The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirapawat, 2021-07-25 05:35:54

SAR ปีการศึกษา 2563

SAR ปีการศึกษา 2563

๕๐
ต่อเน่ืองทุกปี อีกท้ังได้รับโอกาสในการเข้าเฝ้ารับเสด็จทูลเกล้าฯถวายขนมไทยแด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรม
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารีซ่ึงทรงชื่นชมในอาหารที่โดดเด่นแหง่ วังเจ้าสายคอื ขนมปัน้ สิบไส้ปลา
ขนมจีบไทยนงึ่ ขนมดอกลาดวน ผเู้ รียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นทุกคนต้องเรยี นงานฝีมอื มธั ยมศึกษาตอนปลายท่ี
ต้องเรียนคือ แผนการเรียนท่ีจัดความเข้มข้นโดยเฉพาะคหกรรม รวมถึงพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดาเนิน
โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ อย่างต่อเน่อื ง
จดุ ทค่ี วรพฒั นา
ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี น

ถึงแม้ว่าผู้เรียนจะมีความรู้และทักษะพ้ืนฐานในการสร้างนวัตกรรม ผ่านการทาโครงงานท่ีหลากหลาย
มีการระบุที่มา กาหนดวัตถุประสงค์ ทดลอง จนกระท่ังได้ผลสรุปที่ชัดเจน แต่ส่วนใหญ่ยังไม่ได้นาผลงาน
ช้ินงานที่เกิดจากโครงงานมาพัฒนาทดลองเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมในการต่อยอดไปสู่การเป็นนวัตกรรม รวมถึงยัง
ไมไ่ ด้มกี ารนาไปเผยแพร่จนเป็นที่ยอมรับ
ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

ครูจัดการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง มีการกระตุ้นผ่านเทคนิคการสอน และความเชี่ยวชาญเฉพาะตัวได้ดี
ผู้เรียนทุกคนได้ทางานได้หลากหลายก็ตาม แต่พบว่าส่ือและรูปแบบการสอนยังไม่สามารถพัฒนาไปสู่นวัตกรรมการ
สอนได้ แม้วา่ มคี รบู างคนพัฒนาไปสู่นวัตกรรม ท้งั น้ีเน่ืองจากครรู ้อยละ ๖๔.๗๙ เป็นครูบรรจุใหม่ ไม่เกิน ๗ ปี จึงยังมี
ประสบการณท์ างการสอนนอ้ ย
ข้อเสนอแนะ
ด้านคุณภาพของผเู้ รียน

ครูควรกระตุ้นให้ผู้เรียนนาผลงานที่เกิดจากโครงงานมาพัฒนาต่อยอดให้เกิดมูลค่าเพิ่ม สร้างความ
เข้าใจเรื่องการพัฒนานวัตกรรมที่ต้องประกอบด้วยความคิดสร้างสรรค์ ความใหม่ เกิดมูลค่าและเป็นประโยชน์
และในขณะดาเนินการครูควรส่งเสริมให้ผู้เรียนบันทึกข้อผิดพลาด ข้อแก้ไข ให้ชัดเจน โดยครูคอยเป็นท่ีปรึกษา
ให้โอกาส ให้คาแนะนา ให้เวลาและกาลังใจ เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ ทดลอง ปรับปรุงแก้ไข หรือส่งเสริมให้ผู้เรียน
สร้างผลงานใหม่ ๆ ที่ยังไม่ปรากฏที่ใดมาก่อน จากความคิดสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่และสร้างมูลค่าเพิ่ม
ท้ังทางเศรษฐกิจและสังคม จนกระทั่งได้เป็นผลงานเชิงนวัตกรรมของผู้เรียน กาหนดการดาเนินการปรับปรุงตาม
ขอ้ เสนอแนะภายใน ๒ ปี
ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาสู่นวตั กรรมหรอื แบบอย่างทีด่ ี

จากที่ผู้เรียนมีคุณสมบัติทั้งความเก่งและความดี สถานศึกษาควรพัฒนาขยายผลความเก่งสู่ตลาด
การศึกษาเพ่ือให้สถาบันอุดมศึกษามีความเชื่อม่ัน ยอมรับและอยากให้ผู้เรียนท่ีมาจากโรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เข้าศึกษาต่อในสถาบันของตน ขณะเดียวกันสถานศึกษาควรพัฒนากระบวนการท่ีเป็น
นวัตกรรมในการหล่อหลอมกล่อมเกลาผู้เรียนให้มีความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นกุลสตรีแห่งวังเจ้าสายติดตัว
ผู้เรียน จนกระทั่งผู้ใดเห็นก็ทราบว่ามาจากโรงเรียนสายปัญ ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ แม้ว่าจะจบ
การศกึ ษาไปแล้วกต็ าม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๕๑
ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ
ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นาสู่นวัตกรรมหรือแบบอย่างท่ีดี
๑. จากระบบ SAMER System สถานศึกษาควรดาเนินการอย่างต่อเน่ืองไปจนครบวงจรหลักสูตร ๓-๖ ปี
คือใช้ไปจนผู้เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายซ่ึงในแต่ละปีให้วิเคราะห์ระบบว่าการบริหารงานตามโครงสร้างของ
สถานศึกษา การพัฒนาผู้เรียนเป็นเช่นไร และพัฒนาระบบไปทุกปีการศึกษา มีการบันทึ กข้อผิดพลาด
ข้อแก้ไข รวมถงึ ความสาเร็จให้ชัดเจน จนมน่ั ใจว่าสามารถนาระบบน้ีไปใช้พฒั นาสถานศึกษาอ่ืนๆได้ จงึ จดั ทาเปน็ คู่มือ
ก ารบ ริห ารงาน โด ย ใช้ SAMER Systemห รือ ท า เป็ น โม เด ล ก ารบ ริห าร เขี ย น แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ขั้ น ต อ น
การดาเนนิ งานท่ชี ดั เจนเพ่ือขยายผลสสู่ ถานศึกษาในกลมุ่ ต่อไป
๒. จากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนส่งผลต่อคุณภาพ คุณลักษณะท่ีดีของผู้เรียน ดังนั้นสถานศึกษา
ควรพัฒนาวิธีการถ่ายทอดนี้จนกลายเป็นวิถีชีวิตของผู้เรียน ซึ่งก่อให้เกิดภูมิคุ้มกันในตัวผู้เรียนในอนาคตต่อไป
คือถ่ายทอดทั้งวิธีคิด ลักษณะนิสัยให้เป็นคนที่เห็นประโยชน์ต่อส่วนรวม การกระทาในทุกเร่ืองฝึกให้ผ่าน
กระบวนการคิดซ่ึงสถานศึกษามีกิจกรรมที่ส่งเสริมชัดเจนอยู่แล้ว เช่น โครงการกะทิกะธรรม ผู้นาทาความดี
กิจกรรมบุญนิยม ครอบครัวพอเพียง เป็นต้น หากปฏิบัติอย่างต่อเนื่องย่อมสร้างบุคลิกภาพท่ีดีติดตัวผู้เรียน
ไดอ้ ยา่ งถาวร
ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ

ครูควรพั ฒ น าการเรียน การสอน ไป สู่น วัตกรรมการ ศึกษ าป ระกอบ ด้วยน วัตกรรมห ลักสูตร
เพื่ อ ให้ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ าท างเท ค โน โล ยี เศ ร ษ ฐ กิ จ สั งค ม ข อ ง ป ร ะ เท ศ น วั ต ก ร ร ม ก าร เรี ย น ก าร ส อ น
การปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีการสอนแบบใหม่ ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ นวัตกรรมสื่อการ
ส อ น ก า ร ใช้ เท ค โน โล ยี ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ม า ใช้ ใน ก า ร ผ ลิ ต ส่ื อ ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ให ม่ ๆ น วั ต ก ร ร ม
ด้านการประเมินผลเป็นเครอ่ื งมอื เพอื่ การวดั ผลและประเมนิ ผลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเรว็
ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาสู่นวัตกรรมหรือแบบอย่างทีด่ ี

สถานศึกษามีการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ครูทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องท้ัง ด้านการศึกษาต่อ
การฝึกอบรม การศึกษาดูงานส่งผลให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสถานศึกษา
ยังได้ส่งเสริมให้ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management : KM)
กันผ่านกิจกรรมที่ทางกลุ่มบริหารวิชาการจัดขึ้น ดังนั้นควรพัฒนาต่อยอดเพ่ือให้เกิดนวัตกรรมทางการสอน
เพิ่มมากขึ้นจากท่ีมีอยู่แล้ว โดยดึงความเช่ียวชาญของครูที่มีความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมแต่ละคน
มาถ่ายทอดขยายผลสู่เพื่อนครูอย่างต่อเน่ือง ผ่านชั่วโมงชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในแต่ละสัปดาห์
เป็นพ่ีเล้ียงให้ครูในแต่ละกลุ่มสาระได้สังเคราะห์ปัญหาหรือพัฒนาสื่อ เทคนิคการสอนเพื่อหาแนวทาง
ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ โดยกลุ่มบริหารวิชาการจัดให้ครูได้นาเสนอนวัตกรรม หรือ Good Practices ของ
ตนเองหรือเป็นกลุ่มทุกปีการศึกษา แล้วให้เกียรติบัตร ซ่ึงสถานศึกษาดาเนินการได้ดีอยู่แล้วน้ัน เน้นการสนับสนุนใน
รูปแบบงานวจิ ยั เชิงทดลอง หรือพัฒนาส่อื เพื่อเพ่ิมนวตั กรรมใหก้ บั คณะครูอย่างต่อเนอื่ ง

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๕๒
ดา้ นความเป็นกลุ สตรแี ห่งวังเจ้าสาย
ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนาสู่นวัตกรรมหรือแบบอย่างท่ีดี

สถานศึกษาควรทาให้เห็นเปน็ ตน้ แบบในเรอ่ื งความเป็นกลุ สตรี ทง้ั ในด้านมารยาท งานฝีมือ อาหาร เมื่อพูดถึง
ส าย ปั ญ ญ า ต้ อ งคิ ด ถึ งค ว าม เป็ น กุ ล ส ต รีแ ห่ งวั งเจ้ าส าย แ ล ะต้ อ งท า ให้ เป็ น ป ก ติ วิสั ย ให้ เป็ น วิ ถี
ของการดาเนินชีวิตประจาวัน ขณะเดียวกันต้องต่อยอดด้านวัฒนธรรมไทยโบราณ ด้านอาหาร มารยาทชาววัง งาน
ฝีมือ เย็บปักถักร้อย พร้อมทั้งนากิจกรรมต่างๆไปเผยแพร่ให้แพร่หลายควรทาบันทึกข้อตกลง (MOU)
กับสถาบนั อดุ มศึกษา เพื่อผูเ้ รียนจะได้ไปสคู่ วามเปน็ เลศิ ในสาขาทต่ี นเองชอบ

ประเด็น / เร่อื งทโ่ี ดดเดน่ ผลการประเมนิ ความโดดเด่น

การพฒั นาสถานศกึ ษาแบบ ระดบั คณุ ภาพ
องค์รวมโดยใช้รปู แบบการบริหาร  เป็นต้นแบบ มีความโดดเด่น ไดร้ ับการยอมรบั
อย่างเป็นระบบ SAMER System
ระดบั นานาชาติ (C๓)
 เปน็ ตน้ แบบ มคี วามโดดเดน่ ได้รบั การยอมรับ

ระดับชาติ (C๒)
 เปน็ ต้นแบบหรอื มีความโดดเด่น ระดับท้องถน่ิ /

ภมู ภิ าค (C๑)
 ยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์การพจิ ารณาการประเมนิ

ความโดดเด่น

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๕๓

๑.๑๒ ผลงานดีเดน่ /รางวัล / ผลการปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practice) / นวัตกรรม(Innovation)

ของสถานศกึ ษา

๑.๑๒.๑ ผลงานดเี ดน่ / รางวลั สถานศึกษา

ที่ ระดบั รางวลั /ชอื่ รางวลั ท่ีไดร้ บั หนว่ ยงานท่มี อบรางวลั

๑ ได้รับโล่รางวัลเกียรติคุณ สัญญา ธรรมศักดิ์ ระดับดีเด่น ระดับมัธยมศึกษา มูลนธิ ิธารนา้ ใจ

ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ จากสมเด็จกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการเชิดชูเกียรติสถานศึกษาท่ีสร้างคนดี

ให้สังคม ด้วยการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมดีเด่น

๒ โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ ไดร้ ับเกยี รติบัตร รางวัล กรมสวัสดิการและ

“สถานศึกษาปลอดภัย” ดเี ดน่ ปที ี่ 4 ติดตอ่ กนั ในวันที่ 1 ตลุ าคม 2563 คุ้มครองแรงงาน

๓ ได้รับผลการประเมิน ระดับ A ในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ สพม.กท1

ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ออนไลน์ (ITA) ประจาปีงบประมาณ สพม.กท๑

๑.๑๒.๒ ผลงานดเี ดน่ / รางวลั ของผบู้ รหิ าร

ที่ รายชอ่ื ผู้บรหิ าร ระดับรางวลั /ชื่อรางวลั ท่ไี ดร้ ับ หน่วยงานท่มี อบรางวลั

1 นางสาววิมลนาถ บวั แก้ว บุคคลผู้เสียสละอุทิศตนเพอ่ื ประโยชน์ทางการศึกษา สานักงานศึกษาธกิ าร

ผู้อานวยการโรงเรยี น สมควรได้รบั การยกยอ่ งเชิดชูเกียรติเปน็ แบบอยา่ งที่ดี จังหวดั กรงุ เทพมหานคร

เนอ่ื งในวนั ครูครัง้ ท่ี ๖๔ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๓

(ปฏบิ ตั ิหนา้ ทใ่ี น ได้รับการคดั เลือกผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา เพ่ือ สานกั งานเลขาธิการ

ภาคเรียนที่ 1/2563) รับเคร่อื งหมายเชิดชเู กียรติ “ครสุ ดดุ ี” ระดับจงั หวัด ใน คุรุสภา

กรุงเทพมหานคร ประจาปี ๒๕๖๓

รางวัลสายปัญญายนิ ดี ประจาปี ๒๕๖๓ สายปัญญาสมาคม

ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๕๔

๑.๑๒.๓ ผลงานดเี ดน่ / รางวลั ของครู

ที่ รายช่อื ครู ระดบั รางวลั /ชอื่ รางวลั ทีไ่ ดร้ บั หนว่ ยงานท่ีมอบรางวลั

๑ นางชลฤทัย สขุ เกษม ครูดีไม่มีอบายมขุ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานเครือขา่ ยองค์กรงด

๒ นางสาวจุฑาภรณ์ วาสเุ ทพ เหลา้ รว่ มกบั สพฐ. และ สสส.

๓ นางสาวทศพร บญุ ชู

๔ นางสาวเบญจวรรณ ขณะรัตน์

๕ นางสาวปนิดา นอ้ ยเกดิ

๖ นางสาวพรวิมล อุตรตั น์

๗ นางสาวพมิ พช์ นก หมอกฤทธิ์
สวุ คนั ธกุล
๘ นางสาวอนุตรา หริ ัญกจิ รงั ษี
ศรชี มภู
๙ นางสาวองั คณา บุญศริ ิ
๑๐ นางสาวอารีรตั น์ รากะสง
๑๑ นางอังคนาง ไทยรฐั เทวนิ ทร์
๑๒ นางอบุ ลรตั น์ แก้วกลา่ ศรี
๑๓ นายกรี ติ วรรณทอง
๑๔ นายปรมินทร์
๑๕ นายสรุ รักษ์

๑๖ นางสาวอารีรตั น์ ศรชี มภู ได้รบั คดั เลือกให้เป็น อาสาสมัคร เอ เอฟ เอส ดเี ด่น

เอ เอฟ เอส ดเี ด่นแห่งประเทศไทย แหง่ ประเทศไทย

ระดับเขต ประจาปี 2563

๑๗ นางสาวพรวิมล อุตรัตน์ ไดร้ ับคัดเลือกการประกวดโครงการ สานกั งานคณะกรรมการกากับ

“นวัตกรรมไฟฟ้าแหง่ อนาคต”คร้ังท่ี 1 กจิ การพลงั งาน

๑๘ นางสาวอมนิ ตรา แสงเมอื ง ได้รบั คัดเลือกการประกวดโครงการ สานกั งานคณะกรรมการกากับ

“นวตั กรรมไฟฟา้ แหง่ อนาคต”คร้งั ท่ี1 กิจการพลังงาน

๑๙ นายพษิ ณุ ชยั ทอง ครแู กนนาการใช้หลักสูตรพัฒนา สานักงานคณะกรรมการ

ศกั ยภาพผนู้ านักเรียนสู่การเป็นพลเมือง การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

โลกตามเป้าหมายการพฒั นาที่ย่งั ยืน

(OBEC Toung Leaders for SDGs)

– 22ธ.ค2563

๒๐ นางสาวอารยา มัน่ ศกั ดิ์ ครูแกนนาการใช้หลักสตู รพฒั นา สานกั งานคณะกรรมการ

ศักยภาพผูน้ านักเรียนสกู่ ารเป็นพลเมือง การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

โลกตามเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่ังยืน

(OBEC Toung Leaders for SDGs)

– ๒๒ธ.ค๒๕๖๓

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๑.๑๒.๔. การเป็ นวทิ ยากร ให้แก่หน่วยงานภายนอก ๕๕

ชอ่ื - สกลุ รายการทร่ี บั เชญิ เป็นวิทยากร/ หน่วยงานทจ่ี ดั / วนั -เวลาที่จัด
นายสมควร แหสกลุ มหาวิทยาลยั มหิดล ศาลายา
เป็นวิทยากร ในเวทีเสวนาหัวขอ้
นายอนศุ าสตร์ เขียวขจี “Museum Based Learning : What วนั ที่ 20 พ.ย. 2563
We Do and What We Get and How เวลา 13.00 -17.00 น.
to improve it” ในรายวิชา museum-
based active learning ณ สถาบนั วิจัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย วันที่ 24 พ.ย. 2563
เวลา 10.00 – 12.00 น.
เป็นวิทยากร บรรยายวชิ าวทิ ยาวธิ ี
วิทยาการสอนเคมี แกน่ สิ ิตชัน้ ปีท่ี 5
สาขาวทิ ยาศาสตร์ (เคม)ี คณะครศุ าสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

๑.๑๒.๕ เกยี รตปิ ระวตั ิของนกั เรยี น

รางวัลการประกวดแข่งขนั /ผลงานดีเด่น ประเภทนักเรียน ระดับภาค

ท่ี ชื่อ-สกลุ ชอ่ื รางวลั ทีไ่ ดร้ ับ หนว่ ยงานทม่ี อบรางวลั

๑ นางสาวอรฤดี อริยะกอง รองชนะเลิศอันดบั 2 ประเภทหญงิ เดีย่ ว กรมพลศึกษากระทรวง
รุน่ อายไุ ม่เกิน 18 ปี การท่องเท่ียวและกีฬา

๒ นางสาวเปรมมิกา คาโต ได้รับคดั เลือกการประกวดโครงการ สานักงานคณะกรรมการ
“นวตั กรรมไฟฟ้าแห่งอนาคต” ครั้งที่ 1 กากบั กิจการพลังงาน
๓ นางสาวคฑาทิพย์ 1 ก.พ. 2564
โอศริ กิ าญจน์ ได้รับคดั เลือกการประกวดโครงการ สานักงานคณะกรรมการ
“นวัตกรรมไฟฟ้าแห่งอนาคต” ครั้งที่ 1 กากับ กจิ การพลังงาน
1 ก.พ. 2564

รางวัลการประกวดแข่งขัน/ผลงานดเี ด่น ประเภทนักเรยี น ระดบั ประเทศ

ที่ ชอื่ -สกลุ ช่อื รางวลั ท่ไี ดร้ บั หนว่ ยงานท่มี อบรางวลั

๑ นางสาวพรชติ า บุญศรี รางวลั ความประพฤติดี พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย
5 พ.ค.2563 ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๕๖

ส่วนท่ี ๒ การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา
ตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๕๗

สว่ นที่ ๒ การพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจาปี
ของสถานศกึ ษา

๑. การบริหารจัดการของสถานศึกษา
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ แบ่งโครงสร้างการบริหารงานตามพระราชบัญญัติระเบียบ

การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มุ่งเน้นโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนเป็นนิติบุคคล มี ๕
กลุ่มบริหาร ผู้บริหารโรงเรียนยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบ SAMER การพัฒนาตามกระบวนการ
PDCA การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา

แผนภาพแสดงกระบวนการสร้างความสาเร็จใหเ้ กิดแก่โรงเรียน โดยใชร้ ะบบ SAMER

ผู้นาระดับสูง โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ดาเนินการเพื่อทาให้โรงเรียนประสบ
ความสาเร็จทั้งในปัจจุบันและอนาคตโดยใช้นวัตกรรมระบบ SAMER ซ่ึงประยุกต์ข้ึนจากวงจรบริหารงานคุณภาพ
(PDCA) และปัจจัย ๔ ประการท่ีใช้ประเมินเกณฑ์รางวัลคุณภาพในมิติกระบวนการ (ADLI) เพื่อให้โรงเรียนพัฒนา
สู่มาตรฐานสากล ระบบ SAMER น้ีเป็นกระบวนการสาคัญท่ีใช้ในการบริหารและการดาเนินงานในโรงเรียน ตั้งแต่
การจัดทาแผนกลยุทธ์ระยะ ๕ ปี และถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่างมีระบบโดยจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ท่ีกาหนดไว้ มีการนิเทศ กากับ ติดตาม
ประเมินผลอันเกิดจากการดาเนินการตามแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี ตลอดจนการดาเนินโครงการ
และกิจกรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียน

การท่ีผู้นาระดับสูงใช้ระบบ SAMER ในการบริหารอย่างมีส่วนร่วมในการดาเนินการ การนิเทศ กากับ
ติดตาม ประเมินผล นับเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ แลกเปล่ียนเรียนรู้
และปรับปรุงพัฒนาผลการดาเนินการในแต่ละปีการศึกษาอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้พร้อมรับการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ
ทาให้บรรลตุ ามพันธกิจ และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ ส่งผลให้โรงเรียนประสบความสาเร็จได้ ซึ่งจะแสดง
กระบวนการไว้ในหวั ขอ้ การทาให้เกดิ การปฏิบัติอยา่ งจริงจงั และระบบการกากับดูแลโรงเรียน

นอกจากนั้น ยังต้องให้ความสาคัญด้านบุคลากรด้วย กล่าวคือ ต้องมีการวิเคราะห์ขีดความสามารถ
ของอัตรากาลัง สร้างความผูกพัน และพัฒนาบุคลากรให้มีความเป็นผู้นา มีสมรรถนะพร้อมต่อการปฏิบัติหน้าท่ี
และรับภาระงานต่าง ๆ นาไปสู่การพัฒนานักเรียนในด้านความรู้ คุณธรรม จริยธรรม รวมท้ังปลูกฝังให้นักเรียนเกิด
ความผูกพนั กบั โรงเรยี นไดอ้ กี ด้วย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๕๘

โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี น
อีกประการหนึ่งนั้น นวัตกรรมต่าง ๆ ท่ีผู้นาระดับสูง ตลอดจนครู บุคลากรในโรงเรียนสร้าง

หรือพัฒนาข้ึน นับเป็นส่วนหน่ึงที่นาไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และทาให้เกิดความคล่องตัวในการ
ดาเนินการของโรงเรียนเช่นกัน โดยโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ ได้ดาเนินการให้มกี ารสร้างนวตั กรรมการ
เรยี นรู้ ดงั นี้

ตารางแสดงกระบวนการสร้างนวัตกรรมการเรียนรูภ้ ายในโรงเรยี นเพ่ือเปน็ สว่ นในการสร้างความสาเร็จให้
โรงเรยี น

ระบบ SAMER กระบวนการ

S (Set) ๑. สรา้ งบรรยากาศภายในโรงเรียน โดย

ต้ังวตั ถปุ ระสงค์ ๑.๑ กาหนดนโยบายส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ และนวัตกรรมอื่น ๆ ท่ีอานวย

ความสะดวกแก่การดาเนนิ งานในโรงเรยี น

๑.๒ สร้างหรือพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เช่น สวนพฤกษศาสตร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต

ห้องสมุด ห้องนวตั กรรม หอ้ งห่นุ ยนต์ เปน็ ตน้

A (Align) ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน ด้านการวิจัยและด้านนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพ

กระจายงาน การศึกษา

M (Monitoring) ๓. ดาเนนิ การ ส่งเสริม สนบั สนุน และจัดให้บุคลากรเข้าอบรมเพ่ือสร้างองค์ความรู้ดา้ นการ

ตดิ ตาม สร้างนวตั กรรมและการวจิ ัยอย่างตอ่ เน่ือง แล้วนามาสรา้ งหรือพฒั นา แลกเปลยี่ นเรยี นรู้

ความก้าวหน้า และสรา้ งองคค์ วามรรู้ ่วมกับเพ่อื นครูภายในโรงเรียน

E (Evaluation) ๔. ประเมินผล ดังน้ี

ประเมนิ ผล ๔.๑ ประเมินผลการดาเนินการ โดยจัดประกวดนวัตกรรมและวิจัยในชั้นเรียนทุกปี

การศึกษา

๔.๒ ประเมินกระบวนการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ภายในโรงเรียน โดยใช้แบบประเมิน

แล้วนาผลการประเมินเข้าสู่ที่ประชุมเพ่ือตรวจสอบ ทบทวน ปรับปรุง พัฒนา ในปีการศึกษา

ต่อไป

R (Rewards) ๕. ตัดสินและมอบรางวัลแก่บุคลากรท่ีมีผลงานนวัตกรรมหรือวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจาปี

รางวลั การศึกษา จัดนิทรรศการแสดงผลงานนวัตกรรมและวิจัยครู แล้วสรุปผลการดาเนินงานเพื่อ

นาไปปรบั ปรงุ พัฒนา

อนึ่ง กระบวนการของระบบ SAMER ซ่ึงเป็นหน่ึงในนวัตกรรมของโรงเรียนนั้น จะมีการประเมิน
ทุกปีการศึกษา ซึ่งผลลัพธ์สาคัญ คือ ประสิทธิภาพการกากับดูแลองค์กรโดยใช้ระบบการบริหารแบบ SAMER
และกระบวนการ PDCA เพื่อให้เป็นองค์กรท่ีมีธรรมาภิบาลท่ีดีตามความคิดเห็นของครูและบุคลากร ซ่ึงได้กาหนด
เป็นตัวชี้วัดในแผนกลยุทธ์ และแสดงผลลัพธ์ แล้วนาผลการประเมินมาพิจารณา ทบทวน ปรับปรุงพัฒนา
กระบวนการดังกล่าวในปีต่อไปอย่างต่อเนื่อง

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๕๙

กำรใช้นวัตกรรม SAMER System

โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ ยึดหลักของการมีเอกภาพเชงิ นโยบาย หลากหลายในการปฏบิ ัติ
เน้นระบบการกระจายอานาจและยึดหลักการมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน ครู บุคลากรให้มีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
เพ่ือยกระดับสถานศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล และสร้างความยั่งยืน ด้วยความเสมอภาคและเป็นธรรม
นาไปสูก่ ารเป็นไทยแลนด์ ๔.๐

การดาเนินงานใช้แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ เป็นแนวทาง
มุ่งเน้นการทางานเป็นระบบ โดยใช้ SAMER SYSTEM ซึ่งเป็นนวัตกรรมการบริหารของสถานศึกษา เป็นแนวทาง
ในการปฏิบัติ กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน ควบคู่กับวงจรคุณภาพ P D C A ลงสู่การปฏิบัติ
อยา่ งเปน็ ระบบ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

แผนภมู ิแสดงโครงสร้างการบรหิ ารงานโรง

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงาน

๖๐

งเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์

นเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงาน

๖๑

นเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๖๒

๒. วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย และกลยุทธข์ องสถานศกึ ษา

วสิ ัยทศั น์

สายปญั ญาสืบสานงานฝมี อื ยึดถือคณุ ธรรม มุ่งนาวิชาการสูม่ าตรฐานสากล ดารงตน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ

๑. ส่งเสริมการเรียนรงู้ านฝมี ือ นาสชู่ ุมชน
๒. ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ดารงตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓. สนบั สนนุ และสง่ เสริมวิชาการสมู่ าตรฐานสากล
๔. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามมาตรฐานวชิ าชพี เตม็ ตามศักยภาพ
๕. ส่งเสรมิ บริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพตามหลักธรรมาภิบาล
๖. สรา้ งความเขม้ แขง็ ของการมสี ่วนร่วมขององค์กรสนับสนุนและชุมชน

เปา้ หมาย

๑. นกั เรียนมีความสามารถในงานฝีมอื ศลิ ปวัฒนธรรม มคี วามรู้ทางวชิ าการตามมาตรฐานสากล มีคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และดารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานวิชาชีพ เต็มตามศักยภาพ โดยส่งเสริมการใช้นวัตกรรม
และเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอน

๓. โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการด้วยระบบการประกันคุณภาพ โดยใช้หลักธรรมาภิบาล ที่เน้นการมี
ส่วนร่วมของบคุ ลากร องคก์ รสนับสนุน และชมุ ชนในการกระจายอานาจ

กลยทุ ธ์

๑. สืบสานงานฝมี อื และดารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรับผิดชอบตามอตั ลักษณ์และเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา
๓. พัฒนาหลกั สูตรใหม้ ีความหลากหลาย เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรียนตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น

และพัฒนาสู่ความเป็นมาตรฐานสากลและเพม่ิ โอกาสการเขา้ ถงึ การศึกษาทมี่ คี ุณภาพ ลดความเหลื่อมล้า
ทางการศกึ ษา
๔. พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ
๕. พฒั นาระบบบรหิ ารและการจัดการศึกษาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพโดยใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
๖. สร้างความเข้มแขง็ ของการมสี ่วนร่วมของเครือขา่ ยผ้ปู กครองและชมุ ชน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๖๓

๓. โครงการทส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษา ชื่อโครงการ/งาน
ของสถานศกึ ษา
๑ ๑.พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (๘กล่มุ สาระฯ)
คุณภาพดา้ นผเู้ รยี น ๒.พัฒนาศกั ยภาพผ้เู รยี นสคู่ วามเปน็ เลศิ (๘กลุ่มสาระฯ)
๓.พัฒนานักเรยี นหอ้ งเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
๔.พฒั นาทักษะชวี ิต คคู่ ณุ ธรรม สานกึ รักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
๕.รกั การอ่าน
๖.สง่ เสริมทักษะวชิ าชีพ
๗.ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม นอ้ มนาวถิ ีพุทธ
๘.โภชนาการโรงเรยี น
๙.ประชาสัมพนั ธ์และสมั พันธ์ชมุ ชน

๒ ๑.พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
กระบวนการบรหิ าร ๒.พัฒนาระบบบรหิ ารเชิงคุณภาพ
และการจดั การของ ๓.ประกันคณุ ภาพสถานศกึ ษา
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ๔.พัฒนาและสง่ เสริมคุณภาพ นกั เรียน ครู สภาพแวดล้อม และ
การบริหารจดั การ
๓ ๕.พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน
กระบวนการจดั การเรยี น ๖.สถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
การสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี น ๗.สถานศกึ ษาปลอดภยั และอนามยั ดี
๘.สาธารณปู โภค
เปน็ สาคญั ๑.สง่ เสริมการวิจัย
๒.พฒั นาบุคลากรทางการศึกษา

๔ ๑.สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ความเป็นกลุ สตรี ๒.ศาสตร์พระราชาเพ่อื การพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน
แหง่ วงั เจา้ สาย ๓.ส่งเสริมอัตลกั ษณ์ กลุ สตรี วงั เจ้าสาย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๖๔

สว่ นท่ี ๓ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๖๕

มาตรฐานท่ี ๑
คุณภาพของผู้เรยี น

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน

ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ

๑. กระบวนการพฒั นา

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาการของผ้เู รียน

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มีความรู้ตรงตามหลักสูตร
ของกระทรวงศึกษาธิการเป็นสาคัญ ในขณะเดียวกันมุ่งเน้นให้เป็นคนดี มีคุณธรรมและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ครูมุ่งจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้แนวทางจัดการเรียนรู้แบบACTIVE LEARNING
โดยส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษาในรูปแบบต่างๆ ในด้านวิชาการ เพื่อให้มีความสามารถ
ในด้านการอ่าน เขียน เพื่อการสื่อสารท่ีถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม ในขณะเดียวกันก็มีทักษะด้านการคิดคานวณ
ตามหลักสูตรในแต่ละระดบั ชน้ั รวมท้ังส่งเสริมทกั ษะการเรยี นรู้ในเชิงคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
สามารถแสดงทรรศนะในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล รวมทั้งสามารถใช้เทคโนโลยีอันทันสมัยนามาใช้
เพื่อการนาเสนองาน การพัฒนางานและการจัดกิจกรรมต่างๆ อันเป็นการส่งเสริมให้เกิดทักษะการคิดอย่างมีระบบ
และมีความคิดสร้างสรรค์ ส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการเรียนรู้และการทากิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่
กิจกรรมยุวกาชาดและเนตรนารี กิจกรรมการศึกษาแหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอกโรงเรียน และกิจกรรมส่งเสริมภาวะ
ผู้นา เป็นต้น ในขณะเดียวกันโรงเรียนได้มุ่งส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพกล่าวคือจัดบริเวณ
สถานท่ีให้มีภูมิทัศน์ท่ีสวยงาม จัดห้องปฏิบัติการท่ีทันสมัยเอ้ือต่อการเรียนรู้ท่ีทันสมัยสาหรับการสืบค้นข้อมูลทั้งใน
ห้องสมุดของโรงเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และห้องปฏิบัติการของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
อันจะเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส่งผลให้นักเรียนได้ใช้ศึกษาค้นคว้าความรู้การจัดทาโครงงาน การสร้างองค์ความรู้ (IS)
ในหลักสูตร และกิจกรรมชุมนุมท่ีจัดข้ึนในโรงเรียน สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของโรงเรียนท่ีเน้นให้นักเรียนได้ศึกษา
เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจเพื่อสร้างเสริมศักยภาพของนักเรียนเป็นสาคัญ รวมทั้งยังให้ครูผู้มีความสามารถ
และวิทยากร ผู้มีความรู้มาสอนเสริมเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนในรายวิชาต่างๆ และเพื่ อส่งเสริมการสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติ (O -NET) ท้ังระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ส่งผลให้นักเรียน
มีค่าเฉล่ียผลการเรียนอยู่ในระดับดี และมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน โดยมีค่าเฉล่ียสูงกว่า
คะแนนเฉลย่ี ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและระดับประเทศอย่างต่อเนอื่ ง

๑.๒ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึ่งประสงคข์ องผเู้ รียน

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมท่ีดีงาม
ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียน โดยกาหนดกิจกรรมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมคุณภาพของผู้เรียนหลายกิจกรรม
ได้แก่ โครงการกะทิกะธรรมผู้นาความดี โครงการคุณธรรมชั้นเคลื่อนโดยดาเนินการทุกระดับช้ันแตกต่างกันไป

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๖๖
ตามข้อกาหนดของแต่ละระดับ เพื่อมุ่งส่งเสริมคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย ใฝ่ใจประพฤติปฏิบัติตน
ให้เป็นคนดีอย่างต่อเน่ือง ในขณะเดียวกันโรงเรียนได้ส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
ความเป็นผู้รับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม ได้แก่วันแม่แห่งชาติ กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ และวันครู เพ่ือได้มี
จิตสานึกในความเป็นคนดีมีความกตัญญูต่อบุพการี และเทิดทูนสถาบันสาคัญแห่งชาติด้วยความจงรักภักดี
ในขณะเดียวกันโรงเรียนได้จัดการเรียนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมด้านคหกรรม งานฝีมือ ศิลปศึกษา นาฏศิลป์
ดนตรีไทย เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนมีความคิดเพ่ือสืบสาน รักษาและต่อยอดการพัฒนางานในอันท่ีจะส่งเสริม
วัฒนธรรมของชาติ และปฏิบัติตนตามแนวพระราชดาริแห่งศาสตร์พระราชา เพ่ือสร้างเสริมความภูมิใจในชาติ
อย่างย่ังยืน เห็นความสาคัญของจิตอาสาเพ่ือพัฒนาสังคมและอนุรักษ์ทรัพยากรของแผ่นดิน ในด้านการส่งเสริม
ให้นักเรียนดารงตนในสังคมอย่างปลอดภัยห่างไกลยาเสพติดน้ัน โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรม
รณรงค์ต่อต้านสารเสพติด และอบายมุข ส่งเสริมให้เป็นผู้มีความคิดวิจารณญาณไตร่ตรองอย่างมีเหตุผลโดยจัดค่าย
ผนู้ า มุ่งเน้นฝึกการแสดงความคดิ และการยอมรับฟังความคิดของผอู้ ่ืนตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุขของประเทศ ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นผู้มีสุขอนามัยท่ีสมบูรณ์ โดยจัดเวลาสาหรับการออกกาลังกาย
การตรวจสุขภาพประจาปี การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย และให้ความสาคัญด้านจิตสังคม ส่งผลให้นักเรี ยน
มกี ารพฒั นาด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์อย่างครอบคลมุ ตามตัวบง่ ช้ีทกี่ าหนดไวใ้ นมาตรฐาน

๒. ผลการดาเนินงาน
ในปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ ต้องเผชญิ กับสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โดยได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆผ่าน Google
classroom โดยนักเรียนทุกระดับชั้นมีการเรียนรู้ มีทักษะกระบวนการ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่ือการส่ือสาร ค้นคว้า หาความรู้ข้อมูลต่างๆ ตลอดจนการจัดโครงการ กิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐาน
การศึกษาข้ันพื้นฐานของหลักสูตรสถานศึกษา โดยดาเนินการตามที่ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการประจาปี และมีการ
ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาต่างๆ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิดีข้ึน สามารถอ่าน เขียน ท้ังภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษได้ตามมาตรฐานในแต่ละระดับช้ัน สามารถเขียนตลอดจนสื่อสารความคิดได้มีทักษะใน การทางาน
ร่วมกับผู้อื่นโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมและกล้าแสดงออกทางความคิดในเชิงสร้างสรรค์ได้เป็นอย่างดี ทั้งน้ี
ผู้เรียนมีความประพฤติท่ีดีงามปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน ร่วมกิจกรรมท่ีส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตาม
แนวทางท่ีโรงเรียนกาหนด ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่
กาหนดในแต่ละรายวชิ า และมุ่งส่งเสริมพัฒนาการด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขยี น อย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยคานึงถึง
การพัฒนาท้ังด้านความรู้สติปัญญา ด้านความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ ทาให้ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐาน
การศึกษาด้านคุณภาพผเู้ รยี น อยใู่ นระดับดเี ลิศ ดังรายละเอยี ดดังนี้

1.1 ผลสัมฤทธทิ์ ำงวิชำกำรของผู้เรียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คานวณ

โรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียนอ่านหนังสือ บทความ หรือสิ่งพิมพ์ต่างเช่น
โครงการส่งเสริมการอ่าน และงานสัปดาห์ห้องสมุด ปลูกฝังให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านจัดทาสมุดบันทึกรักการอ่าน
สาหรับนักเรียนทุกคน จัดกิจกรรมชุมนุมยุวบรรณารักษ์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียนและต้ัง
คาถาม เพื่อค้นคว้าคามรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่านการเขียน เช่นกิจกรรมอ่านคล่องเขียนคล่องกิจกรรม
Spelling Bee ความสามารถในด้านการส่ือสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเหมาะสมตามระดับช้ันโรงเรียนมี

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๖๗

การจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนให้มีความสอดคล้องและส่งเสริมทักษะดังกล่าวจัดโครงการ และตลอดจนกิจกรรมท่ี

ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตรเช่น กิจกรรมกิจกรรมวันคริสต์มาส กิจกรรมภาษาอังกฤษหน้าเสาธง

กิจกรรมวันภาษาไทย ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้ง ภาษาไทยและ

ภาษาอังกฤษเช่น การนาเสนอโครงงาน การนาเสนอหน้าชั้นเรียน เป็นต้น ความสามารถในด้านการคิดคานวณ

เหมาะสมตามระดับช้ันโรงเรียนได้จัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน (คลินิกวิทยาศาสตร์) ซึ่งมีดังน้ี

กิจกรรมทักษะการบวก ทักษะการลบ ทักษะการคูณ และทักษะการหาร ส่งเสริมทักษะการคิด การสื่อสารและการ

ทางานเป็นทีมมีกิจกรรมการแข่งขัน MATH NI ACTION กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นทักษะกระบวนการคิดการ

แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในชั้นเรียนอย่างหลากหลาย รายละเอียดของความสามารถในการอ่าน การเขียน การ

ส่ือสาร และการคิดคานวณมีดงั นี้

๑) ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขยี น กำรส่ือสำรภำษำไทย

ผลการดาเนินงานส่งเสริม ความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสารรายวชิ าภาษาไทย โรงเรียนจัดการ
เรียนรู้ท่ีตรงตามศักยภาพของผู้เรียนมีกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้ง
รูปแบบระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง ใช้สื่อเทคโนโลยีในการเรียนการสอน การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ
ผู้เรียนสามารถอ่านและเขียนได้ถูกต้องตามมาตรฐานการเขียน และการอ่าน ในแต่ละระดับชั้น ผลการดาเนินงาน
ผู้เรียนมีทักษะการอ่านและการเขียนสามารถสื่อสารได้ถูกต้องตามหลักภาษา ส่งผลให้ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ (O-NET) มีคะแนนสูงข้ึนท้ังระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6 คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนสูงกว่าคะแนน
เฉล่ียของ สพฐ.

ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์ของแต่ละระดับช้ัน
ร้อยละ โดยมีที่มาจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับ ดี (3.00) ข้ึนไป และผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และ
เขียนสอื่ ความ ระดับ ดเี ย่ียม ทุกระดับชั้น ตามตารางตอ่ ไปนี้

ตำรำง ร้อยละของนักเรยี นที่มคี วำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขยี น กำรสื่อสำรภำษำไทย ตำมเกณฑข์ องแตล่ ะ
ระดบั ช้นั ปีกำรศกึ ษำ 2563

รำยกำร จำนวน รอ้ ยละ คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้

นกั เรยี น

1.ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน 1,914 74.47 3 2.23

ระดบั ดี (3.00) ขึน้ ไป

2.ร้อยละของนักเรียนท่ีมผี ลการประเมินการอา่ น คิด 1,960 76.26 2 1.52

วเิ คราะหแ์ ละเขยี นส่อื ความ ระดบั ดเี ยีย่ ม

รวม 75.37 5 3.75

แปลผล = ดเี ลศิ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๖๘

ตำรำง แสดงจำนวนนักเรียนท่ีมผี ลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นรำยวิชำภำษำไทยพน้ื ฐำน ระดับ ดี (3.0) ขึน้ ไป
ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 1 – 6 ปีกำรศกึ ษำ 2563

ช้ัน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม
ภาคเรียนท่ี 1 137 121 159 188 213 171 1,037
ภาคเรียนท่ี 2 101 115 107 148 199 174 877
238 236 266 336 412 345 1,914
รวม 119 118 133 168 206 172.5 957
เฉลยี่ 63.98 79.19 65.52 76.36 84.43 84.15 74.47
ร้อยละ

แผนภูมิ แสดงผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนรำยวชิ ำภำษำไทยพ้ืนฐำน ระดบั ดี (3.0) ขน้ึ ไปชนั้ มธั ยมศกึ ษำ
ปที ่ี 1 – 6 ปกี ำรศกึ ษำ 2563

สรุปผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวชิ าภาษาไทยพน้ื ฐาน ระดับ ดี (3.0) ขึน้ ไปชัน้ มัธยมศึกษา
ปที ี่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2562 รวมทง้ั สิน้ 1,914 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 74.47

ตำรำง จำนวนนกั เรยี นทม่ี ีผลกำรประเมนิ กำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะห์และเขยี นสื่อควำม ระดบั ดีเย่ียม

รำยวิชำภำษำไทยพนื้ ฐำน ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 – 6 ปกี ำรศึกษำ 2563

ช้ัน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม
976
ภาคเรียนที่ 1 150 127 167 179 186 167 984
1,960
ภาคเรียนที่ 2 162 142 172 158 178 172 980.00
76.26
รวม 312 269 339 337 364 339

เฉลย่ี 156 135 170 169 182 170

รอ้ ยละ 83.87 90.27 83.50 76.59 74.59 82.68

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๖๙

แผนภูมิ แสดงร้อยละของนักเรียนมผี ลกำรประเมินกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะหแ์ ละเขียนส่ือควำม ระดับ ดเี ยย่ี ม
รำยวชิ ำภำษำไทยพื้นฐำน ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1 – 6 ปกี ำรศึกษำ 2563

ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี นสื่อความ ระดับ ดีเย่ียมรายวชิ า
ภาษาไทยพ้ืนฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 6 ปกี ารศึกษา 2563 รวมทง้ั สนิ้ 1,960 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.26

๒) ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขียน กำรสอื่ สำรภำษำองั กฤษ

ตำรำง รอ้ ยละของนกั เรยี นท่ีมคี วำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขยี น กำรสื่อสำรภำษำองั กฤษ ตำมเกณฑ์กำรให้
ค่ำคะแนน ปีกำรศึกษำ ๒๕๖3

จำนวน

รำยกำร นกั เรยี น รอ้ ยละ คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้
๓ 1.96
(คน) ๒ ๑.๙๘
๕ 3.94
๑. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนรายวชิ าภาษาอังกฤษ 780 65.46

พ้ืนฐาน

๒. ผู้เรียนทีม่ ผี ลการประเมนิ การอ่าน การเขียน ๑,๑๗๗ ๙๘.๙๑

การสือ่ สารภาษาองั กฤษ ระดับดขี นึ้ ไป

รวม 78.80

แปลผลระดับคุณภำพ = ดีเลิศ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๗๐

ตำรำง ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นรำยวิชำภำษำอังกฤษพื้นฐำน มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๑-๖ ภำคเรยี นที่ ๑
ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

จำนวน จำนวนนักเรียนที่มผี ลกำรเรยี นรู้ จำนวนนกั เรียนทไ่ี ด้ ร้อยละจำนวน
(คน)
ระดบั ช้นั ๓ ๓.๕ ๔ ระดับ ๓ นักเรยี นทไี่ ด้ระดบั ๓
ขนึ้ ไป ขน้ึ ไป
ชน้ั ม.๑
ชน้ั ม.๒ ๑๘๓ ๓๒ ๑๑ ๔๘ ๙๑ ๔๙.๗๓

ชน้ั ม.๓ ๑๔๘ ๒๓ ๒๑ ๕๒ ๙๖ ๖๔.๘๖
ชน้ั ม.๔
ช้ัน ม.๕ ๑๙๘ 15 27 151 ๑๙๓ ๙๗.๔๗
ชั้น ม.๖ ๑๒๕ ๕๗.๘๗
รวม ๒๑๖ 32 17 76 ๑๑๘ ๔๘.๗๖
๑๒๕ ๖๑.๕๘
๒๔๒ 55 35 28
๗๔๓ ๖๒.๔๔
๒๐๓ 48 32 45

๑,๑๙๐

รวม

ตำรำง ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรียนรำยวชิ ำภำษำอังกฤษพ้ืนฐำน มธั ยมศึกษำปีที่ ๑-๖ ภำคเรียนที่ ๒
ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

จำนวน จำนวนนกั เรยี นที่มีผลกำรเรียนรู้ จำนวนนักเรียนทไี่ ด้ ร้อยละจำนวน
(คน)
ระดับชนั้ ๓ ๓.๕ ๔ ระดับ ๓ นักเรยี นที่ไดร้ ะดับ ๓
ข้ึนไป ขน้ึ ไป
ชั้น ม.๑
ชน้ั ม.๒ ๑๘๓ 30 19 52 ๑๐๑ 55.19

ชั้น ม.๓ ๑๔๘ 22 13 45 ๘๐ 54.05
ชั้น ม.๔
ชั้น ม.๕ ๑๙๘ 5 22 156 ๑๘๓ 92.42
ชน้ั ม.๖ ๑๗๐ 78.70
รวม ๒๑๖ 18 27 125 ๑๓๓ 54.96
๑๔๙ 73.40
๒๔๒ 41 40 52
๘๑๖ 68.57
๒๐๓ 35 42 69

๑,๑๙๐

รวม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๗๑
แผนภมู ิ แสดงกำรเปรียบเทียบร้อยละของจำนวนนกั เรยี นทีม่ ีผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนวิชำภำษำอังกฤษพน้ื ฐำน
ระดับ ๓.๐ ข้นึ ไป ชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี ๑-๖ ภำคเรียนท่ี ๑ และ ๒ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

สรุปผลร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน ระดับดีข้ึนไป ค่าเฉล่ีย
ภาคเรียนท่ี ๑ เท่ากับ ร้อยละ ๖๒.๔๔ และค่าเฉล่ียภาคเรียนท่ี ๒ เท่ากับ ร้อยละ 68.57 ดังนั้นค่าเฉล่ียผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เท่ากับ รอ้ ยละ ๖๕.๔๐
แผนภูมิ แสดงร้อยละของผู้เรยี นที่มีผลกำรประเมินกำรอ่ำน กำรเขยี น กำรสือ่ สำรภำษำอังกฤษ ระดับดีขึน้ ไป ใน
รำยวชิ ำภำษำอังกฤษพนื้ ฐำน มัธยมศกึ ษำปีที่ ๑-๖ ภำคเรยี นท่ี ๑ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๗๒
แผนภูมิ แสดงร้อยละของผู้เรยี นที่มีผลกำรประเมนิ กำรอ่ำน กำรเขยี น กำรส่อื สำรภำษำอังกฤษ ระดับดีข้นึ ไป ใน
รำยวชิ ำภำษำอังกฤษพนื้ ฐำน มัธยมศึกษำปที ี่ ๑-๖ ภำคเรยี นที่ ๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

แผนภมู ิ แสดงกำรเปรียบเทียบรอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นท่มี ีผลกำรประเมิน
กำรอ่ำน กำรเขยี น กำรสือ่ สำร

ภำษำองั กฤษ ระดบั ดขี น้ึ ไป ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๑-๖ ภำคเรยี นที่ ๑ และ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๗๓
๓) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ คานวณ ตามเกณฑข์ องแต่ละระดับชน้ั
ตาราง ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถในการคดิ คานวณ ตามเกณฑแ์ ตล่ ะระดบั ชั้น ปกี ารศึกษา ๒๕๖3

รายการ จานวนนักเรียน ร้อยละ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้
61.89 ๓ 1.34
๑. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวชิ า ๑,๔๘8 87.10 ๒ 1.74

คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน ระดบั ดี (๓.๐) 74.46 5 3.08

ข้นึ ไป

๒. รอ้ ยละของนักเรียนท่ีมีผลการ ๒,๐๙๔

ประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และ

เขียนส่ือความ ระดบั ดีเยีย่ ม

รายวชิ าคณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน

รวม

แปลผล = ดี

ตาราง แสดงจานวนนักเรียนทีม่ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน ระดบั ดี (๓.๐) ขึ้นไป
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖

ชั้น ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม
ภาคเรยี นท๑ี่ 126 48 128 125 179 161
ภาคเรียนท๒่ี 129 86 114 98 174 120 767
255 134 242 223 353 281 721
รวม 69.10 45.11 59.90 51.02 74.48 68.53 1,488
รอ้ ยละ 61.89

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๗๔

แผนภูมิ แสดงจานวนนกั เรียนทีม่ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ระดบั ดี (๓.๐) ข้นึ ไป
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๖

สรุปผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานระดับดี (๓.๐) ขน้ึ ไป ช้ันมัธยมศึกษา
ปที ่ี ๑ – ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 รวมท้งั สน้ิ ๑,๔๘8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 61.89

ตาราง จานวนนกั เรยี นทมี่ ผี ลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียนส่ือความ ระดบั ดีเยี่ยม
รายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖3

ช้นั ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม
ภาคเรยี นท๑ี่ 185 51 200 183 238 202 1,059
ภาคเรยี นท๒่ี 179 66 177 194 223 196 1,035
364 117 377 377 461 398 2,094
รวม 98.6 39.57 93.31 86.27 94.66 97.07 87.10
ร้อยละ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๗๕

แผนภูมิ แสดงรอ้ ยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี นส่อื ความ ระดับดีเยยี่ ม
รายวชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี นส่ือความ ระดบั ดเี ยี่ยม
รายวชิ าคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ รวม ๒,๐๙๔ คิดเปน็ ร้อยละ 87.10

๒) จากการที่โรงเรียนได้มีการวางแผนการดาเนินงาน โครงการ/กิจกรรมต่างๆเพ่ือส่งเสริมและ
พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและ
แก้ปัญหา โดยผู้เรียนมีความสามารถคิดได้อย่างเป็นระบบ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ อภิปรายร่วมกันอย่างมีเหตุผล
และสามารถนากระบวนการคดิ อยา่ งมีระบบมาใช้ในการแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจาวันอย่างเหมาะสม

๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม
โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างนวัตกรรมซึ่งเป็นผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ข้ึนใหม่ ด้วยองค์
ความรู้และทักษะของนักเรียน โดยได้จัดรายวิชาที่เน้นพัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน
โดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมสาเร็จรูปเพ่ือการนาเสนอ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้โครงงานอาชีพ การ
ออกแบบเทคโนโลยี เทคโนโลยีมัลติมเี ดีย ฯลฯ ในขณะเดียวกันยังมรี ายวิชาอื่นอีกจานวนมากที่ครูผู้สอนได้ออกแบบ
กจิ กรรมการเรยี นรู้ กาหนดภาระงานและช้ินงานที่ส่งเสริมความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนกั เรยี นในลักษณะ
ของการนาองค์ความรู้มานาเสนอหรือถ่ายทอดผ่านช้ินงานที่นักเรียนออกแบบเองให้มีความน่าสนใจ สะดุดตา
น่าศึกษา โดยมิใช่เป็นเพียงแผ่นกระดาษใบเดียวเช่นแต่ก่อน รวมทั้งการส่งผลงานเข้าร่วมและได้รับคัดเลือกการ
ประกวดโครงการนวัตกรรมจากหน่วยงานภายนอก ด้วยเหตุนี้ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ ๙๒ ขึ้นไป มคี วามสามารถใน
การสรา้ งนวัตกรรมระดบั ดีข้ึนไป

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๗๖
๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆผ่าน Google classroom ในสถานการณ์ Covid -๑๙
โดยนักเรียนทุกระดับช้ันมีการเรียนรู้ มีทักษะกระบวนการ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการ
ส่ือสาร ค้นคว้า หาความรู้ข้อมูลต่างๆ ซ่ึงนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน การทาแบบฝึกหัด การทารายงาน
การจัดบริการเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตามสถานที่ต่างๆภายในโรงเรียน โดยเฉพาะห้องสมุดดิจิตอลที่ดาเนินการจัดสร้าง
ข้ึน ส่งผลให้นักเรียนจานวน ๑,๒๐๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ทักษะและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการสือ่ สารในระดับ ยอดเยีย่ ม
๕) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
ผลการดาเนินการพฒั นาผเู้ รียนมคี วามรูแ้ ละทกั ษะทจ่ี าเป็นตามหลกั สตู ร จานวนผเู้ รียนรอ้ ยละ 99.16
มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ระดบั คุณภาพ ๔ แปลผลไดว้ า่ ดีเลิศ

ตาราง แสดงรอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทมี่ ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนแตล่ ะกลุม่ สาระการเรยี นรตู้ ั้งแต่ 3 ขน้ึ ไป

จานวนนักเรียนทมี่ ีผลการ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ เรียนต้งั แต่ระดับ 3 ขนึ้ ไป คดิ เป็ นร้อยละ ระดบั คุณภาพ แปลผล

(คน) ดีเลิศ
ดี
ภาษาไทย 890 73.67 ๔ ดี
ดีเลิศ
คณิตศาสตร์ 737 61.00 3 ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
วทิ ยาศาสตร์ฯ 751 62.16 3 ดี
ดี
สังคมศึกษาฯ 940 77.81 ๔ ดีเลิศ

สุขศึกษาพลศึกษา 1170 96.85 5
ศิลปะ 1100 91.05 5

การงานอาชีพ 744 61.58 3

ภาษาตา่ งประเทศ 828 68.54 3

สรุป 74.08 ๔

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๗๗

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ ระดบั คุณภาพ แปลผล

ผลรวมรอ้ ยละของผู้เรยี นท่มี ีผลการเรียนตัง้ แตร่ ะดบั ดี (เกรด๓) 74.08 ๔ ดเี ลิศ

๖) มคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ

๖) มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ
การดาเนนิ กิจกรรมแนะแนวอาชีพ ส่งผลให้นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีความรู้

และทักษะในการวางแผนหารายได้เสริม เรียนรู้ข้อมูลอาชีพ ตลอดจนสามารถนาความรู้ไปประกอบการตัดสินใจใน
การเลือกอาชีพ สาหรับการดาเนินการแนะแนวด้านอาชีพของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ดาเนินการภายใต้
กระบวนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาแนะแนว เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติ ความพึงพอใจ มคี วามคิด ความรสู้ ึกท่ีดตี ่องาน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๗๘
อาชีพ ตระหนักและรับรู้เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของอาชีพในปัจจุบันท่ีหลากหลายมากข้ึน เตรียมตัวเองเพื่อเข้าสู่
อาชีพและพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพราะสังคมเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพ่ือความก้าวหน้าในอาชีพ โดยนักเรียนผ่าน
กิจกรรมแนะแนว จานวน ๑,๒๐๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และด้วยสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ ทาให้ไม่สามารถนาหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องมาแนะแนวอาชีพได้ ดังน้ันจึงสรุปได้ว่า ตัวบ่งช้ีอยู่ในระดับ
คณุ ภาพ ดีเลศิ

๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น
๑) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด

การดาเนินงานกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากาหนด ผลการดาเนินงานจัด
กิจกรรมโครงการต่างๆมีครูและนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายท่ีกาหนดมี การดาเนินการต่อเน่ืองใน บาง
กจิ กรรม ดว้ ยเหตุการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ นักเรยี นมีความกระตอื รือรน้ ที่จะพฒั นาตนเอง
นกั เรยี นร้อยละ ๘๐ เป็นนกั เรียนผู้มคี วามรับผิดชอบมคี ุณธรรม จริยธรรมมคี วามดีเด่นดา้ นกับความซื่อสัตย์และความ
มีวินัย ผู้ปกครองมีความศรัทธาและเชื่อมั่นในการพัฒนานักเรียนของโรงเรียนให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน
ร้อยละ ๑๐๐ เข้าร่วมพิธีไหว้ครูโดยแบ่งเป็นรอบ รอบละ ๒ ระดับ ซ่ึงมีการเว้นระยะห่าง รวมทั้งศิษย์เก่าเข้าร่วม
กิจกรรมพิธีไหวค้ รู ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ และมิได้เข้าร่วมแต่มาร่วมแสดงถึงความเป็นผู้มีความกตัญญูกตเวทิตา
การเข้าเรียนออนไลน์ของทุกวิชาในแต่ละวันซึ่งทางโรงเรียนได้จัดทาสถิติไว้ เป็นในการ เป็นตวั แทนเข้ารับการแข่งขัน
นวัตกรรม มีผลการสอบวิชาธรรมศกึ ษาประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ สถิติผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านคุณลกั ษณะที่พึง
ประสงค์ ๘ ประการของทุกระดับชั้นท่ีมีระดับคุณภาพดีมากข้ึนไปเป็นปีการศึกษา ๒๕๖๓ จากนักเรียนท้ังหมด
๑,๒๐๘ คน มีคณุ ลักษณะและค่านิยมทด่ี ตี ามสถานศึกษากาหนดคิดเปน็ ร้อยละ ๙๗.๒๖ ระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม
๒) ความภมู ิใจในท้องถ่นิ และความเป็นไทย

ผลการดาเนินการด้านความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖
เขา้ ร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายที่กาหนด โดยในการดาเนนิ กจิ กรรมในปีพ.ศ. ๒๕๖๓ มีกจิ กรรมท่แี สดงถึงความภูมใิ จใน
ท้องถ่ินและความเป็นไทย เช่น กิจกรรมหล่อเทียนและถวายเทียนพรรษา กิจกรรมเทศน์มหาชาติ กิจกรรมตักบาตร
เติมบุญเกื้อหนุนพุทธศาสตร์ รวมถงึ การจัดการเรียนการสอนที่สอดแทรกเรอ่ื งท้องถ่ินบริเวณรอบโรงเรียนสายปัญญา
ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ และสอดแทรกเรื่องความเป็นไทยในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นแต่ละรายวิชาของกลมุ่ สาระ
การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ ซ่ึงทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าความสาคัญของท้องถิ่นในเขตป้อมปราบ
ศัตรูพ่าย และร่วมกันอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมที่อยู่ในชุมชน และพยายามสร้างสรรค์ผลงานท่ีส่งเสริมให้ชุมชนเป็นที่ รู้จัก
ของสังคมมากขนึ้ รวมถงึ นกั เรียนมคี วามประพฤติตนทีแ่ สดงถึงความเปน็ ไทย และร่วมกนั อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี
ท่ีดงี ามของไทยใหค้ งไว้
๓) การยอมรับที่จะอย่รู ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย

นักเรียนส่วนใหญ่มีความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถปฏิบตั ิหนา้ ท่ีได้เต็มศักยภาพของตนเอง ยอมรับความ
แตกต่างระหว่างบุคคล อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข กลุ่มบริหารกิจการนักเรียนได้ดาเนินการส่งเสริมให้โรงเรียนมี
กิจกรรมเลอื กต้ังกรรมการนกั เรียนสรา้ งความเข้มแข็งและส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนรวมถึงผู้เรยี น ในดา้ น
การบริหารและการจัดการศึกษาเพ่ือรองรับการกระจายอานาจอย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการอภิปรายแลกเปล่ียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๗๙
ความคิดเห็น จัดโครงการพัฒนาชีวิตด้วยกิจกรรมค่าย โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมปฐมนิเทศชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ให้นักเรียนรู้จักปรับตัว แก้ปัญหาอย่างมีระบบ และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
ผ่านการใช้เทคโนโลยีส่ือสาร ส่งผลให้ผู้เรียนมีสิทธิและรู้จักหน้าท่ีมากข้ึนในระดับสถานศึกษา อีกท้ังจัดโครงการ
ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการค่าย
ยุวกาชาด-เนตรนารี และโครงการกะทิ กะธรรม ผ้นู าทาความดี คุณธรรมช้นั เคลื่อน เพ่อื ให้ผู้เรียนมคี ณุ ธรรมจริยธรรม
และค่านิยมที่พึงประสงค์ ในการทางานอย่างมีความสุข รักการทางาน มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มี
ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรม พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง อยู่รว่ มกันและยอมรับความแตกตา่ งของสถานะทาง
เชือ้ ชาติ ศาสนา รวมถงึ ความหลากหลายทางความคิดในระดบั บุคคล
๔) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้แก่นักเรียนทุกคนท้ัง
การตรวจสุขภาพประจาปี ทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย ตลอดจนให้ความรู้กบั นักเรยี นในการดแู ลรกั ษาสุขภาพของ
ตนเอง และคนในครอบครัวใหแ้ ขง็ แรง มีสุขภาพจติ ดพี ร้อมทง้ั สามารถรบั มอื กับสถานการณต์ า่ งๆโดยเฉพาะในปัจจบุ ัน
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ท่ีส่งผลต่อสุขภาพกายจิตใจของตนเอง ครอบครัว และชุมชนที่
นกั เรยี นอาศัยอยู่

๓. จุดเดน่
๓.๑ นักเรยี นมคี วามสามารถในการใชส้ ือ่ เทคโนโลยี
๓.๒ มกี ารจดั กิจกรรมท่ีสง่ เสริมผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รยี นครบทกุ ดา้ น
๓.๓. การดาเนนิ กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสขุ ภาพท่ีดีของนักเรียนทุกระดับชั้น และการตรวจ

สภุ าพให้แก่นักเรยี นในทกุ ปกี ารศกึ ษา

๔. จดุ ควรพัฒนา
๔.๑ พัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ตลอดจนการแกป้ ญั หา
๔.๒ มุ่งเน้นให้นักเรยี นได้เรยี นรู้และศึกษาค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธภิ าพตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้

ตามหลักสูตรรายวิชาและตรงตามความสนใจ ดว้ ยในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ที่ผ่านมา โรงเรียนต้องเผชิญกับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ส่งผลให้การดาเนนิ งานดา้ นการจดั การเรียนการสอนไมส่ ามารถทา
ไดต้ ามปกติ รวมไปถงึ กจิ กรรมทส่ี ่งเสริมทักษะ และการเรียนรู้หลายกิจกรรมไม่สามารถจัดได้

๔.๓ ส่งเสริมด้านการสร้างนวัตกรรม เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนสู่การพัฒนาศักยภาพของนักเรียนเป็น
สาคัญ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๘๐

มาตรฐานท่ี ๒

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผู้บริหาร

สถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผบู้ ริหารสถานศึกษา

ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ

1. กระบวนกำรพัฒนำ
โรงเรียนสายปัญญาในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดโครงสร้างการบริหารงานและระบบบริหารองค์กร

อย่างเป็นระบบ โดยยึดหลักการกระจายอานาจและการมีส่วนร่วมของบุคลากร องค์กร ชุมชน และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง
โดยแบ่งการบริหารงานออกเป็น ๔ ฝ่าย ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน กลุ่มบริหาร
งบประมาณและงานบุคคล และกลุ่มบริหารท่ัวไป ภายใต้การกากับของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของ
โรงเรียน ซ่ึงประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนครู ผู้แทนศิษย์เก่า และการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ซ่ึงมีการประชุมอย่าง
สม่าเสมอ เพ่ือรับรู้แผนการดาเนินงานต่าง ๆ ของโรงเรียน ให้ข้อเสนอแนะ และพิจารณาให้ความเห็นชอบ
นอกจากนี้ โรงเรยี นยังได้รับความร่วมมือจาก มูลนิธสิ ายปัญญาสมาคม ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ สายปัญญาสมาคม
ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ ทใี่ หก้ ารสนับสนุนการดาเนินงานของโรงเรยี นในการจดั หาสือ่ อุปกรณ์และสวสั ดกิ าร ส่งผลให้
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความพึงพอใจในการบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ และการพัฒนา
ผู้เรียนให้มีคุณภาพเป็น “กุลสตรี มีปัญญา" ตามจุดมุ่งหมายของสถานศึกษา โรงเรียนได้มีการวางแผนการทางาน
อย่างเป็นระบบ ดาเนินโครงการกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจาปีอย่างต่อเน่ือง และมีการประเมินผลการ
ดาเนินงานโครงการและการประเมินตนเอง กากับ ติดตาม เพื่อตรวจสอบผลการดาเนินงานและนาปัญหาหรือ
ข้อบกพร่องที่พบมาดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ตรงจุด จนได้แนวทางปฏิบัติที่ประสบผลสาเร็จ ทั้งนี้ ผู้บริหาร
สถานศกึ ษาได้มกี ารดาเนนิ การจัดการสถานศึกษา ดังนี้

๑) โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และบริบท
ของโรงเรียน ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT) สารวจความต้องการของ
นักเรียนและชุมชนท้องถิ่น พร้อมทั้งศึกษาแผนการศึกษาแห่งชาติ และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และจัด
ประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นจากผู้บริหาร ผู้แทน 5 องค์กรหลักซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู สายปัญญาสมาคม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มูลนิธิสายปัญญาสมาคม
ในพระบรมราชินูปถัมภ์ และเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน รวมท้ังผู้แทนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ
แต่งตั้ง เพ่ือร่วมกันกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ สภาพปัญหา และความต้องการของ
ชุมชนท้องถ่ิน โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรร
งบประมาณ มอบหมายงานให้บุคลากรรับผิดชอบดาเนนิ การพัฒนาตามแผนงาน เพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด
ไว้ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดาเนินงาน เพื่อเก็บเป็นข้อมูลสาคัญในการ
พิจารณาปรบั ปรุงวิสัยทัศนแ์ ละพันธกิจของโรงเรียนตอ่ ไป

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๘๑

๒) โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ใช้รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนด้วย SAMER
SYSTEM ซ่ึงประยุกต์ขึ้นจากวงจรบริหารงานคุณภาพ (PDCA) และปัจจัย 4 ประการที่ใช้ประเมินเกณฑ์รางวัล
คณุ ภาพในมิติกระบวนการ (ADLI) เพ่ือให้โรงเรียนพัฒนาสมู่ าตรฐานสากล ระบบ SAMER นี้เป็นกระบวนการสาคัญ
ที่ใช้ในการขบั เคลอ่ื นองค์กรไปสเู่ ป้าหมาย ใช้ในการบริหารและการดาเนินงานในโรงเรียน ต้งั แตก่ ารจัดทาแผนกลยทุ ธ์
ระยะ 5 ปี และถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่างมีระบบโดยจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติงานท่ีชัดเจนและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ท่ีกาหนดไว้ มีการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล อันเกิดจากการ
ดาเนนิ การตามแผนกลยทุ ธ์ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ตลอดจนการดาเนินโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน

๓) โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ

การประจาปี ที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมาย ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม โรงเรียน

จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ หลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาข้ันพื้นฐาน ความต้องการของชุมชน ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้นของสถานศึกษา จัด

รายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนที่หลากหลายตอบสนองความต้องการความถนัด ความสามารถ และความ

สนใจของผู้เรียน มีการกากับ ติดตามตรวจสอบ นิเทศภายในและนาผลไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน

ติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา นาข้อมูลผลการประเมินไปทบทวน และปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร

สถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตรจะส่งเสริมศักยภาพ ตามความต้องการและความถนัดของ

ผ้เู รียน เป็นการมุ่งเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั เพื่อให้เกิดความชานาญเฉพาะในแต่ละกลุ่มการเรยี น และเป็นไปตามจดุ เน้น

ของโรงเรียน คือ การสืบสานงานฝีมือ ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเป็นสายปัญญา และความเป็นผู้เรียนใน

ยุคศตวรรษท่ี ๒๑ ทุกหลักสูตรจะได้เรียนรู้ความเป็นสากลตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และใช้กลไกต่าง ๆ

ท่ีส่งเสริมให้นักเรียนสามารถจบหลักสูตรได้ตามระยะเวลา และสามารถสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อในสาขาวิชาและ

สถาบนั การศึกษาที่นกั เรียนตอ้ งการได้

หลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรียนสายปญั ญาในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นหลักสูตรที่ตอบสนองความ

ต้องการของผูเ้ รยี น ผู้ปกครองและชุมชน โดยแบ่งออกเปน็ กลุ่มการเรียนตามศักยภาพและความถนัดของผ้เู รยี น ดังนี้

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้

๑. หอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์

(Gifted Science Mathematics : GSM) จานวน ๑ หอ้ งเรยี น

๒. หอ้ งเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษาอังกฤษแบบเขม้ (IEP) ม.๑ จานวน ๑ หอ้ งเรียน

๔. ห้องเรียนปกติ จานวน ๔ หอ้ งเรียน

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

๑. ห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์

(Gifted Science Mathematics : GSM) จานวน ๑ ห้องเรยี น

๒. หอ้ งเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษาอังกฤษแบบเขม้ (IEP) ม.๔ จานวน ๑ หอ้ งเรยี น

๓. ห้องเรียนปกติ ประกอบด้วย

๑) กลมุ่ การเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ จานวน ๒ หอ้ งเรียน

๒) กลุ่มการเรียนภาษาอังกฤษ – คณติ ศาสตร์ จานวน ๒ ห้องเรียน

๓) กลุ่มการเรยี นภาษาอังกฤษ – ภาษาญ่ีปนุ่ จานวน ๑ หอ้ งเรยี น

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๘๒

๔) กลุ่มการเรยี นภาษาองั กฤษ – ภาษาจีน จานวน ๑ หอ้ งเรียน
๕) กลมุ่ การเรียนภาษาอังกฤษ – ฝร่งั เศส จานวน ๑ ห้องเรยี น
๖) กล่มุ การเรยี นภาษาองั กฤษ – คหกรรม จานวน ๑ ห้องเรยี น

นอกจากนี้ โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีใน
การจัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน ดาเนินโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน ทั้งความรู้ความสามารถ ทักษะชีวิต และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีประสิทธภิ าพ และให้การดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็น
รายบุคคลอย่างต่อเนื่อง ท้ังยังมีการจัดสภาพแวดล้อม ปรับปรุงอาคารสถานที่ และการบริการท่ีช่วยส่งเสริมการ
เรียนรขู้ องผ้เู รียน นาไปสูก่ ารพฒั นาผูเ้ รียนอย่างมคี ณุ ภาพ

๔) โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี
ความรู้ ความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ โดยจัดสรรให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จนสามารถผลติ สื่อและแหล่งเรียนรทู้ ี่มีคณุ ภาพ และส่งเสริมการยกระดับวิทยฐานะให้สูงข้ึน ตามมาตรฐานตาแหน่ง
ครูและบุคลากรเข้ารับการพัฒนาอย่างน้อยคนละ ๒๐ ช่ัวโมงต่อปี และมีการพัฒนาด้านผลงานวิชาการอย่างต่อเน่ือง
ท้ังนี้ โรงเรียนได้จัดการอบรมให้ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจรอบด้าน สามารถนาข้อมูลและองค์ความรู้ที่เป็น
ประโยชน์ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนในด้านต่าง ๆ อาทิ กจิ กรรมอบรม “การพัฒนาสมรรถนะครูในการจดั การเรยี นรู้สู่
ความก้าวหน้าในวิชาชีพ ผ่านกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)” “การออกแบบบอร์ดเกมการศึกษา
เพ่ือพัฒนาศักยภาพครูในศตวรรษท่ี ๒๑” “ปรับความคิด พิชิตความเครียด” “การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียน” “ENGLISH FOR COMMUNICATION” เปน็ ตน้

๕) โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ
การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ กระตุ้นผู้เรียน
ให้ใฝ่เรียนรู้ มีส่ือเทคโนโลยีภายในห้องเรียนและห้องสมุดดิจิทัลท่ีเอ้ืออานวยต่อการจัดการเรียนการสอนของครูเพิ่ม
มากข้ึน มีมาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อย่าง
เคร่งครดั มีจดุ คัดกรองวัดอณุ หภูมิร่างกายก่อนเข้าโรงเรยี น มีเจลล้างมอื ประจาจดุ ตา่ ง ๆ และประจาห้องเรียน มฉี าก
ก้ันระหว่างบุคคลขณะรับประทานอาหารทโ่ี รงอาหาร รวมถงึ การจัดโต๊ะจานวน ๒๕ ตัว/ห้องเรียน มีการฉีดพ่นน้ายา
ฆ่าเช้ือภายในบริเวณโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความม่ันใจ และลดความกังวลในการ
มาโรงเรยี นของนกั เรยี น

๖) โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง
ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน นาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ใช้พ้ืนท่ีจัดเก็บข้อมูลใน Drive Z ของ
โรงเรียน และ Google drive ซ่ึงเป็นระบบออนไลน์ ทาให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ท้ัง
ภายในและภายนอกโรงเรียน ทุกกล่มุ งานสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ได้

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๘๓

2. ผลกำรดำเนนิ งำน
1) สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ท่ีกาหนดไว้ โดยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สภาพปัญหาและบริบทของโรงเรียน และสอดคล้องกับ
ความต้องการของชุมชนทอ้ งถิ่น

๒) สถานศึกษามีการบริหารงานโดยใช้ SAMER SYSTEM ซ่ึงประยุกต์ข้ึนจากวงจรบริหารงาน
คุณภาพ (PDCA) และปัจจัย 4 ประการที่ใช้ประเมินเกณฑ์รางวัลคุณภาพในมิติกระบวนการ (ADLI) เพ่ือให้โรงเรียน
พัฒนาสู่มาตรฐานสากล มีการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินการจัดการศึกษาเป็นระยะ และ
จดั ทาสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน เพอื่ นามาพจิ ารณา ทบทวน ปรบั ปรุงและพัฒนา

3) สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ที่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ สภาพปัญหาและบริบทของโรงเรยี น และ
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถ่ิน โดยผู้บริหาร คณะครู นักเรียน องค์กรสนับสนุนโรงเรียน และผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา รวมถึงร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
นาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมาย ผู้เรียนมีคุณภาพทั้งด้านความรู้ความสามารถและ
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามเปา้ หมายของสถานศึกษา

๔) ครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษามีความรู้ความเช่ียวชาญ ทางวิชาชีพ
จนสามารถผลิตสื่อและแหล่งเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ สามารถนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ไปใช้ในการพัฒนานักเรียนให้มี
คณุ ภาพ นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาตนเองจนสามารถยกระดับวิทยฐานะใหส้ ูงข้นึ ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทางวิชาชีพ

๕) สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้และกระตุ้นผู้เรียน
ให้ใฝ่เรียนรู้ มีส่ือเทคโนโลยีภายในห้องเรียนที่เอ้ืออานวยต่อการจัดการเรียนการสอนของครู มีความปลอดภัย แม้ใน

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙

๖) สถานศึกษามีข้อมูลสารสนเทศท่ีถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน นาเทคโนโลยที ี่ทันสมัยมาใช้
ในการจดั เกบ็ ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้งา่ ย รวดเร็ว สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ได้

3. จุดเดน่

โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยผู้บริหารสถานศึกษาใช้ SAMER SYSTEM มา
เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงาน และมีการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้
เกณฑ์รางวัลคุณภาพ ADLI ระบบ SAMER นเ้ี ปน็ กระบวนการสาคัญท่ีใชใ้ นการบรหิ ารและการดาเนินงานในโรงเรียน
ต้ังแต่การจัดทาแผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี และถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่างมีระบบโดยจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อ
เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานท่ีชัดเจนและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ มีการนิเทศ กากับ ติดตาม
ประเมินผลอันเกิดจากการดาเนินการตามแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี ตลอดจนการดาเนินโครงการและ
กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา สง่ ผลใหก้ ารดาเนินงานในด้านตา่ งๆ ของสถานศกึ ษาประสบผลสาเรจ็

นอกจากนี้ โรงเรียนยังใช้วิธีการรวบรวมความคิดเห็นท่ีหลากหลาย เช่น การประชุมแบบ
มีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่มย่อย เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์
และพันธกิจของสถานศึกษาท่ีชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน แผนปฏิบัติการ
ประจาปีงบประมาณที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ
สภาพปัญหา และความตอ้ งการของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ท่ีม่งุ เนน้ การพฒั นาใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรตู้ าม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑

๘๔
หลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมให้ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการนิเทศ กากับ ติดตาม
ประเมนิ ผล การดาเนินงานเป็นระยะ และนาผลการดาเนินงาน มาพจิ ารณาทบทวนเพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนาต่อไป

4. จดุ ควรพฒั นำ
ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ท่ีผ่านมา โรงเรียนต้องเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา ๒๐๑๙ ส่งผลให้การดาเนินงานกิจกรรมโครงการบางโครงการ ไม่สามารถดาเนินการได้ จึงควรมี
การวางแผนเผชญิ เหตุเพม่ิ เตมิ เพอื่ ใหส้ ามารถดาเนนิ กจิ กรรมโครงการ และบรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๘๕

มาตรฐานท่ี ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ

มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั

ระดบั คุณภำพ : ดีเลิศ
๑. กระบวนการพฒั นา

โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ ได้ดาเนนิ การโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA และ

นวตั กรรมการบรหิ ารสถานศึกษา SAMER System ลงสู่การปฏิบตั ิ ดังน้ี

S มีการตง้ั วัตถุประสงค์ และวางแผนกาหนดการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนที่

Set P เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ โดยม่งุ เนน้ การพัฒนาครูและบุคลากรภายในโรงเรียน

ดา้ นองค์ความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร มสี มรรถนะในการสอน สามารถ

ทางานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

A มีการแต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินงาน กลุ่มบริหารงานวชิ าการและ กลุ่ม

Aline D บรหิ ารงานงบประมาณและบุคคล โดยเนน้ การกระจายอานาจและยดึ หลกั ความมี

ส่วนร่วมในทุกระดบั

M กล่มุ บรหิ ารงานวิชาการและกลุ่มบรหิ ารงบประมาณและบคุ คล ใช้วงจรคณุ ภาพใน

Monitor C การกากบั ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน มีการจัดอบรมเชิง

E ปฏบิ ัติการ มีการพัฒนาครใู หเ้ กดิ การเรยี นรสู้ งิ่ ใหม่ๆอยู่เสมอ รวมถึงการมอบ

Evalvator ขวัญและกาลังใจให้ครูเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาตนเอง

R A มกี ารรายงานผลการดาเนนิ งานตามโครงการ และทบทวน นามาเปน็ ข้อมูลในการ

Reward พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

จากการปฏบิ ตั ิตามการบริหารโดยใช้จงจรคณุ ภาพและนวตั กรรมการบริหารทาให้โรงเรียนมผี ลการประเมนิ
ตนเองในระดับยอดเยย่ี ม อนั เน่อื งมาจากการดาเนินการดังตอ่ ไปน้ี

ครูโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาการสอนแบบ
Active learning โดยใช้เทคนิคการสอนแบบCo-5steps โดยการวเิ คราะหห์ ลกั สูตร จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน การวิเคราะห์ผู้เรียน การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้คิดและลงมือปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนสามารถ นาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ครูได้ดาเนินการสอนโดยใช้ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศที่หลากหลาย มอบหมายให้
นักเรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และสื่อเทคโนโลยี ครูมีการใช้เทคโนโลยีส่ือนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทั้ง
การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (online) แบบออนไซต์ (On site) ตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๘๖
เช้ือไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักใฝ่หาความรู้แสดงความรู้
ความสามารถอย่างเต็มท่ี กล้าแสดงออก รู้จักกาลเทศะ ปฏิบัติตนตามมารยาทสังคมได้อย่างถูกต้องเคารพกฎกติกา
มนี า้ ใจนักกฬี า มีการเน้นการสง่ เสริมหรือแก้ปัญหานักเรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นต่ากว่าเกณฑ์ โดยใช้เทคโนโลยี

จัดให้มีการทัศนศึกษาภายนอกสถานศึกษา ครูดาเนินการจัดหา จัดทา ป้ายนิเทศโดยมีการปรับเปลี่ยน
หมุนเวียนไปตามวันและเทศกาลที่เก่ียวข้อง นอกจากน้ีครูมีความสามารถในการสร้างสื่อ ใช้เทคโนโลยี การใช้ ICT
การใช้โปรแกรมGoogle Suit เพ่ือใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (online) การสืบค้นข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ต เพื่อกระตุ้นความสนใจและจัดการชั้นเรียนให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข ครูสร้างสื่อนวัตกรรมด้วย
ตนเอง โดยวิเคราะห์ปญั หา และดาเนนิ การจัดทาสอ่ื ในรูปแบบของวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ ารในชน้ั เรียน โดยมีการทาวจิ ยั ปลี ะ
๑ เล่ม มีการประกวดวิจัยส่ือนวัตกรรม คัดเลือกผลงานเพื่อให้รางวัลแก่ครูเป็นขวัญกาลังใจ และกระตุ้นให้เกิดการ
สร้างนวัตกรรมอย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ียังมีการเผยแพร่ผลงานของครูให้เพ่ือนครู เป็นการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ภายใน
สถานศกึ ษา

ส่งเสริมให้ครูประจาช้ัน และครูผู้สอนทุกคน บริหารช้ันเรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก ( Positive
Discipline) โดยการเสริมแรง มอบรางวัล ยกย่อง ชมเชย มีการสร้างวินัยในการเรียนเชิงบวกด้วย หม่ันให้กาลังใจ
นักเรียน เม่ือนักเรียนทาดี ไม่ตาหนิ เยาะเย้ย เปรียบเทียบ ควบคุมอารมณ์ของตนให้เสมอต้นเสมอปลาย ม่ันคง
แสดงออกทัง้ ร่างกายและคาพูด ให้อย่างไม่มีเงื่อนไข สร้างบรรยากาศท่ีอบอ่นุ มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก เพื่อสร้างการจงู ใจ
ผเู้ รียนให้รกั การเรียนร้แู ละเรยี นรู้อย่างมคี วามสุข

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ กาหนดให้ครูทุกคนใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองอย่าง
สม่าเสมอและนาเทคโนโลยีมาช่วยสนับสนุนการจัดการเรยี นการสอนและการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน โดยครูมี
การวดั ผลประเมนิ ผลทส่ี อดคล้องกบั สภาพการเรียนรทู้ ่ีจดั ใหน้ กั เรียน โดยองิ พัฒนาการของนักเรียนและนาผลประเมิน
มาพัฒนานักเรียนให้เกิดการพัฒนาสูงสุดตามศักยภาพของนักเรียน มีการทารายงานวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือหา
ข้อบกพร่องของผู้เรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูเม่ือส้ินสุดการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้นั้น
มกี ารวัดและประเมินผลเรียนหลังเรียน มีการสรปุ ประเมนิ ผลการเรียนเมื่อส้ินสุดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน
ภาคเรียนและดาเนินการตัดสินผลการเรียนรู้ตามหลักการวัดและประเมินผล มีการรายงานผลการเรียนและ
ความก้าวหน้าในการเรียนให้กับผู้เรียน และผู้ปกครองได้รับทราบ ในวันประชุมผู้ปกครอง ผ่านเว็บไซต์ SGS สาหรับ
นกั เรยี นและผู้ปกครอง

ครูทุกคนได้รับการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ได้รับการส่งเสริมให้พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองทั้งด้านการศึกษา
ต่อ การฝึกอบรมจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ เช่นการจัดอบรมครู เรื่องการใช้ Google Clasroom การจัดอบรมครู
เร่ืองการใชห้ ้องเรียนดิจิทัล ส่งผลให้ครสู ามารถจัดการเรียนรไู้ ด้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยไดร้ ับการอบรมเพ่ือพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือขอมีวิทยฐานะตาม ว๒๑ และการสร้างการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
PLC คณะครูได้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อพัฒนา คุณธรรมและอัตลักษณ์ของนักเรียนโดยการรวมกลุ่มในระดับช้ัน
เรียน กาหนดการพัฒนาผู้เรียนในระดับชั้นของตน มีการประชุมครูและบุคลากรประจาเดือนเพ่ือรับฟังนโยบายจาก
ฝา่ ยบริหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้มีการประชุมสปั ดาห์ละ ๑ ครั้ง เพื่อร่วมกันสังเคราะห์ปัญหา เพื่อหาแนวทางในการ
พัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้มาใช้ร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมในการเผยแพร่และศึกษา
หาความรู้ภายในองค์กร อาทิ โครงการสร้างเครือข่ายของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกันอาชญากรรม

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๘๗
โดย สน.พลับพลาไชย๑ การฝึกอบรมหลักสตู รฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนไี ฟ มีการเผยแพร่ข้อมูล และกิจกรรมให้
หนว่ ยงานต่าง ๆได้รับทราบผา่ นทางเวบ็ ไซต์โรงเรียนและช่องทางโซเชยี ลมเี ดียอย่างต่อเนอ่ื งและเปน็ ปัจจุบัน

๒. ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงาน โครงการและกิจกรรมท่ีหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน

เปน็ สาคัญ สง่ ผลใหผ้ ลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานที่ ๓ อยใู่ นระดับดเี ลศิ โดยมผี ลงานและหลกั ฐานปรากฏ ดังนี้
๒.๑. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน(O-NET) ช้ันมัธยมศึกษา

ปีท่ี ๖ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑-๒๕๖๓ พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉล่ียระดับจังหวัด และ
ระดับประเทศ นอกจากน้ีครูยังคอยให้คาแนะนาคาปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้แก่นักเรียนทั้งด้านการเรียนและ
คุณภาพชวี ิตดว้ ยความเสมอภาคโดยใชร้ ะบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นเข้ามาดาเนนิ การ

๒.๒. นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ สามารถสอบเข้าศึกษาตอ่ ในระดบั อดุ มศึกษาร้อยละ ๘๓.๓๙
๒.๓. ครูมีความมุ่งม่ันในการจัดการเรียนการสอน ครูทุกคนใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ
และนาเทคโนโลยีมาช่วยสนับสนุนการจัดการเรยี นการสอนและการพฒั นาการเรียนรู้ของนกั เรียน
๒.๔. ครูทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ ได้เขา้ ร่วมในการอบรม พฒั นาตนเองในการอบรมท้ังภายในสถานศึกษาและ
ภายนอกสถานศึกษา ท้งั ระบบ Onsite และ Online
๒.๕. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ดาเนินการทาวิจัยในชั้นเรียน ปีละ ๑ เรื่อง และมีการเผยแพร่ผลงานผ่าน
ทางเวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน

๓. จดุ เดน่
๓.๑. ครูเปน็ แบบอยา่ งที่ดีให้กับนักเรยี น ทงั้ ด้านบุคลิกภาพ การปฏิบัติตน และกริ ิยามารยาท
๓.๒. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีความตั้งใจ มุ่งมน่ั ในการพัฒนาการเรียนการสอน จัดกจิ กรรมท่ีสง่ เสริม

ให้นักเรยี นได้แสวงหาความรู้ ไดค้ ิดวิเคราะห์ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประโยชนแ์ ละตอ่ เนื่อง
๓.๓.ครูผู้สอนใช้เครื่องมือวดั และประเมนิ ผลท่ีหลากหลายโดยเนน้ กระบวนการคิด ไดป้ ฏบิ ัตจิ รงิ แหลง่ เรยี นรู้

ทหี่ ลากหลาย ใหผ้ ้เู รียนแสวงหาความรู้จากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง
๓.๔. ครูทกุ คนทางานวจิ ัยในช้นั เรียน โดยเปน็ งานวจิ ัยท่ีสง่ เสรมิ และพฒั นานักเรียนให้มีศักยภาพ
๓.๕. ครูทุกคนร่วมกนั ขับเคลอื่ นใหน้ กั เรยี นทกุ คนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และอตั ลกั ษณ์ของโรงเรียน โดยการ

พฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณธรรมจริยธรรม โดยจัดกจิ กรรมในรปู แบบคุณธรรมชน้ั เคล่ือน ในระดบั ชัน้ เรยี น มโี ครงการกะทิ
กะธรรม ผ้นู าทาความดี ท่ดี าเนนิ การอยา่ งตอ่ เนื่องในทุกปีการศกึ ษา

๔. จดุ ควรพฒั นา
๔.๑. การวดั และประเมินผล ควรให้ขอ้ มลู การประเมนิ ย้อนกลับแก่นักเรียนโดยเร็ว เพื่อใหน้ กั เรยี นสามารถนา

ผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพัฒนาตนเองและโรงเรียนจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น เพ่อื การพฒั นา
๔.๓. รอ้ ยละของครูทีส่ ร้างสอื่ และนวัตกรรม เพือ่ ส่งเสรมิ และพัฒนาผู้เรยี น ควรมมี ากยิ่งข้ึน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑

๘๘

มาตรฐานท่ี ๔
ความเป็นกุลสตรีแหง่ วังเจา้ สาย

มาตรฐานที่ ๔ ความเป็นกุลสตรีแหง่ วังเจ้าสาย
ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ

๑.กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ดาเนินการจัดกิจกรรม/โครงงานและงานในระดับ
สถานศึกษาลงสู่ผู้เรียน สร้างความภาคภูมิใจในเกียรติภูมิของโรงเรียน โดยทางโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรม
ราชินูปถัมภ์ ได้สนับสนุนส่งเสริมให้มีการจัดทาผลงานการพัฒนาตนเองและสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริม
นักเรียนในโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ยกระดับคุณภาพของ
สถานศึกษา โดยทางโรงเรียนได้มีการจัดทาโครงการส่งเสริมนักเรียนให้มีอัจฉริยภาพด้านงานฝีมือ และหลักสูตร
คหกรรม ที่เน้นการจัดการเรียนรู้ เช่น งานใบตอง งานปัก ร้อยมาลัย แกะสลักและทาขนมไทยสายปัญญา
เป็นประจาทุกปี การส่งเสริมให้มีการพัฒนางานฝีมือ จากวสั ดุเหลือใช้ แม้ในช่วงเวลาสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ก็ยังดาเนินการสอนด้านงานฝีมือ ความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการเรียน สร้าง
อตั ลกั ษณ์ความเป็นกุลสตรีแห่งวังเจ้าสายผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การเข้าชั้นเรียนออนไลน์ ชุมนุมวัฒนธรรมไทย
การจัดกิจกรรมในระดับชั้นในคาบเรียนประชุมระดับ แม้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ ครูผู้สอนดาเนินการสอนแบบผสมผสาน ด้วยสื่อ
อุปกรณ์ท่ีหลากหลาย นอกจากน้ียังส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในโครงการเศรษฐกิจพอเพียง
ให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน

๒. ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมงานของโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ทาให้โรงเรียน

สายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สามารถส่งเสริมให้นักเรียนมีความภาคภูมิใจในเกียรติภูมิของโรงเรียน ผ่าน
กิจกรรมต่างๆ มีจุดเด่นในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีมาตรฐานอย่างชัดเจน ในเรื่องความเป็นกุลสตรีวังเจ้า
สาย ด้วยการส่งเสริมนักเรียนให้มีอัจฉริยภาพด้านงานฝีมือและดนตรี การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรคหกรรม
ในรายวิชาขนมไทยสายปัญญาเพื่อสืบสานเอกลักษณ์การทาขนมไทยและงานฝีมือต่างๆของโรงเรียนสายปัญญา ใน
พระบรมราชินูปถัมภ์ ทาให้นักเรียนสามารถแสดงงานฝีมือได้เป็นอย่างดี ตลอดจนได้การเรียนรู้ที่จะใช้ชีวิตตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ได้เปน็ อย่างดี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑

๘๙
๓.จดุ เดน่

๓.๑. โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ รักษาเกียรติภูมิที่มีมาจากรุ่นสู่รุ่นอย่างต่อเนื่อง ครู
บคุ ลากร และนกั เรียน มคี วามภาคภมู ใิ จในสถาบนั

๓.๒. มีโครงการท่ีส่งเสรมิ ให้นักเรียนสามารถใช้ชวี ิตอย่างมคี วามสุข บนพื้นฐานความพอเพยี ง ได้แก่โครงการ
สานต่อศาสตร์พระราชา เพื่อพัฒนาสายปัญญาอย่างย่ังยืน เป็นโครงการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข อง
โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ท่ีประกอบด้วยโครงการ/กิจกรรม ท่ีมุ่งพัฒนาด้านสังคม ด้าน
จิตใจ โดยน้อมนาหลักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ประกอบด้วย ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข โครงการศาสตร์
พระราชา มีศูนย์เรยี นรปู้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) นิทรรศการศาสตรพ์ ระราชาและเศรษฐกจิ พอเพียง การเรยี นรู้จาก
แหลง่ เรียนร้ทู ัง้ ภายในและนอกหอ้ งเรียน

๓.๓. มีโครงการท่ีส่งเสริมให้นกั เรียนมีความสามารถด้านงานฝมี ือ สามารถสืบสานงานฝีมือของโรงเรียนทส่ี ืบ
ต่อกันมาอย่างยาวนาน โครงการส่งเสริมนักเรียนให้มีอัจฉริยภาพด้านงานฝีมือและดนตรี ประกอบด้วย กิจกรรม
ส่งเสริมอจั ฉริยภาพดา้ นงานฝมี ือ กจิ กรรมพฒั นาเครอื่ งดนตรี อุปกรณ์ของวงโยธวาธติ และวงดนตรไี ทย

๓.๔. โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ส่งเสริมด้านอัตลักษณ์ความเป็นกุลสตรีแห่งวังเจ้าสาย
ในแตล่ ะระดับชนั้ ผ่านโครงการ/กจิ กรรม พรอ้ มการประเมินผลการสง่ เสรมิ ความเป็นกุลสตรีแหง่ วังเจา้ สายอยา่ งเนื่อง

๔. จดุ ควรพฒั นา
๔.๑. ควรสง่ เสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการทากจิ กรรมของทกุ ๆโครงการ ให้มากข้ึนในรปู แบบออนไลน์

เหมาะสมกบั ยุค Thailand ๔.๐ และปลอดภัยจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
๔.๒. ส่งเสริมความรัก ความหวงแหนในสถาบันจากเดิมให้เพ่ิมมากข้ึน โดยให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในวัน

สถาปนาโรงเรียนที่จัดข้ึนวันวันที่ ๑๘ กรกฏาคมของทุกปี เช่นการถ่ายทอดสดกิจกรรม ผ่าน live ในระบบออนไลน์
และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนผ่านช่องทางต่างๆ โดยการบูรณาการเนื้อหาใน
รายวชิ าเพอื่ ให้นกั เรยี นเกิดความภาคภมู ใิ จในเกยี รตภิ มู ขิ องโรงเรียน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑

๙๐

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

๑. สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในภาพรวม อยู่ในระดับคุณ ภาพ ระดับดีเลิศ
๒. สรุปผลการประเมินตนเอง จาแนกตามรายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา

ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ดาเนินการตามมาตรฐานการศึกษาสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๑ จานวน ๔ มาตรฐาน มผี ลการจดั การศึกษาในภาพรวมปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ระดับ ดีเลศิ

มาตรฐาน ชือ่ มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ระดบั คณุ ภาพ
ที่
๑. คณุ ภาพของผ้เู รยี น ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน
๒. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๓. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั ยอดเยยี่ ม ดีเลิศ
๔. ความเปน็ กุลสตรีแห่งวังเจ้าสาย
ยอดเยย่ี ม ดีเลิศ
สรปุ ผลใน
ภาพรวม ยอดเยี่ยม ดเี ลิศ

ยอดเยีย่ ม ดเี ลศิ

ดเี ลศิ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๙๑

ผลการประเมนิ ตนเองรายมาตรฐานและรายละเอยี ดตามประเดน็ การพจิ ารณารายตวั บง่ ชี้

มาตรฐาน ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน
ที่
๑ ชอื่ มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา รอ้ ยละ ระดบั ร้อยละ ระดบั

๒ คณุ ภาพของผูเ้ รียน คณุ ภาพ คุณภาพ
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผ้เู รยี น
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และ 84 ยอดเยย่ี ม ๗๐ ดเี ลิศ
82 ยอดเยย่ี ม 75 ดเี ลิศ
การคิดคานวณ
๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์คดิ อยา่ งมี 82 ยอดเยยี่ ม 75 ดเี ลศิ
84 ยอดเยี่ยม 100 ยอดเยย่ี ม
วจิ ารณญาณอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และ
แกป้ ญั หา 86 ยอดเย่ยี ม 74.08 ดเี ลิศ
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 84 ยอดเยย่ี ม 75 ดเี ลศิ
๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสื่อสาร 84 ยอดเยย่ี ม ๙๗.๒๖ ยอดเยีย่ ม
๕) มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ 84 ยอดเยี่ยม 75 ดเี ลศิ
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น 85 ยอดเยย่ี ม 70 ดเี ลศิ
๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดตี ามท่สี ถานศึกษา
กาหนด 82 ยอดเยย่ี ม 75 ดเี ลศิ
๒) ความภูมิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย
๓) การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างและ 88 ยอดเยย่ี ม 76 ดเี ลศิ
หลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม 84 ยอดเยย่ี ม 76 ดเี ลศิ
กระบวนการบริหารและการจัดการ 84 ยอดเยยี่ ม 76 ดเี ลิศ
๒.๑ มีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากาหนด
ชัดเจน 84 ยอดเยี่ยม 76 ดเี ลิศ
๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา 84 ยอดเยยี่ ม 75 ดเี ลิศ
๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพผู้เรียนรอบ
ดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและทุกกลุ่มเปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อ้ือต่อการ
จดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

มาตรฐาน ช่อื มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ เป้าหมาย ๙๒
ที่ รอ้ ยละ ระดับ ผลการประเมนิ
๓ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การ ร้อยละ ระดับ
บรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ คุณภาพ
๔ 82 ยอดเย่ยี ม คณุ ภาพ
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 76 ดเี ลศิ
๓.๑ จัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และ 84 ยอดเยย่ี ม
75 ดเี ลศิ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 85 ยอดเยี่ยม
๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ 75 ดเี ลศิ
85 ยอดเยี่ยม
ทเ่ี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 84 ยอดเยย่ี ม 70 ดเี ลิศ
๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรียนเชงิ บวก 75 ดเี ลศิ
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ 85 ยอดเยี่ยม
70 ดเี ลศิ
และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น 82 ยอดเยี่ยม
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับ 82 ยอดเยีย่ ม 75 ดเี ลศิ
82 ยอดเยยี่ ม 70 ดเี ลิศ
เพือ่ พฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้ 70 ดเี ลิศ
ความเปน็ กลุ สตรีแหง่ วงั เจา้ สาย
๔.๑ ภาคภมู ิใจในเกียรติภูมิของโรงเรยี น
๔.๒ สืบสานงานฝมี ือ
๔.๓ ดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สรปุ ผลในภาพรวม 7๖ ดเี ลิศ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

๙๓

สว่ นท่ี ๔ สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา
และความต้องการช่วยเหลือ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๙๔

ส่วนที่ ๔ สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความต้องการชว่ ยเหลอื

๔.๑ สรุปผลในภาพรวม
สรุปผลการประเมนิ ภาพรวม

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอย่ใู นระดับ ๔ ดเี ลศิ
จากผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมต่างๆ สง่ ผลให้โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดการ

พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามท่ีต้ังเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ จากผลการประเมินสรุปว่า ได้ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ประกอบด้วย มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน
อยู่ในระดับ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ อยใู่ นระดบั ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อยู่ในระดับ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๔ ความเป็นกุลสตรีแห่งวังเจ้าสาย
อยูใ่ นระดบั ดีเลิศ

ดา้ นผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการผูเ้ รียนสามารถอา่ นออกและอ่านคล่องตามมาตรฐานการอา่ นในแต่
ละระดับช้ันสามารถเขียนส่ือสารได้ระดับดีเลิศ นักเรียนรู้จักการวางแผนสามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน กล้าแสดงออก
และแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทั้ง
สามารถคิด วิเคราะห์ รวมท้งั รเู้ ท่าทันสื่อและสังคมที่ทนั ต่อการเปล่ียนแปลง โดยเฉพาะในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ผู้เรียนรู้จักตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่าง ๆ เลือกรับประทาน
อาหารที่สะอาด และมีประโยชน์ รักสุขภาพด้วยการออกกาลังกาย ดูแลตัวเองด้วยการล้างมือด้วบเจลแอลกอฮอล์
การเว้นระยะห่าง การยอมรับในกฎ กติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสงั คม มีทศั นคตทิ ่ีดตี ่ออาชีพท่ีสุจรติ รวมถงึ มี
ความเข้าใจเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวัย ทั้งนี้ มีผลการดาเนินงานเชิงประจักษ์
จากการประเมินในด้านต่าง ๆ

โรงเรียนได้ดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
และมีการรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ ซึ่งสนองต่อกลยุทธ์ของโรงเรียน กลยุทธ์ของสพม. ๑ กลยุทธ์
ของสพฐ.และมาตรฐาน สมศ. สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหา
ความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้อง
กับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี
สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง มีการส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้
ความเช่ียวชาญและส่งเสริมการยกระดับวิทยฐานะให้สูงขึ้น ทั้งตาแหน่งชานาญการ และชานาญการพิเศษ
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมคี วามถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมยั นาไปใช้ได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ดาเนินการ
อย่างเป็นระบบและมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มี
การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่สี ่งเสรมิ การเรยี นรู้และกระตุ้นผู้เรียนใหใ้ ฝ่เรียนรู้ มีสอ่ื เทคโนโลยภี ายใน
ห้องเรียนท่ีเอื้ออานวยต่อการจัดการเรียนการสอนของครูเพิ่มมากขึ้น พร้อมมาตรการรักษาความปลอดภัยใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ อย่างเคร่งครัด มีจุดคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายก่อน
เข้าโรงเรียน มีเจลล้างมือประจาจุดต่าง ๆ และประจาห้องเรียน มีฉากกั้นระหว่างบุคคลขณะรับประทานอาหาร

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๙๕
ที่โรงอาหาร และมีการฉีดพ่นน้ายาฆ่าเช้ือภายในบริเวณโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้นักเรียนและผู้ปกครองเกิด
ความมนั่ ใจ และลดความกังวลในการมาโรงเรยี นของนกั เรยี น

สถานศึกษามีการปรับแผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาความต้องการพัฒนาและนโยบาย
การปฏิรูปการศึกษา โดยผู้มีเก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมรับผิดชอบ ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายและเครือข่าย
การพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา มสี ่วนรว่ มในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา และรบั ทราบ ร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผล
การจัดการศึกษา มีการนิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เป็นระบบ เปิด
โอกาสให้ผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารในระบบ SAMER SYSTEM ลงสู่
การปฏิบัติ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดีและเป็นคนเก่ง การจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก
ธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
สถานศึกษามีการจัดสรรให้บคุ ลากรได้รบั การฝกึ อบรมเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ให้สามารถผลติ ส่อื นวัตกรรม
และแหลง่ เรยี นรู้ทม่ี คี ณุ ภาพหลากหลายในรปู แบบการวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ าร

ด้านการดาเนินงาน โครงการ/กิจกรรม เพ่ือให้ครูพัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางาน รวมถึงการจัดการเรียน
การสอนแบบ Active learning สง่ ผลให้ผลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานที่ ๓ อยู่ในระดับ ดเี ลศิ

ด้านความเป็นกุลสตรีแห่งวังเจ้าสาย การดาเนินงานตามโครงการ /กิจกรรม ดาเนินการในเรื่อง
ความเป็นกุลสตรี ทั้งในด้านความภาคภูมิใจในสถาบัน มารยาท การใฝ่เรียนรู้ งานฝีมือ การทาอาหาร ตลอดจนการ
ดาเนนิ ชวี ิตตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจบุ ัน

ท้ังน้ี โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์มีกระบวนการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ
ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้ SAMER SYSTEM มาเป็นกรอบแนวทางการดาเนินการอย่างเป็นระบบ และมี
การกากบั ตดิ ตาม ประเมินผล นาไปสู่การปรับปรงุ และพฒั นาอย่างต่อเนอื่ งต่อไป

๔.๒ แนวทางการพัฒนาในปีตอ่ ไป
๔.๒.๑ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ การวางแผนดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับ

สถานการณป์ จั จุบนั เพ่ือให้เกิดความคลอ่ งตัวมากขึน้
๔.๒.๒. พฒั นาครูและบุคลากรในการจัดทาสื่อนวัตกรรมให้สอดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงในยุคปจั จุบนั
๔.๒.๓. ส่งเสรมิ ให้ครูสามารถสอนด้วยการนาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนได้ทั้ง 5 รปู แบบ
๔.๒.๔.พัฒนาทักษะการใช้ชีวิต ทักษะการคิด และการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ (ICT)ให้ก้าวทันต่อ

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
๔.๒.๕. การส่งเสริม สนบั สนนุ การทาผลงานเล่ือนวทิ ยฐานะของครู
๔.๒.๖. สง่ เสริม สนับสนุนให้นกั เรยี นได้สร้างนวัตกรรม

๔.๓ ความต้องการและการช่วยเหลือ
โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ์ความต้องการชว่ ยเหลือเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสคู่ วามสาเร็จดังน้ี
๔.๓.๑ ดา้ นงบประมาณในการจดั จา้ งครใู นสาขาท่ขี าดแคลน
๔.๓.๒ จัดสรรอตั รากาลงั ครู ทยี่ ้ายและเกษียณอายรุ าชการ
๔.๓.๓ สนับสนนุ ดา้ นสือ่ เทคโนโลยที ่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนปัจจุบนั

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรยี นสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑

๙๖

ภาคผนวก *

 หลักฐาน ข้อมลู สาคญั เอกสารอ้างองิ ทแี่ สดงเกยี รติยศและผลงานดีเดน่ ของสถานศกึ ษา
 ภาพกิจกรรมสาคัญ
 คาสงั่ แตง่ ตัง้ คณะทางาน/คณะกรรมการประเมินตนเอง / ประเมนิ คุณภาพภายใน

ของสถานศกึ ษา
 คาส่ังแต่งต้ังคณะทางาน/คณะกรรมการจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง

ของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR)
 กาหนดการในวันประเมนิ ตนเอง /ประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
 บนั ทึกการให้ความเห็นชอบรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-

Assessment Report : SAR) จากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
 รายช่อื ผู้ทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอกของสถานศึกษา
 รายช่อื คณะกรรมการสถานศกึ ษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๙๗

 หลกั ฐาน ขอ้ มลู สาคัญ เอกสารอ้างองิ ทแี่ สดงเกยี รติยศและผลงานดีเดน่
ของสถานศกึ ษา








รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนสายปญั ญา ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธหยนม้าศึกษา เขต ๑


Click to View FlipBook Version