The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hongsriwan15, 2022-03-25 04:27:42

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก

รายงานประจำปี 2564

รายงานประจาปี 2564

สานักงานสาธารณสุขจังหวดั นครนายก

คำนำ

รายงานประจาปี 2564 ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก ฉบับน้ี จัดทาขึ้นโดยการรวบรวม
เรียบเรียง และวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน ตามโครงสร้างแผนงานโครงการด้านสาธารณสุขในรอบปี 2564
ทั้งในด้านความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค พร้อมท้ังแนวทางการดาเนินงานแก้ไขปัญหา ตามแผนพัฒนาสุขภาพ
แห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ปี 2560-2564) เพื่อเป็นการเผยแพร่กิจกรรม
การดาเนินงานแกผ่ ู้สนใจและหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง และเป็นแนวทางในการพฒั นางานสาธารณสุข

อนึ่ง ในการจัดทารายงาน ประจาปี 2564 สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีจากความร่วมมือของเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุขทุกท่านในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก จึงขอขอบคุณไว้ ณ ท่ีนี้ด้วยและหวังว่า รายงานฉบับนี้
จะเป็นประโยชน์สาหรับผู้สนใจ หากมีข้อบกพร่องประการใด สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายกยินดีน้อมรับ
เพ่ือปรับปรงุ แกไ้ ขให้ดีย่งิ ขน้ึ ในคร้ังต่อไป

กลุ่มงานพฒั นายุทธศาสตร์สาธารณสุข
สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนครนายก

สำรบัญ หนำ้

คำนำ 1
2
สว่ นที่ 1 ส่วนนำ
โครงสร้างผบู้ รหิ าร 4
โครงสรา้ งหัวหนา้ กลุ่มงาน 10
11
สว่ นท่ี 2 ข้อมูลท่ัวไป 17
ลกั ษณะสาคญั ขององค์กร 19
แผนที่จังหวัดนครนายก 20
ขอ้ มูลท่วั ไป 25
ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสขุ 30
สถานการณแ์ ละปัญหาด้านสขุ ภาพของจังหวัดนครนายก ปี 2565
จานวนประชากรจงั หวดั นครนายกปี 2564 33
ข้อมูลสถานะสุขภาพ 35
วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ ยุทธศาสตรก์ ารสาธารณสุขจังหวดั นครนายก
37
ส่วนที่ 3 ผลกำรดำเนินงำน 40
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข 46
Performance Agreement : PA 2021 จังหวดั นครนายก 47
สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำนงำนตำมตวั ชี้วดั แผนยทุ ธศำสตร์สำธำรณสุขจงั หวัดนครนำยก
Prevention Promotion & Protection excellence 51
Service excellence
People excellence
Governance excellence

ส่วนท่ี 4 ผลงำนเด่น
รางวลั ดเี ดน่ ประจาปี 2564

1

โครงสร้ำงผบู้ ริหำร

แพทย์หญงิ อรรัตน์ จันทรเ์ พ็ญ

นายแพทยส์ าธารณสุขจังหวดั นครนายก

นำยแพทย์สวุ รรณ เพ็ชรรุ่ง นำงสำวสุนยี ์ พลภำนมุ ำศ

ผู้อานวยการโรงพยาบาลบา้ นนา ทันตแพทย์(ด้านทนั ตสาธารณสุข)เชยี่ วชาญ
รกั ษาการในตาแหน่งนายแพทย์(ด้านเวชกรรม

ป้องกัน)เช่ยี วชาญ

นำงสำวศรีสรุ ำงค์ ดวงประเสริฐ นำงยภุ ำพร หอมจันทร์

นักวชิ าการสาธารณสุข(ดา้ นส่งเสริมพฒั นา) นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ
เช่ียวชาญ รกั ษาการในตาแหนง่ นักวชิ าการสาธารณศขุ

(ด้านบริการทางวิชาการ)เช่ียวชาญ

2

โครงสร้ำงหัวหน้ำกลมุ่ งำน

นำยสวุ จั น์ บุญยนื

หวั หนา้ กลุม่ งานพฒั นายุทธศาสตรส์ าธารณสขุ

นำงรำพงึ น่มุ สำรพดั นึก

หัวหนา้ กลุ่มงานพฒั นาคณุ ภาพเเละรปู แบบบรกิ าร

นำงสำวไสว โกเฮง

หวั หน้ากลมุ่ งานประกันสขุ ภาพ

นำงวรรณสตรี รตั นลมั ภ์

หัวหน้ากลุม่ งานควบคุมโรคไมต่ ดิ ต่อ สขุ ภาพจิต และยาเสพติด

นำยไพโรจน์ กวนิ เลิศวฒั นำ

หัวหน้ากลุม่ งานบรหิ ารทั่วไป และหวั หนา้ กลุ่มงานควบคมุ โรคติดต่อ

นำยสมบตั ิ พรหมณี

หวั หนา้ กลุม่ งานอามยั ส่งิ แวดลอ้ มและอาชวี อนามยั

นำยภชุ เคนธ์ ทองสขุ

หัวหน้ากลมุ่ งานบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล

นำงองั ศมุ ำลนิ มงั่ คง่ั

หัวหน้ากลุ่มงานสง่ เสริมสขุ ภาพ

นำยสุมิตรชัย คำเขำแดง

หวั หน้ากลุ่มงานกฎหมาย

นำงสำวอำภัสรี บัวประดษิ ฐ์

หัวหน้ากล่มุ งานคุ้มครองผ้บู ริโภคและเภสัชสาธารณสุข

3

ข้อมลู ทั่วไป

4

ลักษณะสำคัญขององคก์ ร

1. ลักษณะองคก์ ร
(๑) พนั ธกจิ หรือหนำ้ ท่ตี ำมกฎหมำย

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก เป็นส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค ของกระทรวง
สาธารณสุขในระดับจังหวัด โดยมีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้แทนปลัดกระทรวงสาธารณสุขทาหน้าที่
หัวหน้าส่วนราชการตามมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2545 ฉบับท่ี 5
มาตรา 42 และตามพระราชบัญญัตหิ ลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ.2545 มีอานาจบังคบั บัญชาข้าราชการ ติดตาม
กากับ ควบคุม ประเมินผล มีกลุ่มงานภายในสานักงานสาธารณสุขจังหวัด จานวน 12 กลุ่มงาน และมีหน่วยงาน
ในสังกัด ประกอบด้วย โรงพยาบาลทั่วไป จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จานวน ๓ แห่ง สานักงานสาธารณสุข
อาเภอ จานวน ๔ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) จานวน ๕๖ แห่ง คลินิกหมอครอบครัว (PCC)
จานวน 6 ทีม และสนับสนุนการดาเนินงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
สยามบรมราชกุมารี โรงพยาบาลโรงเรยี นนายรอ้ ยพระจุลจอมเกล้า คลินิกเอกชน ร้านขายยา ทาหน้าที่บริหารราชการ
ส่วนภูมิภาคในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอ่ืน
โดยข้ึนตรงต่อผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และปลัดกระทรวงสาธารณสุข ดาเนินการภายใต้พันธกิจตามกฎหมาย
ท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อผลลัพธ์ท่ีดีขององค์การ โดยการจัดระบบบริการสุขภาพในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู
และคุ้มครองผู้บริโภค โดยดูแลสุขภาพตลอดช่วงอายุ อัตราป่วย อัตราตาย ลดลง ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ
ไดส้ ะดวกรวดเรว็

(2) ลักษณะโดยรวมของบคุ ลำกร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก มีบุคลากรรวมทั้งส้ิน ๘๑0 คน ประกอบด้วย ๒ สายงาน คือ สายงานหลัก
ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 68 และสายงาน
สนับสนุน เช่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการเงินและบัญชี ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 32
บุคลากรส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ ร้อยละ ๗1 โดยมีอายุเฉลี่ย ๔7 ปี อายุงานเฉล่ีย ๒3 ปี รองลงมา คือพนักงาน
กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ ๑7 พนักงานราชการ ร้อยละ 5 ลูกจ้างประจา ร้อยละ ๔ และลกู จา้ งชวั่ คราว รอ้ ยละ ๓
ตามลาดับ การศึกษาส่วนใหญ่ของบุคลากรในภาพรวม ระดับต่ากว่าปริญญาตรี ร้อยละ ๓๗ ระดับปริญญาตรี
รอ้ ยละ ๕๓ ระดบั ปรญิ ญาโท ร้อยละ ๑๐ ตามตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงจานวนบุคลากรตามประเภทสายงาน ระดบั การศึกษา เพศ อายเุ ฉลีย่ และอายุงานเฉลี่ย

ประเภท จำนวน ประภทสำยงำน ระดับกำรศกึ ษำ (คน) เพศ(คน) อำยเุ ฉลี่ย อำยงุ ำน
สำยงำน สำยงำน <ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก ชำย หญิง (ปี) เฉลี่ย (ป)ี
หลัก สนบั สนุน
1. ข้าราชการ 575 538 37 112 393 60 5 137 438 47 23
2. ลูกจ้างประจา 35 34 1 - - 12 23 55 28
3. พนกั งานราชการ 38 - 35 6 32 - - 8 14 35 5
4. ลูกจา้ งชัว่ คราว 23 8 30 20 3 - - 2 21 42 8
5. พนักงาน 139 3 20 134 5 - - 45 94 42 6
กระทรวงสาธารณสขุ 3 136
รวม 810 306 434 60 5 204 590 44 14
552 258

5

องค์ประกอบสาคัญทีท่ าให้บคุ ลากรมสี ว่ นรว่ มในการทางานเพื่อบรรลุพันธกจิ และวสิ ยั ทัศน์ของสว่ นราชการตามตารางที่ 2
ตารางที่ 2 องคป์ ระกอบสาคัญทท่ี าใหบ้ ุคลากรมสี ว่ นรว่ มในการทางาน

ประเภทบุคลำกร ปัจจยั ที่มีผลต่อกำรใหค้ วำมร่วมมือ

1. ขา้ ราชการ ความก้าวหนา้ ในสายอาชพี การแต่งต้ังโยกย้าย เลื่อนระดับ การเล่อื นเงินเดือน มคี วามโปรง่ ใส เปน็ ธรรม

2. ลูกจา้ งประจา ประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละรอบการประเมนิ อยา่ งเปน็ รูปธรรม เหมาะสม มีสวัสดการหลัง
เกษียณอายุ

3. พนกั งานราชการ สวสั ดิการและคา่ ตอบแทนทเ่ี หมาะสม สภาพแวดลอ้ มการทางานทีด่ ี การยอมรบั นบั ถอื ในความรู้ ผลงาน
และความสามารถในการปฏิบัตงิ านตามภารกิจและหน้าที่

4. ลูกจ้างช่ัวคราว ความมัน่ คงในการทางาน สภาพแวดล้อมการทางานทดี่ ี เงินเดอื นทเ่ี พยี งพอ และสวสั ดิการทีเ่ หมาะสม

5. พนักงาน ความมนั่ คงในการทางาน สภาพแวดล้อมการทางานทด่ี ี เงนิ เดือนทเ่ี พียงพอ และสวสั ดิการทีเ่ หมาะสม

กระทรวงสาธารณสุข

(3) สินทรพั ย์

สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดนครนายก มีอาคารสถานบรกิ าร อปุ กรณ์ เครอื่ งมือทางการแพทย์ท่ีสาคัญและมี

เทคโนโลยดี ้นสุขภาพท่ที ันสมัย รวมท้งั สิง่ อานวยความสะดวกอ่นื ๆ ทีส่ าคญั ในการบริหารจัดการ การให้บริการ

และการปฏบิ ัตงิ าน ตามตารางที่ 3

ตารางที่ 3 อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณส์ ิง่ อานวยความสะดวก

สถานบรกิ าร สานักงานสาธารณสุขจังหวัด 1 แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไป 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ๓ แห่ง
สิ่งอานวยความสะดวก สานักงานสาธารณสุขอาเภอ 4 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล ๕๖ แห่ง และคลินิกหมอ
อุปกรณ์ ครอบครวั 6 ทมี
เทคโนโลยี
รถ Ambulance สำหรบั โรงพยำบำลทุกแห่ง, สถำนท่ีจอดรถ ห้องนำ ทำงลำด ทงั สำหรบั ผพู้ ิกำร ผ้สู งู อำยุ และ

ประชำชนท่ัวไป, เครื่องปรับอำกำศ, หอพัก, ห้องประชุม, ห้อง Tele-conference /Video conference, โรง

อำหำร, คลินกิ บริกำรรักษำ, ศูนยบ์ ริกำรแพทย์แผนไทย, ปำ้ ยประชำสัมพนั ธ์, สหกรณบ์ รกิ ำร, สถำนท่ีออกกำลัง

กำย

อปุ กรณ์ท่ีใช้ในกำรบริหำรจัดกำรระบบข้อมูลข่ำวสำร ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่ำย (Server), ระบบสำรองข้อมูล

(External Hardisk), UPS, ระบบกำรป้องกนั กำรบุกรุกข้อมลู จำกภำยนอก (Firewall), สิทธใิ นกำรเขำ้ ถึงข้อมูล

(User Level), เคร่ืองคอมพิวเตอร์ตังโต๊ะ, คอมพิวเตอร์แบบพกพำ, Printer, เครื่อง Scanner, Fax และ

อปุ กรณ์/เครื่องมอื ทำงกำรแพทย์ตำ่ งๆ

ระบบ Video Conference, ระบบ HDC, ระบบฐานข้อมลู 43 แฟม้ , ระบบ GIS Health, ระบบ
Web Service, ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิค, ระบบรายงานคืนข้อมูล, ระบบส่งข้อมูล, ระบบ
ตรวจสอบขอ้ มลู
เทคโนโลยีทางการแพทย์

(4) กฎหมำย กฎระเบียบ และข้อบังคับ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนยก ดาเนินการภายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่สาคัญ
ประกอบดว้ ย ดา้ นการปฏบิ ตั งิ านตามภารกิจ ดา้ นบุคลากร ด้านข้อมูลขา่ วสาร และด้านการกากับดแู ลทดี่ ี ตามตารางที่ 4

6

ตารางที่ 4 กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับทีส่ าคัญ

กฎหมำย กฎระเบียบ ข้อบังคับ เน้อื หำสำระสำคัญของกฎหมำย กฎระเบยี บ สว่ นรำชกำรทเ่ี ปน็ ผู้
ขอ้ บังคับ รักษำกำร
1. พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510
ประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการใช้ยา กระทรวงสาธารณสุข
2. พ.ร.บ.การสาธารณสขุ พ.ศ.2535 ของผบู้ รโิ ภค
ให้มกี ารคุ้มครองสุขภาพอนามยั ของประชาชน กระทรวงสาธารณสุข
3. พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541 โดยการจัดการด้านอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม
ควบคุมกากับการดาเนินการสถานพยาบาล ใหม้ ี กระทรวงสาธารณสุข
4. พ.ร.บ.โรคติดตอ่ พ.ศ.2523 ประสิทธิภาพและปลอดภัยแกผ่ ้ปู ่วย
ป้องกันและควบคมุ โรคสาคัญที่สามารถ กระทรวงสาธารณสขุ
5. พ.ร.บ.วิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ แพรก่ ระจายระหว่างประเทศ
พ.ศ.2528 บุคลากรดา้ นวิชาชีพต้องมใี บประกอบวิชาชีพ มี สภาวิชาชพี ทุกสาขา
6. พ.ร.บ.ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
สานกั งานหลกั ประกัน
7. พ.ร.บ.ประกอบวชิ าชพี เวชกรรม พ.ศ.2525 ใหบ้ รกิ ารตามสิทธิทรี่ ะบุใน พ.ร.บ.จดั บริการใหไ้ ด้ สุขภาพแหง่ ชาติ
มาตรฐาน แพทยสภา

การควบคมุ ผปู้ ระกอบวิชาชพี การรกั ษาผ้ปู ว่ ย

8. พ.ร.บ.การรประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 การควบคมุ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี การใหก้ ารพยาบาล กระทรวงสาธารณสขุ
และการแพทย์ สภานิติบญั ญัตแิ ห่งชาติ
9. พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 กระทรวงสาธารณสุข
กาหนดนโยบายยุทธศาสตรด์ ้านสุขภาพของ
10. ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุขวา่ ด้วย ประเทศ
พนกั งานกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2556
หลักเกณฑ์ วธิ ีการและเง่ือนไข การจ้างพนกั งาน
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2556

11. มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ การรบั รองคุณภาพระบบบริการของสถานพยาบาล สถาบนั รบั รองคณุ ภาพ

(HA) เทียบกบั มาตรฐานระดับชาติ สถานพยาบาล (องค์การ

มหาชน)

12. เกณฑค์ ณุ ภาพเครือข่ายบริการปฐมภมู ิ การประกนั คุณภาพเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ สานกั ปลัดกระทรวง

(DHS-PCA) สาธารณสุข

(4) โครงสรำ้ งองค์กำร
นักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก เป็นส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค ของกระทรวงสาธารณสุข
ในระดับจังหวัดมีการควบคุม กากับ ดูแล ประสานงานและสนับสนุนการดาเนินงานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเน่ือง
มีการจัดประชุมเพ่ือติดตามงานเป็นประจาทุกเดือน โดยคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก
(คปสจ.) มนี ายแพทย์สาธารณสขุ จังหวัดนครนายกเป็นประธาน และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานตา่ งๆ
เพื่อช่วยทางานเฉพาะกิจ หรือช่วยให้คาแนะนาปรึกษาต่อภาร กิจเฉพาะด้านที่เก่ียวข้องทั้ง ๑2 กลุ่มงาน
ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก ในส่วนของโรงพยาบาลนครนายก เป็นหน่วยบริการสาธารณสุข
ระดับทุติยภูมิ และมีศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
(Tertiary Care & Excellence center) ซ่ึงมีระบบบริการท่ีมีศักยภาพสูง มีความเฉพาะทางด้านวิชาการ

7

ทางการแพทย์ อยู่ภายใต้การบริหารงานของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ และโรงพยาบาลโรงเรียน
นายร้อยพระจุลจอมเกล้า ซ่ึงสังกัดกองทัพบก ที่สามารถเชื่อมต่อการดูแลสุขภาพประชาชน และเครือข่ายบริการ
ปฐมภูมิ ได้แก่ ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ในส่วนการบริหารงานสาธารณสุขในพ้ืนที่
โดยใช้หลักการบริหารงานแบบบูรณาการในระดับองค์กร ประกอบด้วย โรงพยาบาลชุมชน สานักงานสาธารณสุข
อาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล มีการจัดตั้งกรรมการบริหารเครือข่ายสุขภาพระดับอาเภอ ( Cup Board)
ทมี สาธารณสขุ ระดับอาเภอ (District Health team) มคี วามสาคญั มากทีจ่ ะทาให้เกดิ การเชือ่ มตอ่ ระหว่างทุติยภมู แิ ละ
ปฐมภูมิ และมีกรรมการสุขภาพประสานสาธารณสุขระดับอาเภอ (คบสอ.) ทาหน้าท่ีเป็นการประสานแนวราบ
กับกรรมการบริหารและพัฒนาสาธารณสุขระดับอาเภอ (กสอ.) โดยที่แต่ละส่วนราชการตามโครงสร้าง
การบริหารงานสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก มีการบริหารจัดการตรวจสอบควบคุมกากับโดยการแต่งต้ัง
คณะกรรมการตรวจสอบภายใน เพ่ือตรวจสอบระบบบริหารงานของทุกหน่วยบริหารงานและหน่วยบริการทุกแห่ง
เพื่อความถูกต้องตามกฎระเบียบของทางราชการ ความโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ เพ่ือมอบหมายงาน
และติดตามงานรวมทั้งบูรณาการร่วมกัน ให้แต่ละส่วนราชการได้รายงานผลประจาเดือนและประจาปี รวมท้ังติดตาม
ประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ

ภำพท่ี 1 โครงสรำ้ งองคก์ ำร กำรบริหำรรำชกำรส่วนภูมภิ ำคสำนกั งำนสำธำรณสขุ จงั หวดั นครนำยก

ปลดั กระทรวงสำธำรณสุข

ผวู้ ำ่ รำชกำรจงั หวดั

สำนกั งำนสำธำรณสขุ จงั หวดั คณะกรรมกำรประสำนงำนสำธำรณสขุ ระดบั จังหวัด
นำยแพทยส์ ำธำรณสุขจงั หวดั

คณะกรรมกำรหรอื คณะทำงำน เช่น
กวป., CFO, ฯลฯ

โรงพยำบำลศูนย์ 12 กลุ่มงำน โรงพยำบำลนอกสงั กัด
กระทรวงสำธำรณสุข

โรงพยำบำลชุมชน CUP สำนกั งำนสำธำรณสุข DHB
BOARD อำเภอ DHS
หน่วยรำชกำรนอกสังกดั

รพ.สต./สสอ. อบจ./อบต./เทศบำล
ศูนย์สุขภำพชมุ ชน
ฝำ่ ยสำธำรณสุขใน
เครอื ขำ่ ยตำบล อสม./อสค. อบจ./อบต./เทศบำล

8

2. สภำวกำรณข์ ององค์กำร

(5) สภำพแวดล้อมด้ำนกำรแช่งขันทัง้ ภำยในและภำยนอกประเทศ

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก มีโรงพยาบาลและสถานบริการครอบคลุม ๔ อาเภอ ครอบคลุมพื้นท่ี

รอ้ ยละ ๑๐0 จัดบรกิ ารสุขภาพดา้ นส่งเสรมิ สขุ ภาพ ควบคมุ ป้องกนั โรค รกั ษาพยาบาล ฟืน้ ฟสู มรรถภาพ และคมุ้ ครอง

ผู้บริโภค โดยเทียบเคียงผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ ๒๕64 ของจังหวัด

ในเขตสุขภาพที่ 4 โดยเทียบเคียงกับส่วนราชการที่มีภารกิจ ขนาด และโครงสร้างคล้ายคลึงกัน ไต้แก่ สานักงาน

สาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง และสานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สงิ ห์บุรี ตามตารางที่ 5

ตารางท่ี 5 การเทยี บเคยี งผลการดาเนินงานกับส่วนราชการท่ีมีภารกจิ และโครงสร้างคลา้ ยคลึงกนั

ประเด็นเทยี บเคียง เปำ้ หมำย สว่ นรำชกำรเทยี บเคียง/ผลกำรดำเนินงำน แหล่ง

(ผลกำรดำเนนิ งำนตำมคำรบั รอง ข้อมูล

กำรปฏบิ ตั ริ ำชกำร สสจ. สสจ. สสจ.

ปีงบประมำณ 2564) นครนำยก อ่ำงทอง สงิ หบ์ รุ ี

1. จานวนประชาชนคนไทย มีหมอประจาตวั 3 คน ร้อยละ 40 24.3 44.54 42.78 สานัก

2. การจดั ตัง้ หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ข่ายหน่วย รอ้ ยละ 40 24 44 45 งาน
บรกิ ารปฐมภมู ติ าม พรบ.ระบบสขุ ภาพ
ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ร้อยละ 75 เขต
ร้อยละ 50
3. รอ้ ยละของอาเภอผา่ นเกณฑ์การประเมิน พชอ. 100 100 100 สขุ ภาพ
50 57.14 100 ท่ี 4
4. ร้อยละของหนว่ ยบริการสาธารณสขุ ทม่ี กี ารจดั บริการ

คลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์แบบบรู ณาการ

5. จานวนครอบครวั มคี วามรอบรสู้ ขุ ภาพ 124,71 ครอบครวั 3,321 8,821 3,642

6. สถานประกอบการปรับปรุงผ่านเกณฑม์ าตรฐาน ประเภทละ 1 แหง่ ผ่าน ผา่ น ผ่าน

- ตลาดนดั น่าซือ้

- อาหารริมบาทวิถี

7. จังหวดั สามารถควบคมุ สถานการณโ์ รคตดิ เช้ือ รอ้ ยละ 100 100 87.5 100

โควดิ -19 ใหส้ งบได้ ภายใน 21-28 วนั

8. อัตราปว่ ยตายของผูป้ ่วยโรคโควดิ -19 ของท้งั ประเทศ นอ้ ยกว่าร้อยละ 1.38 1.23 1.91

1.6

9. รอ้ ยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกดั กระทรวง รอ้ ยละ 75 100 100 100

สาธารณสขุ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตรวจสอบภายใน การ

ควบคมุ ภายในและการบริหารความเสย่ี ง

9

(9) กำรเปล่ยี นแปลงด้ำนกำรแขง่ ขัน

ตารางที่ 9 ปัจจยั ในการเปล่ยี นแปลงด้านการแข่งขนั

ปจั จัยทท่ี าให้ประสบผลสาเรจ็ ปัจจัยที่มผี ลตอ่ สภาพการแข่งขัน

1. ผบู้ ริหารมีนโยบายทีช่ ดั เจน มกี ารขับเคลื่อน 1. การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน มผี ลต่อการเตรยี มความพรอ้ มด้าน

ยทุ ธศาสตร์ และมีการบูรณาการผสมผสานทรัพยากรทีม่ ี บคุ ลากร ด้านระบบบรกิ ารสาธารณสุข การสร้างและพัฒนา

อยู่ และบรหิ ารจดั การร่วมกนั เพ่อื ใหเ้ กิดการพัฒนา ศกั ยภาพเครือข่ายระบบสขุ ภาพ

2. มรี ะบบการกากับติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัติ 2. การพัฒนาด้านเศรษกิจส่งผลใหพ้ ฤตกิ รรมการบริโภคไม่

ราชการท่ีมปี ระสิทธิภาพ (HDC คณะกรรมการ กวป. เหมาะสม เชน่ มีรา้ นสะดวกซื้อมากขึ้น การขายสินค้าออนไลน์ ฯลฯ

คณะกรรมการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการ) 3. โครงสร้างประชากรเปลย่ี นแปลงเข้าสูส่ ังคมผสู้ ูงอายุ

3. บคุ ลากรมคี วามสามารถ ทางดา้ นการรักษาพยาบาล 4. การคมนาคมสะดวกข้นึ รวมถึงการเปน็ เมอื งท่องเทยี่ ว ทาใหเ้ กิด

สร้างเสรมิ สุขภาพ ควบคุมปอ้ งกันโรค ฟ้นื ฟูสภาพและ อบุ ตั เิ หตจุ ากจราจรเพ่มิ มากขึ้น

คมุ้ ครองผู้บรโิ ภค 5. เทคโนโลยีท่ที นั สมัยทาให้ประชาชนเชาถึงส่อื ได้ง่าย ประชาชน

4. มีภาคเี ครือข่ายสุขภาพครอบคลมุ ทั้งระดับจังหวดั บางส่วนขาดการกล่นั กรองข้อมลู ขา่ วสารด้านสุขภาพอย่างรู้ทัน ทา

อาเภอ ตาบล หมูบ่ า้ นและครอบครวั ใหเ้ กดิ พฤติกรรมเส่ยี งต่อการมสี ุขภาพดี Health literacy

5. มเี ทคโนโลยีสมยั ใหม่มาใช้ในการรกั ษาพยาบาล สรา้ ง 6. สถานการณ์การเกดิ โรคอุบัติใหม่และอบุ ัติซ้า

เสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกนั โรค คมุ้ ครองผ้บู รโิ ภคมากขน้ึ

(๑0) แหลง่ ข้อมลู เปรียบเทียบ

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก มีแหล่งข้อมูลเปรียบเทียบภายในจังหวัด ได้แก่ รายงานผล

การดาเนินงานประจาปี รายงานสรุปผลการประเมินโครงการ รายงานสรุปผลการตรวจราชการ รายงานสรุปผล

การนิเทศงาน ข้อมูลผลงาน PA และแหล่งข้อมูลเปรียบเทียบจากหน่วยงานอื่น ได้แก่ เว็บไซต์ HDC ของกระทรวง

สาธารณสุข เวบ็ ไซต์ GIS Health เวบ็ ไซต์ Data studio

10

แผนทจ่ี ังหวัดนครนำยก

จ.นครราชสมี า

จ.สระบรุ ี

จ.ปทุมธานี จ.ปราจีนบุรี

สระบรุ ี

จ.ฉะเชิงเทรา

ปทมุ ธานี

สระบรุ ี

11

ข้อมลู ทวั่ ไปจงั หวัดนครนำยก

ประวตั ิควำมเป็นมำ

นครนายกเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหน่ึงตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์จากการขุดค้นตัวเมืองเก่า
พอจะทราบได้ว่าเมืองนครนายกเดิมมีอายุไม่ต่ากว่า 900 ปมี าแล้ว สันนิษฐานว่าอยู่ในสมัยทวาราวดีโดยดูจากลกั ษณะ
ตัวเมืองท่ีปรากฏในยุคกรุงศรีอยุธยาปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า ในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ได้ต้ังเมืองนครนายก
เป็นเมอื งช้ันจัตวา และเป็นเมืองหน้าด่านทางทิศตะวันออก ไว้คอยป้องกันศึกด้านเขมร ปี พ.ศ. 2075 ในสมัยสมเด็จ
พระมหาจักรพรรดิ ได้ทรงจัดวางผังเมืองใหม่ในการป้องกันประเทศ โดยโปรดให้ทาการรื้อกาแพงเมืองเดิมซึ่งยังมีหลักฐาน
ปรากฏอยู่บ้างท่ีวัดศรีเมือง อาเภอเมืองนครนายกในปัจจุบัน ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้ทรงเปล่ียนแปลงปรับปรุงการจัดระเบียบการปกครอง และการบริหารราชการขึ้นใหม่ โดยรวมหัวเมืองต่างๆ
ให้เข้าเป็นอาณาจักรอันเดียวกัน และได้ประกาศจัดตั้งกระทรวงข้ึน 12 กระทรวง และทรงวางรากฐานการบริหาร
ราชการสว่ นภูมิภาค โดยจัดต้งั เปน็ มณฑลเทศาภิบาล และในปี พ.ศ. 2437 ได้ทรงต้ังมณฑลปราจีนบุรี ประกอบด้วย
ปราจีนบุรี นครนายก พนมสารคาม และฉะเชิงเทรา โดยต้ังท่ีว่าการมณฑลท่ีปราจีนบุรี ต่อมาได้รวมเอา พนัสนิคม
ชลบุรี และบางละมุง เข้าร่วมด้วยเป็น 7 หัวเมือง และย้ายที่ว่าการมณฑลมาตั้งที่ฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. 2445
ได้ยกเลิกตาแหน่งเจ้าผู้ครองนคร และให้มีตาแหน่งข้าหลวงประจาจังหวัด ซ่ึงมีพระยาพิบูลย์สงคราม (จอน)
เป็นข้าหลวงคนแรก และได้สร้างศาลากลางจังหวัดแห่งแรก ต้ังอยู่บริเวณริมฝ่ังขวาของแม่น้านครนายก ปัจจุบัน
เป็นสถานท่ีต้ังของธนาคารพาณิชย์ 2 แห่ง คือ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคารกรุงเทพ ในปัจจุบันได้ย้ายศาลา
กลางจงั หวัดไปตัง้ อยทู่ ่ี บริเวณรมิ ถนนสวุ รรณศร ตาบลท่าชา้ ง หา่ งจากทีท่ าการเทศบาลเมืองนครนายก ประมาณ 2 กโิ ลเมตร
และได้เปดิ ทาการเมือ่ เดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2520 จนถึงปจั จุบนั

จังหวัดนครนายก เดิมช่ือ “บ้านนา” มีประวัติเล่ากันอีกทางหน่ึงว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดน
ของนครนายกเป็นป่ารกชัฏ เป็นท่ีดอน ที่ทานา หรือทาการเพาะปลูกอะไรไม่ค่อยได้ผล มีไข้ป่าชุกชุม ผู้คนจึงพากัน
อพยพไปอยู่ที่อ่ืนจนกลายเป็นเมืองร้าง คร้ันเม่ือปี พ.ศ.2486-2489 นครนายกได้โอนไปรวมกับจังหวัดปราจีนบุรี
และสระบุรี จนความทราบถึงพระมหากษัตริย์ทรงทราบความเดือดร้อนของประชาชน จึงโปรดให้ยกเลิกภาษีค่านา
เพื่อจูงใจให้ชาวเมืองอยู่ที่เดิม ทาให้ผู้คนอพยพกลับมาเพ่ิมข้ึนจนเป็นชุมชนใหญ่ และแยกตัวกลับจากปราจีนบุรี
และสระบรุ ี มาเป็นเมอื งอิสระ เรียกกนั ติดปากว่า “เมอื งนา-ยก” ภายหลังกลายเป็นจังหวดั นครนายกจนถึงทุกวันนี้

12

ทีต่ ั้ง ขนำด และอำณำเขต

จังหวัดนครนายก ต้ังอยู่บนแกนเช่ือมโยงท่ีสาคัญระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา
ในแนวตะวันออก-ตะวันตก และระหว่างภาคกลางตอนกลางกับภาคตะวันออก ในแนวเหนือใต้ อยู่ทางทิศตะวันออก
ของประเทศ ระหว่างเส้นรุ้งท่ี 13 องศา 57 ลิปดา ถึง 14 องศา 31 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 100 ถึง 101 องศา
31 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานคร 137 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลขท่ี 1
ถนนพหลโยธนิ -ถนนสุวรรณศร และประมาณ 105 กิโลเมตร ตามเส้นทางเลียบคลองรงั สิต (ถนนรังสิต-นครนายก)

จังหวัดนครนายกเป็นจังหวัดในภาคตะวันออก และมีอาณาเขตติดจังหวัดใกล้เคียงดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดสระบุรี และจังหวัดนครราชสีมา
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับ จังหวดั นครราชสมี า และจังหวัดปราจีนบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดปราจีนบรุ ี และฉะเชิงเทรา
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ จังหวดั ปทมุ ธานี และสระบรุ ี

จังหวัดนครนายก มีเนื้อท่ีประมาณ 2,122 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,326,250 ไร่
คิดเปน็ ร้อยละ 5.83 ของเนือ้ ทภี่ าคตะวนั ออก และ เปน็ ร้อยละ 0.43 ของเนอ้ื ทปี่ ระเทศไทย

ลักษณะภูมิประเทศ และลักษณะภูมิอำกำศ

สภาพโดยท่ัวไปของจังหวัดนครนายก เป็นท่ีราบทางตอนเหนือ และทางตะวันออก จะเป็นภูเขาสูง
อยู่ในเขตพ้ืนท่ีของอาเภอบ้านนา อาเภอปากพลี และอาเภอเมืองนครนายก นอกจากนี้บางส่วนอยู่ในเขตอุทยาน
แห่งชาติเขาใหญ่ อันเป็นรอยต่อของ 3 จังหวัด คือ จังหวัดนครราชสีมา ปราจีนบุรี และจังหวัดนครนายก
โดยเป็นเทือกเขาเดียวกันกับทิวเขาพญาเย็น ยอดเขาสูงสุด คือ ยอดเขาเขียว มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ
1,351 เมตร ส่วนตอนกลางและตอนใต้ เปน็ ท่ีราบลุ่มอันกว้างใหญ่ พ้ืนท่ีเป็นท่ีดนิ ปนทราย เหมาะแก่การทาการเกษตร
อยู่ในเขตท้องที่อาเภอองครักษ์ และอาเภอปากพลี เป็นส่วนหน่ึงของท่ีราบสามเหล่ียมลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา เรียกว่า
“ท่รี าบกรุงเทพ” (Bangkok Plain)

จังหวัดนครนายก มีสภาพอากาศที่ไม่ร้อนจัดและไม่หนาวจัด มีอุณหภูมิโดยเฉล่ียอยู่ระหว่าง
ประมาณ 37.8 – 19.7 องศาเซลเซียส มีฝนตกโดยเฉล่ียในรอบปี ประมาณ 123 วัน ปริมาณน้าฝนตลอดปี
ประมาณ 1,873.9 มลิ ลเิ มตร

ทรพั ยำกรธรรมชำติ แหล่งน้ำ และสภำพทำงเศรษฐกจิ

ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่สาคัญ ได้แก่ หนิ สบู่ หรอื แร่ทีโอไฟไรด์ หินออ่ น และหินแก้วผลึก หรอื หินเขยี้ ว
หนุมาน นอกจากนี้ มีพ้ืนท่ีป่า ประมาณ 392,679 ไร่ หรือประมาณ 628.28 ตารางกิโลเมตร แม่น้าสายสาคัญ
คอื แม่น้านครนายก ซ่งึ มีต้นกาเนิดจากเทือกเขาเขยี ว และเขาใหญ่ ท่ีกน้ั เขตระหว่าง อาเภอเมืองนครนายก กบั อาเภอ
ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ไหลผ่านตัวเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เข้าเขตอาเภอบ้านนา และอาเภอองครักษ์
ไปบรรจบกับแม่น้าบางปะกง ท่ีตาบลบางแตน อาเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี เรียกว่า “ปากน้าโยธกา”
แม่น้านครนายก ยาวประมาณ 130 กิโลเมตร เป็นแมน่ า้ ท่ีให้ความอดุ มสมบูรณ์แก่การเกษตรในจังหวัด

13

สภาพทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวมของจังหวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด สาขาการค้าส่งและค้าปลีก
เป็นสาขานา ซึ่งสร้างมลู ค่าเพิ่มให้จังหวัดนครนายกเป็นอนั ดับหน่ึง สาขาอุตสาหกรรม เป็นอันดับสอง ซ่งึ แซงหนา้ สาขา
เกษตรกรรม ในปี 2551 แตป่ ระชากรสว่ นใหญย่ งั ยดึ อาชพี ทานา ทาสวน เล้ยี งสตั ว์ และปลูกพชื ไรต่ า่ งๆ

อำชพี

ประชากรส่วนใหญ่เป็นครัวเรือนเกษตรกรรม จานวน 25,568 ครัวเรือน หรือเท่ากับร้อยละ 75
ทาการเกษตรเป็นอาชีพหลัก ได้แก่ การกสิกรรม การทาปศุสัตว์ และการประมง นอกจากนี้ ประกอบอาชีพการบริการ
พาณิชยกรรม รบั จ้าง และอื่นๆ

เชอ้ื ชำติและศำสนำ

จังหวัดนครนายก ประกอบด้วยคนเชื้อชาติหลายเช้ือชาติ เช่น ไทย ลาวพวน จีน และอิสลาม
ประชาชนในจังหวัดนครนายก ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 91.85 รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 5.61
และศาสนาครสิ ต์ ร้อยละ 1.54 โดยมวี ัด สานักสงฆ์ โบสถ์ครสิ ต์ และมสั ยดิ จาแนกเป็นรายอาเภอ ดังนี้

อาเภอ วัด สานักสงฆ์ โบสถ์ครสิ ต์ มสั ยดิ
เมือง
บ้านนา 84 2 32
ปากพลี
องครักษ์ 50 3 21
รวม
40 1 - -

27 2 2 21

201 8 7 24

กำรคมนำคมและกำรขนสง่

การคมนาคมของจังหวดั นครนายก มีทางหลวงแผ่นดนิ 2 สาย คอื สาย 33 ถนนสวุ รรณศร และสาย 305
ถนนรังสิต–องครักษ์ และยังมีทางหลวงจังหวัด ทางหลวงท้องถ่ิน ถนน รพช. และถนนของโยธาธิการที่สามารถใช้เดินทาง
ตดิ ตอ่ ภายในจังหวัด และระหว่างจงั หวัดได้โดยสะดวกทกุ ฤดูกาล

กำรศกึ ษำ

จังหวัดนครนายก มีสถานศึกษารวม 185 แห่ง แยกเป็นสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาจังหวัด 167 แห่ง สังกัดอาชีวศึกษา 3 แห่ง สังกัดกรมการศาสนา 1 แห่ง สังกัดเทศบาล 3 แห่ง สังกัด
สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 2 แห่ง (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, วิทยาลัย เซ็นเทเรซ่า อินติ)
สงั กดั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรียนจงั หวัด 5 แห่ง สงั กดั กระทรวงกลาโหม 2 แหง่ (โรงเรยี นนายร้อยพระจุลจอมเกลา้ ฯ
, โรงเรียนเตรียมทหาร) และ แหล่งให้บริการทางการศึกษาอื่นๆ 2 แห่ง (ศูนย์วิทย-พัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรม
มาธริ าช นครนายก, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ ศูนยน์ ครนายก)

14

ตรำสญั ลักษณ์จังหวัดนครนำยก

ตรำประจำจงั หวดั นครนำยก
รูปช้างชูรวงขา้ ว

ตราสญั ลกั ษณ์จงั หวัด “นครนายก” เป็นรูปช้างชูงวงเกยี่ วรวงขา้ ว ทา่ มกลางฉากหลังรูปกองฟาง ทีส่ ่ือถึงว่าคร้ังหนง่ึ นครนายก
เคยเป็นเมืองที่มีช้างมาก โดยปัจจุบันมีสถานท่ีและชื่อวัดที่เก่ียวข้องอยู่หลายแห่ง อาทิ ตาบลท่าช้าง วัดท่าช้าง ในขณะที่
อาเภอเมืองนครนายกก็เคยเป็นท่าข้ามของโขลงช้างมาก่อน ส่วนรวงข้าวและกองฟางน้ันหมายถึง ความอุดมสมบูรณ์
ของพืชพันธธ์ ัญญาหาร
รปู วงกลม คือ ความกลมเกลยี วและความสามัคคีของคนจงั หวัดนครนายก
ช้ำงชรู วงข้ำว คือ จงั หวัดนครนายกน้นั เป็นจังหวัดทม่ี ปี ่าไม้อุดมสมบูรณ์ มีช้างมาก โดยช้างของจงั หวัดนครนายก

เปน็ ช้างที่มคี วามสาคัญในการคดั เลือกช้างเพอื่ ไปทาศึกสงครามในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา
รวงข้ำว คือ อาชีพหลักของชาวนครนายกท่ีสว่ นใหญ่มีอาชพี การทานา และได้ข้าวอุดมสมบรู ณด์ ี

สามารถสง่ ไปยังเมอื งหลวงได้

จังหวดั นครนายกใชอ้ ักษรย่อว่า “นย”
ชื่อภาษาอังกฤษคือ “NAKHONNAYOK”

ธงประจำจงั หวดั

ตน้ ไม้ประจำจงั หวัด “ ตน้ สพุ รรณิการ์ ”

15

ดอกไม้ประจำจงั หวดั “ ดอกสุพรรณกิ าร์ ”

คำขวัญประจำจังหวัดนครนำยก

นครนายก เมืองในฝันทใี่ กล้กรุง
ภเู ขางาม นา้ ตกสวย
รวยธรรมชาติ ปราศจากมลพิษ

กำรเมอื ง

จังหวัดนครนายกมีเขตการเลือกตง้ั เพียงเขตเดยี ว ไดแ้ ก่ อาเภอเมอื งนครนายก อาเภอปากพลี อาเภอบ้านนา
และอาเภอองครกั ษ์

การเลอื กตงั้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก มสี มาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ จานวน 1 คน
และมสี มาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครนายก จานวน 1 คน

เขตกำรปกครองและประชำกร

เขตการปกครอง แบง่ ออกเป็น - 4 อาเภอ 41 ตาบล 408 หมูบ่ ้าน

- 1 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั

- 6 เทศบาล
- 39 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล
1) เขตการปกครอง 4 อาเภอ ประกอบด้วย
- อาเภอเมอื งนครนายก - อาเภอบ้านนา
- อาเภอองครักษ์ - อาเภอปากพลี
2) เทศบาล 6 แห่ง ประกอบดว้ ย
- เทศบาลเมืองนครนายก - เทศบาลตาบลทา่ ช้าง (อาเภอเมืองนครนายก)
- เทศบาลตาบลบ้านนา - เทศบาลตาบลพิกุลออก (อาเภอบา้ นนา)

- เทศบาลตาบลองครักษ์ - เทศบาลตาบลเกาะหวาย (อาเภอปากพล)ี

16

เขตเทศบำลเมอื งนครนำยก ประกอบดว้ ย 26 ชุมชน

1) ชุมชนบ้านวงั ขอน 14) ชุมชนย่านซือ่ สามคั คี
2) ชมุ ชนแหลมทอง 15) ชมุ ชนบ้านม่นั คงพฒั นา
3) ชมุ ชนไชยพนั ธ์ 16) ชมุ ชนยา่ นซ่ือสามคั คี 3
4) ชมุ ชนศิลาทอง 17) ชมุ ชนสุวรรณศร ซอย 10
5) ชมุ ชนวดั ศรเี มอื ง 5 18) ชุมชนบ้านเกาะกระชาย
6) ชุมชนบ้านสนั คเู มอื ง 19) ชุมชนบา้ นคลองเหมือง
7) ชมุ ชนบ้านใหญล่ าว 20) ชุมชนวดั โพธิไ์ ทร
8) ชุมชนบา้ นชฎาทอง 21) ชมุ ชนทวิ เขางาม
9) ชุมชนวัดโพธินายก 22) ชมุ ชนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
10) ชุมชนบ้านตลาดเกา่ 23) ชุมชนผาสขุ เจรญิ
11) ชุมชนรว่ มใจพัฒนา 24) ชุมชนคลองพรหมณพี ฒั นา
12) ชมุ ชนบ้านต่าบุญศิริ 25) ชมุ ชนสวุ รรณศรพฒั นา
13) ชมุ ชนบ้านตา่ บญุ ศริ ิ 2 26) ชมุ ชนรว่ มพัฒนาสามคั คีศรีเมือง

ตำรำงแสดงเขตกำรปกครองและประชำกร
ณ วันท่ี 31 ธันวำคม 2564

อาเภอ เขตการปกครอง องค์กรส่วนท้องถน่ิ ประชากร (คน) หลังคาเรอื น
ตาบล หมู่บ้าน เทศบาล อบต. ชาย หญงิ รวม

เมืองฯ 13 125 2 12 50,588 51,153 101,741 44,128

บ้านนา 10 116 2 9 34,452 34,817 69,269 26,936

องครักษ์ 11 116 1 11 32,059 33,070 65,129 23,769

ปากพลี 7 51 1 7 11,755 12,539 24,294 9,416

รวม 41 408 6 39 128854 131,579 260,433 104,249

ที่มา : ทะเบยี นราษฎร์ ( www.dopa.go.th )

17

ขอ้ มลู ทรัพยำกรด้ำนสำธำรณสขุ

สถำนพยำบำลของรฐั

สถานพยาบาล ขนาด เปิดบรกิ าร
โรงพยาบาลนครนายก 360 เตยี ง 314 เตียง
โรงพยาบาลบา้ นนา 90 เตียง 70 เตียง
โรงพยาบาลองครกั ษ์ 60 เตยี ง 33 เตียง
โรงพยาบาลปากพลี 10 เตียง 10 เตียง
โรงพยาบาลโรงเรียนนายรอ้ ยพระจุลจอมเกลา้ ฯ 90 เตียง 36 เตียง
ศนู ย์การแพทยส์ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารฯี 500 เตียง 378 เตยี ง
กองพยาบาล โรงเรียนเตรยี มทหาร 60 เตยี ง 60 เตยี ง
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล
56 แหง่
ข้อมลู เปดิ บริการ : http://gishealth.moph.go.th
ขอ้ มูลขนาดเตียง : http://bps.moph.go.th/

บคุ ลำกรทำงกำรแพทยแ์ ละสำธำรณสุขทปี่ ฏิบตั ิงำนจริง

(สงั กัดกระทรวงสำธำรณสขุ )

ประเภทบคุ ลากร จานวน (คน) อตั ราส่วนประชากร อตั ราสว่ นเขต อตั ราส่วนประเทศ
ณ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 ต่อบุคลากร 1 คน
แพทย์ ณ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 ณ 1 ตลุ าคม 2564 ณ 1 ตุลาคม 2564
ทนั ตแพทย์
เภสัชกร 27 1 : 9,645 1 : 2,917 1 : 3,387
พยาบาลวชิ าชพี 1 : 10,192 1 : 10,374
17 1 : 15,319 1 : 7,107 1 : 6,164
1 : 619 1 : 553
24 1 : 10,851

215 1 : 1,211

ขอ้ มลู จากกลมุ่ งานทรัพยากรบคุ คล สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก

18

จำนวนสถำนพยำบำลท่ีไมม่ เี ตียงรับผู้ปว่ ยไวค้ ้ำงคนื (คลนิ กิ )
ณ วันที่ 7 กมุ ภำพนั ธ์ 2565

อาเภอ สาขา สาขา สาขา สาขา สาขา สาขา สาขา คลนิ กิ
เวชกรรม เวชกรรม ทันตกรรม การพยาบาล สหคลินิก กายภาพ การแพทย์ เทคนิค
เมอื ง ชนั้ 1 เฉพาะทาง บาบดั แผนไทย การแพทย์
บา้ นนา ชั้น 1 และการ
องครักษ์ 10 12 ผดงุ ครรภ์ 11 2
ปากพลี 6 2 6 02 1
รวม 4 0 3 73 00 0
0 0 2 51 00 0
20 14 0 10 13 3
11 00
13 4

ขอ้ มลู จากกลมุ่ งานคุ้มครองผู้บรโิ ภคและเภสัชสาธารณสุข สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั นครนายก

จำนวนรำ้ นขำยยำ ในจังหวดั นครนำยก
ณ วันที่ 7 กมุ ภำพนั ธ์ 2565

อาเภอ แผนปัจจบุ นั (ขย.1) แผนปัจจบุ ันบรรจุเสรจ็ (ขย.2) แผนโบราณ (ขยบ.)
เมืองนครนายก 23 0 4
13 2 2
บ้านนา 9 3 0
องครักษ์ 2 0 0
ปากพลี 47 5 6

รวม

ข้อมูลจากกลมุ่ งานคุ้มครองผบู้ รโิ ภคและเภสัชสาธารณสุข สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก

19

สถำนกำรณ์และปัญหำดำ้ นสขุ ภำพของจังหวัดนครนำยก ปี 2565

1. สภำพและกำรเปล่ียนแปลงด้ำนประชำกร
1.1 โครงสรำ้ งอำยุประชำกร
โครงสรา้ งของประชากรจงั หวัดนครนายก จาแนกตามกลุ่มอายุและเพศ พบวา่ เพศชายน้อยกวา่ เพศ

หญิงเล็กนอ้ ย ในอัตราสว่ น 1 : 0.98 โครงสร้างของประชากรเด็กอายตุ ่ากวา่ 15 ปี ลดลงอย่างต่อเนอ่ื ง ประชากรวยั ทางาน
มีแนวโน้มคงที่ สว่ นประชากรวยั สูงอายุมีแนวโนม้ เพิ่มขึ้นทุกปี

โครงสรำ้ งอำยแุ ละเพศของประชำกร ณ 31 ธนั วำคม 2564

ชำย หญิง

ทม่ี า : ทะเบียนราษฎร์ ( www.dopa.go.th )

20

จำนวนประชำกร จังหวัดนครนำยก ปี 2564

อตั รำสว่ นทำงประชำกร ปี 2564

21

ตำรำงแสดงประชำกรจังหวดั นครนำยก แยกตำมกล่มุ อำยุและเพศ ณ 31 ธนั วำคม 2564

กลุ่มอำยุ ชำย หญิง รวม
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

0-4 ปี 6,182 4.80 5,735 4.36 11,917 4.58
6,545 4.97 13,758 5.28
5-9 ปี 7,213 5.60 7,066 5.37 14,747 5.66
7,243 5.50 16,588 6.37
10-14 ปี 7,681 5.96 7,700 5.85 17,369 6.67
8,951 6.80 18,521 7.11
15-19 ปี 9,345 7.25 8,477 6.44 17,389 6.68
8750 6.65 17,812 6.84
20-24 ปี 9,669 7.50 9,361 7.11 18,807 7.22
9,544 7.25 18,840 7.23
25-29 ปี 9,570 7.43 10,617 8.07 20,130 7.73
10,771 8.19 20,102 7.72
30-34 ปี 8,912 6.92 8,896 6.76 16,538 6.35
6,796 5.16 12,363 4.75
35-39 ปี 9,062 7.03 15,127 11.50 25,552 9.81
131,579 100 260,433 100
40-44 ปี 9,446 7.33

45-49 ปี 9,296 7.21

50-54 ปี 9,513 7.38

55-59 ปี 9,331 7.24

60-64 ปี 7,642 5.93

65-69 ปี 5,567 4.32

70 ปขี ้นึ ไป 10,425 8.09
รวม 128,854 100

ท่มี า : ทะเบยี นราษฎร์ ( www.dopa.go.th )

22

1.2 สถติ ิชีพ

อัตรำเกิด พบว่า ในปี 2553 มีอัตราเกิดเท่ากับ 13.06 ต่อพันประชากร และเพิ่มขึ้นในปี 2554
เท่ากับ 15.35 ต่อพันประชากร และมีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ปี 2555 - ปี 2559 และเพิ่มขึ้นในปี
2560 เท่ากับ 14.00 ตอ่ พันประชากร และลดลงอยา่ งตอ่ เนือ่ งปี 2561-2564 ซ่งึ ลดลงต่าสุดในปี 2562 เท่ากับ
10.38 ต่อพนั ประชากร

อัตรำตำย พบว่า ในปี 2553 มีอัตราตายเทา่ กบั 8.6 ต่อพันประชากร และลดลงอย่างต่อเนอื่ งซ่งึ ใน
ปี 2558 ลดลงถึง 8.16 ต่อพันประชากร และมาลดลงต่าสุดในปี 2562 เท่ากับ 7.91 ต่อพันประชากร และมา
เพ่มิ ขน้ึ สูงสดุ ในปี 2564 เทา่ กับ 10.54 ตอ่ พันประชากร

อัตรำเพ่ิมธรรมชำติ พบว่า ในปี 2553 เท่ากับ 0.45 โดยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนและลดลงอย่างต่อเน่ืองซึ่ง
ในปี 2559 ลดลงเท่ากบั 0.39 และในปี 2564 ลดลงตา่ สดุ เท่ากับ -0.001

แผนภูมิแสดง สถติ ชิ ีพ จงั หวัด
นครนำยก ปี 2556 – 2564

23

อำยขุ ัยเฉล่ยี เม่ือแรกเกิด พบว่า เพศชำย ในปี 2552 เท่ากับ 70.69 และมีแนวโนม้ ลดลงอย่าง
ต่อเนอื่ ง และเพิ่มขนึ้ ในปี 2556 เทา่ กับ 72.51 และตั้งแต่ปี 2557 จนถึงปี 2563 ลดลงและเพ่ิมขนึ้ อยา่ งต่อเนือ่ ง
และในปี 2564 ลดลงเท่ากบั 71.16

สาหรับอายุขัยเฉลี่ยเพศหญิง พบว่า ในปี 2552 เท่ากับ 77.48 และมีแนวโน้มลดลงในปี 2553 เท่ากับ
76.77 และเพิ่มข้นึ อยา่ งต่อเน่อื งในปี 2554 – 2558 และลดลงตา่ สุดในปี 2559 เทา่ กบั 76.8 และเพมิ่ และลดลง
อย่างต่อเน่ืองในปี 2560-2563 และลดลงในปี 2564 ลดลงเท่ากบั 79.6

แผนภมู ิแสดง อำยุขยั เฉลย่ี จงั หวดั นครนำยก ปี 2552 – 2564

อัตราตายของทารกต่อการเกิดมชี ีพ 1,000 คน พบว่า ในปี 2552-2561 พบว่าอตั ราตาย
เพิ่มขนึ้ และลดลงอยา่ งต่อเน่อื ง เท่ากบั 5.01 , 2.73, 5.13, 7.64, 3.65, 4.76, 6.61, 6.89, 4.94 และ6.83
ตามลาดับ และในปี 2562-2564 มแี นวโนม้ ลดลง เท่ากับ 3.58, 2.68 , 1.82 ตามลาดับ

สว่ นอัตราตายของมารดา เปน็ ศนู ยเ์ ร่ือยมา จนถึง ปี 2559 เท่ากับ 119.9 และในปี 2561
มีมารดาตายจานวน 2 คน คิดเป็นอตั ราเท่ากับ 0.62 ในปี 2562-2563 เท่ากับ 0 และในปี 2564
มจี านวนมารดาตาย จานวน 1 คน คิดเปน็ อัตราเท่ากบั 0.36

แผนภูมิแสดง อัตรำทำรกตำย และอัตรำมำรดำตำย จงั หวดั นครนำยก ปี 2552 – 2564

100

ทมี่ า : กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน กระทรวงสาธารณสขุ

24

อัตรำตำยรำยอำยุและเพศ พบวา่ ในปี 2564 พบวา่ เพศหญงิ อายนุ ้อยกวา่ 1 ขวบมอี ัตราการตาย
มากกว่าเพศชาย และแต่ตั้งแต่อายุ 1-9 ปี อตั ราตายเพศหญงิ จะมากกว่าเพศชาย และอายุ 10-80 ปีข้นึ ไปอตั ราตาย
เพศชายจะมากกว่าเพศหญิงซ่ึงพบมากท่สี ุดในอายุ 75-80 ปี

แผนภูมแิ สดง อตั รำตำย รำยอำยุ และเพศ จังหวดั นครนำยก ปี 2564

ที่มา : กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
https://deathbirthrepo.dcs.moph.go.th/login
ท่ีมา : ประชากร จากทะเบยี นราษฎร

25

ขอ้ มูลสถำนะสุขภำพ

สถิติชีพประชำกร ปี 2559 – 2564

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

สถติ ชิ พี จานวน อตั รา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อตั รา
(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

อตั ราเกิด

(ต่อ 1,000 3,335 12.91 3,631 14.0 3,161 12.15 3,068 11.76 2799 10.73 2735 10.53
2,483 9.52 2170 8.32 2738 10.54
ประชากร) 585 0.02 629 0.24 -3 -0.001

อตั ราตาย 0 0.00

(ต่อ 1,000 2,321 8.98 2,399 9.25 2,290 8.81 14 4.56

ประชากร) 18 1.23
71.99
อตั ราเพ่ิม 80.44

ธรรมชาติ 1,014 0.39 1,200 0.48 871 0.33

(รอ้ ยละ)

อัตรามารดา

ตาย(ต่อการ 4 119.9 0 0.00 1 0.62 0 0.00 1 0.36
เกิดมีชพี

1,000 คน)

อตั ราตายเด็ก

ตา่ กวา่ 1 ปี

(ต่อการเกิดมี 23 6.89 17 4.94 21 6.64 17 6.07 5 1.82

ชีพ 1,000

คน)

อตั ราตายเด็ก

0–5 ปี

(ต่อเดก็ อายุ 29 2.14 23 1.47 26 2.09 19 0.83 19 1.29

0–5 ปี

1,000 คน)

อายุขัยเฉลย่ี 70.13 71.45 70.40 74.37 71.16
เพศชาย 82.92 79.60

อายขุ ยั เฉล่ยี 76.80 80.37 81.18
เพศหญิง

26

1.3 สำเหตุกำรตำย
สาเหตุการตายของประชาชนจงั หวดั นครนายก ในปี 2560 – 2564 อนั ดับที่ 1 ยงั คงเหมือนเดิม

คือ โรคมะเร็งทุกชนิด แตใ่ นปี 2564 มสี าเหตุการตายดว้ ยโรคโควิด 19 (ลาดบั ท่ี 3) จานวน 78.95 ต่อแสนประชากร
เพ่ิมขึ้นมา

อตั รำตำยของประชำชน จำแนกตำมสำเหตกุ ำรตำย ICD-10 10 อันดบั แรก ปี 2560-2564

ลาดับ สาเหตุการตาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

1 มะเรง็ ทุกชนิด อตั รา/แสน ปชก. อตั รา/แสน ปชก. อัตรา/แสน ปชก. อตั รา/แสน ปชก. อัตรา/แสน ปชก.
2 โรคปอดบวม
3 เสยี ชวี ิตจากโควิด 19 133.03 135.34 153.02 119.65 127.48
4 โรคหลอดเลอื ดสมอง 79.82 88.69 121.96 85.52 83.19
5 โรคหวั ใจขาดเลอื ด 78.95
6 ตดิ เช้อื ในกระแสโลหิต - - - - 76.26
7 โรคไตวาย 57.84 60.92 81.68 64.04 68.55
8 โรคตับ 38.94 46.27 49.47 40.26 48.53
9 อบุ ัตเิ หตุอ่ืน ๆ 121.08 79.43 153.02 48.7 27.73
10 โรคความดันโลหติ สูง 33.55 24.68 23.01 25.31 21.18
11 โรคเบาหวาน 23.14 23.14 29.91 18.79 18.10
13.5 18.51 20.7 16.1 14.63
15.42 12.68 13.80 14.61 14.25
20.44 20.82 37.2 16.49

ทมี่ า : กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข

27

1.4 อตั รำปว่ ยของผปู้ ่วยนอก ปี 2564

อัตรำปว่ ยของประชำชนที่มำรับบรกิ ำรในสถำนบรกิ ำรของรัฐ ( ผปู้ ว่ ยนอก )

จำแนกตำมสำเหตุกำรป่วย ICD-10 10 อันดับแรก ปงี บประมำณ 2561-2564

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

จำนวน อัตรำปว่ ย จำนวน อัตรำป่วย จำนวน อตั รำป่วย จำนวน อตั รำป่วย

ลำดับ สำเหตกุ ำรป่วย /แสน /แสน /แสน /แสน

1 145 ความดัน 97,992 37,675.75 95,756 36,723.16 84,505 32,408.31 84,229 32,438.81
โลหติ สงู ท่ีไมม่ ี 75,174 28,902.74 68,880 26,416.01 68,377 26,223.10 64,442 24,818.32
สาเหตุนา

2 104 เบาหวาน

3 207 เนอื้ เย่ือ 41,294 15,876.63 49,231 18,880.46 40,574 15,560.44 32,500 12,516.61
ผดิ ปกติ

4 167 การตดิ เช้ือ 58,343 22,431.59 50,979 19,550.84 40,665 15,595.34 24,201 9,320.44
ของทางเดินหายใจ
ส่วนบนแบบ
เฉยี บพลนั อนื่ ๆ

5 181 ความผดิ ปกติ 45,830 17,620.62 42,272 16,211.63 32,380 12,417.98 21,036 8,101.52
อนื่ ๆ ของฟันและ
โครงสรา้ ง

6 206 พยาธิสภาพ 23,065 88,67.98 29,898 11,466.11 22,211 8,518.09 18,943 7,295.45
ของหลังสว่ นอืน่ ๆ

7 185 โรคอื่น ๆ 26,290 10,107.92 24,858 9,533.23 21,609 8,287.22 18,381 7,079.01
ของหลอดอาหาร
กระเพาะและดโู อ
เดนัม

8 281 การบาดเจบ็ 29,248 11,245.21 24,604 9,435.82 21,167 8,117.71 15,968 6,149.70
ระบเุ ฉพาะอ่ืน ๆ ,
ไมร่ ะบุเฉพาะและ
หลายบรเิ วณใน
รา่ งกาย

9 111 ความผดิ ปกติ 19,148 7,361.98 18,813 7,214.93 16,984 6,513.49 15,905 6,125.44
ของตอ่ มไรท้ อ่
โภชนาการและเม
ตะบอลกิ อน่ื ๆ

10 199 โรคอน่ื ๆ 21,783 83,75.08 22,177 8,505.05 18,610 7,137.08 15,468 5,957.14
ของผิวหนังและ
เนอื้ เยอื่ ใต้ผิวหนงั

ท่ีมา : HDC จังหวัดนครนายก ณ 16 กมุ ภาพันธ์ 2565

28

1.5 อัตรำป่วยของผู้ป่วยใน ปี 2564

อัตรำป่วยของประชำชนท่ีมำรับบรกิ ำรในสถำนบริกำรของรฐั ( ผู้ป่วยใน )
จำแนกตำมสำเหตุกำรป่วย ICD-10 10 อนั ดับแรก ปีงบประมำณ 2561-2564

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
ลาดบั สาเหตุการป่วย จานวน อัตราป่วย จานวน อัตราปว่ ย จานวน อัตราป่วย จานวน อัตราปว่ ย

1 169 ปอดบวม /แสน 1,868 /แสน /แสน /แสน
1,818 701.00 1,147 718.2 1,582 606.71 3,584 1,380.29
1,136 435.66 1,166 449.06
2 239 การดูแลมารดาอ่ืน ๆ ทมี่ ี 1,186 457.31 441
ปัญหาเก่ยี วกบั ทารกในครรภ์ และ
ถุงน้าครา่ และปญั หาทีอ่ าจจะเกิดได้ 1,013 389.48 1,256 481.69 1,088 419.02
ในระยะคลอด 840 322.96 776 297.6 873 336.22

3 253 ภาวะอืน่ ๆ ในระยะปริกาเนดิ 1,240 478.13

4 242 ภาวะแทรกซ้อนอ่นื ๆของการ 731 281.87

ตัง้ ครรภ์ และการคลอด

5 133 ตอ้ กระจกและความผดิ ปกติ 1,507 581.09 1,711 657.84 1,421 544.96 839 323.12

ของเลนสอ์ นื่ ๆ

6 098 โลหติ จางอน่ื ๆ 800 308.47 882 339.11 906 347.46 820 315.80
735 109.28 822 315.24 801 308.49
7 151 หัวใจล้มเหลว 689 103.22 795 306.18 712 274.21 740 284.99
970 372.94 978 375.07 716 275.75
8 154 เนอ้ื สมองตาย 669 257.65
872 336.24 705 271.51 741 285.38 658 253.41
9 281 การบาดเจ็บระบเุ ฉพาะอืน่ ๆ
, ไมร่ ะบเุ ฉพาะและหลายบรเิ วณ 405 155.98
ในรา่ งกาย

10 063 เนอื้ งอกรา้ ยทต่ี ับและทอ่ นา้ ดี
ในตบั

ที่มา : HDC จังหวัดนครนายก ณ 16 กุมภาพันธ์ 2565

29

วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ
ยทุ ธศำสตร์กำรสำธำรณสขุ

จังหวดั นครนำยก

ประเดน็ มงุ่ เน้น แผนยุทธศำสตร์ 20 ปี ค่ำนยิ มองค์กร 30

1.กำรป้องกันโรคตดิ ตอ่ (Covid-19) จงั หวดั นครนำยก M=Mastery เป็นนำยตนเอง
2.กำรปอ้ งกันโรคไม่ติดต่อ 2560-2579 O=Originality เร่งสรำ้ งส่งิ ใหม่
3.กำรดูแลผู้สูงอำยุ P=People Center approach

4.ระบบ IT สำหรบั ใส่ใจประชำชน ตนเอง
ขบั เคลื่อน30 บำท รกั ษำทุกท่ี H=Humility ถ่อมตนอ่อนน้อม
N=Network & Teamwork
5.RTI ทำงำนเปน็ เครือข่ำยและเป็นทีม
6.IMC

7.กำรป้องกันกำรคลอดก่อนกำหนด

วิสยั ทัศนส์ ขุ ภำพ

เป็นองคก์ รต้นแบบด้านสขุ ภาพ โดยการมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครอื ข่ายเพื่อประชาชนสุขภาพดี

1. พัฒนำระบบส่งเสรมิ สุขภำพ พนั ธกิจ 3. พฒั นำระบบบรกิ ำร
และป้องกนั โรค ให้ไดค้ ุณภำพ
2. พัฒนำระบบบริหำร ตำมเกณฑ์มำตรฐำน

ตำมหลักธรรมมำภบิ ำล

4. พัฒนำระบบกำลังคน 5. สง่ เสรมิ กำรมีส่วนรว่ ม
ด้ำนสุขภำพ ของภำคเี ครอื ข่ำย

เปำ้ ประสงค์

ประชาชนสขุ ภาพดี เจา้ หน้าที่ ภาคเี ครอื ข่ายมีความสุข ระบบสขุ ภาพทีย่ งั่ ยืน

ยุทธศำสตร์

13

ส่งเสริม พัฒนำ พัฒนำ บรหิ ำรจัดกำร
ป้องกัน และส่งเสรมิ บคุ ลำกร ดำ้ นกำรแพทย์
ควบคุมโรค กำรจัดระบบ และกำรสำธำรณสขุ
ภัยสุขภำพ ใหม้ ี
และคุ้มครอง บริกำร ประสิทธิภำพ อย่ำงมี
ผู้บรโิ ภค สุขภำพ ในกำรให้บรกิ ำร ธรรมำภิบำล
ให้มีคณุ ภำพ
2 ทีเ่ ปน็ เลศิ

24

ส่งเสรมิ 4 ประเด็นยุทธศำสตร์ 14 แผนงำน 31
ป้องกนั
ควบคุมโรค 1 แผนงำนกำรพัฒนำคุณภำพชวี ิตทกุ กลมุ่ วยั พฒั นำ
ภยั สขุ ภำพ 2 แผนงำนกำรพฒั นำคณุ ภำพชวี ติ ระดบั อำเภอ และส่งเสรมิ
และคุ้มครอง 3 แผนงำนป้องกันควบคมุ โรคและลดปจั จยั เสี่ยงด้ำนสขุ ภำพ กำรจดั ระบบ
ผูบ้ รโิ ภค
บรกิ ำร
4 แผนงำนกำรบริหำรจัดกำรส่ิงแวดลอ้ ม สขุ ภำพ
ให้มคี ุณภำพ
5 แผนงำนกำรพฒั นำระบบบรกิ ำรกำรแพทยฉ์ ุกเฉินครบวงจร และระบบกำรสง่ ตอ่
6 แผนงำนกำรพฒั นำตำมโครงกำรพระรำชดำริ โครงกำรเฉลมิ พระเกียรติ บรหิ ำรจดั กำร
ด้ำนกำรแพทย์
7 แผนงำนกำรพฒั นำระบบริกำรสขุ ภำพ และกำรสำธำรณสุข

(ServicePlan) อย่ำงมี
ธรรมำภบิ ำล
8 แผนงำนกำรพัฒนำระบบกำรแพทยป์ ฐมภมู ิ

พฒั นำ 9 แผนงำนกำรท่องเที่ยวเชิงสขุ ภำพและกำรแพทยแ์ ผนไทย
บคุ ลำกร
10 แผนงำนกำรพฒั นำระบบบริหำรจดั กำรกำลงั คนด้ำนสขุ ภำพ
ให้มี 11 แผนงำนกำบริหำรจัดกำรดำ้ นกำรเงินกำรคลังสขุ ภำพ
ประสทิ ธิภำพ 12 แผนงำนกำรพัฒนำงำนวิจยั และนวัตกรรมด้ำนสุขภำพ
ในกำรใหบ้ ริกำร

ทเ่ี ป็นเลศิ

13 แผนงำนกำรพฒั นำระบบธรรมำภบิ ำลและองคก์ รคณุ ภำพ

14 แผนงำนกำรพฒั นำระบบขอ้ มูลสำรสนเทศดำ้ นสุขภำพ

32

ผลกำรดำเนินงำน
ด้ำนสำธำรณสขุ
ปงี บประมำณ

2564

33

นโยบำยกระทรวงสำธำรณสขุ

กำรขับเคล่ือนกำรดำเนินงำนสู่อนำคตสำธำรณสุขสำหรับปี 2564 ให้ควำมสำคัญสูงสุดต่อกำรพัฒนำงำน
สำธำรณสุขตำมแนวพระรำชดำริ และโครงกำรเฉลิมพระเกียรติเพ่ือเทิดพระเกียรติพระบรมวงศ์ทุกพระองค์
และได้กำหนดประเด็นจดุ มุง่ เนน้ ที่สำคญั ในกำรดำเนินกำรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประชำชน 9 ประเด็นท่ีสำคัญ ดังนี

นโยบำยมุ่งเนน้ ของกระทรวงสำธำรณสขุ ปี 2564

34

ยทุ ธศำสตรค์ วำมเปน็ เลศิ 4 ด้ำน 14 แผนงำน 38 โครงกำร

Performance Agreement : PA 2021 จังหวดั นครน3ำ5ยก

PP&P Excellence

หมอประจำตัว หน่วยบริกำรปฐมภูมิ พชอ.

เป้ำหมำย : จดั ทาขอ้ มลู สถานะสุขภาพ กาหนด เปำ้ หมำย : จดั ตงั้ หน่วยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ขา่ ย เป้ำหมำย : อาเภอมกี ารดาเนนิ การพฒั นา

รปู แบบการจดั บรกิ าร จัดบรกิ ารสง่ เสริมปอ้ งกันโรค /PCU,NPCU เขตเมอื งมีการใช้แอปคยุ กบั หมอ คุณภาพชีวติ และผ่านเกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพ
จัดระบบบรกิ ารใหค้ าปรึกษา จดั ระบบการดูแลสง่ ตอ่ / ชีวติ รอ้ ยละ 75/ ติดตามเสรมิ พลงั แกป่ ระชาชน
จานวน ปชช ทมี่ ีแพทย์เวชศาสตรค์ รอบครัว ผลงำน : หน่วยบริการทเ่ี กิดในปี 2564 มี 6 แหง่ และดแู ลกลมุ่ เปราะบาง/นเิ ทศ ตดิ ตาม การ
ดาเนินงานในพ้ืนท่ี
ผลงำน : มกี ารดาเนนิ การ จานวน 61,266 คน ร้อยละ 24 %
ผลงำน : มีการดาเนินการ 4 อาเภอ
ร้อยละ 24.30%
รอ้ ยละ 100%

สถำนประกอบกำร Service Excellence
ด้ำนกำรท่องเทย่ี ว
สถำนทก่ี ักกัน (AHQ/WQ) กำรจดั คลนิ ิกกัญชำทำงกำรแพทย์

เป้ำหมำย : ตรวจเยี่ยมประเมินมาตรฐาน และสรุป เป้ำหมำย : รพ.สังกัด สป.มแี ผนจดั ตงั้ คลินิก
เป้ำหมำย : 6 แห่ง ไดแ้ ก่ ภูเกต็ ชลบุรี สรุ าษฎรธ์ านี รายงานผลการตรวจเย่ยี มประเมนิ AHQ/WQ/จานวนที่ กญั ชาทางการแพทยแ์ บบบูรณาการ/รพ.สงั กัด
เพมิ่ ขนึ้ ของสถานกกั กันท่ีเปน็ ไปตามาตรฐาน กรมวิชาการ มีการจดั ต้งั คลินกิ กญั ชาทาง
เชยี งราย บุรีรมั ย์ กระบ่ี
หมายเหตุ เขตสุขภาพท่ี 4 ไม่ใชพ่ ้ืนทีเ่ ปา้ หมายผลงาน ผลงำน : จังหวดั นครนายกไม่ใชพ่ ื้นทเ่ี ป้าหมายผลงาน การแพทยแ์ บบบูรณาการ
ผลงำน : มกี ารจดั ตั้งคลินกิ กญั ชาทางการแพทย์

เมืองสมนุ ไพร ครอบครวั มีควำมรอบรู้ 2 แห่ง รอ้ ยละ 50%
ด้ำนสุขภำพ
เปำ้ หมำย : นาร่อง จังหวัดสระบุรี/เมอื งสมนุ ไพร สถำนประกอบกำร
เปำ้ หมำย : จานวนครอบครัวลงทะเบยี นในระบบ ปรับปรงุ มำตรฐำน
ผา่ นเกณฑ์ 3 in 4/ อตั ราการเพมิ่ ขน้ึ ของมลู คา่ รอ้ ยละ
5/ ผลติ ภัณฑส์ มุนไพรทรี่ ับจดแจ้งเพ่มิ ข้ึน รอ้ ยละ 20 โครงการเสรมิ สรา้ งความรอบรวู้ ัยทางาน(10 เป้ำหมำย Kick off ขับเคลอ่ื นอาหารรมิ บาท
Package)/ครอบครวั เข้าถึงการปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม
ผลงำน : จงั หวัดนครนายกไม่ใชพ่ ืน้ ท่ีเปา้ หมาย New Normal วิถี/ตลาดนัดนา่ ซอ้ื จงั หวัดละ 1 แห่ง /SFGH
จังหวดั ละ 1 แหง่
ผลงาน ผลงำน : จานวนครอบครวั ลงทะเบยี น 3,321 ผลงาน : 1. ตลาดบา้ นพรกิ

2.ตลาดคนเดนิ สวนหลวง ร.9

ครอบครัว อัตรำปว่ ยตำย COVID

ควบคุมสถำนกำรณ์ COVID

เปำ้ หมำย : ทกุ จังหวัดสามารถควบคมุ สถานการณ์ COVID-19 เปำ้ หมำย นอ้ ยกว่า ร้อยละ 1.6

ใหส้ งบไดภ้ ายใน 21-28 วัน (เปา้ หมาย รอ้ ยละ 100) ผลงำน : จานวนผปู้ ว่ ยทง้ั หมด 8,599 เสียชวี ิต 119 คน

ผลงำน : 100% รอ้ ยละ 1.38%

Governance Excellence เขตสุขภำพ

กำรตรวจสอบภำยใน (Ayutthaya Self-care Monitoring, Using IoT& Data Science)
01กำรนำแผนงำน/โครงกำร พัฒนำนวตั กรรมกำรบรหิ ำร และกำรจดั บรกิ ำร
เป้ำหมำย : จานวนส่วนราชการและหน่วยงานสังกดั กระทรวง สขุ ภำพไปปฏิบัตใิ นพ้นื ทจี่ รงิ (อำเภอบำงปะหัน อำเภอลำดบัวหลวง อำเภอวงั น้อย
อำเภออทุ ัย)
สาธารณสุขผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การตรวจสอบภายใน/จังหวดั มีการ 02 มีกำรกำกบั ติดตำมและประเมินผล
ดาเนินการสอ่ื สารเพื่อให้เกดิ การรบั รู้ในทศิ ทางเดียวกัน 03สรุปผลกำรดำเนนิ งำน/กำรแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

ผลงำน : 100% นครนำยกไม่ใช่พืน้ ที่นำรอ่ ง

36

สรุปผลกำรดำเนินงำนงำนตำมตวั ช้วี ดั
แผนยุทธศำสตรส์ ำธำรณสุข
จังหวดั นครนำยก

37

Prevention Promotion & Protection excellence

แผนงำนท่ี 1 : กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้ำนสุขภำพ)

ตวั ชว้ี ัด เป้ำหมำย ผลกำร ที่มำ
1. อัตรำสว่ นกำรตำยมำรดำไทยต่อกำรเกิดมชี ีพแสนคน ดำเนนิ งำน กลุ่มงำนส่งเสริมฯ

ไมเ่ กนิ 17ต่อกำรเกิดมีชพี แสนคน 42.90 ศนู ยอ์ นำมัยฯ

2. เดก็ ไทยมกี ำรเจริญเติบโตและพัฒนำกำรสมวัย ศูนย์อนำมยั ฯ

2.1 รอ้ ยละของเด็กอำยุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและสว่ นสูงเฉลย่ี ร้อยละ 62 เด็กสงู ดสี มสว่ น 46.40 กลุ่มงำนสง่ เสรมิ ฯ
กลุ่มงำนส่งเสรมิ ฯ
ทีอ่ ำยุ 5 ปี กลุ่มงำนสง่ เสริมฯ
HDC และสรุปตรวจ
2.2 ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพฒั นำกำรสมวัย ร้อยละ 85 95.65
รำชกำรฯ
ตัวชวี ัด Process*
Health kpi
ร้อยละของเด็กอำยุ 0-5 ปี ไดร้ ับกำรคัดกรองพฒั นำกำร ร้อยละ 90 88.40
กลมุ่ งำนส่งเสริมฯ
เด็กอำยุ 0-5 ปี ที่ไดร้ บั กำรคัดกรองพัฒนำกำร พบสงสัยล่ำช้ำ ร้อยละ 20 19.06 กลมุ่ งำนสง่ เสริมฯ
ผลกำรดำเนนิ งำน
เดก็ อำยุ 0-5 ปี ทีม่ ีพัฒนำกำรสงสยั ลำ่ ช้ำได้รบั กำรติดตำม ร้อยละ 90 86.42
เขตฯ4
เดก็ พฒั นำกำรล่ำช้ำได้รับกำรกระตุ้นพฒั นำกำรด้วย TEDA4I รอ้ ยละ 60
กลุ่มงำนส่งเสรมิ ฯ
36.36
กลมุ่ งำนส่งเสริมฯ
3. เดก็ ไทยมีระดบั สติปัญญำเฉลยี่ ไม่ต่ำกวำ่ 100 ประเทศ

3.1 เดก็ ไทยมรี ะดบั สติปัญญำเฉลีย่ ไม่ตำ่ กว่ำ 100 ระดบั สติปญั ญำเฉล่ียไม่ต่ำ ประเทศ

กวำ่ 100

3.2 รอ้ ยละของเด็กปฐมวยั ทีไ่ ดร้ ับกำรคดั กรองแล้วพบวำ่ มี รอ้ ยละ 70 36.36

พัฒนำกำรล่ำชำ้ ได้รับกำรกระตนุ้ พัฒนำกำรด้วย TEDA4I หรือ

เคร่ืองมือมำตรฐำนอื่น

4. ร้อยละของเด็กอำยุ 6-14 ปี สูงดสี มสว่ น ร้อยละ 66 46.58

5. อัตรำกำรคลอดมชี ีพในหญิงอำยุ 15-19 ปี ไม่เกนิ 27 30.33

6. รอ้ ยละของผ้สู ูงอำยุทีม่ ภี ำวะพ่งึ พิงได้รบั กำรดูแลตำม Care Plan ร้อยละ 85 88.37

7. ผู้สูงอำยมุ ีพฤติกรรมสุขภำพที่พงึ ประสงค์ ไดร้ บั กำรดูแล ร้อยละ 50 13.62
ทงั ในสถำนบริกำรและในชมุ ชน ร้อยละ 95 100
7.1 รอ้ ยละของประชำกรสงู อำยทุ ี่มพี ฤตกิ รรมสขุ ภำพท่พี งึ
ประสงค์
7.2 ร้อยละของตำบลท่ีมีระบบกำรส่งเสริมสขุ ภำพดูแล
ผ้สู ูงอำยุระยะยำว(Long Term Care ) ในชุมชนผ่ำนเกณฑ์

ตวั ชีว้ ัด เป้ำหมำย ผลกำร 38
ดำเนนิ งำน
8. ร้อยละของโรงพยำบำล ขนำด M2 ขนึ ไป ท่ีมกี ำรจัดตัง ท่มี ำ
คลินิกผสู้ งู อำยุ
8.1 ร้อยละของ รพ. ขนำด M2 ขึนไปที่มีกำรจดั ตังคลินกิ ระดับคุณภำพ ≥ 30% 100 กลมุ่ งำนส่งเสริมฯ
ผ้สู ูงอำยรุ ะดบั คุณภำพ ระดบั พืนฐำนขนึ ไป 100% 100 กล่มุ งำนสง่ เสริมฯ
8.2 รอ้ ยละของ รพ. ขนำด M2 ขีนไปที่มกี ำรจดั ตังคลนิ กิ PA เขตฯ 4
ผูส้ ูงอำยรุ ะดบั พนื ฐำนขึนไป 5,000,000ครอบครวั 3,321
9. จำนวนครอบครวั มคี วำมรอบรูส้ ขุ ภำพ

แผนงำนที่ 2 : กำรพัฒนำคณุ ภำพชวี ิตระดบั อำเภอ เป้ำหมำย ผลกำร ท่มี ำ
ร้อยละ 75 ดำเนินงำน PA เขตฯ 4
ตวั ชว้ี ดั
10. รอ้ ยละของอำเภอผ่ำนเกณฑก์ ำรประเมินกำรพัฒนำ 100
คณุ ภำพชวี ติ ทม่ี ีคุณภำพ

แผนงำนท่ี 3 : กำรป้องกันควบคุมโรคและลดปจั จัยเส่ยี งดำ้ นสุขภำพ

ตัวชี้วัด เปำ้ หมำย ผลกำร ทม่ี ำ
ดำเนนิ งำน Health kpi
11.ระดบั ควำมสำเร็จในกำรจัดกำรภำวะฉุกเฉิน ร้อยละ 100(77 จงั หวดั )
100 เขตฯ 4
ทำงสำธำรณสุขของหน่วยงำนระดับจงั หวัด เขตฯ 4
26.02
12. ร้อยละกำรตรวจตดิ ตำมกลมุ่ สงสยั ป่วยโรคเบำหวำน 64.72 จงั หวัด

และ/หรือควำมดันโลหติ สงู 1

12.1 ร้อยละกำรตรวจตดิ ตำมกลุม่ สงสยั ป่วย ≥รอ้ ยละ 60

โรคเบำหวำน

12.2 รอ้ ยละกำรตรวจตดิ ตำมกลุ่มสงสยั ป่วยโรคควำม ≥รอ้ ยละ 70

ดนั โลหติ สูง

13. จำนวนจงั หวัดท่มี ีกำรขบั เคลอื่ นมำตรกำรลดโรคและ 76 จงั หวัด (ไมร่ วม กทม.)

ภัยสขุ ภำพจำกกำรประกอบอำชพี และสิ่งแวดล้อมตำม ระดับจงั หวดั

กฎหมำยและปญั หำสำคัญในพืนที่ -มสี รปุ รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนรำยจงั หวดั

- มสี รปุ ผลกำรขับเคลอ่ื นมำตรกำรลดโรค

และภยั สขุ ภำพจำกกำรประกอบอำชพี และ

สิ่งแวดล้อม ตำมประเดน็ ท่ีกำหนดในนยิ ำม

39

ตวั ช้ีวดั เป้ำหมำย ผลกำร ทม่ี ำ
ดำเนนิ งำน สรุปตรวจรำชกำรฯ
14. รอ้ ยละชมุ ชนผ่ำนเกณฑก์ ำรดำเนินงำน “ชมุ ชนวถิ ี รอ้ ยละ 50 หมำยถึง จำนวนชุมชนทีผ่ ำ่ น
ใหม่ หำ่ งไกล NCDs” เกณฑ์กำรดำเนนิ งำน “ชมุ ชนวิถใี หม่ 100 เขตฯ 4

15. ทกุ จังหวดั สำมำรถควบคมุ สถำนกำรณโ์ รคตดิ เชอื ไวรัส หำ่ งไกล NCDs” อยำ่ งนอ้ ย 76 ชุมชน ท่วั 100 เขตฯ 4
โคโรนำ 2019 (COVID-19) ใหส้ งบได้ ภำยใน 21 – 28 ประเทศ (ดำเนินงำนจงั หวดั ละ 2 ชุมชน เขตฯ 4
วนั ประเทศ
16. รอ้ ยละของผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภำพกลมุ่ เสีย่ งที่ไดร้ ับกำร ผำ่ นเกณฑอ์ ย่ำงน้อย 1 ชมุ ชน)
ตรวจสอบไดม้ ำตรฐำนตำมเกณฑท์ ก่ี ำหนด ร้อยละ 100(76 จงั หวัด และ กทม.) 1 แหง่
17. จังหวดั มีกำรขบั เคลอ่ื นกำรดำเนินงำนอำหำรปลอดภัย 1 แหง่
ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ ำพ(สถำนประกอบกำรปรับปรุงผำ่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 80
มำตรฐำน 76 จงั หวดั และกรุงเทพมหำนคร)
17.1 ตลำดนัด นำ่ ซอื (Healthy Market) จงั หวดั ละ 1 สถำนประกอบกำรปรับปรุงผำ่ นเกณฑ์
แหง่ มำตรฐำน จำนวน 76 จงั หวดั และ
17.2 อำหำรรมิ บำทวิถี (Street Food Good Health) กรุงเทพมหำนคร โดย
จงั หวดั ละ 1 แห่ง
1) ตลำดนัด นำ่ ซือ (Healthy Market)
จงั หวัดละ 1 แห่ง

2) อำหำรรมิ บำทวถิ ี (Street Food Good
Health) จังหวัดละ 1 แห่ง

แผนงำนท่ี 4 : กำรบริหำรจดั กำรสงิ่ แวดล้อม

ตวั ชีว้ ัด เปำ้ หมำย ผลกำร ท่มี ำ
ดำเนนิ งำน
18. รอ้ ยละของโรงพยำบำลทพี่ ัฒนำอนำมยั สงิ่ แวดลอ้ มได้ตำมเกณฑ์ Health kpi
GREEN & CLEAN Hospital โรงพยำบำลผำ่ นเกณฑ์ฯ 100 Health kpi
18.1 รอ้ ยละของโรงพยำบำลทพ่ี ฒั นำอนำมัยสิ่งแวดล้อมไดต้ ำมเกณฑ์ ระดบั ดมี ำก รอ้ ยละ 90 100 Health kpi
GREEN & CLEAN Hospital ผ่ำนเกณฑฯ์ ระดบั ดมี ำกขนึ ไป โรงพยำบำลผำ่ นเกณฑฯ์ ระดับ 100
18.2 รอ้ ยละของโรงพยำบำลทพ่ี ฒั นำอนำมยั สิ่งแวดลอ้ มได้ตำมเกณฑ์ ดีมำก Plus ร้อยละ 40
GREEN & CLEAN Hospital ผำ่ นเกณฑฯ์ ระดบั ดมี ำก Plus ร้อยละ 60 ของจงั หวัดผำ่ น
19. รอ้ ยละของจังหวดั มรี ะบบจัดกำรปจั จัยเสีย่ งดำ้ นสง่ิ แวดลอ้ มที่สง่ ผล
กระทบตอ่ สขุ ภำพผ่ำนเกณฑ์ระดบั ดีมำก เกณฑร์ ะดับดีมำก

40

Service excellence

แผนงำนที่ 5 : กำรพฒั นำระบบกำรแพทย์ปฐมภมู ิ

ตวั ชวี้ ัด เป้ำหมำย ผลกำร ทมี่ ำ
ดำเนนิ งำน
20. จำนวนกำรจดั ตังหน่วยบริกำรปฐมภมู แิ ละเครอื ขำ่ ยหน่วยบริกำร 2,500 หนว่ ย/ผลกำร เขตฯ 4
ปฐมภมู ติ ำมพระรำชบัญญัตริ ะบบสุขภำพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ดำเนินงำน : 1,855 หนว่ ย 6หนว่ ย (รอ้ ยละ24) เขตฯ 4
21. จำนวนประชำชนทีม่ รี ำยชือ่ อยูใ่ นหน่วยบริกำรปฐมภมู แิ ละเครอื ข่ำย 25 ลำ้ นคน/ผลกำรดำเนินงำน 61266(ร้อยละ
หนว่ ยบรกิ ำรปฐมภูมิ ที่มีแพทยเ์ วชศำสตร์ครอบครัวหรอื แพทย์ทผี่ ่ำน 24.30) Health kpi
กำรอบรมและคณะผ้ใู หบ้ รกิ ำรสขุ ภำพปฐมภมู ิ : 18.7101 ล้ำนคน Health kpi
22. ร้อยละของผ้ปู ว่ ย กลมุ่ เปำ้ หมำยท่ไี ดร้ บั กำรดูแลจำก อสม. หมอ 62.12 Health kpi
ประจำบ้ำนมีคุณภำพชวี ิตที่ดี รอ้ ยละ 60 100
22.1 ร้อยละของประชำชนมศี ักยภำพในกำรจัดกำรสุขภำพตนเองได้ 100
ตำมเกณฑ์ รอ้ ยละ 70
22.2 ร้อยละของผู้ป่วยกลมุ่ เป้ำหมำยทไี่ ดร้ ับกำรดแู ลจำก อสม. หมอ
ประจำบ้ำน มคี ุณภำพชวี ติ ทีด่ ี รอ้ ยละ 70(จำนวน 5,079
23. รอ้ ยละตำบลเปำ้ หมำยผำ่ นเกณฑต์ ำบลจดั กำรคณุ ภำพชีวติ ตำบล)

แผนงำนที่ 6 : กำรพฒั นำระบบบริกำรสขุ ภำพ (Service Plan)

ตวั ชีว้ ดั เป้ำหมำย ผลกำร ทีม่ ำ
ดำเนนิ งำน
24. อตั รำตำยของผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง และระยะเวลำท่ีไดร้ ับกำรรักษำทเ่ี หมำะสม น้อยกว่ำร้อยละ 7 เขตฯ 4
24.1 อตั รำตำยของผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke: I60-I69) นอ้ ยกวำ่ ร้อยละ 25 12.46 เขตฯ 4
ตัวชีวัดประกอบ 1อัตรำตำยของผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (Hemorrhagic 31.62 เขตฯ 4
Stroke: I60-I62) น้อยกวำ่ ร้อยละ 5 6.25 เขตฯ 4
ตัวชีวดั ประกอบ 2อตั รำตำยของผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อดุ ตนั
(Ischemic Stroke: I63) มำกกวำ่ หรอื เทำ่ กับ 45.92 เขตฯ 4
ตวั ชีวัดประกอบ 3รอ้ ยละผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี /อุดตันระยะเฉยี บพลัน ร้อยละ 60
(I63) ท่มี อี ำกำรไมเ่ กนิ 4.5 ช่วั โมงไดร้ ับกำรรักษำด้วยยำละลำยลม่ิ เลอื ดทำงหลอด 61.10 กลมุ่ งาน คร.
เลอื ดดำภำยใน 60 นำที (door to needle time) มำกกว่ำหรอื เท่ำกับ กลมุ่ งาน คร.
ตวั ชวี ัดประกอบ 4รอ้ ยละผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง (I60-I69) ที่มอี ำกำรไมเ่ กิน ร้อยละ 60 86.40
72 ช่ัวโมงไดร้ บั กำรรักษำใน Stroke Unit 65.70
25. อัตรำควำมสำเร็จกำรรักษำผปู้ ่วยวัณโรคปอดรำยใหม่ รอ้ ยละ 88
25.1 อตั รำควำมสำเรจ็ กำรรักษำผ้ปู ว่ ยวัณโรคปอดรำยใหม่ ร้อยละ 85

25.2 อัตรำควำมครอบคลมุ ของกำรขึนทะเบยี นรักษำผู้ป่วยวณั โรครำยใหม่และกลบั เป็นซำ

41

ตัวช้ีวดั เปำ้ หมำย ผลกำร ทีม่ ำ
ดำเนนิ งำน
26. ระดับควำมสำเรจ็ ในกำรเตรียมพร้อมและตอบโตก้ ำรระบำด ระดับดมี ำก(76 จังหวดั และ กทม.) เขตฯ 4
โรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ จังหวัด Health kpi
27. อตั รำป่วยตำยของผูป้ ว่ ยโรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนำ 2019 < ร้อยละ 1.60
(COVID-19) ของทงั ประเทศ 1.38 Health kpi
28. ทกุ โรงพยำบำลระดับ A และ S ใหบ้ รกิ ำรตำมแนวปฏิบัติ รอ้ ยละ 100 100
กำรแพทย์วถิ ใี หมใ่ นสำขำทเ่ี ลอื กครบถ้วนตำม Key Step เขตฯ 4
Assessment ร้อยละ 100 100 เขตฯ 4
29. ทุกโรงพยำบำลระดับ A และ S มีกำรจดั ทำแผนและซ้อม เขตฯ 4
แผน BCP for EID - RDU ขันท่ี 2 62% 25 เขตฯ 4
30. ร้อยละของโรงพยำบำลที่ใช้ยำอย่ำงสมเหตผุ ล (RDU) - RDU ขนั ท่ี 3 32% 0
30.1 RDU ขนั ท่ี 2 เขตฯ 4
30.2 RDU ขนั ที่ 3 - รอ้ ยละ 70 ของ รพ.มกี ำรจัดกำร 100 Health kpi
31. รอ้ ยละของโรงพยำบำลทมี่ รี ะบบจัดกำรกำรดอื ยำต้ำนจลุ ชพี AMR (ทกุ กิจกรรมสำคญั ) ผำ่ น ผลกำรดำเนินงำนเขตฯ 4
อย่ำงบูรณำกำร (AMR) 50.63 Health kpi
31.1 รอ้ ยละของโรงพยำบำลทมี่ ีกำรจัดกำรผ่ำนระดับ ระดบั Intermediate 1.74
intermediate ทัง 5 กลุ่ม กิจกรรมสำคญั อตั รำกำรตดิ เชือดอื ยำในกระแส 6.63 เขตฯ 4
เลือดไม่เพิ่มขึนจำกปปี ฏิทนิ 61 19.4 Q1-Q2
31.2 อตั รำกำรตดิ เชอื ดือยำในกระแสเลือด 14.12 กลมุ่ งำน คร.
ลดลงรอ้ ยละ 10 ผลกำรดำเนินงำนเขตฯ 4
32. รอ้ ยละกำรส่งต่อผปู้ ่วยนอกเขตสขุ ภำพลดลง < 3.6 ตอ่ 1,000 ทำรกแรกเกิดมีชีพ 78.40 ผลกำรดำเนินงำนเขตฯ 4
33. อตั รำตำยทำรกแรกเกดิ อำยนุ อ้ ยกว่ำหรือเท่ำกับ 28 วนั 7 ผลกำรดำเนนิ งำนเขตฯ 4
34. ร้อยละกำรบรรเทำอำกำรปวดและจดั กำรอำกำรต่ำง ๆ ด้วย ³ รอ้ ยละ 40
Opioid ในผ้ปู ว่ ยประคับประคองอย่ำงมีคณุ ภำพ 97.62
35. ร้อยละของผูป้ ว่ ยนอกทงั หมดท่ีไดร้ ับบริกำร ตรวจ วินิจฉัย ร้อยละ 20.5
รักษำโรค และฟืน้ ฟูสภำพดว้ ยศำสตรก์ ำรแพทยแ์ ผนไทยและ 26.5
กำรแพทย์ทำงเลือก ≥รอยละ 71
36. รอยละของผปู วยโรคซมึ เศรำเขำถึงบริกำรสุขภำพจติ
37. อตั รำกำรฆำ่ ตัวตำยสำเร็จ ≤ 8.0 ต่อประชำกรแสนคน
37.1 อัตรำกำรฆำ่ ตัวตำยสำเร็จ รอ้ ยละ 90
37.2 รอ้ ยละของผูพ้ ยำยำมฆ่ำตัวตำยไม่กลบั มำทำร้ำยตวั เองซำใน
ระยะเวลำ 1 ปี อัตรำตำยผ้ปู ่วยติดเชือในกระแสเลอื ด
38. อตั รำตำยผู้ป่วยตดิ เชอื ในกระแสเลือดแบบรนุ แรงชนิด แบบรุนแรงชนิด community-
community-acquired acquired sepsis น้อยกวำ่ รอ้ ยละ 26

ตวั ชวี ดั เปำ้ หมำย ผลกำร 42
ดำเนนิ งำน
39. ร้อยละของโรงพยำบำลท่มี ีทมี Refracture Prevention ใน 3.91 ร้อยละกำรจดั ตังทมี เขตสุขภำพ ทม่ี ำ
โรงพยำบำลตังแตร่ ะดบั M1 ขึนไป ที่มแี พทยอ์ อร์โธปดิ ิกสเ์ พ่ิมขนึ Refracture Prevention เพิ่มขึน ประเทศ
ให้ได้อยำ่ งน้อย 1 ทมี ต่อ 1 เขตสขุ ภำพ ในโรงพยำบำลตังแต่ระดับ M1 ขึน สรปุ ตรวจรำชกำรฯ
39.1 ร้อยละของโรงพยำบำลทม่ี ีทีม Refracture Prevention ใน ไป ท่มี แี พทยอ์ อร์โธปิดิกส์ ให้ได้ 3.2
โรงพยำบำลตงั แต่ ระดบั M1 ขึนไป ท่มี ีแพทย์ออร์โธปดิ กิ สเ์ พมิ่ ขึน อย่ำงน้อย 1 ทีมต่อ 1 เขตสุขภำพ 92.20 Health kpi
ให้ได้อยำ่ งน้อย 1 ทมี ตอ่ 1 เขตสขุ ภำพ 3.92 กำรผ่ำตัดภำยใน 72 ช่วั โมง
(Early surgery) > ร้อยละ 50 83.60 สรุปตรวจรำชกำรฯ
39.2 กำรผำ่ ตดั ภำยใน 72 ชวั่ โมง (Early surgery) มำกกวำ่ รอ้ ยละ นบั ตงั แตร่ ับผู้ป่วยเข้ำรกั ษำใน 83 สรุปตรวจรำชกำรฯ
50 นับตงั แต่รบั ผปู้ ว่ ยเขำ้ รักษำในโรงพยำบำล โรงพยำบำล 64.28 สรุปตรวจรำชกำรฯ
3.93 Refracture Rate < รอ้ ยละ 68.25
39.3 Refracture Rate น้อยกวำ่ ร้อยละ 20 (ตัวชีวดั นีใชไ้ ดก้ รณีที่ 20 60 Health kpi
โรงพยำบำลนันทำโครงกำรมำแลว้ 1 ป)ี เขตฯ/ เขตฯ 4
40. อัตรำตำยของผูป้ ่วยโรคกลำ้ มเนอื หวั ใจตำยเฉยี บพลนั ชนดิ < ร้อยละ 9 ประเทศ
STEMI และกำรใหก้ ำรรักษำตำมมำตรฐำนตำมเวลำทก่ี ำหนด
40.1 อตั รำตำยของผปู้ ่วยโรคกลำ้ มเนือหวั ใจตำยเฉยี บพลันชนิด ≥ ร้อยละ 60
STEMI
40.2 ร้อยละของกำรใหก้ ำรรักษำผู้ป่วย STEMI ได้ตำมมำตรฐำน ≥ รอ้ ยละ 70
เวลำทีก่ ำหนด
41. รอ้ ยละผูป้ ว่ ยมะเรง็ 5 อันดบั แรกไดร้ บั กำรรักษำภำยใน ≥ ร้อยละ 75
ระยะเวลำที่กำหนด
41.1 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยทีไ่ ด้รบั กำรรักษำดว้ ยกำรผำ่ ตัดภำยใน ≥ รอ้ ยละ 75
ระยะเวลำ 4 สปั ดำห์
41.2 ร้อยละของผูป้ ่วยทไ่ี ดร้ บั กำรรักษำด้วยเคมีบำบัดภำยใน ≥ 66%
ระยะเวลำ 6 สปั ดำห์
41.3 ร้อยละของผู้ป่วยทไ่ี ด้รับกำรรกั ษำดว้ ยรังสรี กั ษำภำยใน ≥ ร้อยละ 85
ระยะเวลำ 6 สปั ดำห์
42. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ทม่ี อี ตั รำกำรลดลงของ eGFR<5 เพ่มิ ขีนร้อยละ 20
ml/min/1.73m2/yr จำกอัตรำส่วนของจำนวน
43. ร้อยละผ้ปู ว่ ยตอ้ กระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ไดร้ บั
กำรผ่ำตดั ภำยใน 30 วัน
44. อตั รำส่วนของจำนวนผยู้ นิ ยอมบรจิ ำคอวัยวะจำกผ้ปู ่วยสมอง
ตำย ตอ่ จำนวนผ้ปู ว่ ยเสียชีวิตในโรงพยำบำล (โรงพยำบำล A, S)

ตัวชีว้ ดั เปำ้ หมำย ผลกำร 43
ดำเนนิ งำน
45. รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยยำเสพติดท่เี ข้ำสกู่ ระบวนกำรบำบดั รักษำ ผบู้ ริจำคอวยั วะสมองตำยทไี่ ด้รบั ทม่ี ำ
ไดร้ บั กำรดแู ลอย่ำงมีคณุ ภำพอยำ่ งตอ่ เน่อื งจนถงึ กำรติดตำม กำรผำ่ ตัดนำอวัยวะออก ต่อจำนวน 33.81
(Retention Rate) 50 Health kpi
46. กำรบรบิ ำลฟ้ืนสภำพระยะกลำงแบบ Intermediate ward ใน ผปู้ ว่ ยเสียชวี ติ ในโรงพยำบำล ผ่ำน
โรงพยำบำลระดับ M และ F ปี 2562 ของแต่ละเขตสขุ ภำพ เขตฯ 4
46.1 ร้อยละของจังหวัดในเขตสุขภำพทใ่ี ห้กำรบริบำลฟื้นสภำพ 50
ระยะกลำงแบบ Intermediate ward ในโรงพยำบำลระดบั M 55
และ F (Retention Rate
46.2 ร้อยละของผูป้ ่วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ ระบบสมคั รใจ)
Spinal Cord Injury ท่รี อดชวี ติ และมีคะแนน Barthel index
<15 รวมทงั คะแนน Barthel index >15 with multiple ≥ ร้อยละ 40
impairment ไดร้ บั กำรบรบิ ำลฟนื้ สภำพระยะกลำง และติดตำม
จนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ≥ ร้อยละ 65
47. ร้อยละของผู้ป่วยทเ่ี ขำ้ รับกำรผำ่ ตัดแบบ One Day Surgery
³ ร้อยละ 20 ของจำนวนผปู้ ่วย
48. ร้อยละของกำรเกดิ ภำวะแทรกซอ้ นจำกกำรผำ่ ตัดนว่ิ ในถงุ นำดี ทงั หมดต่อปีในกลมุ่ โรคท่ีให้บริกำร
หรือถงุ นำดีอกั เสบผำ่ น กำรผ่ำตดั แผลเล็ก (Minimally Invasive
Surgery : MIS) ODS
48.1 เกดิ กำรบำดเจบ็ CBD injury หรอื เกดิ massive bleeding
ซึง่ ต้องใหเ้ ลอื ด 2 ยนู ิต ขึนไประหวำ่ งผำ่ ตัดหรือ hollow viscus < ร้อยละ 1
organ injury
48.2 Re-admit ภำยใน 1 เดอื น (ที่เก่ียวกับกำรผำ่ ตัด เชน่ delay < รอ้ ยละ 5
detect CBD injury หรือ delay detect hollow viscus organ
injury หรือ surgical site infection: SSI) รอ้ ยละ 50
49. รอ้ ยละของหน่วยบริกำรสำธำรณสุขที่มีกำรจดั บรกิ ำรคลินกิ
กญั ชำทำงกำรแพทย์แบบบูรณำกำร

44

แผนงำนที่ 7 : กำรพัฒนำระบบบรกิ ำรกำรแพทยฉ์ ุกเฉินครบวงจรและระบบกำรส่งต่อ

ตัวชว้ี ัด เปำ้ หมำย ผลกำร ท่มี ำ
ดำเนนิ งำน
50. อตั รำกำรเสยี ชวี ติ ของผ้ปู ่วยวกิ ฤตฉุกเฉนิ < รอ้ ยละ 12
50.1 อตั รำกำรเสยี ชวี ิตของผปู้ ่วยวิกฤตฉกุ เฉิน (triage level 1) ผลกำรดำเนินงำน
ภำยใน 24 ชวั่ โมง ในโรงพยำบำลระดับ A, S, M1 (ทงั ที่ ER และ ≥ รอ้ ยละ 80 13.92 เขตฯ 4
Admit) น้อยกวำ่ ร้อยละ 12 (Trauma<12%, Non- ≥ รอ้ ยละ 60
trauma<12%) £ รอ้ ยละ 30 ผลกำรดำเนนิ งำน
ตัวชวี ดั ประกอบ 1 อัตรำของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมี ≥ ร้อยละ 80 38.46 เขตฯ 4
ขอ้ บ่งชใี นกำรผำ่ ตดั ในโรงพยำบำลระดับ A, S, M1 สำมำรถเข้ำ ไม่ต่ำกวำ่ รอ้ ยละ 26
หอ้ งผ่ำตดั ได้ภำยใน 60 นำที 95.56 ผลกำรดำเนนิ งำน
ตวั ชวี ัดประกอบ 2 อัตรำของผ้ปู ว่ ย triage level 1, 2 อยู่ในหอ้ ง เขตฯ 4
ฉกุ เฉิน < 2 ชม. ในโรงพยำบำล ระดบั A, S, M1
ตวั ชีวดั ประกอบ 3 อตั รำตำยผ้ปู ่วยบำดเจบ็ รนุ แรงต่อสมอง ผลกำรดำเนนิ งำน
(mortality rate of severe traumatic brain injury) (GCS ≤ 8)
ในโรงพยำบำลระดบั A, S, M1 54.35 เขตฯ 4
ตวั ชวี ัดประกอบ 4 อตั รำของ TEA unit ในโรงพยำบำลระดับ A, S,
M1 ทผี่ ำ่ นเกณฑ์ประเมินคณุ ภำพ (ไมต่ ำ่ กว่ำ 20 คะแนน) 0 ผลกำรดำเนินงำน
51. รอ้ ยละของประชำกรเขำ้ ถึงบริกำรกำรแพทยฉ์ ุกเฉิน เขตฯ 4

18.33 ผลกำรดำเนินงำน
เขตฯ 4

52. ร้อยละของโรงพยำบำลศูนยผ์ ำ่ นเกณฑ์ ER คุณภำพ รอ้ ยละ 100 ผลกำรดำเนนิ งำน

0 เขตฯ 4

แผนงำนท่ี 8 : กำรพัฒนำตำมโครงกำรพระรำชดำริ โครงกำรเฉลิมพระเกยี รติ และพนื้ ทเี่ ฉพำะ

ตัวช้วี ดั เปำ้ หมำย ผลกำร ท่ีมำ
ดำเนินงำน
53. ร้อยละของหนว่ ยบริกำรกลุ่มเปำ้ หมำยมมี ำตรฐำนกำรบริกำร รอ้ ยละ 50 ของหน่วยบรกิ ำรใน
สุขภำพนกั ทอ่ งเทีย่ วในพนื ทเี่ กำะตำมท่กี ำหนด 11จังหวดั (49แห่งจำกทงั หมด98แหง่ ) จังหวดั นครนำยก

54. อัตรำกำรเพ่ิมขึนของจำนวนสถำนประกอบกำรด้ำนกำร เพิ่มขนึ รอ้ ยละ 5 ไมใ่ ช่จงั หวัด
ทอ่ งเทยี่ วเชิงสุขภำพทไี่ ด้รบั มำตรฐำนกำรท่องเทีย่ ว
เป้ำหมำย

เขต/ประเทศ

แผนงำนท่ี 9 : อตุ สำหกรรมกำรแพทยค์ รบวงจร กำรท่องเท่ียวเชงิ สุขภำพ ควำมงำมและแพทย์แผนไทย 45

ตวั ชวี้ ัด เป้ำหมำย ผลกำร ทม่ี ำ
ดำเนนิ งำน
55. รอ้ ยละเมอื งสมนุ ไพรผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน รอ้ ยละ 70 (10 จังหวัด)
56. ร้อยละทเ่ี พิ่มขนึ ของสถำนทกี่ กั กนั ตัวตำมทร่ี ัฐกำหนด เพิ่มขนึ รอ้ ยละ 5 เขต/ประเทศ
(AHQ/WQ) ได้มำตรฐำนตำมเกณฑ์กำรรบั ชำวต่ำงชำติ
ส่วนกลำง

46

People excellence

แผนงำนที่ 10 : กำรพัฒนำระบบบรหิ ำรจดั กำรกำลังคนด้ำนสขุ ภำพ

ตัวชว้ี ัด เปำ้ หมำย ผลกำรดำเนินงำน ท่มี ำ

57. ระดับควำมสำเร็จของเขตสุขภำพท่มี กี ำรบริหำรจดั กำรระบบ คะแนน ≥12 คะแนน
กำรผลิตและพฒั นำกำลงั คนไดต้ ำมเกณฑ์
58. ร้อยละของเขตสุขภำพท่ีมีกำรบริหำรจดั กำรกำลังคนท่ีมี (≥ 6 เขตสุขภำพผำ่ นเกณฑ์)
ประสทิ ธภิ ำพ
59. รอ้ ยละของบุคลำกรที่มคี วำมพรอ้ มรองรบั กำรเขำ้ สตู่ ำแหน่งท่ี ตำแหน่งว่ำงคงเหลือไม่เกิน เขตสขุ ภำพ
สงู ขึนได้รบั กำรพฒั นำ รอ้ ยละ 4
60. องค์กรแห่งควำมสขุ ทม่ี ีคุณภำพและเปน็ ตน้ แบบ
(≥ 9 เขตสขุ ภำพผำ่ นเกณฑ์)
60.1 จงั หวัดมอี งค์กรแห่งควำมสุขทม่ี คี ณุ ภำพและเป็นต้นแบบ
60.2 กรมวิชำกำรมอี งค์กรแหง่ ควำมสขุ ทม่ี คี ณุ ภำพและเป็น บุคลำกรผ่ำนกำรพัฒนำ
ตน้ แบบ
เพอื่ รองรับกำรเข้ำสู่ตำแหน่ง

สงู ขนึ

ไม่นอ้ ยกว่ำรอ้ ยละ 80

มีองคก์ รแหง่ ควำมสขุ ท่ีมี กระทรวงสำธำรณสุข จะ

คณุ ภำพและเป็นตน้ แบบ ประเมินควำมสุขบุคลำกร

• จงั หวัดละ 1 แหง่ (Happinometer) แ ล ะ

• กรมวิชำกำรละ 1 แหง่ กำ ร ป ร ะ เ มิ นสุ ขภ ำ ว ะ

องค์กรภำครัฐ (HPI ) โดย

สร้ำง Website : Happy

MOPH เ พ่ื อ เ ป็ น แ ห ล่ ง

รวบรวมผลกำรดำเนินงำน

แ ล ะ ฐ ำ น ข้ อ มู ล ก ำ ร

ขับเคล่ือนควำมสขุ ซึ่ง

ส ำ นั ก ง ำ น ส ำ ธ ำ ร ณ สุ ข

จังหวัดร่วมกบั ชมรมชวี มี ีสุข

จะจัดกิจกรรมและพัฒนำ

อยำ่ งตอ่ เน่ือง และจะตดิ ตำม

กำรดำเนินกิจกรรมสร้ำง

สุขภำยในองค์กรในรพช.

และสสอ.

1 กลุ่มงำนทรัพฯ

47

Governance excellence

แผนงำนท่ี 11 : กำรพฒั นำระบบธรรมำภิบำลและองค์กรคณุ ภำพ เป้ำหมำย ผลกำร ท่ีมำ
ดำเนินงำน
ตวั ช้ีวดั Health kpi
77.78 Health kpi
61. รอ้ ยละของหนว่ ยงำนในสังกัดสำนักงำนปลดั กระทรวงสำธำรณสุข รอ้ ยละ 92 สว่ นกลำง
Health kpi
ผำ่ นเกณฑ์กำรประเมิน ITA 100 Health kpi
Health kpi
62. ร้อยละของหน่วยงำนในสังกดั กระทรวงสำธำรณสุขผำ่ นเกณฑ์กำรประเมนิ ITA รอ้ ยละ 85 สว่ นกลำง Health kpi

63. ร้อยละของส่วนรำชกำรและหนว่ ยงำนสังกดั กระทรวงสำธำรณสขุ รอ้ ยละ 75 ของสว่ นรำชกำร และ 100
100
ผ่ำนเกณฑ์ กำรประเมนิ กำรตรวจสอบภำยใน กำรควบคุมภำยในและ หน่วยงำนสังกัดกระทรวงสำธำรณสขุ
100
กำรบรหิ ำรควำมเส่ียง ผ่ำนเกณฑก์ ำรประเมนิ กำร
66.67
ตรวจสอบภำยใน กำรควบคมุ เขต

ภำยในและกำรบรหิ ำรควำมเส่ยี ง

64. รอ้ ยละควำมสำเร็จของสว่ นรำชกำรในสงั กดั สำนกั งำน

ปลัดกระทรวงสำธำรณสขุ ทด่ี ำเนนิ กำรพัฒนำคณุ ภำพกำรบริหำรจดั กำร

ภำครัฐผ่ำนเกณฑ์ที่กำหนด

64.1. ร้อยละควำมสำเร็จของส่วนรำชกำรในสังกัดสำนกั งำน ระดบั 5 (รอ้ ยละ 95)

ปลดั กระทรวงสำธำรณสขุ ทดี่ ำเนนิ กำรพฒั นำคณุ ภำพกำรบรหิ ำรจดั กำร

ภำครัฐผ่ำนเกณฑท์ ี่กำหนด (กองส่วนกลำง)

64.2 ร้อยละควำมสำเรจ็ ของสว่ นรำชกำรในสงั กดั สำนกั งำน ระดับ 5 (ร้อยละ 95)

ปลัดกระทรวงสำธำรณสุขทด่ี ำเนนิ กำรพัฒนำคุณภำพกำรบรหิ ำรจดั กำร

ภำครัฐผ่ำนเกณฑท์ ีก่ ำหนด (สำนกั งำนสำธำรณสขุ จงั หวัด)

64.3 ร้อยละควำมสำเรจ็ ของส่วนรำชกำรในสงั กดั สำนักงำน ระดับ 5 (รอ้ ยละ 95)

ปลดั กระทรวงสำธำรณสขุ ท่ดี ำเนนิ กำรพฒั นำคณุ ภำพกำรบริหำรจดั กำร

ภำครัฐผำ่ นเกณฑ์ทีก่ ำหนด (สำนกั งำนสำธำรณสุขอำเภอ)

65. รอ้ ยละของโรงพยำบำลสังกัดกระทรวงสำธำรณสุขมีคณุ ภำพ

มำตรฐำนผ่ำนกำรรับรอง HA ขัน 3

65.1 ร้อยละจำนวนโรงพยำบำลศนู ย์ โรงพยำบำลทั่วไปสงั กดั สำนกั งำน ร้อยละ 98

ปลัดกระทรวงสำธำรณสุข มีคุณภำพมำตรฐำนผ่ำนกำรรบั รอง HA ขนั 3

65.2 รอ้ ยละของโรงพยำบำลสังกดั กรมกำรแพทย์ กรมควบคมุ โรค และ ร้อยละ 98

กรมสุขภำพจติ มคี ณุ ภำพมำตรฐำนผ่ำนกำรรับรอง HA ขนั 3

65.3 ร้อยละของโรงพยำบำลชุมชนสังกัดสำนักงำนปลดั กระทรวง รอ้ ยละ 80

สำธำรณสุข มคี ุณภำพมำตรฐำนผำ่ นกำรรบั รอง HA ขัน 3

66. รอ้ ยละของ รพ.สต. ทผี่ ่ำนเกณฑ์กำรพฒั นำคณุ ภำพ รพ.สต.ติดดำว รพ.สต.ผำ่ นเกณฑพ์ ฒั นำคณุ ภำพ
รพ.สต.ติดดำวระดับ 5 ดำว
รอ้ ยละ 75 (สะสม)


Click to View FlipBook Version