ไปยงั ตำหนกั บนสวรรค์ หนุ่มเล้ยี งววั ไล่
ตำมหำสำวทอผำ้ จนถงึ สวรรค์ แตไ่ ดถ้ กู เสน้ ทำงชำ้ งเผอื กก้นั เอำไว้ ทำใหไ้ มส่ ำมำรถขำ้ มไปหำนำง
ได้ นกสี่เชว่ท่ีตำ่ งเห็นอกเห็นใจในหนุ่มเล้ียงววั จึงรวมตวั กนั กลำยเป็ นสะพำนนกส่ีเชวท่ ุกเดือน 7
ของปี เพ่ือเป็นสะพำนใหท้ ้งั สองไดม้ ำพบกนั ในทุกๆ ปี

91

ศำสนำ
1. ลัทธิเต๋ำ หรือ ศำสนำเต๋ำ (จีน: 道教 Dàojiao; องั กฤษ: Taoism) เป็นศำสนำท่ีเกีย่ วขอ้ ง

กับกำรดำรงชีวติ อยกู่ บั ธรรมชำติ โดยคำวำ่ เต๋ำ แปลว่ำ "มรรค" หรือ "หนทำง" ซ่ึงไม่สำมำรถรู้ได้
ดว้ ยอกั ษรและช่ือ ถำ่ ยทอดไม่ได้ เล่ำจอื๊ ศำสดำของศำสนำเต๋ำไดเ้ ขยี นขอ้ ควำมสื่อถึง "เต๋ำ" ไวใ้ นช่ือ
คมั ภรี ์ชื่อ "เตำ้ เต๋อจงิ " (道德經 Dàodéjīng)
แนวคดิ สำคญั อีกประกำรหน่ึงในศำสนำเต๋ำคอื เรื่อง "หยนิ หยำง" ซ่ึงหมำยถึง ธรรมชำติทเี่ ป็นของคู่
ตรงกนั ขำ้ ม ส่ิงท่เี ป็นของคู่

สัญลักษณ์ หยิน-หยำง
หยิน (陰 yīn) คือพลังลบ มีลกั ษณะสีดำ เป็ นพลังควำมมืด พบในทุกส่ิงทุกอย่ำงที่ให้
ควำมหนำวเยน็ ควำมมดื อ่อนนุ่ม ช้ืนแฉะ ลึกลบั และเปลีย่ นแปลง เช่น เงำมืด น้ำ ฯลฯ หยำง (陽
yáng) คือพลงั บวกมีลกั ษณะสีขำว เป็ นพลงั แสงสว่ำง พบในทุกส่ิงทกุ อย่ำงที่ให้ควำมอบอุ่น สว่ำง
ไสว มนั่ คง สดใส เช่น ดวงอำทิตย์ ไฟ ฯลฯ
เอกภพเกิดข้ึนโดยมีหยินและหยำง จำกกำรปะทะกันของสองสิ่งน้ี ทุกส่ิงทุกอย่ำงก็อุบตั ิ
ข้ึนมำ ทุกสิ่งทุกอย่ำงมีพลงั ท้งั สองน้ีท้งั น้นั บำงคร้ังหยินอำจมีพลงั แข็งแรง แต่บำงคร้ัง หยำง ก็มี
พลงั มำกกว่ำ ยกตวั อย่ำงเช่น ท่อนไม้ ตำมปกติเป็ นหยิน แต่เม่ือโยนเขำ้ ไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูป
เป็ นหยำงไป ในชีวิตหยินและหยำงก่อให้เกิดควำมลม้ เหลวและควำมสำเร็จ เป็ นตน้ เช่นเดียวกนั
หยำงและหยินไม่ใช่เป็ นตวั แทนของควำมดีและควำมชัว่ แต่ท้งั สองน้ีมีควำมจำเป็ นต่อกฎเกณฑ์
และระเบียบของเอกภพ ท้งั สองน้ีไม่ใช่อย่ใู นภำวะปะทะกนั ตลอดเวลำ แตย่ ำมใดมคี วำมสำมคั คกี นั
ท้งั สองอยำ่ งน้ีกเ็ ป็นสิ่งดีดว้ ยกนั

92

2. ลัทธิขงจื๊อ หรือศำสนำขงจ๊ือ (อังกฤษ: Confucianism) เป็ นระบบด้ำนจริยธรรมและ
ปรัชญำของจีน ซ่ึงพฒั นำจำกกำรสอนของขงจ๊ือ (551 - 479 ปี ก่อน ค.ศ.) นักปรัชญำชำวจีน ลทั ธิ
ขงจ๊ือถือกำเนิดข้ึนเป็ น "งำนสอนด้ำนจริยธรรม-สังคมกำรเมือง" ในยุค ชุนชิวแต่ภำยหลงั พฒั นำ
ส่วนท่ีเป็ นอภิปรัชญำ และจกั รวำลวิทยำในสมยั รำชวงศฮ์ นั่ หลงั กำรละ ท้ิงลทั ธิฟำเฉียในประเทศ
จนี หลงั รำชวงศฉ์ ิน ลทั ธิขงจอ๊ื ไดก้ ลำยมำเป็นอดุ มกำรณ์แห่งรัฐอย่ำงเป็นทำงกำรของจนี กระทงั่ ถูก
แทนท่ีดว้ ย "หลกั 3 ประกำรแห่งประชำชน" เมื่อมีกำรสถำปนำสำธำรณรัฐจนี ตำมดว้ ยคอมมวิ นิสต์
ลทั ธิเหมำหลงั สำธำรณรฐั จนี ถูกแทนทด่ี ว้ ยสำธำรณรัฐประชำชนจนี ในจนี แผน่ ดินใหญ่

มนุษยนิยมเป็นแก่นของลทั ธิขงจือ๊ ซ่ึงเป็นควำมเช่ือทีว่ ำ่ มนุษยส์ ำมำรถสอน พฒั นำและทำ
ให้สมบูรณ์ไดผ้ ่ำนควำมพยำยำมส่วนตนและร่วมกับสังคม โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง กำรฝึ กตนและกำร
เกิดข้ึนเอง (self-creation) ลทั ธิขงจื๊อม่งุ เนน้ กำรพฒั นำคณุ ธรรมและกำรธำรงรกั ษำจริยธรรม โดยมี
หลกั พ้ืนฐำนท่ีสุด คือ เหริน (rén) ยี่ (yì) และหลี่ (lǐ) เหรินเป็ นข้อผูกมัดปรัตถนิยมและควำมมี
มนุษยธรรมแก่ปัจเจกบุคคลอื่นภำยในชุมชน ย่ีเป็ นกำรค้ำจุนควำมชอบธรรมและอุปนิสัยทำง
ศีลธรรมในกำรทำดี และหลี่เป็ นระบบจำรีตและควำมเหมำะสมซ่ึงตดั สินว่ำ บุคคลควรปฏบิ ตั ิตน
อย่ำงไรใหเ้ หมำะสมภำยในชุมชน ลทั ธิขงจอ๊ื ถอื ว่ำ บุคคลควรยอมถวำยชีวิตให้ หำกจำเป็น เพอ่ื อุทศิ
แก่กำรค้ำจุนค่ำนิยมทำงศีลธรรมหลกั เหรินและยี่ ผูน้ ับถือลทั ธิขงจ๊ืออำจเป็ นผูเ้ ชื่อในศำสนำ
พ้ืนบ้ำนของจีนดว้ ยก็ได้ เพรำะลัทธิขงจื๊อเป็ นอุดมกำรณ์มนุษยนิยมและอเทวนิยม และไม่ขอ้ ง
เกย่ี วกบั ควำมเชื่อในส่ิงเหนือธรรมชำติหรือในพระเจำ้ ที่มีตวั ตน

หลำยวัฒนธรรมและประเทศได้รับอิทธิพลอย่ำงมำกจำกลัทธิขงจื๊อ รวมท้ัง จีน
แผ่นดินใหญ่ ไตห้ วนั เกำหลี ญ่ีป่ ุนและเวียดนำม เช่นเดียวกับอีกหลำยดินแดนท่ีชำวจนี เขำ้ ไปต้งั
รกรำกจำนวนมำก เช่น สิงคโปร์ แมแ้ นวคิดลทั ธิขงจ๊ือจะแพร่หลำยในพ้ืนที่เหล่ำน้ี มีคนส่วนนอ้ ย
นอกแวดวงวิชำกำรทร่ี ะบุวำ่ ตนเองเป็นผนู้ บั ถอื ลทั ธิขงจ๊อื และกลบั เห็นว่ำจริยศำสตร์ขงจ๊ือเป็นแนว
ปฏบิ ตั ิเติมเตม็ สำหรับอุดมกำรณ์และควำมเช่ืออ่ืนมำกกว่ำ ซ่ึงมที ้งั ประชำธิปไตย มำกซิสต์ ทุนนิยม
ศำสนำคริสต์ ศำสนำอิสลำม และศำสนำพทุ ธ

93

3. ลัทธิบัวขำว (จีน: 白蓮教 ไป๋ เหลียนเจ้ียว) เป็ นขบวนกำรทำงศำสนำและกำรเมอื งที่
เกิดข้นึ ในประเทศจนี สมยั รำชวงศห์ ยวน เป็นลทั ธิบูชำพระแม่องคธ์ รรมเป็นพระเป็นเจ้ำสูงสุด และ
รอคอยยคุ พระศรีอริยเมตไตรย ซ่ึงเป็นอุตมรัฐทีเ่ ชื่อว่ำสังคมจะรุ่งเรืองสงบสุขตลอดไป

ควำมเช่ือหลกั ของลัทธิบวั ขำวคือกำรบูชำพระเป็ นเจ้ำคือพระแม่องค์ธรรม พระผูส้ ร้ำง
สรรพสิ่งและให้สรรพชีวิตท้งั หลำยมำเกิดบนโลก ชีวิตท้งั หลำยจึงเป็ นบุตรของพระแม่องคธ์ รรม
ลว้ นแตม่ ีธรรมชำติบริสุทธ์ิมำแต่เดิม แตต่ ่อมำสรรพสัตวก์ ลบั ใช้ชีวิตหลงผดิ สูญเสียธรรมชำติเดิม
จนไมอ่ ำจกลบั ไปหำพระแมอ่ งคธ์ รรมได้

พระแม่องคธ์ รรมจึงเมตตำต่อสรรพสัตวด์ ว้ ยกำรส่งพระพุทธเจ้ำ พระโพธิสัตว์ และส่ิง
ศกั ด์ิสิทธ์ิตำ่ ง ๆ ลงมำบนโลกเพ่ือชว่ ยแนะนำสัง่ สอนมนุษยใ์ ห้ปฏิบตั ิในหนทำงที่ถูกและกลบั ไปสู่
พระแมอ่ งคธ์ รรมได้ ในกำรน้ีพระแม่องคธ์ รรมไดส้ ่งพระทีปังกรพทุ ธเจ้ำและพระศำกยมุนีพทุ ธเจ้ำ
มำช่วยเวไนยสัตว์ไดจ้ ำนวนหน่ึงแล้ว แต่สรรพสัตว์ส่วนมำกยงั ตกคำ้ งอยู่ พระแม่จึงสัญญำต่อ
มนุษยว์ ่ำต่อไปจะส่งพระศรีอริยเมตไตรยลงมำเพอื่ ช่วยเหลอื เวไนยสัตวท์ ีเ่ หลอื ท้งั หมด

ในทำ้ ยยุคของพระพุทธเจำ้ แต่ละพระองค์ จะมีกำรชุมนุมอริยะบนสวรรคเ์ พ่ือสรุปผลกำร
ช่วยสรรพสตั ว์ กำรชุมนุมทำ้ ยสมยั พระทีปังกรเรียกวำ่ ชิงหยำงฮุ่ย (ตะวนั เขยี ว) ทำ้ ยสมยั พระศำกย
มุนีเรียกวำ่ หงหยำงฮยุ่ (ตะวนั แดง) และทำ้ ยสมยั พระเมตไตรยเรียกวำ่ ไป๋ หยำงฮุย่ (ตะวนั ขำว) ลทั ธิ
บวั ขำวเชื่อวำ่ ตนเองกำลงั อยู่ในปลำยสมยั ตะวนั แดง จึงมุ่งหวงั และรอคอยกำรมำถงึ ของสมยั ตะวนั
ขำว ซ่ึงพระศรีอำรยจ์ ะลงมำโปรดช้ีแนะกำรบำเพญ็ วถิ ธี รรมทีถ่ ูกตอ้ งเพือ่ กลบั สู่บำ้ นเดิม

แมล้ ทั ธิบวั ขำวจะสลำยตวั ไปจำกกำรปรำบปรำมของทำงกำรชิง แต่แนวคิดและขนบของ
ลทั ธิบวั ขำวยงั สืบทอดมำอีกในหลำยลทั ธิ โดยเฉพำะในลทั ธิเซียนเทยี นเตำ้ ซ่ึงหวง เต๋อฮุย ไดก้ ่อต้งั
ข้ึนในเวลำต่อมำ ลทั ธิน้ียงั คงรักษำควำมเช่ือหลกั ได้แก่กำรบูชำพระแม่องคธ์ รรม พระผูส้ ร้ำงสรร
พสิ่ง และส่งสรรพชีวิตท้งั หลำยมำเกดิ บนโลก และรอคอยกำรมำถงึ ของยคุ พระศรีอริยเมตไตรยซ่ึง
เชื่อว่ำเป็นสงั คมในอุดมคติท่ีลทั ธิน้ีจะสร้ำงข้ึนสำเร็จในอนำคต

94

4.ลัทธิเซียนเทียนเต้ำ (จีน: 先天道 Xiāntiān Dào) เป็ น
ลทั ธิศำสนำหน่ึงท่ีหวง เต๋อฮุย ก่อต้งั ข้ึนในสมยั รำชวงศช์ ิง โดยสืบ
ควำมเช่ือมำจำกลทั ธิบวั ขำวในสมยั รำชวงศห์ ยวน นอกจำกน้ียงั รับคำ
สอนมำจำกลทั ธิหลวั ดว้ ย ลทั ธิเซียนเทียนเตำ้ เป็นตน้ กำเนิดของอีก 5
ลทั ธิที่แยกตวั ออกมำภำยหลงั ได้แก่ ลทั ธิอนุตตรธรรม ลทั ธิถงซ่ัน
เซ่อ ลทั ธิฉือฮยุ่ ถงั ลทั ธิเทยี นเต๋อเซิ่ง และลทั ธิเตำ้ เยวี่ยน

ลทั ธิเซียนเทียนเตำ้ เชื่อว่ำพระแม่องคธ์ รรมคอื พระเป็ นเจำ้ พระผูส้ ร้ำงโลก และสรรพชีวิต
ไวร้ วม 9.6 พนั ลำ้ นชีวิต แตด่ ว้ ยควำมหลงลมื ธรรมชำตเิ ดิมแทข้ องตนจึงตอ้ งเวียนวำ่ ยตำยเกิดอยู่ใน
สงั สำรวฏั และไมอ่ ำจกลบั สู่สวรรคไ์ ด้ พระแมอ่ งคธ์ รรมจึงส่งพระพุทธเจำ้ ศำสดำ และนกั ปรำชญ์
ท้งั หลำยมำเกดิ บนโลกเพอ่ื ฉุดชว่ ยสรรพสตั วใ์ ห้กลบั ไปสู่ธรรมชำติเดิม โดยแบ่งออกเป็นสำมยคุ ยคุ
แรกเป็ นยุคพระทีปังกรพุทธเจำ้ ได้ช่วยสรรพสัตวไ์ ด้ 200 ลำ้ นชีวิต ต่อมำเป็ นยคุ พระศำกยมนุ ีพทุ ธ
เจ้ำช่วยสรรพสัตวไ์ ดอ้ ีก 200 ลำ้ นชีวิต เหลืออีก 9.2 พนั ลำ้ นชีวิตพระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้ำใน
อนำคตจะเสด็จมำโปรดนำกลบั สู่สวรรค์

ผูน้ บั ถือลทั ธิเซียนเทยี นเตำ้ จะอุทิศตนช่วยเหลือพระแม่องคธ์ รรมเพอื่ นำสรรพสัตวก์ ลบั สู่
สวรรคด์ ังเดิม โดยสอนเนน้ หลกั จริยธรรม กำรทำบุญ นับถือบูชำส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิโดยมีพระแม่องค์
ธรรมเป็ นส่ิงสูงสุด และรับคำสอนจำกสิ่งศักด์ิสิทธ์ิผ่ำนทำงร่ำงทรงซ่ึงฝึ กตนมำรับหน้ำท่ีน้ี
โดยเฉพำะ

ลทั ธิเซียนเทียนเตำ้ (รวมถึงลทั ธิท่ีแยกมำภำยหลงั ) ใชค้ ำสอนซ่ึงเป็ นกำรผสำนควำมเช่ือ
ของ 3 ศำสนำ ไดแ้ ก่ ศำสนำพุทธ ลทั ธิขงจือ๊ และลทั ธิเต๋ำ ต่อมำไดเ้ อำคำสอนของศำสนำคริสต์และ
ศำสนำอิสลำมมำใชด้ ว้ ย จงึ นบั เป็น 5 ศำสนำและเชื่อว่ำคำสอนของลทั ธิตนไม่ใชศ่ ำสนำ แต่เป็นสัจ
ธรรมแทส้ ำกลของทกุ ศำสนำ

95


Click to View FlipBook Version