The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirapawat, 2021-07-25 05:35:54

SAR ปีการศึกษา 2563

SAR ปีการศึกษา 2563



รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑



คานา

กฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๖
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั ประกอบด้วยระบบการประกันคณุ ภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรา ๔ ๘ ให้ห น่วยงานต้น สังกัดและสถานศึกษ าจัดให้มีระบบ การประกันคุณ ภ าพ ในสถานศึกษ า
และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง
โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน
เพ่อื นาไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประจาปี ๒๕๖๓ ซึ่งรวบรวมข้อมูล ผลการดาเนินงาน และแนวทางการพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพ ขอขอบคุณ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน องค์กรหลักของโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง
ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการให้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ เพื่อเป็นฐานข้อมูลของการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาให้มคี ุณภาพดยี ง่ิ ขน้ึ ต่อไป

(นางปัณฑารีย์ บุญแรง)
ผู้อานวยการโรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑



(กZ)
บทสรุปสาหรับผู้บรหิ าร

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของโรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

รายงานผลการประเมินตนเองของโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ได้จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการ
ดาเนินการจัดการศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตามกรอบนโยบายปฏิรูปการศึกษาระบบการประเมิน
และการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และเพื่อรายงานผลการดาเนินงานให้แก่หน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบ
และเสนอต่อสาธารณ ชนโดยอิงมาตรฐานการศึกษาของสานักงานคณ ะกรรมการการศึกษ าข้ันพ้ืนฐาน
ที่มีการกาหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งดาเนินการตามมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามีส่วนประกอบของรายงาน ได้แก่ ข้อมูลพ้ืนฐาน

ผลการประเมนิ ตนเอง ผลสรุปแนวทางการพฒั นาคุณภาพ และความต้องการการชว่ ยเหลอื
ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ได้จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรม

ราชินูปถัมภ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ได้พฒั นาคณุ ภาพตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ มผี ลการปฏบิ ตั ิงาน ดงั นี้

ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน อยู่ในระดับ
ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียน
การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อยู่ในระดับ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๔ ความเป็นกุลสตรีแห่งวังเจ้าสาย
อยู่ในระดับ ดีเลิศ สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาในภาพรวมได้คะแนน รอ้ ยละ ๗๖ อยู่ในระดับคุณภาพ
ดีเลิศ

ทั้งน้ีการจัดการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ได้วางแผนการดาเนินงาน

พฒั นาอย่างไม่หยุดยั้ง ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้อื โคโรนา ๒๐๑๙ โดยองค์กรหลักของโรงเรียนร่วมกนั การ

วางแผนการพฒั นา มีนโยบายและร่วมวางแผนการดาเนินงาน พัฒนาทักษะการใชช้ ีวิต ทักษะการคิด การใช้เทคโนโลยี
เพ่ือการเรียนรู้ (ICT) ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรเข้ารับการอบรมให้สามารถสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบActive
learning การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยใช้
เทคโนโลยีท่ีทันสมัย รวดเร็วเท่าทันสถานการณ์ปัจจุบัน เพ่ือให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วในการสื่อสาร การพัฒนา

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เอือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเปน็ เลิศในทุกๆด้าน ทกุ กลุ่มเป้าหมาย

ผู้เรยี นมีคณุ ภาพทัง้ ด้านความร้คู วามสามารถและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามเปา้ หมายของสถานศกึ ษาต่อไป

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑



(ข) หน้า

สารบญั ข

คานา ๖
บทสรุปของผู้บริหาร ๗
สารบญั ๙
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป ๑๓
๑๕
๑.๑ ทต่ี ั้ง ๒๑
๑.๒ ประวัตโิ รงเรยี น ๒๑
๑.๓ ข้อมลู บคุ ลากร ๒๒
๑.๔ ขอ้ มลู นักเรียน ๒๕
๑.๕ ข้อมลู อาคารสถานท่ี ๓๘
๑.๖ ข้อมูลงบประมาณ ๔๔
๑.๗ ขอ้ มูลสภาพชมุ ชน ๕๓
๑.๘ ข้อมูลโครงสรา้ งสถานศึกษา
๑.๙ แหล่งเรยี นรแู้ ละภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ๕๗
๑.๑๐ ผลการจัดการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รสถานศึกษา ๖๒
๑.๑๑ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ๖๓
๑.๑๒ ผลงานดเี ดน่ / รางวัล / ผลการปฏบิ ตั ิที่เปน็ เลิศ ( Best Practice ) ของสถานศึกษา
๖๕
สว่ นที่ ๒ การพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ๘๐
๑. การบริหารจัดการสถานศึกษา ๘๕
๘๘
๒. วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย และกลยุทธ์ของสถานศึกษา
๙๔
๓. โครงการทสี่ อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๙๕
๙๕
ส่วนท่ี ๓ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๙๖
๑. มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพทเี่ รียน

๒. มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๓. มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ

๔. มาตรฐานท่ี ๔ ความเปน็ กุลสตรีแหง่ วงั เจา้ สาย

ส่วนที่ ๔ สรปุ ผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการชว่ ยเหลอื

๔.๑ สรุปผลในภาพรวม
๔.๒ แนวทางการพฒั นาในปตี ่อไป
๔.๓ ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลอื
ภาคผนวก

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑



สว่ นที่ ๑ ขอ้ มลู พน้ื ฐานทวั่ ไป

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑



สว่ นที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

๑.๑. ท่ีตั้ง

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ตงั้ อยู่เลขที่ ๑๕๙๘ ถนนกรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขต
ป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ ๑๐๑๐๐ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑
โทรศัพท์ ๐-๒๒๒๑-๐๑๙๖, ๐-๒๒๒๑-๐๘๒๔ โทรสาร ๐-๒๖๒๓-๓๔๐๒, ๐-๒๖๒๓-๒๒๔๙ website
http://www.saipanya.ac.th เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เนื้อท่ี ๔ ไร่
๒ งาน ๐.๖ ตารางวา เขตพื้นท่ีบริการ ได้แก่ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์ และเขตปทุมวนั (ยกเว้น แขวง
ลมุ พนิ ี)

แผนผงั ทต่ี ง้ั โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑


๑.๒ ประวตั โิ รงเรยี น

๑.๒.๑ ประวตั โิ รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์
พ.ศ. ๒๔๕๕ ภายหลังจากพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์
สิ้นพระชนมไ์ ด้ ๑ ปี ทายาทพรอ้ มใจกนั ยกพระตาหนักของพระองค์
พรอ้ มทด่ี นิ ข้างเคยี งใหเ้ ปน็ ของรฐั บาลใช้เป็นโรงเรียนกุลสตรี
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวพระราชทานนามโรงเรียนว่า
“โรงเรียนสายปญั ญา”
พ.ศ. ๒๔๖๐ เปดิ รบั นกั เรยี นรุ่นแรก โดยมีหมอ่ มราชวงศ์เต้ือง
สนทิ วงศ์ เป็นอาจารยใ์ หญค่ นแรก
พ.ศ. ๒๔๖๑ จอมพลสมเด็จพระเจ้าวรวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ ภาณุรงั ษี
สว่างวงศ์ กรมพระยาภาณพุ ันธวุ์ งศ์วรเดช เสด็จทรงเปดิ โรงเรยี น และ
พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท (ในจอมมารดา ม.ร.ว. เนื่อง สนิทวงศ์) ทรงกรุณารับเป็นองค์อุปการะตลอดมาจน
ส้นิ พระชนม์ และสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร ได้ทรงพระกรณุ าเป็นองคอ์ ปุ การะต่อมา
พ.ศ. ๒๔๙๖ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับโรงเรียนสายปัญญา และสายปัญญา
สมาคมไวใ้ นพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์
พ.ศ. ๒๕๐๙ โรงเรียนสายปัญญาได้รื้อพระตาหนักเดิมของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์
เพราะชารุดทรุดโทรมเกินกวา่ จะซ่อมแซมได้ คณะกรรมการสายปญั ญาสมาคม ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ ได้สร้างอาคาร
หลังใหมแ่ ทน เป็นอนุสรณ์แดท่ ่านเจ้าของตาหนักเดิม การกอ่ สรา้ งแลว้ เสร็จ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๗ และใชช้ ื่ออาคารหลังนี้ว่า
“พระองคเ์ จา้ สายสนิทวงศ์”
พ.ศ. ๒๕๑๗ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถองค์บรมราชินูปถัมภ์ เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิด
อาคาร “พระองคเ์ จา้ สายสนิทวงศ์”
พ.ศ.๒๕๒๒ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเปิดตึกวงษานุประพัทธ์ พร้อมเปิดป้าย
ชอ่ื ตกึ เยาวภาพงศส์ นิท(ตึกกลาง) และตึกรงั สิตประยูรศักดิ์
พ.ศ. ๒๕๒๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีพร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสม
สวลี และพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจา้ พัชรกิติยาภา เสด็จเปดิ อาคาร “สายสวุ พรรณ”
พ.ศ. ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานชื่ออาคารอเนกประสงค์ ๗ ชั้น ว่า “อาคารเฉลิมพระ
เกยี รติ”
พ.ศ. ๒๕๔๑ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ประทานชื่อพระพุทธรูปประจา
โรงเรียนว่า “พระพุทธสัมมาปัญญาประทาน”และในวนั ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ในปีเดียวกัน ได้รับพระราชทานรางวลั ห้องสมุด
ดีเดน่ ของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย จากสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกุมารี

พ.ศ. ๒๕๔๘ ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๑๖ พฤศจิกายน ได้มีการจัดงาน “พิธีเทศน์มหาชาติเฉลิมพระเกียรติ” ขึ้น
เป็นครัง้ แรก โดยความร่วมมือระหวา่ ง สายปัญญาสมาคมฯ และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ ในวนั ที่ ณ
ห้องประชุมชั้น ๕ อาคารเฉลิมพระเกียรติ และได้มีการจัดโครงการพัฒนาการศึกษาปริยัติธรรมข้ึนเป็นครั้งแรก โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือจัดการศึกษาปริยัติธรรมในสถานศึกษาให้แก่ผู้เรียน ซึ่งได้แก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑


ลูกจ้างประจา ได้ศึกษาธรรมตามความสนใจ โดยได้รับความร่วมมือและความอนุเคราะห์จากท่านเจ้าคุณ พระเทพ
สิรภิ ิมณฑ์ และพระวิทยากร จากวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

วันท่ี ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จไปยัง
หอ้ งประชุมสายปัญญาสมาคม โรงเรียนสายปัญญา ทรงบาเพ็ญพระกุศลถวายพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์
เนือ่ งในโอกาสครบ ๑๐๐ ปวี ันส้ินพระชนม์ ในการนี้ทอดพระเนตรนิทรรศการ "๑๐๐ปีรฦก พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้า
สายสนิทวงศ์" แสดงพระประวัติ และพระกรณียกิจ ท่ีทรงมีพระปรีชาสามารถในด้านการแพทย์ สมุนไพร ศิลปะดนตรี
วิทยาศาสตร์ และการช่าง ท่ีพระองคท์ รงปฏบิ ัติมาตลอดพระชนม์ชีพ ในการถวายงานพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวซ่ึงนักเรียน และทางโรงเรียนสายปัญญาได้ร่วมกันจัดกิจกรรมข้ึนเพื่อน้อมราลึกถึง พระกรุณาธิคุณ ที่
ทรงมคี ุณปู การต่อโรงเรียนสายปัญญา

ปัจจบุ นั โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เปน็ โรงเรยี นสตรี เปิดสอนตั้งแตร่ ะดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี
๑–๖ ไดแ้ ก่ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ปที ่ี ๑-๓ ระดับชั้นละ ๖ ห้องและระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย ปีที่ ๔-๖ ระดบั ชนั้
ละ ๑๐ หอ้ ง รวมทัง้ ส้ิน ๔๘ หอ้ งเรียน มนี ักเรียนจานวน ๑,๒๐๘ คน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑



๑.๓ ขอ้ มลู บคุ ลากร
๑.๓.๑ ขอ้ มลู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

๑) ผอู้ านวยการโรงเรียน นางสาววมิ ลนาถ บัวแก้ว

วิทยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ

โทรศัพท์ ๐-๒๒๒๑-๐๑๙๖ ต่อ ๑๑๑

วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุด ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาบริหารการศกึ ษา

ตาแหนง่ ท่ีโรงเรียนน้ีตง้ั แต่วันท่ี ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๖๑ จนถงึ

30 ตุลาคม 256๓ เปน็ เวลา ๑ ปี ๑๑ เดือน

๒) ผู้ชว่ ยผู้อานวยการโรงเรยี น นายรชต เปรมฤทยั สกลุ
วทิ ยฐานะ - โทร 064 753 6686
E-mail [email protected]
วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ คบ. ครศุ าสตรบณั ฑติ วิชาเอก สังคมศึกษา

ดารงตาแหน่งผู้ชว่ ยรองผอู้ านวยการตง้ั แต่๑พฤษภาคม๒๕๖๒
จนถึง๒๙ ตุลาคม 256๓ เปน็ เวลา ๑ปี ๕ เดือน
รับผิดชอบกลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ

๓) ผู้ชว่ ยผู้อานวยการโรงเรยี น นางอบุ ลรัตน์ รากะสง

วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โทร ๐๘๑-๗๗๖๙๗๒๓

E-mail [email protected]

วุฒิการศึกษาสูงสุด กศ.บ.วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์

ดารงตาแหนง่ ผู้ชว่ ยรองผอู้ านวยการต้ังแต่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๘

จนถงึ ๒๙ ตลุ าคม 256๓ เป็นเวลา ๕ ปี ๙ เดอื น

รับผดิ ชอบกลุ่มบริหารงานบุคคลฯ

๔) ผู้ชว่ ยผู้อานวยการโรงเรียน นางสาวปาริฉัตร พลสมบตั ิ
วิทยฐานะ - โทร ๐๙๐๖๗๒๒๗๕๓
E-mail [email protected]
วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ค.ม. สาขาการสอนภาษาไทย

ดารงตาแหนง่ ผ้ชู ว่ ยรองผู้อานวยการตั้งแต่๑ตุลาคม๒๕๖๒
จนถงึ ๒๙ ตลุ าคม 256๓เปน็ เวลา ๑๑ เดือน รับผิดชอบกลุ่มบริหารกจิ การนักเรียน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๑๐

๔) ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการโรงเรียน นายธนพงศ์ พลอยลอย

วทิ ยฐานะ ชานาญการ โทร ๐๙๕๕๒๑๒๓๒๕

E-mail tanapong๒๙๐๔@gmail.com

วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ วท.บ. สาขา ฟิสกิ ส์

ดารงตาแหนง่ ผู้ช่วยรองผอู้ านวยการตง้ั แต่๑๖พฤษภาคม๒๕๖๒

จนถงึ 30ตุลาคม256๓

เปน็ เวลา ๑ ปี ๕ เดอื น รบั ผิดชอบกล่มุ บรหิ ารงานท่วั ไป

ข้อมลู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

๑) ผอู้ านวยการโรงเรียน นางปณั ฑารีย์ บญุ แรง

วิทยฐานะ ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ

โทรศัพท์ 096-9437759

E-mail [email protected]

วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด การบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง

ดารงตาแหนง่ ที่โรงเรยี นนต้ี ัง้ แต่ ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๖๓ จนถึง

ปัจจุบนั จนถึงปจั จบุ นั เปน็ เวลา - ปี เดอื น ๗

๒) รองผู้อานวยการโรงเรยี น นางสาวอารรี ัตน์ หล้าหบิ

วทิ ยฐานะ รองผู้อานวยการชานาญการ

โทรศพั ท์ 063-9942935

E-mail [email protected]

วุฒิการศกึ ษาสงู สุด การบริหารการศึกษา

ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการตั้งแต่ 30 ตลุ าคม 256๓

จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา - ปี 7 เดอื น

รบั ผดิ ชอบกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๑๑

๓) รองผู้อานวยการโรงเรยี น นางสาวสชุ รี า ใจหวัง

วทิ ยฐานะ รองผูอ้ านวยการชานาญการ

โทรศัพท์ ๐๙๖-๘๘๙๙๓๕๘

E-mail [email protected]

วฒุ ิการศึกษาสงู สุด การบรหิ ารการจัดการศึกษา

ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการตง้ั แต่ 30 ตุลาคม 256๓

ปจั จบุ ันเปน็ เวลา - ปี ๗ เดือน รบั ผิดชอบกลมุ่ บรหิ าร

งบประมาณและงานบคุ คล

๔) รองผู้อานวยการโรงเรียน นางสาววรลั ชญาน์ วรวิศาลเกยี รติ

วิทยฐานะ -

โทรศพั ท์ 061-5615494

E-mail [email protected]

วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ปรญิ ญาโท การบริหารการศึกษา (ศษ.ม.)

ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการตงั้ แต่30 ตลุ าคม 256๓

จนถงึ ปจั จุบนั เป็นเวลา - ปี 7 เดอื นรบั ผิดชอบกลุ่ม

บริหารงานท่ัวไปและกลุ่มบรหิ ารกิจการนักเรียน

๑.๓.๒ ขอ้ มลู หวั หนา้ งานประกนั คณุ ภาพการศึกษาและหวั หน้างานแผนงานของสถานศกึ ษา

๑) หวั หนา้ งานประกันคุณภาพการศกึ ษา :

นางองั คนาง บญุ ศริ ิ

วฒุ ิการศึกษาสงู สุด ศษ.ม. สาขานวตั กรรมหลกั สตู รและการจัดการเรียนรู้

ครกู ลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

โทรศัพท์ ๐๖๑-๒๘๗๗๕๖๕

E- mail [email protected]

๒) หัวหน้างานนโยบายและแผนของสถานศกึ ษา :

นางสาวศิวไิ ลซ์ ธาราเพ็ชรัตน์

วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสดุ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบรหิ ารการศึกษา)

ครกู ลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

โทรศัพท์ ๐๙๒-๙๗๕๐๓๖๔

E-mail [email protected]

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๑.๓.๓ ข้อมลู ครแู ละบคุ ลากร ครู ครู ครู พนักงาน ครู ครู ลกู จ้าง ๑๒
๑) วทิ ยฐานะ คศ.๒ คศ.๑ ผชู้ ว่ ย ราชการ อตั ราจา้ ง ต่างชาติ ประจา
รวม
ครแู ละ ครู ครู ครู ๑๓ ๓๕ ๔ ๑ ๘ ๕ ๕ ๗๖
บคุ ลากร คศ.๕ คศ.๔ คศ.๓

ปกี ารศกึ ษา - - ๗

๒๕๖๓

๒) วฒุ ิการศกึ ษา (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๔)

จานวนตามระดบั การศกึ ษา (คน) รวม

กลุม่ สาระฯ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก ๑

ผ้อู านวยการ ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ๖
รองผู้อานวยการ ๑๐
- - - - ๑๑ - - - ๑๖
ภาษาไทย ๗
คณิตศาสตร์ - - - - ๓๓ - - - ๓
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔
- ๑๑๓๒๕ - - - ๗
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑๑
๒๖๘ - ๒๒ - - - ๑
สขุ ศึกษาพลศึกษา ๖๙
ศลิ ปะ ๓๖๘๕๓๘ - - -

การงานอาชีพ ๒๓๕ - ๒๒ - - -
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑ - ๑๑๑๒ - - -

รวม - ๑๑๓ - ๓ - - -

- ๔๔ - ๒๒๑ - ๑

๓๖๙ - ๒๒ - - -

- ๑๑ - - - - - -

๓๘ ๓๐ ๑

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๑๓

๓) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และภาระงานสอน

กลุม่ สาระการเรียนรู้ จานวน (คน) ภาระงานสอนเฉลีย่ ของครู ๑ คน
ในแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ (ชม./สัปดาห)์
๑. ภาษาไทย 6
๒. คณิตศาสตร์ 10 20
๓. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 17 23
๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7 18
๕. สุขศกึ ษาพลศึกษา 3 24
๖. ศิลปะ 4 23
๗. การงานอาชีพ 7 18
๘. ภาษาตา่ งประเทศ 16 17
๙. กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 1 22
71 10
รวม

๑.๔ ขอ้ มลู นกั เรยี น (ณ วนั ท่ี ๑๐ มิถุนายน ของปี การศึกษา ๒๕๖๓)

๑) จาแนกตามระดบั ชนั้ ทเี่ ปดิ สอน

เพศ จำนวน จำนวน
ห้องเรยี น นักเรียนเฉล่ีต่อ
ระดบั ช้ัน ชำย หญิง รวม
หอ้ ง
ม.1 - 185 185 6
ม.2 - 149 149 6 30.8
ม.3 - 204 204 6
24.8
ระดบั ชัน้ เพศ รวม จำนวน 34
หอ้ งเรียน
ชำย หญงิ จำนวน
นักเรียนเฉลี่ตอ่
ม.4 - 220 220 10
ม.5 10 ห้อง
ม.6 - 245 245 10 22
รวม 48
รวมจำนวนนักเรียน - 205 205 24.5
ท้งั หมด
- 1,208 1,208 20.5

-

1,208 คน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๑๔

๒) จาแนกตามปีการศกึ ษา ๓ ปยี ้อนหลงั

ระดบั ชน้ั 2561 ปกี ำรศกึ ษำ 2563
217 2562 185
ม.1 197 151 149
ม.2 208 206 204
ม.3 213 192 220
ม.4 284 245 245
ม.5 289 208 205
ม.6 1,408 283 1,208
รวม 1,285

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๑๕

๑.๕ ขอ้ มลู อาคารสถานที่
แผนทโ่ี รงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

หมายเลข ๑ ตกึ พระองค์เจา้ สายสนิทวงศ์ เสาธงชาติ
หมายเลข ๒ อาคารเตือ้ ง สนทิ วงศ์
หมายเลข ๓ – ๕ อาคารเฉลมิ พระเกียรติ ซ่งึ ประกอบด้วย

หมายเลข ๓ ตกึ เยาวภาพงศ์สนิท
หมายเลข ๔ ตกึ รงั สิตประยูรศกั ดิ์
หมายเลข ๕ ตกึ วงษานุประพัทธ์
หมายเลข ๖ อาคารสายสุวพรรณ
หมายเลข ๗ หอพระ“พระพุทธสมั มาปัญญาประทาน”
หมายเลข ๘ ศาลทา้ วชยั มงคลมหาเทพ
หมายเลข ๙ เรือนปกครอง
หมายเลข ๑๐ ศาลาสพุ รรณิการ์
หมายเลข ๑๑ เรือนประชาสัมพนั ธ์
หมายเลข ๑๒ ลานบวั

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๑๖

แผนผงั แสดงขอ้ มลู อาคารสถานท่ี/ห้องเรยี น/ห้องศนู ยก์ ารเรยี น/อนื่ ๆ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๑๗

ชอื่ อาคาร ประเภทอาคาร การใชป้ ระโยชน์ ปีทสี่ รา้ ง หมายเหตุ

อาคาร ๑ ๒ ชน้ั รับรองแขกผู้มีเกยี รติ พ.ศ. ๒๕๑๖ จาลองรปู ทรงจากตึกพระ
ตาหนักพระองคเ์ จ้าสายสนิทวงศ์
ตึกพระองค์เจา้ สายสนทิ วงศ์ เดมิ

อาคาร ๒ ตกึ เต้อื งสนทิ วงศ์ ๕ ชน้ั การเรียนการสอน พ.ศ. ๒๔๙๔ ตอ่ เตมิ ตึก อีกครง้ั พ.ศ. ๒๕๐๖
๗ ช้ัน + การเรียนการสอน
อาคาร ๓ + ๔ ลอยฟ้า พ.ศ. ๒๕๑๑ รวมเรยี ก อาคาร ๓
ตกึ เยาวภาพงศ์สนิทและ การเรียนการสอน พ.ศ. ๒๕๑๓
ตกึ รงั สิตประยูรศักด์ิ ๗ ชน้ั
อาคาร ๕ตกึ วงษานุประพัทธ์ พ.ศ. ๒๕๒๑ อาคารรวมประกอบดว้ ยตึก๓ -๕
ปจั จุบันเรยี ก
อาคาร ๖ ๖ ชน้ั การเรยี นการสอน “อาคารเฉลมิ พระเกียรติ”
ตกึ สายสุวพรรณ
สนามลานโดม - กิจกรรมหน้าเสาธง พ.ศ. ๒๕๒๗ ไดจ้ ัดสรรงบประมาณจาก
ศาลาองค์พระ - กจิ กรรมทางศาสนา กรมสามญั ศึกษา

ศาลาสุพรรณิการ์ - ตอ้ นรับผูป้ กครอง พ.ศ. ๒๕๔๑ สรา้ งพระพทุ ธประจาโรงเรยี น
อาคารประชาสัมพันธ์ - สานกั งาน “พระพุทธสัมมาปญั ญา
ประทาน”
อาคารกลมุ่ บริหารกจิ การ ประชาสัมพนั ธ์
นกั เรยี น ห้องพักครูเวร พ.ศ. ๒๕๕๘
ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกียรติ - สานักงานกลมุ่ บรหิ าร พ.ศ. ๒๕๕๗
กิจการนักเรียน
- การสบื คน้ หาความรู้ พ.ศ. ๒๕๕๗

พ.ศ. ๒๕๔๔ จัดระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ
ห้องสมุดมัลติมเี ดยี และ
หอ้ งสมุดเสมือน

อาคารเรยี น และอาคารประกอบ แบ่งเปน็

อาคารเรียน ได้แก่ อาคาร ๒ อาคาร ๓ อาคาร ๕ และ อาคาร ๖
อาคารประกอบ ได้แก่ อาคาร ๑ สนามลานโดม ศาลาองค์พระ ศาลาสุพรรณิการ์
อาคารประชาสัมพนั ธ์

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑

๑๘

อาคาร ๒

ท่ี หอ้ ง ลกั ษณะการใชง้ าน

๑ ๒๑๑-๒๑๒ หอ้ งพยาบาล

๒ ๒๑๓ หอ้ งสหกรณ์

๓ ๒๑๕ หอ้ งกลุม่ บริหารท่วั ไป

๔ ๒๑๖ หอ้ งกล่มุ บริหารงบประมาณและงานบคุ คล

๕ ๒๒๑-๒๒๒ ศนู ยส์ ังคมศกึ ษาฯ

๖ ๒๒๓ ห้องเรยี น IEP

๗ ๒๒๕ หอ้ งเรยี น IEP

๘ ๒๒๖ หอ้ งศูนย์คหกรรม

๙ ๒๓๑-๒๓๒ หอ้ งจรยิ ธรรม

๑๐ ๒๓๓ ห้องเรยี น

๑๑ ๒๓๔ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหนุ่ ยนต์และอเิ ลก็ ทรอนิกส์

๑๒ ๒๓๕ ห้องเรยี น (คอมพิวเตอร์)

๑๓ ๒๓๖ ห้องเรยี น (คอมพิวเตอร์)

๑๔ ๒๓๗ ห้องพักครูคอมพิวเตอร์

๑๕ ๒๔๑-๒๔๒ ห้องมลั ติมเี ดีย

๑๖ ๒๔๓ ห้องเรยี น (ภาษาจีน)

๑๗ ๒๔๔ ห้องเรยี น

๑๘ ๒๔๕ ห้องเรียน

๑๙ ๒๔๖ ห้องพักครูกลุม่ สาระฯภาษาต่างประเทศ

๒๐ ๒๔๗ ห้องเรียน (ภาษาองั กฤษ)

๒๑ ชน้ั ๕ โรงยิม ๑ - ๒ ห้องพักครกู ลุ่มสาระฯสุขศึกษาและพลศกึ ษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๑๙

ที่ หอ้ ง ลกั ษณะการใชง้ าน อาคาร ๓ ลกั ษณะการใชง้ าน
ที่ หอ้ ง

๑ - หอ้ งพักนกั การภารโรง ๒๖ ๓๕๓ ห้องเรียน (เคม)ี
๒ ๓๑๑ ห้องโภชนาการ ๒๗ ๓๕๔ หอ้ งเรียน (ชีวะ)

๓ ๓๑๒ หอ้ งทะเบยี น ๒๘ ๓๕๕ หอ้ ง Lab
๓๕๖ หอ้ งเรยี น (ชีวะ)
๔ ๓๑๓ หอ้ งกลุม่ บริหารวชิ าการ ๒๙ ๓๕๗ หอ้ งพักครูกล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์ฯ
๓๖๑ หอ้ งเรยี น gifted ม.๖
๕ ๓๑๔ หอ้ งจัดทาเอกสาร ๓๐ ๓๖๒ ห้องเรยี น gifted ม.๕
๓๖๓ ห้องเรียน gifted ม๔
๖ ๓๒๑ หอ้ งรับรอง ๓๑ ๓๖๔ หอ้ งเรียน gifted ม.๓

๗ ๓๒๒ ห้องเรียน (งานดอกไม้) ๓๒ ๓๖๕ ห้องเรยี น gifted ม.๒
๓๖๖ ห้องเรยี น gifted ม.๑
๘ ๓๒๓ ห้องเรยี น (งานเยบ็ ปัก) ๓๓ ๓๖๗ หอ้ งพิมพด์ ีด
๓๖๘ ห้องเรยี น
๙ ๓๒๔ หอ้ งพักครูกลุ่มสาระฯ ๓๔ ๓๗๑ หอ้ งเรยี น
๓๗๒ ห้องเรียน
การงานอาชพี ๓๗๓ ห้องเรียน

๑๐ ๓๓๑ หอ้ งเรยี น (ฟสิ ิกส์) ๓๕ ๓๗๔ หอ้ งเรยี น
๓๗๕ ห้องเรียน
๑๑ ๓๓๒ ห้องปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์ ๓๖ ๓๗๖ หอ้ งเรียน
๓๗๗ ห้องเรียน (ศิลปะ)
๑๒ ๓๓๓ ห้องเรียน (ฟสิ ิกส์) ๓๗ ๓๗๘ ห้องพักครูกลมุ่ สาระฯศิลปะ

๑๓ ๓๓๔ ห้องเรยี น (ดาราศาสตร)์ ๓๘ - หอ้ งนา้ ครู ชนั้ ๕
- ห้องน้านักเรยี น ช้นั ๓,๔,๖,๗
๑๔ ๓๓๕ หอ้ งพักครแู นะแนว ๓๙

๑๕ ๓๓๖ หอ้ งแนะแนว ๔๐

๑๖ ๓๓๗ หอ้ งพักครูกลมุ่ สาระฯ ๔๑

สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

๑๗ ๓๔๑ ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์ทั่วไป ๔๒

๑๘ ๓๔๒ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ๔๓

๑๙ ๓๔๓ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ๔๔

๒๐ ๓๔๔ ห้องเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ๔๕

๒๑ ๓๔๕ หอ้ งเรยี น (ภาษาไทย) ๔๖

๒๒ ๓๔๖ หอ้ งเรยี น (ภาษาไทย) ๔๗

๒๓ ๓๔๗ หอ้ งพักครูกลมุ่ สาระฯภาษาไทย ๔๘

๒๔ ๓๕๑ หอ้ งเรียน (เคม)ี

๒๕ ๓๕๒ หอ้ ง Lab

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๒๐

อาคาร ๕ อาคาร ๖
หอ้ ง ลกั ษณะการใชง้ าน
ท่ี หอ้ ง ลกั ษณะการใชง้ าน ท่ี
๖๑๑ หอ้ งผอู้ านวยการโรงเรียน
๑ ชน้ั ๑ ลานจอดรถ ๑ ๖๑๒ ห้องประชมุ ฝา่ ยบริหาร
๖๑๓ ห้องแผนงาน สารสนเทศ AFS
๒ ชัน้ ๒ โรงอาหาร ๒
๓ ชั้น ๓ ห้องโสตทัศนศึกษา ๓ - หอ้ ง Sever Check
๖๒๑ หอ้ งเรียน (คอมพิวเตอร์)
๔ ช้ัน ๔ หอ้ งสมดุ และศูนย์ส่ือ ๔ ๖๒๒ หอ้ งเรียน (คอมพวิ เตอร์)
๕ ๕๔๑ หอ้ งเรยี น ๕ ๖๒๓ หอ้ งเรยี น
๖๓๑ ห้องเรยี น (คณติ ศาสตร์)
๖ ชน้ั ๕ หอประชมุ ๖ ๖๓๒ หอ้ งพักครูกลุ่มสาระฯคณติ ศาสตร์
๖๓๓ หอ้ งเรยี น (คณิตศาสตร์)
๗ ชน้ั ๖ ห้องcontrolและห้อง net work ๗ ๖๔๑ ห้องเรยี น (ภาษาองั กฤษ)

๕ ๕๖๑ หอ้ งดนตรไี ทย ๘ ๖๔๒ หอ้ งเรียน (ภาษาญ่ีปนุ่ )
๖๔๓ หอ้ งเรียน (ภาษาฝร่ังเศส)
๙ ๕๖๒ หอ้ งนาฏศิลป์ ๙ ๖๕๑ ห้องเรยี น (ภาษาองั กฤษ)
๑๐ ๕๗๑ หอ้ งเรยี น ๑๐ ๖๕๒ ห้องเรียน (ภาษาอังกฤษ)
๖๕๓ หอ้ งเรยี น
๑๑ ๕๗๒ หอ้ งดนตรสี ากล ๑๑ ๖๖๑ หอ้ งเรยี น (ภาษาอังกฤษ)
๖๖๒ หอ้ งเรียน (สุขศึกษา)
๑๒ ๖๖๓ ห้องเรยี น
๑๓
๑๔
๑๕

๑๖
๑๗

๑๘
๑๙

รายละเอยี ดขอ้ มลู เกยี่ วกับอาคารสถานที่

 เนอ้ื ท่ี ๔ ไร่ ๒ งาน ๐.๖ ตารางวา
 ท่ตี งั้ เลขที่ ๑๕๙๘ ถนน กรุงเกษม แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย

กรงุ เทพมหานคร รหัสไปรษณยี ์ ๑๐๑๐๐
 จานวนอาคารเรียนถาวร ๔ หลงั
 จานวนห้องเรยี นพเิ ศษ (Gifted) ๖ ห้อง

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๒๑

๑.๖ ขอ้ มลู งบประมาณ

ปีการศึกษา ๒๕๖๓ (รบั -จา่ ย)

รายรบั จานวน/บาท รายจ่าย จานวน/บาท

เงินงบประมาณ - งบดาเนนิ การ/เงนิ เดือน-ค่าจ้าง 13,369,702.22

เงนิ นอกงบประมาณ 2,146,565 งบพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา 3,071,255.18

เงนิ อ่ืน ๆ (ระบุ) 12,622,686.54 งบอืน่ ๆ (ระบุ) -

รวม 14,769,251.54 รวม 16,440,957.40

สรุป งบดาเนนิ การ/เงินเดอื น เงนิ ค่าจ้าง คดิ เป็นร้อยละ...... 90.52..........ของรายรบั

สรปุ งบพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา คิดเปน็ ร้อยละ........20.79….......ของรายรับ

๑.๗ ขอ้ มลู สภาพชมุ ชน
๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะท่ีต้ังอยู่ในย่านศูนย์กลางธุรกิจการขนส่งสินค้า บริเวณรอบ

ข้างโรงเรียน ได้แก่บริษัทขนส่งสินค้า ธนาคาร ปั๊มน้ามัน อาคารพาณิชย์ ร้านทาป้ายประกาศ จาหน่ายเฟอร์นิเจอร์
กระดาษและพลาสติก อะไหล่รถยนต์และยางยนต์ เป็นแหล่งให้เช่าสามล้อเคร่ืองและรถยนต์รับจ้าง อาชีพหลัก
ของประชากรในชมุ ชน คือ คา้ ขายและประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตวั ผู้ประกอบการของชุมชนส่วนใหญเ่ ปน็ ชาวจีน และ
มีชาวอีสานเป็นลูกจ้าง ด้านหน้าโรงเรียน คือคลองผดุงกรุงเกษม และสถานีรถไฟหัวลาโพง ส่วนใหญ่นับถือศาสนา
พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่เป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไป คือ การเฉลิมฉลองเทศกาลตรุษจีนท่ีย่านเยาวราช
ประเพณไี หว้เจา้ ที่ ณ ศาลเจ้าปอเตก็ ตึง๊ และศาลเจ้าตา่ ง ๆ โดยรอบชมุ ชน

๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ถึงปริญญาตรี มีอาชีพรับจ้าง ค้าขาย
รับราชการ รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้ โดยเฉล่ียต่อครอบครัวต่อปี
๑๐๐,๐๐๐ บาท และแนวโน้มความต้องการของผปู้ กครอง คือการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนอย่างทวั่ ถึง และ
ความปลอดภัยรอบด้านโดยเฉพาะในสถานการณป์ จั จบุ นั

๓) โอกาสและข้อจากัดของโรงเรยี น
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ตั้งอยู่ใจกลางเมืองซึ่งบริเวณใกล้เคียงโรงเรียนมีวัด
และโรงเรียนหลายแห่ง เช่น วัดเทพศิรินทราวาส วัดพลับพลาชัย วัดคณิกาผล วัดไตรมิตรวิทยารามและวัดดวงแข
มีโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ โรงเรียนเทพศิรินทร์
โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย โรงเรียนประถมศึกษา ได้แก่ โรงเรียนวัดพลบั พลาชัย โรงเรียนวดั ดวงแข โรงเรียนวัดคณิกา
ผล โรงเรียนมหาวีรานุวัตร นอกจากน้ียังใกล้แหล่งเรียนรู้หลายแห่ง เช่น สถานีรถไฟหัวลาโพง จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เยาวราช สามารถใช้แหล่งเรียนรู้ต่างๆในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแก่นักเรียน ครูและบุคลากร
ระหว่างโรงเรียนหรือหน่วยงานสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลท่ีเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาได้มาก
แต่พ้ืนทีภ่ ายในโรงเรยี นค่อนขา้ งจากดั การจดั กิจกรรมจึงปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกบั สภาพทางกายภาพของโรงเรียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๑.๘ โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา หวั หน

คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร ผชู้ ่วยรองผอู้ านว
และงานวชิ าการ การพฒั นา
การบริหารทวั่ ไป

- งานสานกั งาน งานกลุ่มสาระการเรียนรู้
- งานแผนปฏิบตั ิงาน
- งานงบประมาณ - ภาษาไทย
- งานพสั ดุ - คณิตศาสตร์
- งานประเมินผลโครงการ - วทิ ยาศาสตร์
-ประสานงานทวั่ ไป - สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
- สุขศึกษาและพลศึกษา
- ศิลปะ
- การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- ภาษาต่างประเทศ
- กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงาน

น้าสถานศึกษา ๒๒

วยการกลุ่มบริหารวชิ าการ คณะกรรมการวชิ าการ
าการเรียนการสอน
การพฒั นาบุคลากร

- งานหลกั สูตร - งานการจดั ทาผลงานทางวชิ าการ
- งานวจิ ยั - งานอบรม ประชุม สมั มนา
- งานนิเทศการเรียนการสอน - งานบคุ ลากร
- งานทะเบียนและวดั ผล - งานผลิตส่ือและนวตั กรรม
- งานสนบั สนุนการเรียนการสอน - งานประเมินบุคลากร

- งานหอ้ งสมดุ
- งานแนะแนว
- งานคอมพิวเตอร์
- งานโสตทศั นศึกษา
-ศูนยพ์ ฒั นาการเรียนการสอน
วชิ าคหกรรม

นเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๒๓

การจดั การเรียนการสอน

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ เป็นโรงเรียนสตรีลว้ น จดั การเรียนการสอนในระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี๑-๖ มี
ชั้นเรียนดงั ต่อไปน้ี

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ จานวน ๖ ห้องเรยี น
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ จานวน ๖ ห้องเรยี น
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ จานวน ๖ ห้องเรยี น
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ จานวน ๑๐ ห้องเรยี น
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จานวน ๑๐ ห้องเรียน
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ จานวน ๑๐ ห้องเรยี น

โครงสรา้ งเวลาเรยี นตามหลกั สตู รโรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์
๑. เกณฑ์การกาหนดเวลาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดรายวิชา

เรยี นพ้นื ฐานของกล่มุ สาระการเรียนรู้ตา่ งๆ รวม ๔๐ ช่วั โมงตอ่ ปี หรือรวม ๘๘๐ ชวั่ โมง/ปี และกาหนด ระยะเวลารวม
๓ ปีรวม ๑,๖๔๐ ชว่ั โมง

๒. เกณฑ์การกาหนดระยะเวลาสาหรับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นรวม ๑๒๐ ชั่วโมง/ปี
และระดับชน้ั ม.ปลายรวม ๓ ปี ๓๖๐ ชว่ั โมง

วชิ าพนื้ ฐานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ภาษาไทย ๓๖๐ ๒๔๐
คณติ ศาสตร์ ๓๖๐ ๒๔๐
วทิ ยาศาสตร์ ๔๘๐ ๒๘๐
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๘๐ ๓๒๐
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๒๔๐ ๑๒๐
ศลิ ปะ ๒๔๐ ๑๒๐
การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๑๒๐ ๘๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๓๖๐ ๒๔๐
รวมรายวชิ าพ้ืนฐาน ๒,๖๔๐ ๑,๖๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๔๒๐ ๔๒๐
รายวิชาที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตาม ๑๒๐ ๑๒๐
ความพร้อมหรือจุดเน้นของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๒๔

ตารางแสดงหลักสูตรของโรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์

ระดบั ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
มัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลกั สตู ร หลกั สูตร หลกั สูตร กลุม่ กลุม่ กล่มุ กลุ่ม กลมุ่ กลุ่ม
เน้น แกนกลาง เน้น การเรยี น การเรียน การเรยี น การเรียน การเรียน การเรียน
วทิ ยาศาสตร์- ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
วทิ ยาศาสตร์ การศกึ ษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ อังกฤษ อังกฤษ - อังกฤษ - องั กฤษ - อังกฤษ -
และ ขัน้ พนื้ ฐาน และ
คณิตศาสตร์ ภาษาญป่ี นุ่ ฝร่งั เศส ภาษาจีน คหกรรม
คณิตศาสตร์ พทุ ธศักราช คณติ ศาสตร์
เข้มข้น ๒๕๕๑ เข้มขน้

การจัดการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตรจะส่งเสริมศักยภาพ ตามความต้องการและความถนัดของผู้เรียน

เป็นการมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้เกิดความชานาญเฉพาะในแต่ละกลุ่มการเรียน และเป็นไปตามจุดเน้นของ

โรงเรียนคือการสืบสานงานฝีมือ ซ่ึงนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเป็นสายปัญญา และความเป็นผู้เรียนในยุค

ศตวรรษท่ี ๒๑ ทุกหลักสูตรจะได้เรียนรู้ความเป็นสากลตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลและใช้กลไกต่างท่ี

ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถจบหลักสูตรได้ตามระยะเวลาและสามารถสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อในสาขาวิชาและ

สถาบันการศกึ ษาทนี่ ักเรยี นต้องการได้

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญาในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ เป็นหลักสตู รทต่ี อบสนองความต้องการของ

ผ้เู รยี น ผปู้ กครองและชมุ ชน โดยแบ่งออกเปน็ กลมุ่ การเรียนตามศกั ยภาพและความถนดั ของผู้เรียน ดังน้ี

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้

๑. หอ้ งเรียนโครงการส่งเสริมความเป็นเลศิ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์- คณิตศาสตร์

(Gifted Science - Mathematics Program : GSMP) จานวน ๑ หอ้ งเรยี น

๒. ห้องเรียนโครงการการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศึกษาธิการทเ่ี น้นวิชาภาษาองั กฤษ

แบบเข้ม (Intensive English Program : IEP) จานวน ๑ ห้องเรยี น

๓. ห้องเรยี นปกติ จานวน ๕ หอ้ งเรยี น

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย

๑. หอ้ งเรยี นโครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ดา้ นวิทยาศาสตร์- คณติ ศาสตร์

(Gifted Science – Mathematics Program : GSMP) จานวน ๑ หอ้ งเรยี น

๒. ห้องเรยี นโครงการการจัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการทเ่ี นน้ วิชาภาษาอังกฤษ

แบบเข้ม (Intensive English Program : IEP) จานวน ๑ ห้องเรียน

๓. ห้องเรียนปกติ ประกอบด้วย

๑) กลุม่ การเรียนวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ จานวน ๓ ห้องเรยี น

๒) กลุม่ การเรียนภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตร์ จานวน ๒ หอ้ งเรยี น

๓) กลุ่มการเรยี นภาษาองั กฤษ – ภาษาญีป่ ุน่ จานวน ๑ หอ้ งเรียน

๔) กล่มุ การเรยี นภาษาอังกฤษ – ภาษาจีน จานวน ๑ ห้องเรียน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๒๕

๕) กลุ่มการเรียนภาษาองั กฤษ – ภาษาฝรง่ั เศส จานวน ๑ หอ้ งเรียน
๖) กลุม่ การเรยี นภาษาองั กฤษ – คหกรรม จานวน ๑ หอ้ งเรยี น

๑.๙ แหลง่ เรยี นรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่

แหลง่ เรียนรภู้ ายใน
หอ้ งสมดุ SAIPANYA Digital Library

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๒๖

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์

หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารสาหรบั จดั การเรยี นการสอน/การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการสาหรบั ครู

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๒๗

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหนุ่ ยนตแ์ ละอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

การจดั แสดงหนุ่ ยนต์

หอ้ ง Server Check

หอ้ งแนะแนว

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๒๘

กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอนแนะแนว

หอ้ งกลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ

การบริการคอมพวิ เตอรส์ บื ค้นขอ้ มลู

หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นที่

การบรกิ ารหนงั สอื สาหรบั อา่ น

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๒๙

แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๓๐

พิพธิ ภณั ฑพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ร.๗)
พพิ ธิ ภัณฑ์พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั

วัดเทพศริ ินทราวาส ราชวรวิหาร
วดั สระเกศราชวรมหาวหิ าร (วดั ภเู ขาทอง)

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๓๑

วดั บรมนวิ าสราชวรวหิ าร

สถานรี ถไฟหวั ลาโพง พิพิธภณั ฑ์วดั เทพศริ นิ ทราวาสราชวรวิหาร

พพิ ธิ ภัณฑ์วัดไตรมติ รวทิ ยารามวรวหิ าร ตลาดโบเ๊ บ๊

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๓๒

โรงพยาบาลหวั เฉยี ว โรงพยาบาลกลาง

สวนงูสภากาชาดไทย Sealife
พพิ ธิ ภณั ฑ์หุ่นขผ้ี ้งึ มาดามทซุ โซ่ กรุงเทพฯ

อุทยานการเรยี นรู้ TK park จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

ตลาดเก่าเยาวราช ๓๓

ตลาดสาเพง็

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๓๔

ศกึ ษาแหลง่ เรยี นรภู้ ายนอก

ท่ี กิจกรรม ระดบั ช้ัน สถานที่
ม.๑-ม.๓ คา่ ยลกู เสือพงษล์ ดา จ.สระบุรี
๑ กจิ กรรมค่ายสง่ เสรมิ ทักษะชวี ติ และพัฒนา
คุณธรรม ม.๔-๖ ซาฟารเี วิลด์
๑.๑ กจิ กรรมคา่ ยยวุ กาชาด-เนตรนารี

๒ กิจกรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะชวี ติ ปลกู จิตอาสา
พฒั นาสิง่ แวดล้อม น้อมนาคุณธรรม

ศกึ ษาแหลง่ เรยี นรภู้ ายนอก

ห้องเรียนโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศดา้ นวทิ ยาศาสตร์- คณติ ศาสตร์
(Gifted Science – Mathematics Program : GSMP)

ที่ กิจกรรม ระดับชน้ั สถานที่

๑ กจิ กรรมค่ายบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ม.1-6 โรงแรมชะอา อีโค่ แคมป์ จังหวดั เพชรบุรี

และเทคโนโลยี ณ โรงแรมชะอา อโี ค่ แคมป์
จังหวัดเพชรบรุ ี ให้กบั นักเรียนโครงการห้องเรียน

พิเศษวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ระดับชัน้

มธั ยมศึกษาปที ี่ 1-6

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๓๕

ศกึ ษาแหลง่ เรยี นรภู้ ายนอก

ห้องเรยี นโครงการการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทีเ่ นน้ วิชาภาษาอังกฤษแบบ
เขม้ (Intensive English Program : IEP)

ที่ กจิ กรรม ระดับชนั้ สถานท่ี

1 ค่ายภาษาองั กฤษ “IEP English Camp ๒๐๒๐” ม.1/1 เพลาเพลนิ รสี อร์ท จงั หวัดบรุ รี ัมย์

ม.4/1

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๓๖

ปราชญช์ าวบ้าน/ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ส่ี ถานศกึ ษาเชญิ มาใหค้ วามรแู้ กค่ รู นกั เรยี น
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ตารางแสดงรายชอื่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิทสี่ ถานศกึ ษาเชญิ มาใหค้ วามรแู้ กค่ รู

ที่ ว/ด/ป ชือ่ วิทยากร เรื่องท่ีใหค้ วามรู้ สถานท่ี
หอประชมุ ชนั้ ๕
1 5 พ.ย. 2563 คณะแพทย์และพยาบาล “ปรับความคิดพิชิตความเครียด” โรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชินปู ถัมภ์
โรงพยาบาลกลาง ห้องประชุมชน้ั ๕
โรงเรียนสายปญั ญา
2 10 พ.ย.2563 ดร.กอบวทิ ย์ พิริยะวฒั น์ “การพัฒนาสมรรถนะครใู นการ ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์
จดั การเรียนรู้สู่ความก้าวหนา้ ใน
3 11-12 นายรัชกร เวชวรนนั ท์ วชิ าชีพ ผา่ นกระบวนการสรา้ ง หอ้ งประชมุ ช้นั ๕
พ.ย. 2563 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)” โรงเรยี นสายปัญญา
ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์
4 11-13 คณะครูต่างชาติ “การออกแบบบอรด์ เกม หอ้ งประชุมชั้น ๕
พ.ย. 2563 โรงเรียนพหสู ตู รศกึ ษา การศึกษา เพ่ือพัฒนาศักยภาพครู โรงเรยี นสายปญั ญา
ในศตวรรษท่ี ๒๑” ในพระบรมราชินูปถมั ภ์
หอ้ งประชุมชน้ั ๕
“ENGLISH FOR โรงเรียนสายปญั ญา
COMMUNICATION” ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

5 30 พ.ย.2563 อ.สันติสขุ สนั ตศิ าสนสุข การพัฒนาระบบการดูแล
ชว่ ยเหลือนกั เรียน

ตารางแสดงรายชอื่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ่ีมาใหค้ วามรแู้ กน่ กั เรียน
ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖

ที่ ว/ด/ป ชอ่ื วิทยากร เรอ่ื งทใ่ี หค้ วามรู้ สถานที่
O – NET คณติ ศาสตร์ หอประชมุ ชนั้ ๕
๑ 18 ส.ค. 2563 ครอู ภิวฒั น์ จนั ทนา โรงเรียนสายปญั ญา
O – NET ภาษาไทย ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์
๒ 1 ก.ย. 2563 ครกู รี ติ ไทยรัฐเทวนิ ทร์ หอประชุมชั้น ๕
โรงเรยี นสายปัญญา
ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

ที่ ว/ด/ป ช่อื วิทยากร เรอ่ื งที่ใหค้ วามรู้ ๓๗
O – NET ภาษาอังกฤษ สถานท่ี
๓ 8 ก.ย. 2563 ดร.วรพงษ์ แสงประเสรฐิ
จากสาธติ มศว. หอประชุมชัน้ ๕
โรงเรยี นสายปัญญา
๔ 15 ก.ย.2563 นายพัฐดลย์ โสภาจติ ตว์ ฒั นะ GAT ภาษาอังกฤษ ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์
หอประชุมช้ัน ๕
(พโี่ อม)จาก Forward English โรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์
๕ 22 ก.ย. 2563 นายสรุ เชษฐ์ พิชติ พงศ์เผา่ GAT เช่ือมโยงภาษาไทย หอประชมุ ชัน้ ๕
(พ่ยี )ู จาก The Brain โรงเรยี นสายปัญญา
ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์
๖ 29 ก.ย. 2563 อ.ทิวา เพญ็ สุข O – NET วทิ ยาศาสตร์ หอประชมุ ชน้ั ๕
จากม.หอการคา้ โลกและดาราศาสตร์ โรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชินูปถมั ภ์
๗ 20 ต.ค. 2563 วิทยากรจาก OnDemand O – NET คณิตศาสตร์
หอประชมุ ชั้น ๕
๘ 15 ธ.ค. 2563 อ.ประพนั ธ์ พนธารา O – NET วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสายปญั ญา
ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์
๙ ๒๕ พ.ย.๒๕๖๓ อ.สุรเชษฐ์ พิชิตพงศ์เผ่า วิชาภาษาไทย หอประชุมชน้ั ๕
โรงเรยี นสายปัญญา
๑๐ ๒๕ พ.ย.๒๕๖๓ ครูพี่หวาย วชิ าภาษาองั กฤษ ในพระบรมราชินูปถมั ภ์
หอประชมุ ชั้น ๕
๑๑ ๒6 พ.ย. 2563 ครอู ภิวฒั น์ จันทนา O – NET คณิตศาสตร์ โรงเรยี นสายปัญญา
ในพระบรมราชินูปถมั ภ์
๑๒ ๒6 พ.ย. 2563 ครรู ัฐธรรมนูญ เปรมชยั พร O – NET สงั คมศึกษา หอประชมุ ชน้ั ๕
โรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชินปู ถัมภ์
หอประชุมชั้น ๕
โรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชินูปถัมภ์
หอประชุมชนั้ ๕
โรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๓๘

๑.๑๐ ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

๑.๑๐.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของสถานศกึ ษา

- ระดบั สถานศกึ ษา

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รียนทั้งหมดโดยเฉล่ีย 3.19

- ระดบั ชน้ั เรยี น

ระดับชนั้ จานวน 0 จานวนนกั เรยี นท่ีมีผลการเรียนรูเ้ ฉลยี่ ๔ จานวน รอ้ ยละ
เรียน นักเรยี น 1 1.5 2 2.5 3 3.5 นกั เรียนท่ี นักเรียนที่
(คน) ได้ระดับ 3 ไดร้ ะดับ 3

ม.1 185 - - 2 9 20 39 41 74 ขึน้ ไป ข้นึ ไป
ม.2 149 - - - - 10 32 44 63 115 62.84
ม.3 204 - - - 5 21 32 58 89
ม.4 220 - - - 7 16 55 76 66 107 72.29
ม.5 245 - - - 8 23 53 104 57
ม.6 205 - - - 2 22 59 68 54 147 73.13
รวม 1,208 - - 2 31 112 270 391 403
**หมำยเหตุ : คา่ เฉลีย่ ทศนยิ ม 0.01 ขึ้นไป = 0.1 142 65.74

161 66.25

122 59.8
794 65.72

แผนภมู แิ สดงผลการเรยี นรู้ของนักเรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖

- ระดบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๓๙

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ุกระดบั ชนั้ ม.๑ - ม.๖

กลมุ่ สำระกำร จำนวน 0 จำนวนนกั เรียนทีม่ ผี ลกำรเรยี นร้เู ฉลย่ี จำนวน รอ้ ยละ
เรียนรู้ นกั เรีย 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 นกั เรียนที่ นกั เรยี นท่ี
น (คน) ได้ระดบั 3 ไดร้ ะดับ 3

ขน้ึ ไป ขึน้ ไป

ภาษาไทย 1,208 17 74 54 92 81 111 178 601 779 64.48

คณติ ศาสตร์ 1,208 4 51 86 148 182 186 187 364 551 45.61

วทิ ยาศาสตรฯ์ 1,208 10 54 87 145 161 170 169 412 581 48.09

สังคมศึกษาฯ 1,208 4 45 58 77 84 145 229 566 795 65.81

สขุ ศึกษาพลศกึ ษา 1,208 1 8 6 5 18 34 82 1,054 1,136 94.03

ศลิ ปะ 1,208 11 27 21 23 26 63 65 972 1,037 85.84

การงานอาชีพ 1,021 37 60 44 81 55 115 123 506 629 61.60

ภาษาตา่ งประเทศ 1,208 37 78 50 92 123 150 163 515 678 56.12

**หมำยเหตุ: ในรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ในช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 และ 6 นักเรียนทเ่ี รยี นแผนการ
เรยี นวทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จะไม่ได้เรียนในรายวชิ าของกลมุ่ สาระการงานอาชีพ โดยในชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5
จานวน 93 คน ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 จานวน 94 คน

แผนภมู แิ สดงผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรยี นร้ทู กุ ระดับ ชนั้ ม.๑ - ม.๖

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๔๐

๑.๑๐.๒ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน ( O-NET)
๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ และ ระดับมัธยมศึกษา

ปที ่ี ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ และ ๖

ระดบั ชน้ั ม.๓ ม.๖

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ 2563

ภาษาไทย ๕๘.๔๒ ๖๔ - ๕๒.๙๐ ๔๖.๗๓ 51.49

คณติ ศาสตร์ ๓๐.๗๗ ๓๑.๗๕ - ๓๔.๐๐ ๒๘.๓๑ 28.43

วทิ ยาศาสตร์ ๓๖.๑๖ ๓๐.๓๔ - ๓๑.๐๒ ๓๐.๒๓ 33.18

สงั คมศกึ ษาฯ - - - ๓๘.๑๓ ๓๘.๓๘ 39.33

ภาษาองั กฤษ ๓๐.๕๙ ๓๗ - ๓๖.๐๐ ๓๒.๗๕ 34.93

แผนภมู แิ สดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ และ
ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๔๑

๒) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ การศึกษา ๒๕๖๓

ระดบั / รายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน - - - -
คะแนนเฉลี่ย ระดับสพม.๑ - - - -
คะแนนเฉลีย่ ระดับจังหวัด - - - -
คะแนนเฉล่ีย สังกดั สพฐ.ทง้ั หมด - - - -
คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ - - - -

๓) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ระดบั / รายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ
คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียน 51.49 28.43 33.18 39.33 34.93
คะแนนเฉล่ยี ระดับสพม.๑ 51.46 34.35 37.94 39.36 40.97
คะแนนเฉลี่ย ระดับจงั หวัด 51.46 34.35 37.94 39.36 40.97
คะแนนเฉลี่ยสังกัดสพฐ.ท้งั หมด 45.22 26.33 33.04 36.32 29.73
คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ 44.36 26.04 32.68 35.93 29.94

๑.๑๐.๓ ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ระดบั ชนั้ จานวนนกั เรยี น จานวน (รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ)
ท้งั หมด
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ 185 ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น
มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ 149
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ 204 185 - 185 -
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ 220
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๕ 245 149 - 149 -
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ 205
1,208 204 - 204 -
รวม 100
เฉลยี่ รอ้ ยละ 210 10 220 -

233 12 245 -

194 11 205 -

1,175 33 1,208 -

97.26 2.73 100 -

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๔๒

๑.๑๐.๔ ผลการประเมินสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๕ ด้าน ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ด้าน จานวน จานวน (รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ)
นกั เรยี น ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น
๑) ด้านความสามารถในการส่ือสาร ทงั้ หมด
๒) ด้านความสามารถในการคิด 1,208 1,176 32 1,208 -
๓) ดา้ นความสามารถในการแก้ปญั หา 1,208 1,150 58 1,208 -
๔) ดา้ นความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 1,208 1,133 75 1,208 -
๕) ดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 1,208 1,103 105 1,208 -
1,208 1,122 86 1,208 -
รวม -
เฉลย่ี รอ้ ยละ - - -- -
100
- - 100

๑.๑๐.๕ ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ระดบั ชน้ั จานวน จานวน (ร้อยละของนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ)
นักเรยี น ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น
มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ทง้ั หมด
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ 185 185 185 -
มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 149 149 149 -
มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ 204 204 204 -
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ 220 210 10 220 -
มัธยมศึกษาปีที่ ๖ 245 233 12 245 -
205 198 7 205 -
รวม 1,208 1,179 29 1,208 -
เฉลย่ี รอ้ ยละ 100 97.59 2.40 100 -

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๔๓

๑.๑๐.๖ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ระดบั ชนั้ จานวนนกั เรียน จานวน (ร้อยละของนักเรยี น)
ทัง้ หมด ผา่ น ไมผ่ า่ น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ 185 100 -
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 149 100 -
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ 204 100 -
มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ 220 100 -
มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ 245 100 -
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ 205 100 -
1,208 --
รวม 100 100 -
เฉลย่ี รอ้ ยละ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๔๔

๑.๑๑ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

๑.๑๑.๑ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔- ๒๕๕๘) ของสถานศึกษา

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ ไดร้ ับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม จาก สมศ.

เมือ่ วนั ที่ ๑๕, ๑๘ ถึง ๑๙ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก รอบสาม ดงั ตารางต่อไปน้ี

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน นา้ หนกั คะแนน ระดบั

(มธั ยมศกึ ษา) (คะแนน) ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ ๑ ผลการจดั การศึกษา

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน

ตวั บ่งชที้ ่ี ๑ ผ้เู รียนมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี ๑๐.๐๐ ๙.๗๑ ดมี าก

ตวั บ่งชที้ ี่ ๒ ผ้เู รยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๖๕ ดีมาก

ตวั บ่งชที้ ี่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝร่ ู้ และเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่อื ง ๑๐.๐๐ ๙.๑๗ ดีมาก

ตวั บ่งชที้ ี่ ๔ ผูเ้ รยี นคิดเป็น ทาเป็น ๑๐.๐๐ ๘.๖๒ ดี

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๕ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผ้เู รียน ๒๐.๐๐ ๑๓.๔๓ ดี

กลุ่มตัวบ่งช้ีอัตลักษณ์

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๙ ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน / วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และ ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี

วตั ถุประสงค์ของการจัดตง้ั สถานศึกษา

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเนน้ และจดุ เด่นทสี่ ง่ ผลสะทอ้ นเป็นเอกลกั ษณข์ อง ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก

สถานศึกษา

กลมุ่ ตวั บง่ ชมี้ าตรการสง่ เสริม

ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑๑ ผลการดาเนนิ งานโครงการพิเศษเพือ่ ส่งเสริมบทบาทของสถานศกึ ษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก

มาตรฐานท่ี ๒ การบรหิ ารจัดการศกึ ษา

กลมุ่ ตัวบ่งชพ้ี น้ื ฐาน

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๗ ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและการพฒั นาสถานศกึ ษา ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี

กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการสง่ เสริม

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑๒ ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี

และพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ ท่สี อดคล้องกับแนวทางการปฏิรปู การศกึ ษา

มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ

กลมุ่ ตวั บง่ ชี้พนื้ ฐาน

ตวั บ่งชท้ี ี่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ๑๐.๐๐ ๘.๐๐ ดี

มาตรฐานท่ี ๔ ว่าดว้ ยการประกนั คุณภาพภายใน

กลุ่มตวั บง่ ชี้พื้นฐาน

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๘ พฒั นาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษาและตน้ สังกดั ๕.๐๐ ๔.๙๓ ดีมาก

ผลรวมคะแนนทัง้ หมด ๑๐๐.๐๐ ๘๕.๕๑ ดี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๔๕

๑.๑๑.๒ ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก
จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพฒั นา และขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสอง
๑. จดุ เด่น
๑.๑ มกี ารพฒั นาหลกั สตู รบูรณาการเร่ืองโภชนาการสู่กลมุ่ สาระการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการ
AIC (A= Appreciation/ ความพอใจ,I = influence/ กลวิธ,ี C= Control/การควบคมุ )
๑.๒ มีกจิ กรรมส่งเสรมิ ยอดนักอ่าน รางวลั ท่ี ๑ ของ สพม. เขต ๑
๑.๓ มรี ะบบประกันคุณภาพภายใน ๑๐ ระบบ ตามโครงการ TopStar ประกอบดว้ ย ระบบการ
เรยี นรรู้ ะบบดูแลช่วยเหลอื ระบบกิจกรรมนกั เรียน ระบบนาองค์กร ระบบยทุ ธศาสตร์ ระบบ
บรหิ ารจดั การ ระบบดแู ล คุณธรรม จริยธรรมในวชิ าชพี ระบบพฒั นาบคุ ลากร ระบบชุมชน
สัมพนั ธ์ และระบบสารสนเทศ
๒. จดุ ทีค่ วรพฒั นา
๒.๑ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มวี ิจารณญาณ มีความคดิ สรา้ งสรรค์
คิดไตรต่ รอง และมวี ิสยั ทัศน์ของนักเรยี น
๒.๒ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น
๓. ขอ้ เสนอแนะ
๓.๑ ควรพฒั นาดา้ นการประเมินผลโครงการ/กิจกรรม ใหเ้ ป็นระบบและมคี วามตอ่ เนื่อง
๓.๒ ควรพัฒนาการประเมนิ หลกั สตู ร
๓.๓ ควรปรับปรุงการเขียนบนั ทึกหลังสอน
๓.๔ ควรจัดกจิ กรรมแบบโครงงานเพิ่มข้ึน
๓.๕ ควรวางเปา้ หมายในการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์

ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของสถานศึกษา
๑. ดา้ นผลการจัดการศกึ ษา
๑.๑ สถานศึกษามีการพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีแล้ว แต่ผู้เรียนควรได้รับการ

พัฒนาสขุ ภาพกายด้วยการออกกาลังกายเพ่มิ ขนึ้ โดยเฉพาะในช่วงเช้าหลังเข้าแถวเคารพธงชาติและเป็นการออกกาลัง
กายอยกู่ บั ทเ่ี นื่องจากมพี ้นื ทจี่ ากดั

๑.๒ สถานศึกษามีการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ได้ดีแล้วแต่ควรมี
การปลูกฝังและส่งเสริมผู้เรียน ในเร่ืองการรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนและความมุมานะในการเรียนให้มากยิ่งขึ้น
สถานศกึ ษาได้ดาเนินงานในการพฒั นาผู้เรยี นให้มีคณุ ธรรมจริยธรรมทดี่ อี ยแู่ ล้ว สมควรดาเนนิ งานต่อไปอย่างตอ่ เนื่อง
อย่างไรก็ตาม สถานศึกษาควรมีการจัดทาโครงการใหม้ ีความหลากหลายมีการประเมินผลโครงการและกิจกรรม ท้ัง
ความสาเร็จเทียบกับเป้าหมายและความพึงพอใจของผู้มีส่วนเก่ียวข้องให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมควรสรุปผลการ
ประเมินให้ชัดเจนและนาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเน่ืองทุกปีการศึกษากาหนด
ระยะเวลา ในการพฒั นาภายใน ๒ ปีการศกึ ษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๔๖
๑.๓ สถานศึกษามีการพัฒนาให้ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองได้ดีแล้วแต่ควรสร้างความ
ตระหนักและปลูกฝังจิตสานึกรักการอ่านและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนให้มากยิ่งข้ึนกาหนดระยะเวลา
ในการพัฒนาภายใน ๒ ปกี ารศึกษา
๑.๔ สถานศึกษามีการพัฒนาให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็นได้ดีแล้ว แต่ครูควรใช้การสอนแบบโครงงานให้
ผู้เรียนมีการสารวจรวบรวมข้อมูลให้ผู้เรียนรู้จักการแยกแยะจัดหมวดหมู่และนาเสนออย่างเป็นระบบ กาหนด
ระยะเวลาในการพัฒนาภายใน ๒ ปกี ารศึกษา
๑.๕ สถานศึกษามีการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยเฉพาะกลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และ
ภาษาต่างประเทศ โดยศึกษาและวิเคราะห์แนวทางข้อสอบ O-NET เตรยี มความพรอ้ มใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ
ให้ครอบคลุมในเน้ือหาการเรียนการสอนตามหลักสูตร มีการเรียนเสริมเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของตนเอง
กาหนดระยะเวลาในการพฒั นาภายใน ๒ ปกี ารศกึ ษา
๑.๖ สถานศึกษามีการพัฒนาให้ผ้เู รยี นมคี ุณลกั ษณะตามอัตลกั ษณท์ ่ีกาหนดได้ดีแล้ว แต่ผ้เู รยี นควรได้รับ
การพัฒนาเติมเต็มตามอัตลักษณ์ โดยการไหว้ การกราบท่ีถูกต้อง สวยงาม การทาความเคารพผู้ใหญ่เม่ือเดินผ่าน
เปน็ ต้น กาหนดระยะเวลาในการพฒั นาภายใน ๒ ปกี ารศึกษา
๑.๗ สถานศึกษาได้พัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษาดีอยู่แล้ว
สมควรดาเนนิ งานต่อไปอย่างต่อเนอื่ ง อยา่ งไรกต็ าม สถานศึกษาควรมีการจัดทาโครงการให้มีความหลากหลาย มี
การประเมินผลโครงการและกิจกรรมทั้งความสาเร็จเทียบกับเป้าหมายและความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้
ครอบคลุมทุกกิจกรรม ควรสรุปผลการประเมินให้ชัดเจน และนาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาจุดเน้นและ
จุดเดน่ อยา่ งต่อเนอื่ งทุกปกี ารศึกษา กาหนดระยะเวลาในการพฒั นาภายใน ๒ ปกี ารศึกษา
๑.๘ สถานศึกษามีการดาเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือส่งเสรมิ บทบาทของสถานศึกษาได้ดีแล้วแตค่ วรมีการ
สร้างความตระหนักและปลูกจติ สานกึ ในการอนุรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษาใหม้ ากย่ิงข้ึน
๒. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
๒.๑ สถานศกึ ษามีการบริหารการจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาได้ดีแล้วแต่ผบู้ รหิ ารควรให้
ความสาคญั กบั การบรหิ ารแบบธรรมาภบิ าล โดยให้ความสาคญั กับหลักความโปรง่ ใส และหลกั การมสี ่วนรว่ มมากข้นึ
ควรมีการประชุมเพ่ือปรึกษาและปฏบิ ัตงิ านอย่างสม่าเสมอ ควรทาประชาพิจารณเ์ ม่ือมีการกระทาทสี่ ง่ ผลกระทบต่อ
สว่ นรวม และสถานศกึ ษาควรพิจารณาเพิม่ อัตราครูใหเ้ พยี งพอต่อการจดั การเรยี นการสอน กาหนดระยะเวลาใน การ
พฒั นา ภายใน ๒ ปกี ารศึกษา
๒.๒ สถานศึกษาได้มีการสง่ เสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสูค่ วามเป็นเลิศที่สอดคล้องกับ แนวทางการ
ปฏิรูปการศึกษาได้ดีแล้ว แต่ควรจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของ สมศ. ให้ชัดเจน ควรมี
การแสวงหาความรว่ มมือในการพฒั นาคณุ ภาพทางการศึกษาให้มากยง่ิ ขึน้
๓. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
ครูมีการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ดีแล้ว แต่ครูควรพัฒนาการใช้ส่ือการสอนโดยเฉพาะส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาบทเรียนสาเร็จรูป E – Learning ประกอบการสอนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น กาหนดระยะเวลา
ในการพฒั นาภายใน ๒ ปกี ารศกึ ษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๔๗
๔. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศึกษามีการพัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง แต่ควรพัฒนาระบบข้อมูล
สารสนเทศ เพ่ือการประกันคุณภาพภายในให้สมบูรณ์ย่ิงขึ้น และสามารถเช่ือมโยงได้ทุกหน่วยงานในสถานศึกษา
กาหนดระยะเวลา ในการพฒั นาภายใน ๒ ปกี ารศึกษา
นวตั กรรมหรอื ตวั อย่างการปฏบิ ตั ิทด่ี ี (Good Practice) ของสถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม
ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน สง่ เสริมพฒั นา ปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหาใหแ้ ก่ผู้เรยี น เพื่อให้ผเู้ รียนมี
คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ มีภมู คิ มุ้ กันทางจติ ใจทเ่ี ข้มแข็ง มีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ี มีทักษะการดารงชวี ิตและใช้ชวี ิตอยใู่ น
สังคมได้อย่างปกตสิ ขุ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๔๘
๑.๑๑.๒ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก รอบสี่ ( พ.ศ. ๒๕๕๙- ๒๕๖๓ ) ของสถานศึกษา

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ ได้รับการประเมินคณุ ภาพภายนอก รอบสี่ จาก สมศ. เม่อื
วนั ท่ี ๒๗ –๒๙ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก รอบส่ี ดงั ตารางต่อไปน้ี

ด้าน ระดบั คณุ ภาพ
๑. คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดีมาก
๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ยยี่ ม
๓. กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ดมี าก
๔. ความเปน็ กลุ สตรีแหง่ วังเจา้ สาย ดเี ยยี่ ม

จดุ เดน่
ด้านคุณภาพของผเู้ รยี น
๑. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีทักษะกระบวนการคิด เห็นได้จากการตอบคาถามของผู้เรียนจะผ่ านกระบวนการ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ กล่ันกรอง สรุปรวบยอด นาเสนอด้วยความเข้าใจ ไม่ใช่จากการท่องจา มีเป้าหมายในชีวิต มี
โครงงานหลากหลายและผู้เรียนสามารถนาเสนอโครงงานได้อย่างฉะฉาน มั่นใจ มีที่มาท่ีไป มีกระบวนการดาเนินการ
และสรุปผลที่ชัดเจน ทั้งนี้เกิดจากสถานศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง (Active Learning)
และสะเต็มศึกษ า (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education)
อย่างเหมาะสมในแต่ละกลมุ่ สาระ
๒ . ผล ค ะแน น เฉลี่ ยก ารท ด ส อบ ท างการศึก ษ าระดั บ ช าติขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) สู งกว่าระดั บ สั งกั ด
และระดับประเทศท้ังในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ และคะแนนเฉล่ียเมื่อเทียบกับ
สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ จานวน ๖๗ แห่ง สถานศึกษาอยู่ในลาดับที่ ๒๕
และ ๒๓ ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตามลาดับ และเป็น ๑ ในสถานศึกษาท่ีติด
อันดับ ๑ ๐ ๐ สถาน ศึกษ าท่ีดีท่ี สุดในประเทศไท ย ผู้เรียนระดับ ช้ันมัธยมศึกษ าปี ที่ ๖ เข้าศึกษาต่อ
ในสถาบันอุดมศึกษาได้ถึงร้อยละ ๙ ๕ .๕ ๐ ในห้องเรียนปกติ และร้อยละ ๑๐ ๐ ในห้องเรียนพิเศษ
โดยเป็นมหาวิทยาลัยปิดของรัฐบาลถึงร้อยละ ๗๙.๐๐ ทั้งนี้เป็นผลจากการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมเสริม
และสถานศึกษานาข้อสอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) มาวิเคราะห์ ตามทักษะย่อยและ
ตัวชี้วัดแต่ละวิชา พิจารณาว่าผู้เรียนทาไม่ได้ร้อยละเท่าไร เพื่อนามาพัฒนาแนวทางแก้ไขให้แก่ผู้ เรียน
๓. ผู้เรียนมีสมรรถนะในการส่ือสาร เห็นได้จากผู้เรียนสามารถจับประเด็น โต้ตอบและแก้ปัญหานอกจากน้ันผู้เรียนยัง
มี คุ ณ ลั กษ ณ ะท่ี พึ งป ระส งค์ ต าม ที่ ส ถาน ศึ ก ษ าก าห น ด น่ั น คื อ “ค วาม เป็ น กุ ล ส ต รีแห่ งวังเจ้าสาย ”
ท้ังเร่ืองกิริยามารยาท การพูดจาและการแต่งกาย ท้ังนี้เป็นผลจากสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
และแสดงออกท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา รวมถึงวัฒนธรรมองค์กรที่หล่อหลอมมาอย่างยาวนาน
สภาพแวดลอ้ มทยี่ ังคงความเป็นวงั เจา้ สาย ประกอบกบั ครเู ปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๔๙
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๑. สถานศึกษาสามารถบริหารเชิงระบบได้เป็นอย่างดีภายใต้ SAMER System ซึ่งเป็นระบบบริหารที่ใช้
จนตกผลึก ส่งผลให้การดาเนินงานมีความชัดเจน บุคลากรทุกคนรับรู้ตรงกันทั้งในขั้นตอนการวางแผน
เห็นท่ีมาของวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และเป้าหมายในการพัฒนาการจัดการศึกษา ประกอบกับข้ันตอน
การดาเนินงานมาจากแผนการทางานมีทิศทางชัดเจน รวมถึงการติดตามประเมินผลสามารถประเมินได้
ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ทาให้สถานศึกษามีข้อมูลเพียงพอในการพัฒนางานต่อได้ทันทีและทาให้บุคลากร
มีแนวทางในการทางานไปในทิศทางเดียวกัน ก่อให้เกิดประสิทธิผลทั้งการทางานและการบริหารบุคลากร
๒ . ส ถ าน ศึ ก ษ ามี อ งค์ ก รใน รูป ก รรม ก ารชุ ด ต่ าง ๆ ท่ี มี ส่ ว น ร่ว ม ใน ก ารพั ฒ น าก ารจั ด ก ารศึ ก ษ า
ด้วยความเข้มแข็ง ท้ังในด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีทุกฝ่ายให้ความสาคัญกับบุคลิกภาพความเป็น
“กุลสตรีแห่ง วังเจ้าสาย” คุณ ลักษณ ะและด้านวิชาการโดยมีคณ ะกรรมการและผู้ทรงคุณ วุฒิ เหล่านี้
ให้ความช่วยเหลือในทุกเรื่อง นอกจากนั้นคณะกรรมการทุกชุดยังทางานเชิงรุกทั้งในเชิงนโยบาย การร่วม
ดาเนินการและติดตามผลทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ รวมไปถึงการเป็นวิทยากรและพ่ีเลี้ยงให้กับครูได้
เป็นอย่างดี ท้ังนี้เกิดจากกรรมการส่วนใหญ่มีภูมิหลังกับสถานศึกษารู้ลึกซ้ึงเน่ืองจากหลายคนเป็นทั้งศิษย์เก่า
ครูเก่า หลายคนเป็นทั้งศิษย์เก่าและเป็นผู้ปกครองของศิษย์ปัจจุบัน และทุกคนมุ่งมั่นท่ีจะพัฒนาสถานศึกษา
แหง่ นไี้ ปสู่ความเปน็ เลศิ
ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

๑. ครูมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านกระบวนการสอนแบบให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง (Active Learning)
แ ล ะ ส ะ เต็ ม ศึ ก ษ า (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEMEducation)
โดยเน้นสร้างประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนโดยเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนลงมือค้นคว้า ปฏิบัติ คิดผ่านการเรยี นรู้ครอบคลมุ ทุก
วิชา ด้วยเทคนิคการสอน เกมตา่ ง ๆ และความเชยี่ วชาญเฉพาะตัวของครู

๒. ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านการบริหารช้ันเรียนเชิงบวกและผ่านกิจกรรมเสริม
ในหลักสูตร ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีความเป็นกันเองกับผู้เรียน เห็นได้ชัดเจนจากผู้เรียนกล้าพูดโต้ตอบ
ขณะเดียวกันครูพูดจาสุภาพ เป็นต้นแบบท่ีดีให้กับผู้เรียน ดูแลผู้เรียนด้วยความรัก ความเอาใจใส่ ให้รางวัล
ด้วยวิธีการชมเชย เพ่ือเสริมแรงทาให้ผู้เรียน ประกอบด้วย ๓ น้า คือ น้าคา น้าใจ และน้ามือ ทาให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรรู้ ่วมกันอยา่ งมคี วามสุข

๓. สถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนครูในการจัดการเรียนรู้โดยอาศัยเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ สัญญาณอินเตอร์เน็ตท่ีครอบคลุมทุกห้องเรียน จัดทาบทเรียนและสร้างแบบทดสอบท่ีตรงตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้ีวัดของหลักสูตรใช้ทดสอบผู้เรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งเอ้ือให้ครูสามารถ
จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหค้ รอบคลุมและบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ด้านความเปน็ กลุ สตรีแหง่ วงั เจา้ สาย

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีการพัฒนาอย่างชัดเจนในเร่ืองของความเป็นกุลสตรี
แห่งวังเจ้าสาย สืบเนื่องจากความเป็นวัฒนธรรมองค์กรซ่ึงยังคงความเป็นชาววัง ความเป็นกุลสตรี มีการสร้าง
หลักสูตรคหกรรมเพื่อสืบสานเอกลักษณ์การทาขนมไทย และงานฝีมือต่าง ๆของสถานศึกษา ความภาคภูมิใจคือการ
นาขนมไทยสายปัญญาไปร่วมงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (งานอุทยาน ร.๒)อย่าง

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑


Click to View FlipBook Version