The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phanudet Dingram, 2021-12-17 00:34:33

แผนปฏิบัติการปีงบประมาณ 2565

แผนปฏิบัติการปีงบประมาณ 2565

นคง
อาชีพ

พฐ. และยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ทักษะชีวติ และทกั ษะอาชพี

ตวั ช้ีวัด การตอบสนองตัวชี้วดั การตอบสนอง
พชร สพฐ. ยุทธศาสตร์ชาติ

ปน็ เลิศทางด้าน 1. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรียนมคี วามเปน็ เลศิ 20 ปี
ลอ้ งกบั ทักษะท่ี ทางด้านวิชาการ มที กั ษะความรูท้ สี่ อดคลอ้ ง
กบั ทักษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 - การพัฒนาและ
นำ 2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษานอ้ มนำ เสรมิ สร้างศักยภาพ
ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของ ทรพั ยากรมนุษย์
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดี
ชริ เกล้าเจา้ อยู่หวั ศรสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณพระวชริ เกล้า
อเพยี ง ไปพฒั นา เจา้ อย่หู ัว และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
ะสงคต์ ามท่กี ำหนดได้ พอเพยี ง ไปพัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอัน
พึงประสงค์ตามท่กี ำหนดได้อย่างมี
ศกึ ษาชัน้ มธั ยมศกึ ษา ประสทิ ธภิ าพ
กษะการเรยี นรทู้ ี่
ำตามความถนดั และ 3. ร้อยละ 100 ของผเู้ รยี นที่จบการศึกษา
อาชพี ทส่ี อดคล้องกบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผนชีวิตและวางแผน มที ักษะการเรยี นร้ทู เี่ ช่ือมโยงสอู่ าชพี และการ
ปปฏิบตั ิได้ มงี านทำตามความถนดั และความตอ้ งการ
ของตนเองมีทักษะอาชีพที่สอดคลอ้ งกับ
ความต้องการของประเทศ วางแผนชีวิตและ
วางแผนทางการเงนิ ทเี่ หมาะสมนำไปปฏิบตั ิได้

78

ตาราง 50 (ตอ่ ) งบประมาณ การตอบสนองต
สพม.กำแพงเพ
แผนงาน/โครงการ
4. ร้อยละของผเู้ รียนทกุ คนมที
- คา่ ยทักษะอาชีพ ในการดำรงชวี ติ สามารถดำรงชีว
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 มีความสขุ มีความยดื หยุน่ ทางด้าน
ทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้ ภายใต้สงั ค
- เขา้ คา่ ยลูกเสือ-เนตรนารี พหวุ ัฒนธรรม
- ลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้
5. ผู้เรยี นทุกคนมศี กั ยภาพในก
ของตนเองให้มสี ขุ ภาวะทด่ี ี สามา
ความสุขทงั้ ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ

ตัวช้ีวัด การตอบสนองตวั ชี้วดั การตอบสนอง
พชร สพฐ. ยุทธศาสตร์ชาติ

20 ปี

ทกั ษะพ้นื ฐาน 4. รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รยี นทกุ คนมที ักษะ
วิตอย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่าง พน้ื ฐานในการดำรงชีวิต สามารถดำรงชีวติ
นความคดิ สามารถ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุขมคี วามยดื หยนุ่
คมท่เี ป็น ทางด้านความคิด สามารถทำงานร่วมกับ
ผอู้ ื่นได้ ภายใตส้ งั คมทเ่ี ป็นพหวุ ฒั นธรรม
การจัดการสขุ ภาวะ
ารถดำรงชีวิตอย่างมี 5. ผเู้ รยี นทุกคนมศี ักยภาพในการจัดการ
จ สุขภาวะของตนเองให้มสี ุขภาวะทดี่ ี สามารถ
ดำรงชีวติ อย่างมคี วามสุขทงั้ ด้านรา่ งกาย
และจติ ใจ

79

3) ตอบสนอง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และสง่
กลยุทธท์ ่ี 2 การยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเร

ตาราง 51 แสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตวั ชว้ี ดั ของ สพม.กำแพงเพชร สพ
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นและส่งเสริมการจดั การศกึ ษาเพ่ือสรา้

แผนงาน/โครงการ งบประมาณ การตอบสนองต
สพม.กำแพงเ
โครงการท่ี 2 ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน 476,080 1. ร้อยละของผเู้ รยี นมคี วาม
วิชาการ มที กั ษะความรทู้
- กจิ กรรมสง่ เสริมทกั ษะ
ภาษาต่างประเทศ (ครสิ มาสต์) 2. ทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
2. ร้อยละของผเู้ รยี นระดบั มัธ
- สบื ศิลปส์ านศาสตรป์ ราชญภ์ าษาชาติ ประเมินสมรรถนะท่ีจำเปน็ ดา้ นก
- 1 นักเรยี น 1 นวตั กรรม (Reading Literacy) ดา้ นการร้เู
one student one innovation (Mathematical Literacy) และ
- วิเคราะหข์ อ้ สอบ O-net ตามแนว วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Litera
Test Blueprint การประเมิน PISA
- ทดสอบ Pre O-net มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3. ร้อยละของผเู้ รียนทม่ี ศี กั ยภ
3 และ 6 เวทีการแข่งขันระดบั นานาชาติ
- สอนเสริมเตมิ เต็ม มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 4. ร้อยละของผเู้ รียนทุกระดับ
- สอนเสริมเติมเต็ม มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ตามหลกั สูตร มีทักษะการเรยี นร
- สปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ (3R8C)
- ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น

งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
รียน

พฐ. และยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี
างขดี ความสามารถในการแข่งขนั กลยทุ ธท์ ่ี 2 การยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

ตวั ช้ีวดั การตอบสนองตวั ช้ีวัด การตอบสนอง
เพชร สพฐ. ยุทธศาสตรช์ าติ

มเปน็ เลศิ ทางดา้ น 1. ร้อยละ 70 ของผ้เู รยี นมคี วามเปน็ เลิศ 20 ปี
ทสี่ อดคลอ้ งกบั ทกั ษะ ทางดา้ นวิชาการ มที กั ษะความรู้ทีส่ อดคลอ้ ง
1 กบั ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 - การสร้าง
ธยมศกึ ษาผ่านการ 2. รอ้ ยละ 70 ของผ้เู รยี นระดบั ความสามารถในการ
การรู้เร่ืองการอ่าน มัธยมศกึ ษาผ่านการประเมนิ สมรรถนะท่ี แขง่ ขนั
เรอ่ื งคณิตศาสตร์ จำเป็นดา้ นการรเู้ รื่องการอา่ น (Reading
ะดา้ นการรูเ้ ร่อื ง Literacy) ด้านการรเู้ รอ่ื งคณติ ศาสตร์
acy) ตามแนวทาง (Mathematical Literacy) และดา้ นการรู้

เรอ่ื งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ตาม
ภาพได้รบั โอกาสเข้าสู่ แนวทางการประเมิน PISA

3. รอ้ ยละ 70 ของผเู้ รียนที่มีศกั ยภาพ
บมสี มรรถนะสำคัญ ได้รบั โอกาสเข้าสเู่ วทกี ารแข่งขันระดบั
รู้ในศตวรรษท่ี 21 นานาชาติ

80

ตาราง 51 (ต่อ)

แผนงาน/โครงการ งบประมาณ การตอบสนองต
สพม.กำแพงเ
- สปั ดาหห์ ้องสมุด
- พฒั นาเครือขา่ ยถ่ายโอนความรู้ 5. รอ้ ยละของผู้เรยี นทีม่ คี ะ
(พ่สี ู่นอ้ ง เพ่อื นสเู่ พอ่ื น) ทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐ
- วันตรษุ จีน มากกว่ารอ้ ยละ 50 ในแต่ละวชิ
- ค่ายวชิ าการ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 จากปีการศกึ ษาทผ่ี า่ นมา
- คา่ ยวิชาการ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6
- ทศั นศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-3
- ทศั นศึกษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6
- การจดั การเรยี นการสอนทางไกล
Covid ม.ต้น
- การจัดการเรยี นการสอนทางไกล
Covid ม.ปลาย

ตัวชี้วัด การตอบสนองตวั ช้ีวดั การตอบสนอง
เพชร สพฐ. ยุทธศาสตรช์ าติ

20 ปี

ะแนนผลการทดสอบ 4. ร้อยละ 100 ของผ้เู รียนทกุ ระดบั
ฐาน (O-NET) มีสมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตร มที ักษะ
ชาเพมิ่ ขึ้น การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C)

5. รอ้ ยละของผเู้ รียนทีม่ คี ะแนนผลการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน
(O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแตล่ ะวชิ า
เพิ่มขน้ึ จากปกี ารศึกษาทผี่ ่านมา

81

4) ตอบสนอง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 สง่ เสริม สนับสนุนการพฒั นาค
กลยุทธ์ท่ี 1 การพฒั นาครใู หม้ ศี ักยภาพในการ

ตาราง 52 แสดงความสอดคลอ้ งและการตอบสนองตวั ช้วี ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ส่งเสริม สนบั สนนุ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

แผนงาน/โครงการ งบประมาณ การตอบสนองต
สพม.กำแพงเ
โครงการท่ี 1 พัฒนาศกั ยภาพ
การจัดการเรียนรู้ 69,350 1. ครู มีการเปล่ยี นบทบาทจ
“Coach” ผ้ใู ห้คำปรึกษาขอ้ เสน
- นเิ ทศการจัดการเรยี นการสอน หรอื ผู้อำนวยการการเรยี นรู้
- พฒั นาครใู ห้มมี าตรฐานวชิ าชพี
และมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน 2. ครู มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์
- กจิ กรรมศกึ ษาดงู าน นวตั กรรม และดำเนนิ การจดั ทำ
- กจิ กรรมพฒั นาครแู ละบคุ ลากร สร้างสำนกึ ด้านการผลติ และบร
สง่ิ แวดล้อมได้

3. ครู และนกั เรียนสามารถน
กระบวนการคดิ มาประยุกตใ์ ชใ้ น
การจัดการเรยี นรู้ และประยกุ ต
และชมุ ชนไดต้ ามแนวทาง Tha

4. ครูไดร้ บั การสนบั สนนุ วสั
อปุ กรณ์ดจิ ทิ ลั (Digital Device
เคร่อื งมือในการจัดกจิ กรรมการ

ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
รจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

พฐ. และยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี
า กลยุทธ์ที่ 1 การพฒั นาครูให้มีศกั ยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ตวั ช้ีวดั การตอบสนองตัวช้ีวดั การตอบสนอง
เพชร สพฐ. ยทุ ธศาสตร์ชาติ

20 ปี

จาก “ครูผ้สู อน” เปน็ 1. ร้อยละ 70 ของครมู ีการเปลยี่ นบทบาท - การพฒั นาและ

นอแนะการเรยี นรู้ จาก “ครูผสู้ อน” เปน็ “Coach” ผ้ใู ห้ เสรมิ สรา้ งศักยภาพ

คำปรึกษาขอ้ เสนอแนะการเรียนรหู้ รอื ทรัพยากรมนษุ ย์

สามารถพฒั นาส่ือ ผูอ้ ำนวยการการเรยี นรู้

ำงานวจิ ัยด้านการ 2. รอ้ ยละ 80 ของครมู ีความคดิ สรา้ งสรรค์

รโิ ภคทเ่ี ปน็ มติ รกับ สามารถพัฒนาสื่อ นวตั กรรม และดำเนินการ

จดั ทางานวิจัยด้านการสร้างสำนึกด้านการผลติ

นำส่อื นวัตกรรมที่ผ่าน และบรโิ ภคทีเ่ ป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ มได้

นโรงเรียน 3. ร้อยละ 70 ของครูและนกั เรยี นสามารถ

ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั นำส่อื นวัตกรรมทผี่ า่ นกระบวนการคดิ

ailand 3.0 มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นโรงเรยี นการจดั การเรยี นรู้

สดุ อุปกรณ์ และ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั และชมุ ชนได้

e) เพอ่ื ใชเ้ ป็น ตามแนวทาง Thailand 3.0

รเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผู้เรียน 4. รอ้ ยละ 70 ของครไู ดร้ ับการสนับสนุน

วสั ดุ อุปกรณ์ และอปุ กรณด์ จิ ทิ ัล (Digital

Device) เพื่อใช้เปน็ เครื่องมอื ในการจดั

กิจกรรมการเรยี นรูใ้ หแ้ กผ่ เู้ รยี น

82

5) ตอบสนอง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ขยายโอกาสการเข้าถงึ บรกิ าร
กลยทุ ธ์ท่ี 5 การบริหารจดั การโรงเรยี นคณุ ภาพ

ตาราง 53 แสดงความสอดคลอ้ งและการตอบสนองตวั ชีว้ ดั ของ สพม.กำแพงเพชร สพ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาและการเรียนร

แผนงาน/โครงการ งบประมาณ การตอบสนองต
สพม.กำแพง
โครงการที่ 6 บริหารทรัพยากรเพอื่ 623,363
การศกึ ษา 1. ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้า
ในสถานศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพเป็น
- พฒั นากลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตรฯ์ 2. ผู้เรียนทุกคนไดร้ บั จัดสรร
อย่างเพยี งพอ และเหมาะสม ส
- พฒั นาแหลง่ เรียนรู้กลมุ่ สาระ ข้อเท็จจริง โดยคำนึงถึงความจ
การเรยี นรู้คณิตศาสตร์ พน้ื ที่ภูมศิ าสตร์ สภาพทางเศร
สถานศกึ ษาและความต้องการ
- พัฒนากล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงาน ผู้พิการ
อาชีพ
3. ผ้เู รียนไดร้ ับการสนบั สนุน
- พฒั นากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย อปุ กรณ์ดจิ ิทัล (Digital Devic
- พฒั นากลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษา เครอื่ งมือในการเรียนร้อู ยา่ งเห
และพลศกึ ษา
- พัฒนากลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คม 4. ครไู ดร้ ับการสนบั สนุน วสั
ศึกษาฯ อุปกรณด์ จิ ิทลั (Digital Devic
- พฒั นากลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เคร่อื งมือในการจัดกจิ กรรมกา
- พฒั นาแหล่งเรยี นรู้กลมุ่ สาระ
ภาษาต่างประเทศ
- จดั ซือ้ หนงั สอื และส่อื สง่ิ พมิ พ

รทางการศึกษาและการเรยี นรู้


พฐ. และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
รู้ กลยทุ ธท์ ่ี 5 การบรหิ ารจัดการโรงเรยี นคณุ ภาพ

ตัวชี้วัด การตอบสนองตวั ช้ีวดั การตอบสนอง
งเพชร สพฐ. ยทุ ธศาสตรช์ าติ

20 ปี

าเรยี น 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรยี นทกุ คนสามารถ - การสรา้ งโอกาส

นมาตรฐานเสมอกนั เขา้ เรียนในสถานศึกษาทมี่ คี ณุ ภาพเปน็ และความเสมอภาค

รงบประมาณอุดหนนุ มาตรฐานเสมอกนั ทางสังคม

สอดคลอ้ งกับสภาพ 2. ร้อยละ 70 ของผู้เรียนทุกคนได้รบั

จำเป็นตามสภาพ จดั สรรงบประมาณอดุ หนุนอยา่ งเพียงพอ และ

รษฐกจิ และที่ตั้งของ เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพขอ้ เท็จจรงิ โดย

รจำเปน็ พิเศษสำหรบั คำนงึ ถงึ ความจำเปน็ ตามสภาพพ้ืนทีภ่ ูมศิ าสตร์

สภาพทางเศรษฐกจิ และท่ตี ้ังของสถานศกึ ษา

น วสั ดุ อุปกรณ์ และ และความต้องการจำเป็นพิเศษสาหรบั ผู้พิการ

ce) เพ่ือใช้เปน็ 3. รอ้ ยละ 100 ของผูเ้ รยี นไดร้ ับการ

หมาะสม เพียงพอ สนบั สนนุ วสั ดุ อปุ กรณ์ และอุปกรณด์ จิ ทิ ลั

สดุ อปุ กรณ์ และ (Digital Device) เพื่อใชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ในการ

ce) เพ่ือใชเ้ ป็น เรียนร้อู ย่างเหมาะสม เพียงพอ

ารเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผ้เู รยี น 4. รอ้ ยละ 80 ของครไู ดร้ ับการสนับสนนุ

วสั ดุ อุปกรณ์ และอุปกรณด์ ิจิทัล (Digital

Device) เพื่อใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการจัด

กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ หแ้ กผ่ ู้เรยี น

83

ตาราง 53 (ตอ่ ) งบประมาณ การตอบสนอง
สพม.กำแพง
แผนงาน/โครงการ
92,800 1. ผู้เรียนทกุ คนสามารถเข
- วดั ผลและประเมินผล ทีม่ ีคณุ ภาพเปน็ มาตรฐานเสม
- หอ้ งสมดุ มีชีวิต
- ทุนการศกึ ษา 2. ผูเ้ รยี นทกุ คนไดร้ บั จัดสร
- ส่งเสรมิ คณุ ธรรมด้านความสะอาด อุดหนุนอยา่ งเพียงพอ และเห
- พฒั นางานแผนงาน กับสภาพข้อเท็จจรงิ โดยคำน
- งานสารบรรณ สภาพพ้นื ทภี่ ูมศิ าสตร์ สภาพท
ทีต่ ้งั ของสถานศึกษาและความ
โครงการท่ี 9 พัฒนาระบบเทคโนโลยี พิเศษสาหรบั ผพู้ ิการ
สารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหาร
จดั การและการจดั การเรียนรู้ 3. ผู้เรยี นไดร้ ับการสนับสน
และอปุ กรณ์ดิจทิ ลั (Digital D
- พัฒนาเครอื ขา่ ยการเรยี นร้แู ละ เคร่อื งมอื ในการเรยี นร้อู ยา่ งเห
คอมพวิ เตอร์
4. สถานศึกษาไดร้ ับการพฒั
- บริการสารสนเทศ ICT อยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ท ด้า
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1-3 และพ้ืนท่ี

- บริการสารสนเทศ ICT
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4-6

- หลักสูตรทวศิ กึ ษา
- พฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา
- จา้ งสอนครูกลุ่มสาระฯ
ภาษาต่างประเทศ (งบเทศบาลฯ)
- กิจกรรมพัฒนาระบบดแู ลช่วยเหลอื
นักเรยี น
- กจิ กรรมพฒั นาระบบการเรยี นรู้
- กิจกรรมพฒั นาระบบการนำองค์กร

งตวั ช้ีวัด การตอบสนองตวั ชี้วัด การตอบสนอง
งเพชร สพฐ. ยทุ ธศาสตร์ชาติ

20 ปี

ข้าเรยี นในสถานศึกษา 1. ร้อยละ 100 ของผูเ้ รียนทกุ คนสามารถ - การสร้างโอกาส
มอกนั เข้าเรยี นในสถานศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพเป็น และความเสมอภาค
รรงบประมาณ มาตรฐานเสมอกัน ทางสังคม
หมาะสม สอดคล้อง
นึงถึงความจำเป็นตาม 2. ร้อยละ 100 ของผ้เู รียนทกุ คนไดร้ บั
ทางเศรษฐกจิ และ จัดสรรงบประมาณอดุ หนุนอย่างเพียงพอ
มต้องการจำเปน็ และเหมาะสม สอดคล้องกบั สภาพขอ้ เทจ็ จรงิ
โดยคำนงึ ถงึ ความจำเป็นตามสภาพพ้นื ที่
นนุ วัสดุ อุปกรณ์ ภมู ิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกจิ และทตี่ ง้ั ของ
Device) เพ่ือใชเ้ ป็น สถานศกึ ษาและความตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษ
หมาะสม เพยี งพอ สำหรบั ผพู้ ิการ
ฒนาใหม้ มี าตรฐาน
านประเภทขนาด 3. ร้อยละ 100 ของผเู้ รยี นไดร้ บั การ
สนบั สนุน วัสดุ อปุ กรณ์ และอุปกรณด์ จิ ิทลั
(Digital Device) เพื่อใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการ 84
เรยี นรอู้ ย่างเหมาะสม เพยี งพอ

4. สถานศึกษาไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ี
มาตรฐานอยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ท
ดา้ นประเภทขนาดและพื้นท่ี

ตาราง 53 (ตอ่ )

แผนงาน/โครงการ งบประมาณ การตอบสนอง
สพม.กำแพง
- กจิ กรรมพัฒนาระบบยุทธศาสตร์
- กิจกรรมพัฒนาระบบบริหารจดั การ 5. สถานศึกษานำเทคโนโล
- กิจกรรมพฒั นาระบบชุมชนสมั พนั ธ์ Technology) มาใชเ้ ปน็ เครอ่ื
- กจิ กรรมพฒั นาระบบสารสนเทศ กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หแ้ กผ่ ู้เรยี
- พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ประสทิ ธภิ าพ
สถานศึกษา
- กจิ กรรมรับนักเรยี นและปรบั สภาพ 6. สถานศึกษามรี ะบบการ
นกั เรียน ค้มุ ครองนกั เรยี นและการแนะ
- กิจกรรมงานทะเบียน ประสิทธภิ าพ
- กจิ กรรมพฒั นาระบบควบคมุ ภายใน
- โครงการจา้ งสอนครกู ลมุ่ สาระฯสังคม 7. สถานศึกษาที่มีระบบฐา
ศึกษาฯ (อบจ.) วัยเรยี นและสามารถนามาใช้ใ
จดั การเรียนรู้ให้แกผ่ ู้เรยี นได้อ

งตวั ช้ีวดั การตอบสนองตัวชี้วัด การตอบสนอง
งเพชร สพฐ. ยทุ ธศาสตรช์ าติ

ลยดี จิ ทิ ัล (Digital 5. สถานศึกษานาเทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital 20 ปี
องมอื ในการจัด Technology) มาใช้เป็นเครอ่ื งมอื ในการจัด
ยนไดอ้ ยา่ งมี กจิ กรรมการเรียนรู้ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
รดูแลช่วยเหลอื และ
ะแนวทม่ี ี 6. สถานศกึ ษามีระบบการดูแลชว่ ยเหลือ
และคมุ้ ครองนกั เรียนและการแนะแนวที่มี
านขอ้ มลู ประชากร ประสทิ ธภิ าพ
ในการวางแผน
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 7. สถานศกึ ษาทีม่ ีระบบฐานข้อมลู
ประชากรวัยเรียนและสามารถนำมาใช้ในการ
วางแผนจัดการเรียนรูใ้ ห้แกผ่ เู้ รยี นไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

85

6) ตอบสนอง ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 จดั การศึกษาเพอ่ื เสริมสรา้ งคุณ
กลยุทธ์ที่ 5 การบรหิ ารจดั การโรงเรียนคณุ ภาพ

ตาราง 54 แสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตวั ชีว้ ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 จดั การศึกษาเพือ่ เสรมิ สร้างคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับส่งิ แว

แผนงาน/โครงการ งบประมาณ การตอบสนอง
สพม.กำแพง
โครงการท่ี 8 พัฒนาปรับปรงุ ซ่อมแซม 290,000
อาคารสถานทีแ่ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 1. จำนวนสถานศึกษาทจ่ี ัด
ส่ิงแวดลอ้ ม และจดั กจิ กรรมก
- พัฒนาสาธารณปู โภค แสดงออกถึงความรักในสถาบ
- ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอาคารสถานทีแ่ ละ ยดึ มั่นการปกครองระบอบปร
สิ่งแวดลอ้ ม พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประม
- ปรบั ปรุงชุดอปุ กรณ์ ตอ่ บา้ นเมอื ง มหี ลักคดิ ทีถ่ กู ต
เครื่องเสยี งตามสาย ของชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม
- พฒั นาอปุ กรณ์
งานโสตทศั นศกึ ษา
- พัฒนาศูนยก์ ารเรียนรโู้ ครงการ
กองทนุ การศึกษาและหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง

ณภาพชีวติ ท่เี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม


พฐ. และยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี
วดล้อม กลยทุ ธ์ที่ 5 การบริหารจดั การโรงเรียนคณุ ภาพ

งตวั ชี้วดั การตอบสนองตวั ช้ีวดั การตอบสนอง
งเพชร สพฐ. ยทุ ธศาสตร์ชาติ

ดบรรยากาศ 1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาที่จัด 20 ปี
การเรยี นร้ใู หผ้ เู้ รียน บรรยากาศส่ิงแวดลอ้ ม และจดั กจิ กรรม
บันหลักของชาติ การเรยี นรู้ให้ผเู้ รียนแสดงออกถงึ ความรกั - การสรา้ งการเตบิ โต
ระชาธปิ ไตยอนั มี ในสถาบนั หลักของชาติ ยดึ มั่นการปกครอง บนคณุ ภาพชวี ิตที่เปน็
มขุ มที ัศนคตทิ ่ีดี ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม
ตอ้ ง เป็นพลเมอื งดี ทรงเป็นประมุขมที ศั นคติทด่ี ตี ่อบ้านเมือง
ม มหี ลักคดิ ทถี่ กู ตอ้ ง เปน็ พลเมืองดขี องชาติ
มคี ณุ ธรรม จริยธรรม

86

7) ตอบสนอง ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 พฒั นาระบบบริหารจัดการแล
กลยุทธท์ ่ี 5 การบรหิ ารจดั การโรงเรียนคุณภาพ

ตาราง 55 แสดงความสอดคล้องและการตอบสนองตวั ช้วี ัดของ สพม.กำแพงเพชร สพ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสริมการมีส่วนรว่ มในกา

แผนงาน/โครงการ งบประมาณ การตอบสนอง
สพม.กำแพง
โครงการที่ 5 พัฒนาระบบบริหาร 281,550
คณุ ภาพ 1. ผู้เรียนทกุ คนสามารถเข
ในสถานศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพเปน็
- หลักสูตรทวศิ กึ ษา
- พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา 2. ผเู้ รียนทุกคนไดร้ ับจัดสร
- จา้ งสอนครกู ล่มุ สาระฯ อุดหนนุ อย่างเพียงพอ และเห
ภาษาต่างประเทศ (งบเทศบาลฯ) กับสภาพข้อเทจ็ จรงิ โดยคำน
- กจิ กรรมพัฒนาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื สภาพพื้นท่ภี ูมศิ าสตร์ สภาพท
นักเรยี น ท่ีตง้ั ของสถานศกึ ษาและความ
- กิจกรรมพัฒนาระบบการเรยี นรู้ พเิ ศษสำหรบั ผพู้ ิการ
- กิจกรรมพัฒนาระบบ
การนำองคก์ ร 3. ผู้เรยี นไดร้ บั การสนบั สน
- กจิ กรรมพฒั นาระบบยทุ ธศาสตร์ และอุปกรณด์ ิจิทลั (Digital D
- กิจกรรมพัฒนาระบบบริหารจดั การ เคร่อื งมือในการเรยี นรู้อยา่ งเห

4. สถานศกึ ษาไดร้ ับการพัฒ
อยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ทด้าน
พน้ื ท่ี

ละสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา


พฐ. และยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี
ารจดั การศึกษา กลยุทธท์ ่ี 5 การบริหารจัดการโรงเรียนคุณภาพ

งตัวชี้วดั การตอบสนองตัวชี้วัด การตอบสนอง
งเพชร สพฐ. ยุทธศาสตรช์ าติ

ข้าเรียน 1. ร้อยละ 100 ของผ้เู รียนทุกคนสามารถ 20 ปี
นมาตรฐานเสมอกัน เข้าเรยี นในสถานศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพเป็น
รรงบประมาณ มาตรฐานเสมอกัน - การสรา้ งการเตบิ โต
หมาะสม สอดคลอ้ ง บนคุณภาพชีวิตทีเ่ ป็น
นึงถงึ ความจำเปน็ ตาม 2. รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รียนทุกคนไดร้ บั มติ รกับสิ่งแวดล้อม
ทางเศรษฐกจิ และ จดั สรรงบประมาณอดุ หนุนอยา่ งเพยี งพอ
มตอ้ งการจำเปน็ และเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั สภาพขอ้ เท็จจริง
โดยคำนึงถึงความจำเปน็ ตามสภาพพ้นื ท่ี
นนุ วสั ดุ อุปกรณ์ ภมู ศิ าสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และทต่ี งั้ ของ
Device) เพ่อื ใช้เปน็ สถานศกึ ษาและความต้องการจำเป็นพเิ ศษ
หมาะสม เพยี งพอ สำหรับผูพ้ กิ าร
ฒนาใหม้ ีมาตรฐาน
นประเภทขนาดและ 3. รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รียนไดร้ ับการ
สนบั สนนุ วสั ดุ อปุ กรณ์ และอปุ กรณ์ดจิ ทิ ัล
(Digital Device) เพ่ือใช้เปน็ เคร่ืองมือในการ
เรียนรู้อย่างเหมาะสม เพยี งพอ

4. สถานศกึ ษาได้รบั การพฒั นาให้มี
มาตรฐานอยา่ งเหมาะสมตามบริบท
ด้านประเภทขนาดและพน้ื ที่

87

ตาราง 55 (ตอ่ ) งบประมาณ การตอบสนอง
สพม.กำแพง
แผนงาน/โครงการ 32,650
5. สถานศึกษานำเทคโนโล
- กิจกรรมพฒั นาระบบชมุ ชนสมั พนั ธ์ Technology) มาใชเ้ ป็นเคร่อื
- กจิ กรรมพฒั นาระบบสารสนเทศ กิจกรรมการเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรยี
- พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายใน ประสิทธภิ าพ
สถานศึกษา
- กจิ กรรมรบั นกั เรียนและปรบั สภาพ 6. สถานศกึ ษามรี ะบบการ
นักเรียน คมุ้ ครองนักเรยี นและการแนะ
- กิจกรรมงานทะเบียน ประสิทธภิ าพ
- กจิ กรรมพฒั นาระบบควบคมุ ภายใน
- จา้ งสอนครูกลุ่มสาระฯสังคมศกึ ษาฯ 7. สถานศกึ ษาทีม่ ีระบบฐา
(อบจ.) ประชากรวัยเรยี นและสามารถ
วางแผนจัดการเรียนรู้ให้แกผ่ เู้
โครงการท่ี 7 ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื ประสิทธภิ าพ
ระหวา่ งโรงเรยี นและชุมชน
1. สถานศกึ ษากบั องค์กรป
- การประชุมผูป้ กครองชน้ั เรียน ภาคเอกชน และหนว่ ยงานทเี่
Classroom Meeting พื้นที่ รว่ มมือในการจดั การศึก

- ประชุมสมั มนาคณะกรรมการ
สถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

งตัวชี้วดั การตอบสนองตวั ชี้วดั การตอบสนอง
งเพชร สพฐ. ยุทธศาสตร์ชาติ

ลยีดิจทิ ัล (Digital 5. สถานศกึ ษานำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital 20 ปี
องมือในการจัด Technology) มาใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือในการจัด
ยนไดอ้ ย่างมี กิจกรรมการเรียนรูใ้ หแ้ กผ่ ู้เรยี นไดอ้ ยา่ งมี - การสรา้ งการเตบิ โต
ประสิทธภิ าพ บนคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็น
รดแู ลชว่ ยเหลือและ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม
ะแนวทมี่ ี 6. สถานศึกษามีระบบการดแู ลช่วยเหลือ
และคมุ้ ครองนักเรยี นและการแนะแนวทม่ี ี - การปรับสมดลุ และ
านขอ้ มูล ประสิทธภิ าพ พฒั นาระบบการ
ถนำมาใช้ในการ บรหิ ารจดั การภาครฐั
เรียนไดอ้ ย่างมี 7. สถานศึกษาท่มี ีระบบฐานข้อมลู
ประชากรวัยเรยี นและสามารถนำมาใช้ในการ
ปกครองสว่ นท้องถน่ิ วางแผนจัดการเรียนรูใ้ ห้แกผ่ เู้ รียนไดอ้ ยา่ งมี
เกยี่ วขอ้ งในระดับเขต ประสทิ ธภิ าพ
กษา
1. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและ
คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมีความ
พึงพอใจและใหค้ วามร่วมมือในการจัด
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

88

90

ภาคผนวก ข

โครงการท่ี 1 พฒั นาศักยภาพการจดั การเรยี นรู้

90

โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปี ปงี บประมาณ ๒๕๖๕

โครงการที่ ๑ พฒั นาศกั ยภาพการจดั การเรียนรู้

สนองกลยทุ ธโ์ รงเรียนที่ ๑ การพัฒนาครูใหม้ ศี กั ยภาพในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

สอดคล้องกับศาสตรพ์ ระราชา ร.๙ สรา้ งคนดีให้บา้ นเมือง
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สอดคลอ้ งกับพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ร.๑๐
๑. มที ศั นคตทิ ีด่ ีและถูกต้อง
๒. มพี ้นื ฐานชีวติ ท่มี ัน่ คงเข้มแข็ง
๓. มีอาชีพ มีงานทำ
๔. เปน็ พลเมืองดี มีวนิ ัย

สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษา โรงเรียนพิไกรวิทยา
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.1 พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
๓.๑ จัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้

ในชีวติ ประจำวัน
๓.๒ ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสรเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้
๓.๓ เพ่ือให้ครูมีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชิงบวก
๓.๔ เพอื่ ให้ครูตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รียน
๓.๕ เพอ่ื ให้ครมู ีการแลกเปล่ียนเรยี นรูแ้ ละใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรุง

การจัดการเรียนรู้

สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากำแพงเพชร
นโยบาย
ข้อที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ข้อที่ 4 พฒั นาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี

91

ข้อท่ี 6 พัฒนาระบบการบริหารจดั การ 4 สร้าง
- สรา้ งเดก็ ดีมคี ุณธรรม ใหบ้ า้ นเมือง
- สรา้ งครูดี ใหห้ ้องเรียน
- สร้างผบู้ รหิ ารดี ใหโ้ รงเรยี น
- สรา้ งโรงเรยี นดี ให้ชมุ ชน

จดุ เนน้
ขอ้ ที่ 4 น้อมนำศาสตร์พระราชาในหลวงรชั กาลที่ 9 และพระบรมราโชบายด้านการศึกษา

ในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การพัฒนาการศึกษาอยา่ งย่ังยนื
ขอ้ ที่ 6 ยกระดับผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ให้สงู ข้นึ
ข้อที่ 7 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะสู่มืออาชพี
ข้อท่ี 8 สถานศกึ ษานำนวตั กรรม เทคโนโลยี แพลตฟอรม์ ดจิ ิทลั มาใชเ้ พื่อการศกึ ษา

กลุ่มบริหารงานที่รบั ผิดชอบ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวมณฑาทิพย์ เก็กง้วน

ลักษณะโครงการ  โครงการใหม่  โครงการต่อเนื่อง

ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มต้น ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ ระยะเวลาสิ้นสุด ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๕

๑. หลกั การและเหตผุ ล

หลักการบรหิ ารน้ันถือวา่ บคุ คลมีความสำคัญท่ีสุด ดงั น้ันการบริหารงานบคุ คลในสถานศึกษา
จงึ เป็นภารกิจสำคัญ ทมี่ ุ่งส่งเสรมิ ให้สถานศกึ ษาสามารถปฏิบตั งิ านเพื่อตอบสนองภารกจิ ของสถานศึกษา
เพื่อดำเนนิ การดา้ นการบริหารงานบุคคลให้เกิดความคลอ่ งตวั อิสระภายใตก้ ฎระเบียบเปน็ ไปตามหลัก
ธรรมาภิบาล ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพัฒนา มีความรู้ ความสามารถและ
มีจิตสำนึก ใหก้ ารปฏิบัตภิ ารกิจทีร่ บั ผดิ ชอบเต็มตามศกั ยภาพ มขี วัญและกำลังใจ ได้รบั การยกย่อง
เชิดชูเกยี รติ มคี วามมัน่ คงและความก้าวหนา้ ในวชิ าชพี ซ่ึงจะส่งผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ของผู้เรียนเปน็ สำคญั

การพฒั นาครู/บคุ ลากรทางการศกึ ษาอยา่ งมรี ะบบและมีคุณภาพตามแนวทางมาตรฐานการศึกษา
ของชาตนิ ้ัน ต้องได้รบั การพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื งและเป็นระบบ จากการแสวงหาความรู้และการเข้ารับการ
อบรมสัมมนา แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ทำใหเ้ ป็นผู้มวี สิ ยั ทศั นแ์ ละโลกทศั น์ท่ีสอดคล้องกับยคุ สมัย สามารถตดิ ตาม
ความเจรญิ ก้าวหน้าของศาสตรต์ า่ ง ๆ และทำให้รู้เทา่ ทันการเปลย่ี นแปลงของสังคมและโลกปัจจบุ นั ได้เป็น
อย่างดีเพอื่ สร้างความเข็มแข็งทางวิชาการและวิชาชพี

ดงั นัน้ โรงเรียนพไิ กรวทิ ยาจดั ทำโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสรา้ ง
ความเข็มแขง็ ด้านวชิ าการจากการแลกเปลยี่ นเรียนร้ซู ง่ึ กนั และกัน

92

๒. วัตถปุ ระสงค์ (โครงการน้ีทำเพื่ออะไร ต้องการใหเ้ กิดอะไรขึ้น)
๒.๑ เพอ่ื พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี
๒.๒ เพอ่ื ให้ครมู ีการจัดการเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริงและสามารถนำไป

ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน
๒.๓ เพื่อให้ครใู ชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้
๒.๔ เพ่อื ให้ครมู ีการบริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก
๒.๕ เพ่อื ใหค้ รตู รวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
๒.๖ เพ่อื ให้ครมู ีการแลกเปล่ยี นเรียนรูแ้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาและปรับปรุง

การจัดการเรียนรู้

๓. เปา้ หมาย
๓.๑ เชิงปริมาณ
๓.๑.๑ ร้อยละ 70 ของครูและบุลคลากรโรงเรยี นพิไกรวิทยา ได้รับการพฒั นา

ใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพี
๓.๑.๒ ครูและบลุ คลากรโรงเรียนพิไกรวทิ ยามกี ารจัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิด

และปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ร้อยละ 70
๓.๑.๓. ครแู ละบุลคลากรโรงเรียนพิไกรวิทยา ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ

และแหล่งเรยี นรู้ที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ ร้อยละ 70
๓.๑.๔ ครแู ละบุลคลากรโรงเรียนพิไกรวทิ ยา มีการบริหารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก

รอ้ ยละ 80
๓.๑.๕ ครแู ละบลุ คลากรโรงเรียนพไิ กรวิทยา มกี ารตรวจสอบและประเมินผเู้ รียน

อย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน รอ้ ยละ 70
๓.๑.๖ ครแู ละบุลคลากรโรงเรยี นพไิ กรวิทยา มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละให้ข้อมูล

สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ ร้อยละ 70
๓.๒ เชงิ คุณภาพ
๓.๒.๑ ครูและบุคลากรโรงเรยี นพิไกรวิทยาไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี

อยู่ในระดับดี
๓.๒.๒ ครูและบุคลากรโรงเรียนพไิ กรวทิ ยามีการจดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และ

ปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน อยู่ในระดบั ดี
๓.๒.๓ ครูและบุคลากรโรงเรยี นพิไกรวทิ ยาใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ

และแหลง่ เรียนร้ทู ่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดบั ดี
๓.๒.๔ ครูและบคุ ลากรโรงเรียนพิไกรวิทยามีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียน

เชิงบวก อยู่ในระดบั ดี
๓.๒.๕ ครูและบคุ ลากรโรงเรียนพไิ กรวทิ ยามีการตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอย่างเป็น

ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน อยู่ในระดบั ดี
๓.๒.๖ ครูและบคุ ลากรโรงเรียนพิไกรวิทยามีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะท้อน

กลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ อยู่ในระดับดี

93

๔. กจิ กรรมหลกั (เทคนิควธิ ีการที่จะใชก้ ารดำเนินโครงการใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ ระบขุ ้อมลู ปฐี าน

เปา้ หมายกิจกรรมทท่ี ำ ระยะเวลาดำเนนิ การ ผ้รู บั ผดิ ชอบแต่ละกิจกรรม)

ที่ กิจกรรมหลกั ขอ้ มูล ค่า ระยะเวลา สถานที่ ผ้รู บั ผดิ ชอบกจิ กรรม
ปฐี าน เป้าหมาย ดำเนนิ การ
กจิ กรรม
*

๑ กิจกรรมนเิ ทศ ปาน ดี ต.ค.๖๔- โรงเรยี น นางสาวสุนติ า แกน่ สาร

การจัดการเรยี นการสอน กลาง ก.ย.๖๕ พไิ กรวทิ ยา

๒ พฒั นาครูให้มีมาตรฐาน ปาน ดี ต.ค.๖๔- โรงเรียน นางสาวมณฑาทิพย์ เก็กงว้ น

วชิ าชพี และมีคุณภาพ กลาง ก.ย.๖๕ พิไกรวทิ ยา

ตามมาตรฐาน

๓ กจิ กรรมศึกษาดงู าน ปาน ดี ต.ค.๖๔- โรงเรยี น นางสาวมณฑาทิพย์ เก็กงว้ น

กลาง ก.ย.๖๕ พไิ กรวทิ ยา

๔ กจิ กรรมพฒั นาครู ปาน ดี ต.ค.๖๔- โรงเรียน นางสาวมณฑาทิพย์ เก็กง้วน

และบคุ ลากร กลาง ก.ย.๖๕ พไิ กรวิทยา

* ผลการดำเนนิ งานปีการศึกษาท่ีผา่ นมา

๕. งบประมาณที่ใช้ งบประมาณ (บาท)

ท่ี กิจกรรม เงินอุดหนนุ เงนิ กิจกรรม เงินรายได้ เงนิ บรจิ าค
พฒั นาผ้เู รยี น สถานศึกษา อ่ืนๆ
๑ กิจกรรมนเิ ทศการจดั การเรียนการสอน
- -- -

๒ พัฒนาครูให้มมี าตรฐานวชิ าชีพ ๓๐,๐๐๐ - --
และมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน
๓๐,๐๐๐ - --
๓ กิจกรรมศึกษาดูงาน ๙,๓๕๐ - --
๖๙,๓๕๐
๔ กจิ กรรมพัฒนาครูและบุคลากร

รวม

94

๖. การประเมนิ ผลโครงการ ค่าเป้าหมาย วธิ กี ารวดั และ เครอ่ื งมอื
ตัวชว้ี ดั ประเมนิ ผล ทใ่ี ช้ประเมิน
ตวั ช้วี ัดความสำเร็จ*
ร้อยละ 70 แบบประเมนิ
๑. ปรมิ าณ โครงการ
๑.๑ รอ้ ยละ 70 ของครแู ละบลุ คลากรโรงเรียนพไิ กรวทิ ยา รอ้ ยละ 70
แบบประเมิน
ได้รับการพัฒนาให้มีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี รอ้ ยละ 70 ประเมิน โครงการ
๑.๒ ครแู ละบุลคลากรโรงเรยี นพิไกรวทิ ยามีการจดั การเรียนรู้ รอ้ ยละ 70 โครงการ

ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ร้อยละ 70
ในชีวิตประจำวนั ได้ ร้อยละ 70
ดี
๑.๓. ครแู ละบลุ คลากรโรงเรียนพิไกรวิทยา ใช้สือ่ เทคโนโลยี ดี
สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 70
ดี
๑.๔ ครแู ละบุลคลากรโรงเรียนพไิ กรวทิ ยา มกี ารบรหิ ารจดั การ ประเมนิ
ช้นั เรียนเชงิ บวก ร้อยละ 70
ดี โครงการ
๑.๕ ครแู ละบลุ คลากรโรงเรียนพิไกรวิทยา มกี ารตรวจสอบ ดี
และประเมนิ ผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน
ร้อยละ 70 ดี

๑.๖ ครแู ละบลุ คลากรโรงเรียนพไิ กรวทิ ยา มกี ารแลกเปลยี่ น
เรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั
การเรยี นรู้ ร้อยละ 70
๒. คณุ ภาพ

๒.๑ ครูและบคุ ลากรโรงเรยี นพิไกรวทิ ยาได้รับการพฒั นา
ใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี อยใู่ นระดับดี

๒.๒ ครูและบุคลากรโรงเรยี นพไิ กรวทิ ยามีการจดั การเรยี นรู้
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้
ในชีวติ ประจำวัน อยู่ในระดบั ดี

๒.๓ ครแู ละบคุ ลากรโรงเรยี นพไิ กรวิทยาใช้สอ่ื เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ อยูใ่ นระดบั ดี

๒.๔ ครแู ละบุคลากรโรงเรยี นพไิ กรวิทยามีการบริหารจดั การชน้ั
เรียนเชิงบวก อย่ใู นระดบั ดี

๒.๕ ครูและบคุ ลากรโรงเรยี นพไิ กรวิทยามกี ารตรวจสอบและ
ประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน
อย่ใู นระดับดี

๒.๖ ครูและบคุ ลากรโรงเรยี นพิไกรวิทยามีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้
และใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพอื่ พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
อยใู่ นระดับดี

95

๗. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ
7.๑ ครแู ละบคุ ลากรไดก้ ารพัฒนาให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ
7.๒ ครจู ดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้
7.๓ ครูสามารถใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ี่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
7.๔ ครมู กี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก
7.๕ ครูตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผ้เู รียน
7.๖ ครมู กี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพือ่ พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้

ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ
(นางสาวมณฑาทิพย์ เกก็ ง้วน)
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ

ลงช่ือ ผู้ตรวจสอบโครงการ
(นางสาวทบั ทมิ วงษ์อ่อง)
หัวหน้างานแผนงาน

ลงช่ือ ผู้ตรวจสอบโครงการ
(นายโยธนิ บุญสุข)

รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนพิไกรวทิ ยา

ลงช่อื ผู้อนมุ ัติโครงการ
(นางสาวจุฑามาศ วงษ์เขียว)
ผู้อำนวยการโรงเรียนพไิ กรวิทยา

97

ภาคผนวก ฃ

โครงการที่ 2 การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

97

โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ปงี บประมาณ 2565

โครงการท่ี 2 ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

สนองกลยุทธ์โรงเรยี นที่ 2 การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน

สอดคลอ้ งกับศาสตรพ์ ระราชา ร.9 สร้างคนดีใหบ้ า้ นเมือง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สอดคล้องกับพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ร.๑๐
1. มที ัศนคตทิ ด่ี ีและถูกต้อง
2. มีพ้ืนฐานชีวติ ทม่ี ั่นคงเข้มแข็ง
3. มอี าชพี มีงานทำ
4. เป็นพลเมืองดี มวี นิ ัย

สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนพไิ กรวิทยา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น
1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี น

ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
5) มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี ่องานอาชีพ

1.2 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน
1) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดตี ามที่สถานศึกษากำหนด
2) ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย
3) การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

98

3.3 มกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น
3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ
การจดั การเรยี นรู้

สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากำแพงเพชร
นโยบาย
ขอ้ ท่ี 1 ยกระดบั คุณภาพการศึกษา
จุดเนน้
ขอ้ ท่ี 5 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนใหม้ ีทักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21

สอดคล้องกับโรงเรยี นสจุ ริต
มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานวิชาการ
ตวั บง่ ชี้ที่ ๑ การจดั การเรยี นรู้
คุณลักษณะนักเรียนจัดทำโครงงาน/วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ท่ีสอดคล้องกับ

คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสุจริต

สอดคลอ้ งกับสถานศึกษาพอเพยี ง
ดา้ นท่ี 2 ด้านหลกั สตู รและการจัดการเรยี นการสอน องคป์ ระกอบการบูรณาการหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งสู่การเรียนการสอน ตวั บง่ ชที้ ่ี 7 ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ที่บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กลุม่ บริหารงานทีร่ บั ผดิ ชอบ กล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวรุ่งทิพย์ ขอนทอง

ลักษณะโครงการ  โครงการใหม่  โครงการตอ่ เนอ่ื ง

ระยะเวลาดำเนนิ การ เรมิ่ ต้น 1 ตลุ าคม 2564 ระยะเวลาสิ้นสดุ 30 กันยายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล (หลักการ ทฤษฎี กฎหมาย สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความตอ้ งการ)
การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเป็นภารกจิ สำคญั ของสถานศกึ ษา ซง่ึ คุณภาพการศึกษา

เป็นเป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจึงมีนโยบายพฒั นาและยกระดบั คณุ ภาพ
การศกึ ษา เพื่อให้ผู้เรยี นไดร้ บั การส่งเสริมให้มีศักยภาพสงู ส่มู าตรฐานสากล และทัดเทียมกบั นานาชาติ
โรงเรียนพิไกรวิทยาไดส้ นองนโยบายดงั กลา่ ว โดยการจดั ทำโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรู้ข้นึ
โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี นท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ใหส้ งู ขึ้น
คือ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.5 ของนักเรยี นมีผลการเรียนในระดับดขี ้ึนไปในปีการศึกษา 2565 และเพ่ือเพ่ิม
ผลการทดสอบระดับชาตขิ นั้ พื้นฐาน (o-net) ใหส้ ูงขนึ้ รอ้ ยละ 0.5 ในปกี ารศกึ ษา 2564 เมื่อเทยี บกบั
ปีทีผ่ า่ นมา

99

๒. วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ให้นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รอยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป
2. เพอื่ ให้ค่าเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-Net) เพมิ่ ขน้ึ จากปีท่ผี า่ นมา

๓. เป้าหมาย
๓.๑ เชงิ ปริมาณ
1. นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสตู รอยู่ในระดับดีข้นึ ไป เพมิ่ ข้ึนจากปี

การศึกษาทผ่ี ่านมา ร้อยละ 0.5
2. คา่ เฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-Net) เพ่มิ ขน้ึ จาก

ปีการศึกษาท่ีผ่านมา รอ้ ยละ 0.5
๓.๒ เชิงคุณภาพ
1. นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตรอยู่ในระดบั ดีขึ้นไป
2. คา่ เฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-Net) เพิม่ ขึ้นจากปีการศึกษาท่ผี ่านมา

๔. กิจกรรมหลกั

ที่ กจิ กรรมหลัก ข้อมูล คา่ ระยะเวลา สถานท่ี ผรู้ ับผดิ ชอบกิจกรรม
ปีฐาน เป้าหมาย ดำเนินการ
กิจกรรม
*

1 กจิ กรรมส่งเสริมทกั ษะ ร้อยละ เพิ่มขึ้น ธ.ค. 64 โรงเรยี น นางสาวแสงอรณุ รงุ้ กระด่ี

ภาษาตา่ งประเทศ (ครสิ มาสต์) 80 ร้อยละ 0.5 พิไกรวิทยา

2 สบื ศลิ ปส์ านศาสตร์ รอ้ ยละ เพม่ิ ขน้ึ พ.ค 64– โรงเรยี น นางสาวสธุ เนตร ถาวร

ปราชญ์ภาษาชาติ 80 ร้อยละ 0.5 ก.ย.65 พิไกรวทิ ยา

3 1 นักเรียน 1 นวัตกรรม one รอ้ ยละ รอ้ ยละ 70 ต.ค.64– โรงเรียน นายไกรจกั ร คำบุญเรอื ง

student one innovation 70 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

4 วิเคราะห์ข้อสอบ O-net รอ้ ยละ เพิม่ ขนึ้ ต.ค.64– โรงเรยี น นางสาวรุง่ ทพิ ย์ ขอนทอง

ตามแนว test blue print 70 รอ้ ยละ 0.5 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

5 ทดสอบ Pre – O-net ม.3 ม.6 รอ้ ยละ เพม่ิ ขึ้น ต.ค.64– โรงเรยี น นางสาวพรทิพย์ หงษ์อาลยั

80 ร้อยละ 0.5 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

6 สอนเสริมเตมิ เตม็ ม.3 รอ้ ยละ เพม่ิ ข้ึน ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวพรทิพย์ หงษ์อาลัย

90 ร้อยละ 0.5 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

7 สอนเสริมเตมิ เต็ม ม.6 ร้อยละ เพม่ิ ข้ึน ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวพรทพิ ย์ หงษอ์ าลยั

80 ร้อยละ 0.5 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

8 สปั ดาห์วิทยาศาสตร์ ร้อยละ เพิ่มข้นึ ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวดาวใจ อยู่สขุ

70 ร้อยละ 0.5 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

9 ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ร้อยละ ดี ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวสุนติ า แก่นสาร

70 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

10 สปั ดาหห์ ้องสมดุ รอ้ ยละ ดี ม.ค. 64– โรงเรยี น นางนิภาวรรณ คงไทย

80 ก.พ.64 พิไกรวิทยา

11 พฒั นาเครอื ข่ายถา่ ยโอนความรู้ ร้อยละ ดี ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวรุ่งทพิ ย์ ขอนทอง

(พี่สูน่ ้อง เพือ่ นสเู่ พอ่ื น) 70 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

100

ท่ี กจิ กรรมหลกั ขอ้ มูล คา่ ระยะเวลา สถานที่ ผ้รู ับผิดชอบกิจกรรม
ปฐี าน เป้าหมาย ดำเนินการ
กจิ กรรม
*

12 ศึกษาดงู านมหกรรม รอ้ ยละ เพิ่มข้ึน ต.ค.64– โรงเรยี น นางสาวดาวใจ อยู่สขุ

วทิ ยาศาสตรแ์ ห่งชาติ 80 รอ้ ยละ 0.5 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

13 วันตรุษจีน รอ้ ยละ เพมิ่ ขึ้น ม.ค.65– โรงเรยี น นางสาวเพียงพิศ บรรจงจติ ต์

80 ร้อยละ 0.5 ก.พ. 65 พิไกรวิทยา

14 คา่ ยวชิ าการ ม.ตน้ รอ้ ยละ ดี ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวพรทิพย์ หงษอ์ าลัย

70 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

15 คา่ ยวิชาการ ม.ปลาย รอ้ ยละ ดี ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวพรทิพย์ หงษอ์ าลยั

190*175 70 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

15 ทัศนศกึ ษา ม.ต้น รอ้ ยละ ดี ต.ค.64– โรงเรียน นายไกรจกั ร คำบญุ เรือง

70 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

16 ทศั นศึกษา ม.ปลาย รอ้ ยละ ดี ต.ค.64– โรงเรียน นายไกรจกั ร คำบญุ เรอื ง

80 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

17 การจัดการเรยี นการสอน รอ้ ยละ ดี ต.ค.64– โรงเรียน นางสาวรุง่ ทิพย์ ขอนทอง

ทางไกล Covid ม.ต้น 80 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

100*253

18 การจดั การเรยี นการสอน ร้อยละ ดี ต.ค.64– โรงเรยี น นางสาวรุ่งทพิ ย์ ขอนทอง

ทางไกล Covid ม.ปลาย 80 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

100*175

* ผลการดำเนินงานปกี ารศกึ ษาที่ผ่านมา

๕. งบประมาณทใ่ี ช้ งบประมาณ (บาท)

ที่ กิจกรรม เงินอุดหนุน เงนิ กิจกรรม เงินรายได้ เงนิ บรจิ าค
พัฒนาผเู้ รยี น สถานศึกษา อน่ื ๆ
1 กจิ กรรมสง่ เสริมทักษะภาษาตา่ งประเทศ
(ครสิ มาสต)์ 2,000 -- -

2 สบื ศิลปส์ านศาสตร์ปราชญภ์ าษาชาติ 9,230 -- -
3 1 นักเรียน 1 นวตั กรรม one student 5,000 -- -

one innovation - -- -
4 วเิ คราะห์ขอ้ สอบ O-net ตามแนว
- -- -
Test blue print 13,825 -- -
5 ทดสอบ Pre-O-net ม.3 ม.6 19,500 -- -
6 สอนเสริมเติมเต็ม ม.3 6,000 -- -
7 สอนเสรมิ เติมเตม็ ม.6 228,205 -- -
8 สปั ดาห์วิทยาศาสตร์
9 ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น

101

งบประมาณ (บาท)

ท่ี กิจกรรม เงินอุดหนุน เงนิ กิจกรรม เงนิ รายได้ เงินบรจิ าค
พฒั นาผูเ้ รียน สถานศกึ ษา อนื่ ๆ

10 สปั ดาหห์ อ้ งสมดุ 2,000 - - -
11 พฒั นาเครือข่ายถา่ ยโอนความรู้(พสี่ ูน่ อ้ ง - - - -

เพอ่ื นสู่เพ่ือน) 2,000 - - -
12 วันตรษุ จีน - 48,070 - -
13 ค่ายวิชาการ ม.ตน้ - 33,250 - -
14 คา่ ยวิชาการ ม.ปลาย - 37,950 - -
15 ทศั นศึกษา ม.ต้น - 26,250 - -
16 ทัศนศกึ ษา ม.ปลาย - 25,300 - -
17 การจดั การเรยี นการสอนทางไกล
- 17,500 - -
Covid ม.ต้น
18 การจดั การเรยี นการสอนทางไกล 287,760 188,320

Covid ม.ปลาย

รวม

๖. การประเมนิ ผลโครงการ ค่าเป้าหมาย วิธกี ารวดั และ เครื่องมือทีใ่ ชป้ ระเมนิ
ตวั ชีว้ ัด ประเมินผล
ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ * - แบบบันทกึ ผลการเรียน
เพมิ่ ขึน้ ร้อยละ - ผลการเรยี น 8 - สารสนเทศ สทศ.
๑. ปริมาณ 0.5 กลุ่มสาระฯ
1.1 กเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น - แบบบนั ทึกผลการเรยี น
เพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ - ผลการทดสอบ - สารสนเทศ สทศ.
ตามหลกั สูตรอยู่ในระดับดีขน้ึ ไป เพ่ิมขึ้นจาก 0.5 ระดับชาติ
ปกี ารศกึ ษาที่ผา่ นมา ร้อยละ 0.5 (o-net)

1.2 ค่าเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษา เพมิ่ ขึ้นร้อยละ - ผลการเรยี น 8
ระดับชาติ (O-Net) เพ่ิมขน้ึ จากปกี ารศกึ ษา 0.5 กลมุ่ สาระฯ
ทผ่ี ่านมา ร้อยละ 0.5 - ผลการทดสอบ
๒. คุณภาพ เพ่ิมขึน้ ร้อยละ ระดับชาติ
0.5 (o-net)
2.1 นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตาม
หลกั สตู รอยู่ในระดับดขี ้ึนไป

2.2 คา่ เฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดบั ชาติ (O-Net) เพ่มิ ขึน้ จากปกี ารศึกษา
ทีผ่ า่ นมา

102

7. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รอยู่ในระดับดีข้ึนไป
7.2 ค่าเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-Net) เพิม่ ขนึ้ จากปกี ารศกึ ษาทผี่ า่ นมา

ลงชอ่ื ผ้เู สนอโครงการ
(นางสาวรุ่งทพิ ย์ ขอนทอง)
ผู้รับผิดชอบโครงการ

ลงชือ่ ผู้ตรวจสอบโครงการ
(นางสาวทบั ทมิ วงษอ์ ่อง)
หวั หนา้ งานแผนงาน

ลงชื่อ ผตู้ รวจสอบโครงการ
(นายโยธนิ บุญสุข)

รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนพิไกรวิทยา

ลงชื่อ ผอู้ นุมัติโครงการ
(นางสาวจุฑามาศ วงษเ์ ขียว)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนพิไกรวทิ ยา

104

ภาคผนวก ค

โครงการที่ 3 พัฒนาโรงเรียนคุณธรรม

104

โครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ปีงบประมาณ 2565

โครงการที่ 3 พฒั นาโรงเรยี นคุณธรรม

สนองกลยุทธโ์ รงเรยี นที่ 3 การพัฒนาคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนให้มวี นิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม

สอดคลอ้ งกับศาสตร์พระราชา ร.9 สรา้ งคนดีให้บ้านเมือง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สอดคลอ้ งกับพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ร.๑๐
1. มที ัศนคติท่ีดีและถูกต้อง
2. มพี ื้นฐานชีวิตท่ีมนั่ คงเข้มแขง็
3. มีอาชพี มงี านทำ
4. เปน็ พลเมืองดี มีวินยั

สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษา โรงเรียนพิไกรวทิ ยา
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รียน
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น

ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ งานอาชีพ

1.2 คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
1) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมท่ีดตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
2) ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
3) การยอมรับท่จี ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรูท้ ี่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้

105

3.3 มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรียน
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ
เรียนรู้

สอดคลอ้ งกบั ทิศทางพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากำแพงเพชร
นโยบาย
ขอ้ ท่ี 2 ระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นมีความเข้มแขง็ ให้ไดม้ าตรฐานทุกโรงเรียน
ขอ้ ที่ 3 ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
ข้อที่ 4 พัฒนาผ้บู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีศกั ยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี
ข้อที่ 6 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ 4 สร้าง
- สรา้ งเด็กดมี คี ุณธรรม ให้บ้านเมอื ง
- สรา้ งครดู ี ให้ห้องเรยี น
- สร้างผบู้ ริหารดี ใหโ้ รงเรยี น
- สรา้ งโรงเรียนดี ใหช้ มุ ชน
จุดเน้น
ข้อท่ี 2 พฒั นาระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นเข้มแขง็ นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

อย่างทวั่ ถงึ
ขอ้ ที่ 3 นักเรียนเปน็ คนดี มวี ินยั มีคุณธรรมจรยิ ธรรม เคารพรกั ในสถาบนั หลักของชาติ
ขอ้ ที่ 4 น้อมนำศาสตร์พระราชาในหลวงรชั กาลท่ี 9 และพระบรมราโชบายด้านการศึกษา

ในหลวงรัชกาลท่ี 10 สู่การพัฒนาการศึกษาอยา่ งยั่งยืน
ขอ้ ท่ี 5 ผเู้ รยี นมสี มรรถนะและทกั ษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
ข้อท่ี 6 ยกระดบั ผลการทดสอบการศกึ ษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ใหส้ ูงขึ้น
ขอ้ ที่ 7 ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะสู่มอื อาชีพ

สอดคลอ้ งกับโรงเรียนสจุ ริต
มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานวชิ าการ
ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑ การจัดการเรียนรู้
คุณลักษณะนักเรียนจัดทำโครงงาน/วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ท่ีสอดคล้องกับ

คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ ริต

สอดคลอ้ งกับสถานศกึ ษาพอเพียง
ดา้ นที่ 2 ดา้ นหลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอน องคป์ ระกอบ การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียงสู่การเรยี นการสอน ตวั บ่งชี้ที่ 7 ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
ทีบ่ รู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

106

กล่มุ บริหารงานที่รับผิดชอบ กลมุ่ บริหารงานทว่ั ไป

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นายอรรถพล พลู ศรี

ลกั ษณะโครงการ  โครงการใหม่  โครงการต่อเนือ่ ง

ระยะเวลาดำเนนิ การ เรม่ิ ต้น 1 ตุลาคม 2564 ระยะเวลาส้นิ สุด 30 กันยายน 2565

๑. หลกั การและเหตุผล
ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ ๒)

พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๕ ไดก้ ล่าวถงึ ความมุง่ หมายและหลักการจัดการศึกษาของชาติ เพือ่ พัฒนาคนไทยให้เป็น
มนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ ทง้ั ด้านร่างกาย จติ ใจ สติปญั ญา ความรู้ และคณุ ธรรม สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ ่นื ได้อยา่ งมี
ความสุข ซ่ึงในหมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ กล่าวว่า การจดั การศึกษาต้องยึด การจัดการ
ศกึ ษาตอ้ งยึดหลักวา่ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถอื วา่ ผู้เรียนมีความสำคญั
ทีส่ ดุ กระบวนการจดั การศึกษาต้องสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา ๒๓ การจัดการศกึ ษา ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ต้องเนน้ ความสำคญั ทั้งความรู้ คณุ ธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดบั การศกึ ษา และมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ใหส้ ถานศกึ ษาและหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง
ดำเนินการ จดั เน้อื หาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผเู้ รยี น โดยคำนึงถงึ
ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และ
การประยุกตค์ วามรู้มาใชเ้ พ่ือป้องกนั และแก้ไขปญั หา จดั กิจกรรมใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณ์จริง
ฝึกการปฏบิ ตั ิใหท้ ำได้ คดิ เปน็ ทำเปน็ รักการอ่านและเกิดการใฝร่ อู้ ย่างต่อเน่อื ง จดั การเรยี นการสอน
โดยผสมผสานสาระความร้ดู ้านตา่ ง ๆ อย่างไดส้ ดั ส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลกู ฝังคุณธรรม คา่ นยิ มที่ดีงาม
และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคไ์ ว้ในทุกวิชา

อกี ทั้งหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดจุดหมายมุ่งพฒั นา
ผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มปี ัญญา มีความสขุ มศี ักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพเม่ือจบการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐาน คือ มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ัติตน
ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มีความรักชาติ มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยดึ ม่ันในวถิ ีชวี ิตและการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มุ่งพฒั นา
ผเู้ รียนให้มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ืน่ ในสงั คมได้อย่างมีความสุข ในฐานะ
เป็นพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบดว้ ย ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต ๓. มีวินยั
๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพยี ง ๖. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย และ ๘. มีจติ สาธารณะ

ดังนัน้ ทางโรงเรียนจงึ ได้พัฒนาผเู้ รียนและการปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ให้กับนักเรียน จึงมีความจำเป็นทต่ี อ้ งดำเนินการอยา่ งต่อเนื่องและสมำ่ เสมอ เพ่ือใหเ้ ด็กและ
เยาวชนของชาติเติบโตเป็นผูใ้ หญ่ทม่ี ีคุณภาพ สามารถดำรงตนอยูใ่ นสงั คมอย่างมีความสุข (ด)ี

107

๒. วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ให้นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตามท่สี ถานศึกษากำหนด
๒. เพ่อื ให้นกั เรยี นมีคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด

๓. เปา้ หมาย
๓.๑ เชิงปรมิ าณ
1) นกั เรยี น มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และมีคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด

ร้อยละ 70
2) ครแู ละบุคลากรโรงเรียนพิไกรวิทยา มีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์และมีคุณธรรมอัตลักษณ์

ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ร้อยละ 70
๓.๒ เชงิ คุณภาพ
1) ระดบั คุณภาพของผู้เรียนท่ีมีคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ตามที่สถานศกึ ษากำหนด

อยใู่ นระดับดี
๒) ระดับคุณภาพของผเู้ รยี นที่มีคุณธรรมอัตลกั ษณ์ ตามที่สถานศึกษากำหนด

อยูใ่ นระดับดี

๔. กจิ กรรมหลัก (เทคนิควธิ ีการที่จะใชก้ ารดำเนนิ โครงการใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ ระบุข้อมลู ปฐี าน

เป้าหมายกจิ กรรมทีท่ ำ ระยะเวลาดำเนินการ ผูร้ บั ผิดชอบแตล่ ะกจิ กรรม)

ที่ กิจกรรมหลัก ขอ้ มูล คา่ ระยะเวลา สถานที่ ผรู้ ับผิดชอบกจิ กรรม
ปีฐาน เปา้ หมาย ดำเนนิ การ
กิจกรรม
*

1 แลกเปลยี่ นเรยี นรู้และ ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายอรรถพล พลู ศรี

รายงานผลการดำเนินงาน 30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

โรงเรยี นคณุ ธรรม

2 บนั ทึกคนดศี รีไกรวิทย์ ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นางสาววรกมล อยสู่ ภุ าพ

30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

3 พัฒนาครูและนกั เรยี นแกนนำ ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นางสาววรกมล อย่สู ุภาพ

30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

4 โครงงานคุณธรรม ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นางสาวพรทิพย์ หงษอ์ าลยั

30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

5 พัฒนาโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นางสาววรกมล อยสู่ ภุ าพ

30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

6 สวดมนต์ประจำสัปดาห์ ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายอรรถพล พลู ศรี

30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

7 ธรรมศึกษา ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายอรรถพล พลู ศรี

30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

8 วันสำคญั ทางพทุ ธศาสนา ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายอรรถพล พลู ศรี

30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

9 สง่ เสรมิ คณุ ธรรมศลี ธรรม ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายอรรถพล พลู ศรี

นำการศึกษา 30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

108

ที่ กิจกรรมหลัก ข้อมูล คา่ ระยะเวลา สถานท่ี ผ้รู บั ผิดชอบกิจกรรม
ปฐี าน เปา้ หมาย ดำเนนิ การ
กจิ กรรม
*

10 คณุ ธรรมต้านทุจริต ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายอรรถพล พลู ศรี

30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

11 หลักสตู รตา้ นทจุ ริต ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายไกรจกั ร คำบุญเรือง

30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

12 วันเฉลมิ พระชนมพรรษา ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายณรงคเ์ ดช ดอกแกว้

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั 30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

ร.10

13 วันเฉลมิ พระชนมพรรษา ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายณรงคเ์ ดช ดอกแก้ว

สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ 30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

พระบรมราชนิ ี

14 วันเฉลิมพระชนมพรรษา ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายณรงคเ์ ดช ดอกแก้ว

สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ ์ิ 30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง

12 ส.ค.

15 วันพ่อแหง่ ชาติ 5 ธ.ค. ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายณรงคเ์ ดช ดอกแก้ว

30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

16 วันคล้ายวนั สวรรคต 13 ต.ค. ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายณรงคเ์ ดช ดอกแก้ว

30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

17 วนั ปิยมหาราช 23 ต.ค. ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายณรงคเ์ ดช ดอกแกว้

30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

18 วนั วชิราวธุ ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายกำพล อนิ เลยี้ ง

30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

19 วนั คล้ายวันสถาปนา ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรยี น นายกำพล อินเลยี้ ง

คณะลกู เสือแห่งชาติ 30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

20 ลูกเสือต้านยาเสพตดิ ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายกำพล อินเลย้ี ง

30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

21 ชมุ นุมลูกเสือโรงเรียน ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายกำพล อนิ เลยี้ ง

โครงการกองทุนการศกึ ษา 30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

22 อบรมมารยาทไทย ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายอรรถพล พลู ศรี

30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

23 ส่งเสรมิ สืบสาน ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นางสาวสุนติ า แก่นสาร

งานนาฏศลิ ปไ์ ทย 30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

24 สืบสานวัฒนธรรมไทย ดี ดี 1 ต.ค.64- โรงเรียน นายณรงคเ์ ดช ดอกแก้ว

และความเป็นสากล 30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

109

๕. งบประมาณทใ่ี ช้ งบประมาณ(บาท)

ที่ กิจกรรม เงิน เงนิ กิจกรรม เงนิ รายได้ เงิน
บริจาค
1 แลกเปลย่ี นเรยี นรู้และรายงานผลการดำเนนิ งาน อุดหนนุ พัฒนา สถานศึกษา อ่ืนๆ
โรงเรียนคุณธรรม
ผู้เรียน -
2 บันทกึ คนดศี รไี กรวทิ ย์
3 โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. 6,007 - 20,000 -
4 โครงงานคุณธรรม ห้องละ 500 (17 ห้อง) -
5 พัฒนาโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ 7,180 - - -
6 สวดมนตป์ ระจำสปั ดาห์ --- -
7 ธรรมศึกษา -
8 วันสำคัญทางพทุ ธศาสนา 8,500 - - -
9 ส่งเสรมิ คณุ ธรรมศีลธรรมนำการศกึ ษา-สวดมนต์ --- -
--- -
ประจำสัปดาห์ ---
10 คณุ ธรรมต้านทจุ ริต -
11 วนั เฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระ 5,000 - - -
3,000 - -
เจ้าอยูห่ วั ร.10 -
12 วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ ---
4,000 - - -
พระบรมราชนิ ี
13 วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจา้ 4,000 - - -
-
สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง 3,000 - -
14 วันพอ่ แห่งชาติ -
15 วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จ 3,000 - - -
3,000 - - -
พระเจา้ อยหู่ วั ร.9 -
16 วันปิยมหาราช 3,000 - - -
17 งานประดบั ตกแตง่ สถานที่ 20,000 - - -
18 โรงเรียนกองทนุ การศึกษา 40,000 - -
19 สบื สานวฒั นธรรมไทยและความเป็นสากล 5,700 - -
20 คา่ ยคุณธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 27,830 -
21 คา่ ยคณุ ธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 - 50,750 -
-
รวม 78,580 20,000
115,387

110

๖. การประเมนิ ผลโครงการ คา่ เปา้ หมาย วิธกี ารวัดและ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ประเมนิ
ตัวชีว้ ัด ประเมนิ ผล
ตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จ* แบบประเมนิ โครงการ
ร้อยละ 70 ประเมิน แบบประเมนิ โครงการ
๑. ปรมิ าณ โครงการ แบบประเมนิ โครงการ
1.1 นักเรยี น มคี ณุ ลักษณะ
ดี ประเมิน
ทีพ่ งึ ประสงค์และมคี ณุ ธรรมอัตลักษณ์ โครงการ
ตามทสี่ ถานศึกษากำหนด ร้อยละ 70
ดี ประเมิน
1.2 ครูและบุคลากรโรงเรยี น โครงการ
พิไกรวิทยา มีคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
และมีคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ ตามท่ี
สถานศึกษากำหนด ร้อยละ 70
๒. คณุ ภาพ

2.1 ระดบั คณุ ภาพของผนกั เรยี นที่มี
คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ตามที่
สถานศกึ ษากำหนด อย่ใู นระดับดี

๒.2 ระดบั คุณภาพของผู้เรยี นทมี่ ี
คุณธรรมอัตลักษณ์ ตามทส่ี ถานศกึ ษา
กำหนด อยูใ่ นระดบั ดี

7. ผลท่คี าดวา่ จะได้รับ
7.1 นกั เรียน ครู และบคุ ลากรโรงเรยี นพิไกรวทิ ยา มีคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์

และมคี ุณธรรมอตั ลักษณ์ ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด

ลงชื่อ ผเู้ สนอโครงการ
(นายอรรถพล พลู ศรี)
ผู้รับผิดชอบโครงการ

ลงช่ือ ผตู้ รวจสอบโครงการ
(นางสาวทบั ทมิ วงษอ์ ่อง)
หวั หนา้ งานแผนงาน

ลงชอ่ื ผู้ตรวจสอบโครงการ
(นายโยธนิ บุญสุข)

รองผู้อำนวยการโรงเรยี นพิไกรวิทยา

ลงชื่อ ผู้อนุมตั ิโครงการ
(นางสาวจฑุ ามาศ วงษ์เขยี ว)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นพิไกรวิทยา

112

ภาคผนวก ฅ

โครงการที่ 4 สง่ เสรมิ การแนะแนวและสร้างภมู คิ มุ้ กนั การดำรงชวี ติ

112

โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปี ปีงบประมาณ 2565

โครงการท่ี 4 ส่งเสริมการแนะแนวและสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั การดำรงชวี ิต

สนองกลยทุ ธ์โรงเรียนที่ 4 การพัฒนาทักษะชวี ิตและทักษะอาชีพ

สอดคล้องกบั ศาสตร์พระราชา ร.9 สร้างคนดีใหบ้ า้ นเมือง
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สอดคล้องกบั พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ร.10
1. มที ัศนคติทด่ี ีและถูกต้อง
2. มพี ้ืนฐานชีวิตทีม่ น่ั คงเข้มแข็ง
3. มีอาชพี มีงานทำ
4. เปน็ พลเมอื งดี มีวนิ ยั

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนพไิ กรวทิ ยา
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผูเ้ รยี น
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น

ความคิดเหน็ และแก้ปัญหา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
5) มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชีพ

1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รยี น
1) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศกึ ษากำหนด
2) ความภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย
3) การยอมรับทจ่ี ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
3.1 จัดการเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้
3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้

113

3.3 มกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนำผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ
การจดั การเรยี นรู้

สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเนน้ สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากำแพงเพชร
นโยบาย
ขอ้ ที่ 2 ระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนมีความเข้มแข็ง ใหไ้ ด้มาตรฐานทุกโรงเรยี น
ข้อที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
ข้อท่ี 6 พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ 4 สรา้ ง
-สรา้ งเด็กดมี ีคุณธรรม ใหบ้ า้ นเมือง
จดุ เน้น
ขอ้ ท่ี 3 นักเรยี นเป็นคนดี มีวินัย มคี ณุ ธรรมจริยธรรม เคารพรกั ในสถาบนั หลักของชาติ
ข้อที่ 4 น้อมนำศาสตร์พระราชาในหลวงรัชกาลที่ 9 และพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา

ในหลวงรชั กาลที่ 10 สกู่ ารพัฒนาการศึกษาอย่างยง่ั ยืน
ขอ้ ที่ 5 ผูเ้ รยี นมสี มรรถนะและทักษะที่จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
ข้อที่ 6 ยกระดับผลการทดสอบการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ใหส้ ูงข้นึ

กลุ่มบริหารงานทร่ี บั ผิดชอบ กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นายไกรจักร คำบุญเรือง

ลกั ษณะโครงการ  โครงการใหม่  โครงการต่อเนอ่ื ง

ระยะเวลาดำเนินการ เรม่ิ ต้น 1 ตลุ าคม 2564 ระยะเวลาส้ินสดุ 30 กันยายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล
ด้วยการเรียนการสอนในปจั จุบัน มุง่ เนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนคนดี คนเก่ง และสามารถดำรงชวี ิตอยู่ในสังคม

ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข การจดั การเรียนการสอนโดยมุ่งใหผ้ ู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ นักเรียนท่ีมี
ความสามารถในด้านต่าง ๆ ได้รับการสง่ เสริมและพัฒนาให้มีศักยภาพสูงขน้ึ โดยการจัดกิจกรรมทเ่ี ปดิ
โอกาสใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความรู้ความสามารถทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ท้งั 8 กลุ่มสาระ สง่ ผลให้นกั เรยี นได้
ค้นพบความถนดั ความสนใจของตนเองซึ่งเป็นการพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนษุ ย์ให้ครบทกุ ด้าน
ทง้ั ร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสงั คม เพ่ือใหผ้ ้เู รียนเป็นผู้มีมีศลี ธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวินยั
และมีจติ สำนึกในการทำประโยชนเ์ พอื่ สงั คม

ดังน้ันโรงเรียนพไิ กรวิทยา จึงจัดโครงการสง่ เสริมการแนะแนวและสรา้ งภมู ิคมุ้ กันการดำรงชวี ิต
เพือ่ ใหต้ อบสนองต่อกลยุทธ์ท่ี 4 การพัฒนาทักษะชีวิตและทกั ษะอาชพี

114

2. วัตถุประสงค์
1. เพ่ือใหน้ ักเรยี นมีทักษะชวี ิต และมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในการดำเนินชวี ิต
2. เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมีทกั ษะอาชีพ

3. เปา้ หมาย
3.1 เชงิ ปริมาณ
1. รอ้ ยละ 70 ของจำนวนนักเรยี นมีทักษะอาชีพ
3.2 เชิงคุณภาพ
1. ระดบั คณุ ภาพของนักเรียนท่ีมีทักษะชีวติ และมีภมู ิคุ้มกันท่ดี ใี นการดำเนินชวี ิต

อยใู่ นระดับดี
2. นักเรยี นมที กั ษะอาชีพ

4. กจิ กรรมหลัก

ท่ี กิจกรรมหลกั ขอ้ มูล ค่า ระยะเวลา สถานท่ี ผู้รับผิดชอบกิจกรรม
ปีฐาน เปา้ หมาย ดำเนินการ
กิจกรรม
*

1 เลอื กตัง้ ประธานนกั เรยี น ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นายวิชัย พลบั ดี

30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

2 ชมรม To Be Number ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นายไกรจกั ร คำบุญเรือง

One 30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

3 กจิ กรรมตอ่ ตา้ นยาเสพติด ร้อยละ รอ้ ยละ 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นายวิชัย พลบั ดี

95 70 30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

5 โรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพ ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรยี น นางสาวสธุ เนตร ถาวร
และงานพยาบาลใน 30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา
โรงเรียน

6 งานโภชนาการโรงอาหาร ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นางสาวสธุ เนตร ถาวร

30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

7 วยั รุ่นวยั ใสไม่ทอ้ งกอ่ นวยั ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นายวชิ ัย พลับดี

30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

8 การแขง่ ขนั กีฬาภายใน ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นายวชิ ัย พลับดี

30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

9 เพศวถิ ี ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรยี น นายวิชัย พลับดี

30 ก.ย. 65 พิไกรวิทยา

10 แนะแนวการศกึ ษา ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรยี น นางสาวรุง่ ทิพย์ ขอนทอง

30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

11 โรงเรียนธนาคารพไิ กรวิทยา รอ้ ยละ รอ้ ยละ 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นางสาวขนิษฐา ชาญนุชติ

70 70 30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

12 สง่ เสริมการเปน็ ศนู ย์เรียนรู้ ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นางสาวชวลี หอมรน่ื

ตามหลักปรัชญาของ 30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

115

ท่ี กิจกรรมหลัก ขอ้ มูล คา่ ระยะเวลา สถานที่ ผรู้ ับผิดชอบกจิ กรรม
ปีฐาน เปา้ หมาย ดำเนินการ
13 การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม กจิ กรรม
แนะแนวการศกึ ษา *

14 ปจั ฉมิ นิเทศ ม.3 และ ม.6 ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นางสาวรงุ่ ทิพย์ ขอนทอง

15 คา่ ยทักษะอาชีพ ม.ปลาย 30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา
120*175
ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นางสาวรุ่งทพิ ย์ ขอนทอง
16 เขา้ คา่ ยลูกเสอื -เนตรนารี
200*253 30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

17 ลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรียน นายไกรจกั ร คำบุญเรอื ง

30 ก.ย. 65 พไิ กรวทิ ยา

ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรยี น นายกำพล อินเลยี้ ง

30 ก.ย. 65 พไิ กรวิทยา

ดี ดี 1 ต.ค. 64- โรงเรยี น นายไกรจักร คำบุญเรือง

30 ก.ย. 65 พิไกรวทิ ยา

5. งบประมาณทใ่ี ช้

งบประมาณ (บาท)

ท่ี กิจกรรม เงนิ อุดหนุน เงนิ กิจกรรม เงนิ รายได้ เงนิ
พฒั นาผู้เรียน สถานศกึ ษา บรจิ าค
อ่ืน ๆ

1 เลือกต้งั ประธานนักเรยี น 5,700
5,000
2 ชมรม To Be Number One 2,042
15,000
3 กจิ กรรมต่อต้านยาเสพติด
15,000
4 โรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพและงานพยาบาล
43,388
ในโรงเรยี น
5,000
5 งานโภชนาการโรงอาหาร 7,000
100,000
6 วยั รุน่ วัยใสไมท่ อ้ งก่อนวัย
4,570
7 การแข่งขันกฬี าภายใน 7,930

8 เพศวิถี 210,630

9 แนะแนวการศกึ ษา

10 โรงเรยี นธนาคารพไิ กรวทิ ยา

11 ส่งเสริมการเป็นศูนยเ์ รยี นรูต้ ามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

12 การดำเนินการจดั กจิ กรรมแนะแนว
การศึกษา

13 ปจั ฉมิ นเิ ทศ ม.3 และ ม.6

14 ค่ายทกั ษะอาชพี ม.ปลาย 120*175 21,000
50,600
15 เขา้ ค่ายลกู เสอื -เนตรนารี 200*253 7,590
79,190
16 ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้

รวม

116

6. การประเมนิ ผลโครงการ คา่ เปา้ หมาย วธิ ีการวัดและ เครอ่ื งมอื ทใี่ ชป้ ระเมนิ
ตวั ช้วี ัด ประเมนิ ผล
ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ* แบบประเมินโครงการ
รอ้ ยละ 70 ประเมนิ โครงการ แบบประเมนิ โครงการ
1. ปริมาณ แบบประเมินโครงการ
1.1 ร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรยี น ดี ประเมินโครงการ

มีทักษะอาชพี ดี ประเมินโครงการ

2. คณุ ภาพ
2.1 ระดบั คณุ ภาพของนักเรยี น

ทม่ี ที ักษะชวี ิต และมภี มู คิ ุ้มกันทด่ี ี
ในการดำเนนิ ชีวิต อยใู่ นระดบั ดี

2.2 นกั เรียนมที ักษะอาชีพ

* นำมาจากเปา้ หมาย

7. ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ
7.1 นักเรยี นมที ักษะชีวิต และมภี ูมิคุ้มกันท่ีดใี นการดำเนนิ ชีวิต
7.2 นกั เรียนมีทกั ษะอาชพี

ลงช่อื ผู้เสนอโครงการ
(นายไกรจกั ร คำบุญเรือง)
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ

ลงชื่อ ผู้ตรวจสอบโครงการ
(นางสาวทับทมิ วงษอ์ อ่ ง)
หัวหนา้ งานแผนงาน

ลงชอื่ ผตู้ รวจสอบโครงการ
(นายโยธนิ บุญสุข)

รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนพไิ กรวิทยา

ลงชื่อ ผอู้ นุมัติโครงการ
(นางสาวจฑุ ามาศ วงษ์เขียว)
ผู้อำนวยการโรงเรียนพไิ กรวทิ ยา

118

ภาคผนวก ฆ

โครงการท่ี 5 พัฒนาระบบบริหารคณุ ภาพ


Click to View FlipBook Version