1
รายงานการประเมนิ หลกั สตู ร
รายวิชา ส31102, ส31104 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
ปีการศกึ ษา 2559
โดย
ศีตลา สนิทโกศัย
กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรยี นบา้ นไผ่ อาเภอบ้านไผ่ จงั หวัดขอนแก่น
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 25
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2
คานา
รายงานการประเมินหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย เล่มน้ี จัดทาข้ึนเพ่ือรายงาน
ผลการประเมินหลักสูตรรายวิชา ส31102 ประวัติศาสตร์ไทย 1 และรายวิชา ส31104
ประวัตศิ าสตรไ์ ทย 2 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศกึ ษา 2559 ซ่ึงในการประเมินหลักสูตรคร้ังน้ี
กาหนดกลุ่มเป้าหมาย 2 กลุ่ม เป็นผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ 1) ผู้บริหาร/ครูกลุ่มสาระสังคมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม จานวน 7 คน และ 2) นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 84 คน ซ่ึง
ผลท่ไี ด้จากการประเมินหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตร์ไทยครั้งน้ี จะเป็นข้อมูลสารสนเทศใน
การปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมตอ่ ไป
ขอบพระคุณ ดร.วทญั ญู ภูชาดา ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นไผ่ นายมนตรี เบา้ ศรี
รองผูอ้ านวยการฝ่ายบริหารวิชาการ นางประยูร ศรีเสน หวั หน้างานพัฒนาหลักสูตร นางสาว
สุพรรษา แถวโนนงิ้ว หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกคนท่ีเป็นผู้ให้ข้อมูลสาหรับการประเมินหลักสูตรรายวิชา
ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ในคร้งั นี้ และหวงั ว่ารายงานฉบับนจี้ ะเปน็ แนวทางในการประเมินหลักสูตร
รายวชิ าสาหรับผู้สนใจบ้างตามสมควร
ศีตลา สนทิ โกศัย
มีนาคม 2559
สารบญั 3
เรือ่ ง หน้า
คานา ก
สารบญั ข
สารบัญตาราง ค
บทที่ 1 บทนา
1
ท่มี าและความสาคัญของปัญหา 3
วัตถุประสงคข์ องการประเมิน 3
ขอบเขตของการประเมิน 3
นิยามศัพท์เฉพาะ 4
ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง 5
การประเมินหลักสตู ร 16
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นไผ่ ตามหลักสตู รแกนกลาง
พ.ศ.2551 (พ.ศ.2557) 29
งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
บทท่ี 3 วิธีดาเนินการการวจิ ัย 33
กลุ่มเปา้ หมาย 33
เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมิน 33
ขนั้ ตอนในการดาเนนิ การ 34
สถติ ิในการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 36
วัตถุประสงค์ 36
การวิเคราะหข์ อ้ มูล 37
ผลการประเมนิ หลักสูตรโดยผู้บริหาร/ครู 39
ผลการประเมนิ หลกั สูตรโดยนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 41
ผลการสารวจด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 42
ผลการสารวจด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 42
สรปุ ผลการ 43
อภิปรายผล 45
ข้อเสนอแนะ 46
บรรณานุกรม 48
ภาคผนวก 49
แบบประเมนิ หลกั สตู รโดยผู้บริหาร/ครู 51
แบบประเมนิ หลกั สูตรโดยนกั เรียน
4
สารบัญตาราง
เร่อื ง แสดงผลการประเมนิ หลักสูตรโดยผู้บริหาร/ครู หนา้
แสดงผลการประเมนิ หลักสูตรโดยนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4
ตารางท่ี 1 37
ตารางที่ 2 แสดงผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี น 39
ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรียน 41
ตารางที่ 4 41
1
บทท่ี 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา
หลักสูตร ถอื เป็นหวั ใจของการจดั การศึกษา เพราะเป็นเครื่องมือสาคัญในการกาหนดแนว
ทางการจดั การศกึ ษา เพือ่ ท่จี ะพฒั นาผู้เรียนให้มที ักษะพื้นฐานในการดารงชวี ติ สามารถพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิตของตนเองและสังคมได้ การจดั การศึกษาทีด่ ีจงึ ควรมคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกับสภาพ
ชีวิตและสงั คมของผู้เรยี น หลักสูตรจึงจาเปน็ ตอ้ งปรบั ปรุงหรือพฒั นาให้มคี วามเหมาะสม ทนั ต่อการ
เปลีย่ นแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคมอยู่เสมอ
หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นไผ่ พทุ ธศักราช 2557 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็น
หลักสูตรที่พัฒนาจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีการพัฒนา
ปรบั ปรงุ หลักสตู รของสถานศึกษามาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือสนองแนวนโยบายใหม่ๆของภาครัฐ รวมท้ัง
ความต้องการของชมุ ชนและท้องถิ่น และสอดคล้องกับบริบทของสังคมท่ีเปล่ียนไปตลอดเวลา และ
ยังคงยึดมาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) พร้อมทั้งพัฒนา
หลักสูตรให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน พันธกิจ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ไทยแลนด์ 4.0 และมาตรฐานสากล เป็น
กาลังสาคัญของชาติที่มีคุณภาพท้ังด้านความรู้ ทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปล่ียนแปลงอย่างมีคุณค่าและมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บนพ้ืนฐานความ
เป็นไทยและความเป็นสากล มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรมและมีจิตสานึกใน
ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก รู้จักแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอด
ชีวิต ตามคุณลักษณะมาตรฐานของโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
คือ ผเู้ รียนเป็นเลิศทางวชิ าการ สื่อสารไดอ้ ยา่ งน้อย 2 ภาษา ล้าหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่าง
สรา้ งสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสงั คมโลก
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ( 2553, หน้า 36) กล่าวถึงการบริหารจัดการ
หลักสูตรว่า สถานศึกษามีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตาม
ศกั ยภาพ สถานศกึ ษามบี ทบาทสาคญั ในการจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษา และดาเนนิ การนาหลักสูตรสู่
การปฏิบตั ิใน การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องสร้างความมั่นใจต่อพ่อ
แมผ่ ปู้ กครอง และ ชมุ ชนวา่ ผู้เรียนจะมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดและเกิดสมรรถนะ
สาคัญ ตลอดจนมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร เพื่อให้บรรลุตาม
เจตนารมณ์ดังกล่าว สถานศึกษา ต้องออกแบบหลักสูตรให้ครอบคลุมส่วนที่เป็นหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามท่ีกระทรวงศึกษา ได้ประกาศใช้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุถึงคุณภาพตาม
มาตรฐาน อันเป็นความคาดหวังที่กาหนดไว้ร่วมกัน ในการพัฒนาเยาวชนทุกคนในชาติ นอกจากนั้น
หลักสูตรสถานศึกษา ยังต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหา และ ความต้องการของชุมชนและท้องถ่ิน
เพ่อื พัฒนาให้ผูเ้ รียนเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน สามารถอยู่ในสังคม แวดล้อมได้อย่างมีความสุข และ
เกิดความรักความผูกพันในบา้ นเกิดเมอื งนอน มีบทบาทในการรว่ มพัฒนา ชมุ ชน ในการจดั การศึกษา
ให้บรรลุมรรคผลดังกล่าว สถานศึกษาต้องมีการเตรียมวางแผนเพื่อใช้หลักสูตรใหม่ ผู้บริหาร
2
สถานศกึ ษาและคณะกรรมการสถานศึกษาจะต้องศึกษาและทาความเข้าใจกับหลักสูตรใหม่ เตรียม
ความพร้อมในการใช้หลักสูตร พิจารณาถึงงบประมาณและอาคารสถานที่ว่าเพียงพอหรือไม่ การ
เตรียมบุคลากรเกย่ี วกับการใชห้ ลกั สตู รจะดาเนนิ การโดยวิธีใดวางแผนการใช้หลักสูตรอย่างละเอียด
รอบคอบ โรงเรียนควรมีการส่งเสริมสนับสนุนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างเหมาะสม
เนื่องจาก สถานศึกษาแต่ละแห่งมีบริบทต่างกัน ความพร้อมต่างกัน รวมท้ังความต่างด้าน
งบประมาณ ทรัพยากร สถานที่ บุคลากร และผู้เรียนท่ีมีพ้ืนฐานครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ
สังคมทแี่ ตกตา่ งกัน มคี วามรู้ ความสามารถ ตลอดจน ความต้องการแตกต่างกัน ดังนั้น การวางแผน
การบริหารจัดการหลักสูตร จึงควรพิจารณาให้สอดคล้องสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ นอกจากน้ัน
สถานศึกษาจะต้องมีการติดตาม ดูแลคุณภาพ การจัดทาหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบต่อเนื่อง และครบวงจร และนาผลการติดตาม กากับดูแลคุณภาพน้ันมาพิจารณาปรับปรุง
หลักสตู รและการจัดการเรียนรูใ้ หม้ คี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ ยิ่งข้ึน หลังจากท่ีครูผู้สอนนาหลักสูตร
สถานศึกษาไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมาย ควรมีการ ติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่าง
ต่อเน่ืองเป็นระยะ ๆ เพื่อนาผลจากการติดตามมาใช้เป็นข้อมูลพิจารณา ปรับปรุงหลักสูตรให้มี
คุณภาพและมีความเหมาะสมยิง่ ขน้ึ
จะเห็นไดว้ ่า สถานศกึ ษามบี ทบาทสาคัญในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักการและ
เปา้ หมายของการจดั การศึกษาของชาติ และดาเนินการนาหลกั สตู รสู่การปฏิบัติในการจัดการเรียนการ
สอนในชนั้ เรยี นอยา่ งมีประสิทธภิ าพ มกี ารตดิ ตามผลการใช้หลกั สตู รอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ เพื่อนา
ผลจากการติดตาม มาใช้เป็นข้อมูลพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพ เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย
ของหลักสูตรน่ันคือผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผู้รายงานซึ่งเป็นผู้สอนในรายวิชา
ประวัติศาสตร์ไทย จึงเห็นสมควรที่จะมีการประเมินหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย กลุ่มสาระ
การเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เพื่อให้ทราบถึงสภาพของ
การใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษาว่าเป็นอย่างไร มปี ญั หาขอ้ บกพร่องอยา่ งไรบา้ ง
ดงั นั้น การประเมินหลกั สตู รสถานศึกษาจึงเป็นกระบวนการสาคัญอย่างหนึ่งท่ีมีบทบาทต่อ
การพัฒนาหลักสูตร เป็นการพิจารณาตรวจสอบประสิทธิภาพของหลักสูตรว่ามีคุณค่าเหมาะสม
หรือไม่ และตรวจสอบประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ฉะนั้น การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาจึง
ควรประเมนิ อย่างรอบด้าน ซึ่งจะช่วยทาให้ได้ข้อมูลที่ช่วยให้ผู้ท่ีมีส่วนรับผิดชอบต่อหลักสูตรใช้เป็น
แนวทางในการตัดสนิ ท่ีจะ ปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตรต่อไป สาหรับการประเมินหลักสูตรในครั้งน้ี
ผรู้ ายงานเลือกรูปแบบการประเมนิ หลกั สูตร CIPP ของสตัฟเฟิลบีม ( Stufflebeam,1971 ) มาเป็น
แนวทางในการประเมินหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เน่ืองจากเป็นการ
ประเมินท้ังระบบโดยมองจากทุกส่วนและทุกองค์ประกอบ สามารถประเมินข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับ
หลักสูตรไดครอบคลุมทุกด้าน ท้ังด้านหลักสูตร กระบวนการสอน ผู้สอน ผู้เรียน อุปกรณ์การสอน
และส่ิงอานวยความสะดวก (บุญศรี พรหมพันธ์ุและคณะ, 2551 ) เพ่ือการนาไปสู่คาตอบท่ีว่า
หลักสตู รทส่ี รา้ งขนึ้ มคี วามเหมาะสมเพียงใด การดาเนินงานเป็นไปตามความมุ่งหมายท่ีวางไว้หรือไม่
มีปญั หาและอุปสรรค และข้อผิดพลาดในด้านใด เพื่อสามารถตัดสินใจได้ว่าควรมี การปรับปรุง และ
พฒั นาหลกั สูตรในด้านใด เพอ่ื ให้เปน็ หลกั สตู รที่มปี ระสิทธิภาพต่อไป
3
วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ
เพื่อประเมินหลักสูตรรายวิชา ส31102 ประวัติศาสตร์ไทย 1 และ รายวิชา ส31104
ประวัติศาสตร์ไทย 2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช
2551 โรงเรยี นบา้ นไผ่ ในองค์ประกอบ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. ด้านบริบท ( Context )
2. ด้านปจั จัยเบื้องตน้ ( Input )
3. ด้านกระบวนการ ( Process )
4. ด้านผลผลิต ( Product )
ขอบเขตการประเมนิ
ประเมนิ หลกั สตู รรายวิชาประวตั ิศาสตรไ์ ทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โรงเรยี นบา้ นไผ่ มีขอบเขตการประเมินดงั น้ี
1. กล่มุ เป้าหมาย
กล่มุ เปา้ หมายท่ใี ช้ในการประเมินคร้งั นี้ ประกอบด้วย
1.1 ผบู้ ริหารสถานศึกษาและครูกลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม จานวน 7 คน
1.2 นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 84 คน
2. เนื้อหา
เน้อื หาการประเมินประกอบดว้ ย
1. ด้านบรบิ ท ( Context )
2. ด้านปัจจยั เบือ้ งต้น ( Input )
3. ด้านกระบวนการ ( Process )
4. ด้านผลผลิต ( Product )
3. ระยะเวลาในการประเมนิ
ดาเนนิ การใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
การบริหารหลักสูตร หมายถึง การวางแผน การดาเนินการใช้ลักสูตร การนิเทศกากับ
ตดิ ตาม ประเมินผล และการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของ
หลักสูตร
การประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการรวบรวม พิจารณา วิเคราะห์หลักสูตร เพื่อ
พิจารณาตัดสินคุณค่าของหลักสตู รสถานศึกษาท่จี ัดทาขึ้น
หลักสตู รรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ไทย หมายถึง หลักสูตรรายวิชา ส31102 ประวัติศาสตร์
ไทย 1 และ รายวิชา ส31104 ประวัติศาสตร์ไทย 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551 กลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรยี นบ้านไผ่
4
ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
ผลการประเมินหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านไผ่ มีดงั น้ี
1. ได้ทราบถงึ สภาพและปัญหาการบริหารจดั การหลักสูตรรายวชิ า ส31102 ประวตั ศิ าสตร์
ไทย 1 และรายวชิ า ส31104 ประวัตศิ าสตรไ์ ทย 2
2. ได้แนวทางในการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สูตรรายวชิ า ให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
ของผู้เรยี น
3. สถานศกึ ษาอื่น ผบู้ ริหารสถานศึกษาและผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งในการจดั การศกึ ษา สามารถใช้
เป็นแนวทางหรือประยกุ ต์ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขนึ้
4. เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื รองรับระบบประกนั คุณภาพการศึกษา
5
บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง
ในการประเมินหลกั สตู รครง้ั น้ี ผู้รายงานไดศ้ ึกษาคน้ คว้าเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง ใน
หวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้
1. การประเมินหลักสูตร
1.1 ความหมายของการประเมนิ หลักสตู ร
1.2 ความสาคัญของการประเมนิ หลกั สูตร
1.3 ประเภทของการประเมินหลกั สูตร
1.4 กระบวนการประเมนิ หลักสูตร
1.5 การนาหลกั สตู รไปใช้
2. หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านไผ่ พุทธศกั ราช 2557 ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551
2.1 ความนา
2.2 มาตรฐานการเรียนรู้
2.3 การจดั การเวลาเรียน
2.4 สื่อการเรียนรู้
2.5 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2.6 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
3. งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง
1. การประเมินหลกั สตู ร
1.1 ความหมายของการประเมนิ หลกั สูตร
คาว่า “การประเมิน” ความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542
(ราชบัณฑิตยสถาน. 2546 : 664) หมายถึง การกะประมาณค่าหรือราคาเท่าท่ีควรจะเป็นจริง การ
ประเมินผล หมายถึง การพิจารณาและวัดคุณค่าของกิจการใด ๆ ตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ เช่น
ประเมินผลการสัมมนา ประเมินผลการปฏิบัติงานในรอบปีของสถานศึกษา นักวิชาการทางการวัด
และประเมินสว่ นใหญไ่ ด้ใหค้ วามหมายของการประเมนิ หลักสูตรไว้ ดงั น้ี
สตัฟเฟิลบีม และชิกฟิลด์ (Stufflebeam and Shinkfield, 1990: 159) ให้ความหมายว่า
การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการของการแสวงหาข้อมูล และการจัดเตรียมสารสนเทศท่ีเป็น
ประโยชนต์ ่อการตัดสินใจและแสวงหาทางเลอื กทเี่ หมาะสมในการดาเนินการเกี่ยวกับหลักสูตร ฟิทซ์
แพททริค แซนเดอร์ และวอร์เธน (Fitzpatrick, Sanders, and Worthen, 2004 : 5) ให้
ความหมายของการประเมนิ หลกั สูตรวา่ เป็นวธิ กี ารสืบหาข้อมูลและพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับหลักสูตร
3 ประเด็น คือ (1) การกาหนดมาตรฐานเพ่ือใช้ตัดสินคุณภาพโดยเทียบกับมาตรฐานท่ีกาหนด (2)
การรวบรวมข้อมูลสารสนเทศท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตร และ (3) การประยุกต์ใช้มาตรฐานเพื่อตัดสิน
คุณค่า คุณภาพ คุณประโยชน์ ประสิทธิผล หรือความสาคัญของหลักสูตร ซึ่งจะช่วยให้ได้
ข้อเสนอแนะทจี่ ะทาให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ ที่กาหนดไว้ หรือช่วยให้ผู้เก่ียวข้องตัดสินใจได้ว่าควร
ดาเนนิ การใช้หลักสูตรตอ่ ไป ปรับปรุง พัฒนา หรือเปล่ยี นแปลงหลักสูตรอย่างไร
6
กล่าวโดยสรปุ การประเมินหลกั สตู ร หมายถึง กระบวนการเชิงระบบเพ่ือจัดหาสารสนเทศที่
เปน็ ประโยชน์ ต่อการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับการปรับปรงุ พฒั นาหลกั สตู ร การบรหิ ารหลกั สูตร การ
เปลี่ยนแปลงหลักสูตร จากความหมายดังกล่าวนี้ ช้ีให้เหน็ ลักษณะสาคญั ของการประเมินหลกั สตู ร
ดงั นี้
1. การประเมนิ หลักสูตรเป็นกระบวนการทจ่ี ัดทาขนึ้ อย่างเป็นระบบเพอ่ื ใหไ้ ด้สารสนเทศที่
เชื่อถอื ไดแ้ ละเปน็ ประโยชนต์ ่อการตัดสินใจของผู้บรหิ าร หรือผเู้ กย่ี วข้องกับหลกั สูตร
2. การประเมนิ หลักสูตรเป็นกระบวนการในการจดั เตรียมสารสนเทศ เพื่อใช้ในการตัดสนิ ใจ
เก่ียวกบั การพัฒนาหลักสูตร ปรับปรุงการบรหิ ารหลกั สตู ร การเปลย่ี นแปลงหลักสูตรใหเ้ หมาะสมกับ
สภาพและความตอ้ งการของผูเ้ รียน ผปู้ กครอง และสังคม
3. จุดเน้นท่สี าคัญของการประเมนิ หลกั สูตร อยทู่ ี่การเพม่ิ ประสิทธภิ าพ (efficiency) และ
ประสิทธิผล (effectiveness) ของการใชห้ ลกั สตู รในการจัดเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
ความสาคญั ของการประเมนิ หลักสตู ร
การประเมินหลักสูตรมีความสาคัญ ดังนี้
1. ช่วยให้ได้สารสนเทศเกี่ยวกับหลักสูตรสาหรับผู้บริหารหรือผู้เก่ียวข้องใช้ประกอบการ
ตัดสินใจเพ่ือการพัฒนาหลักสูตร การตรวจสอบความพร้อมของหลักสูตรและทรัพยากรในการ
ดาเนินการใชห้ ลักสูตร
2. ช่วยให้ทราบความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรคในระหว่างดาเนินการใช้หลักสูตรซ่ึงจะ
นามาใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจเพือ่ การปรับปรงุ การบริหารหลักสูตร หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผนหรือ
วิธีการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ
3. ชว่ ยใหไ้ ดส้ ารสนเทศเกี่ยวกับสัมฤทธิผลของหลักสูตร จุดเด่น จุดด้อยของหลักสูตรซึ่งจะ
นามาใช้ประกอบการตัดสินใจและวินิจฉัย ว่าจะปรับปรุง เปล่ียนแปลงหลักสูตรอย่างไรให้มีความ
เหมาะสมกบั สภาพการเปลย่ี นแปลงและแนวโน้มของการศึกษา เศรษฐกจิ สังคมและการเมอื ง
4. ช่วยให้ไดส้ ารสนเทศทีบ่ ่งบอกถึงประสิทธิภาพของหลักสูตรว่าเป็นอย่างไร คุ้มค่ากับการ
ลงทุนหรือไม่ ซึ่งจะนาไปสู่การตัดสินใจของผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องในการดาเนินการใช้หลักสูตร
ต่อไป ปรับปรงุ เปลย่ี นแปลง หรือยกเลิกหลักสตู ร
5. ชว่ ยใหเ้ กดิ การเสริมแรง สรา้ งพลังจูงใจให้กับผู้บริหารหลักสูตร ครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้อง
กับการใช้หลักสตู รเมื่อทราบสัมฤทธิผลของหลักสูตร จุดเด่น หรือจุดด้อยของหลักสูตรโดยจะมุ่งม่ัน
ปรับปรุง และพัฒนาการบริหารหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ
มาตรฐานสูงขึ้นซึง่ จะเกิดคุณค่าและประโยชนส์ งู สุดต่อผเู้ รียน หรือสถานศึกษา
1.2 ประเภทของการประเมินหลกั สูตร
การประเมินหลกั สูตรมหี ลายประเภท ข้นึ อยู่กับเกณฑ์ทีใ่ ช้ในการจาแนกประเภท ดงั น้ี
1. การจาแนกตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน แบ่งการประเมนิ หลักสูตรเป็น 2 ประเภท
คือ
1.1 การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation) เป็นการประเมินขณะ
กาลงั ดาเนินการใช้หลักสูตร โดยมุ่งตรวจสอบ กากับดูแลการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการ
สอนในแต่ละข้ันตอนของแผนการบริหารหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนการสอน ตลอดจน
การศึกษาความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค และข้อบกพร่องต่าง ๆ ในระหว่างการดาเนินการใช้
7
หลกั สตู ร เพอ่ื ให้ได้สารสนเทศสาหรับปรับปรุงกระบวนการบริหารและการจัดการเรียนการสอนให้
เปน็ ไปด้วยความราบรื่น สอดคลอ้ งกบั แผนหรอื มาตรฐานการดาเนนิ การใชห้ ลักสูตรท่ีกาหนดไว้
1.2 การประเมินผลสรุปรวม (summative evaluation) หรือประเมินผลสัมฤทธิ์
ของหลกั สูตร เปน็ การประเมนิ ผลสรปุ รวมของหลกั สูตรหลังจากดาเนินการใชห้ ลักสูตรครบวงจรแล้ว
เพ่ือให้ได้สารสนเทศสาหรับตัดสินผลสาเร็จของหลักสูตร ผลการประเมินจะเป็นประโยชน์ต่อการ
ตัดสนิ ใจวา่ ควรปรับปรุง พฒั นา เปลีย่ นแปลงหลักสตู รหรือไม่ อย่างไร
2. การจาแนกตามหลกั ทยี่ ดึ ในการประเมนิ แบ่งการประเมนิ หลกั สตู รออกเปน็ 2 ประเภท
คือ
2.1 การประเมินแบบอิงวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของหลักสูตร (goal based
evaluation) เป็นการประเมินทตี่ ดั สนิ คณุ คา่ ของหลกั สูตรโดยการเปรยี บเทียบผลผลิตของหลักสูตร
กับผลที่คาดหวังตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของหลักสูตรว่า บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
หรอื เป้าหมายท่ีกาหนดไว้หรือไม่ เพียงใด
2.2 การประเมินแบบไม่อิงวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของหลักสูตร (goal-free
evaluation) เป็นการประเมินผลทั้งหมดท่ีเกิดข้ึนจากการใช้หลักสูตร ไม่จาเป็นต้องกาหนด
วัตถุประสงค์ของการประเมินใหส้ อดคลอ้ ง กับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร กล่าวคือ การตัดสินคุณค่า
ของหลักสูตรควรเน้นท่ีการตีค่าของผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด (actual outcomes) ของหลักสูตร ซึ่ง
ประกอบดว้ ยผลทางตรง ผลทางออ้ ม หรอื ผลกระทบ โดยไมย่ ึดเฉพาะ การประเมนิ ผลท่ีคาดหวังตาม
วัตถปุ ระสงค์หรือเปา้ หมายของหลกั สูตร
3. การจาแนกตามช่วงเวลาของการดาเนินการหลกั สตู ร แบง่ การประเมินหลักสูตร
ออกเป็น 5 ประเภท คือ
3.1 การประเมินก่อนพัฒนาหลักสูตร เป็นการประเมินในข้ันตอนของการวางแผน
หลกั สูตร โดยมีจดุ มุ่งหมายเพือ่ การศกึ ษาวเิ คราะหข์ ้อมูลพ้ืนฐานที่จาเป็นสาหรับการพัฒนาหลักสูตร
โดยศึกษาความเหมาะสม ของหลักสูตรที่จะพัฒนา พิจารณาสภาพปัญหาและความจาเป็นในการ
พัฒนาหลักสูตรว่าหลักสูตรท่ีจะพัฒนานั้นมีความสอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา สภาพสังคม
เศรษฐกจิ การเมอื ง และการเปลยี่ นแปลงทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หรอื ไม่ อย่างไร ซึ่งอาจใช้
เทคนิคของการประเมินความต้องการจาเป็น (needs assessment) หรือใช้เทคนิคของการศึกษา
ความเป็นไปได้ (feasibility study)
3.2 การประเมินร่างหลักสูตรหรือการวิเคราะห์หลักสูตร (curriculum appraisal or
analysis) เป็นการตรวจสอบความเหมาะสม ความชัดเจนและความสมบูรณ์ของตัวหลักสูตรและ
เอกสารประกอบหลักสตู ร รวมท้งั ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างองค์ประกอบของหลักสูตร เช่น
ปรัชญา วัตถุประสงค์หรือจุดหมาย โครงสร้างของหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การจัดการเรียน
การสอน การวัดและประเมินผลการเรียน เป็นต้น ทั้งน้ี เพื่อจะได้ปรับปรุงหลักสูตรฉบับร่างให้มี
ความสมบรู ณม์ ากทส่ี ุดและพรอ้ มท่ีจะนาไปใชด้ าเนนิ การจัดการศึกษาตอ่ ไป
3.3 การประเมินก่อนการใช้หลักสูตร (intrinsic evaluation) เป็นการประเมินความ
พร้อมก่อนนาหลักสูตรไปใช้ โดยมุ่งเน้นประเมินความพร้อมและความพอเพียงด้านปัจจัยหรือ
ทรัพยากรในการใช้หลักสูตร เช่น ความพร้อมด้านบุคลากรทั้งจานวนและคุณลักษณะ ความพร้อม
ด้านเอกสารหลักสูตร ความพร้อมด้านระบบการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
รวมท้งั สงิ่ อานวยความสะดวกและปจั จัยสนบั สนนุ การใช้หลักสูตรและการจดั การเรยี นการสอน
8
3.4 การประเมินระหว่างการใช้หลักสูตร(ongoing evaluation) เป็นการประเมิน
กระบวนการใช้หลักสูตรเก่ียวกับการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการสนับสนุน
ส่งเสริมการใช้หลักสตู ร โดยมจี ดุ ม่งุ หมายเพื่อการศึกษาความก้าวหน้าของการใช้หลักสูตรเป็นช่วงๆ
(formative evaluation) ว่าการดาเนินการใช้หลักสูตรเป็นไปตามแผนดาเนินงานที่กาหนดไว้
หรือไม่ มปี ัญหาหรืออุปสรรคอยา่ งไรในแตล่ ะชว่ งของการดาเนินงาน ประเดน็ การประเมินที่เก่ียวกับ
การบริหารหลกั สตู ร ได้แก่ การวางแผนการใช้หลักสูตร การเตรียมความพร้อมของครูและบุคลากร
การนเิ ทศ การฝกึ อบรมและพฒั นาครูและบุคลากรเพ่มิ เตมิ ระหว่างการใช้หลกั สตู ร การจัดปัจจัยและ
ส่ิงสนับสนุนการใช้หลักสูตร ประเด็นการประเมินเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ ความรู้
ความสามารถของครู การจัดกจิ กรรม/พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ การจัดการช้ันเรียน การวัดและ
ประเมินผลการเรียน สารสนเทศท่ีได้จากการประเมินจะนามาใช้เพื่อการปรับปรุงการบริหาร
หลกั สูตรและการจดั การเรยี นการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.5 การประเมินหลังการใชห้ ลักสูตรครบวงจร (pay-off evaluation) เป็นการประเมิน
หลักสูตรท้ังระบบเมอ่ื การดาเนินการใช้หลักสูตรครบวงจรแล้ว โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการตรวจสอบ
ว่า ผลการดาเนินการใช้หลักสูตรได้รับความสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกาหนดไว้มาก
น้อยเพียงใด ตลอดจนการติดตามตรวจสอบผลกระทบหรือผลข้างเคียงว่ามีอะไรเกิดข้ึนตามมาอีก
บ้าง กล่าวโดยสรุป การประเมินหลังการดาเนินการใช้หลักสูตรครบวงจร มีจุดเน้นโดยเป็นการ
ประเมินผลท่ีเกิดข้ึน (outcome) และผลกระทบ (impact) ของหลักสูตร และเป็นการประเมินผล
สรุปรวมของหลักสูตรท้ังหมด (summative evaluation) คือการประเมินตั้งแต่การวางแผน
หลักสูตร การใชห้ ลักสูตร และผลผลติ ของหลกั สตู ร
4.การจาแนกตามส่ิงทถ่ี ูกประเมินโดยใชก้ ารประเมนิ แบบซปิ (CIPP Model) ของสตฟั เฟิล
บีม แบ่งการประเมนิ หลกั สตู รออกเปน็ 4 ประเภท คอื
4.1 การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (context evaluation) เป็นการ
ประเมินเกีย่ วกับนโยบาย เป้าหมาย สภาพเศรษฐกิจและสังคม ปัญหาและความต้องการของบุคคล
และหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับหลักสูตรว่า มีความสอดคล้องเอื้อต่อการจัดทาหลักสูตรหรือไม่
ตลอดจนทรัพยากรและข้อจากัดตา่ ง ๆ ในการดาเนินการใช้หลักสูตร สารสนเทศที่ได้นามาใช้ในการ
ตัดสินใจเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรให้มีความ
สอดคล้องกบั นโยบายหรือแผนการศึกษาและบริบทหรือสภาพของสังคม
4.2 การประเมินปัจจัยเบ้ืองต้น (input evaluation) เป็นการประเมินความพร้อมทั้ง
ในเชิงคุณภาพและความพอเพยี งของทรัพยากรตา่ ง ๆ ก่อนเรมิ่ ใชห้ ลักสตู รว่า มีทรัพยากรพร้อมที่จะ
ดาเนินการได้หรอื ไม่ สารสนเทศที่ได้นามาใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการบริหารหลักสูตรและการ
จดั การเรียนการสอน รวมทั้งวธิ ีการใช้ทรพั ยากรตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมเพือ่ ใหก้ ารดาเนินการใช้หลักสูตร
สามารถบรรลุตามวตั ถุประสงคท์ ีก่ าหนดไว้
4.3 การประเมินกระบวนการใช้หลักสูตร (process evaluation) เป็นการประเมิน
ระหว่างดาเนินการใช้หลักสูตร โดยมุ่งประเมินกระบวนการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการ
สอน และการส่งเสริมสนับสนุนการใช้หลักสูตร สารสนเทศท่ีได้นามาใช้ในการตัดสินใจเพ่ือการ
ปรับปรุงกระบวนการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการส่งเสริมสนับสนุนการใช้
หลักสูตรใหม้ ีประสิทธิภาพมากขึ้น
9
4.4 การประเมินผลผลิตหรือผลสัมฤทธ์ิของหลักสูตร (product evaluation) เป็น
การประเมินหลังจากการดาเนินการใช้หลักสูตรครบวงจรแล้ว ประกอบด้วยการประเมินผลลัพธ์
(output evaluation) โดยพิจารณาจากปริมาณและคุณภาพของผลผลิตเปรียบเทียบกับ
วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร สารสนเทศทไ่ี ดน้ ามาใช้ในการตดั สินคุณค่าของผลผลิตของหลักสูตรทั้งใน
ด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อการตัดสินใจว่า ควรจะดาเนินการใช้หลักสูตร ปรับปรุง พัฒนา
เปลี่ยนแปลงหลักสตู รหรือยกเลกิ หลกั สตู ร
จะเหน็ ได้ว่า ประเภทของการประเมินหลกั สูตรที่สาคัญๆ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 ประเภท
คอื (1) การประเมนิ กอ่ นเร่มิ พฒั นาหลักสูตรโดยมุ่งศึกษาความต้องการจาเป็นที่ตอ้ งพฒั นาหลกั สูตร
(2) การประเมนิ ความพร้อมก่อนการใช้หลักสูตรโดยมุ่งประเมนิ ปัจจัยเบื้องตน้ หรือทรพั ยากรในการ
ใช้หลกั สตู ร (3) การประเมินความกา้ วหนา้ และศกึ ษาปญั หา อุปสรรคในระหว่างการใชห้ ลักสตู ร และ
(4) การประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ของการใช้หลกั สูตร โดยมงุ่ ตรวจสอบการบรรลุวัตถปุ ระสงคห์ รือเป้าหมาย
ของหลักสูตร
1.4 กระบวนการประเมินหลกั สูตร
ในการประเมินหลกั สูตร ผู้ประเมินควรดาเนินงานตามขน้ั ตอน ดงั นี้
1. การศกึ ษาวิเคราะห์หลกั สูตรที่มุ่งประเมนิ ผปู้ ระเมินศึกษาวิเคราะห์ ทาความเขา้ ใจ
เกีย่ วกับหลักสูตรท่ีต้องการประเมิน โดยการศึกษาหลักสูตรและเอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง รวมท้ังอาจ
สอบถามข้อมูลจากผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาหลักสูตร การบรหิ ารหลักสตู รและการจัดการเรยี นการ
สอน ซง่ึ จะทาให้ผูป้ ระเมินมีความเขา้ ใจในแนวคดิ หลักการและเหตผุ ล จุดมุ่งหมาย เป้าหมายของ
หลักสูตรและการจดั การเรียนการสอน ทาใหม้ ีแนวทางในการออกแบบและวางแผนการประเมนิ
หลกั สตู รไดอ้ ยา่ งชัดเจนมากขนึ้ ในการศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลกั สูตรท่ีมงุ่ ประเมินให้พยายามตอบคาถาม
ตามประเด็น ตอ่ ไปนี้
1.1 หลักสูตรมีความเป็นมาอย่างไร ทาไมจึงต้องพัฒนาหลกั สูตรนี้ มีหลักการและ
เหตุผลอะไร รวมทั้งมีปญั หาและความต้องการอะไรจึงทาให้เกดิ หลกั สตู ร แลว้ คาดหวงั ว่าจะได้อะไร
จากหลกั สูตร
1.2 ลักษณะของหลักสูตรเป็นแบบใด เชน่ เป็นหลกั สูตรการจดั การศกึ ษาระดับใด
ประเภทใด เป็นหลักสูตรสถานศกึ ษา หรอื เปน็ หลักสตู รเฉพาะสาขาวชิ า/กลมุ่ สาระวชิ า หรอื เปน็
หลักสตู รการฝกึ อบรม เปน็ ตน้
1.3 วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของหลกั สตู ร คอื อะไร มคี วามชัดเจนสามารถปฏบิ ัติ
หรือประเมินได้หรอื ไม่
1.4 โครงสร้างของหลกั สูตรกาหนดกลมุ่ สาระ รายวชิ า จานวนหนว่ ยกติ ไวอ้ ยา่ งไร
1.5 ทรพั ยากรท่ีใช้ในหลักสูตรมีอะไรบา้ ง ไดร้ บั การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือจากบคุ คล
หรอื หนว่ ยงานใดบา้ ง
1.6 มกี ารกาหนดรปู แบบ วิธีการบรหิ ารหลกั สูตรและการจดั การเรียนการสอน
หรือไม่ อย่างไร ผู้บรหิ ารหรือผรู้ บั ผิดชอบเกย่ี วกับหลักสูตรมีใครบา้ ง มบี ุคลากรและองค์การอืน่
เกย่ี วข้องกับหลกั สตู รหรอื ไม่
1.7 ผ้ตู อ้ งการใชผ้ ลการประเมินหลกั สตู รมใี ครบ้าง มีความต้องการทีจ่ ะทราบและใช้
ผลการประเมนิ อย่างไร
10
1.8 มีการกาหนดเกณฑ์ในการประเมิน หรอื ตัวบง่ ชคี้ วามสาเร็จของหลักสูตรหรือไม่
ถ้ามี เกณฑ์หรอื ตัวบง่ ช้ีเหล่านน้ั คอื อะไร
2. การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการประเมนิ
การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับการประเมินจะทาให้ผู้ประเมินโดยเฉพาะผู้ประเมิน
มือใหม่มีฐานความคิดและมองเห็นแนวทางในการประเมินหลักสูตรได้ชัดเจนมากขึ้น สามารถ
ออกแบบและวางแผนการประเมินหลกั สตู รได้ครอบคลุม และเอือ้ ประโยชน์ตอ่ การใช้ผลการประเมิน
ได้มากขึ้น นอกจากน้ีผู้ประเมินควรจะได้ศึกษากรณีตัวอย่างการประเมินหลักสูตรที่มีลักษณะ
คล้ายคลึงกัน หรือใกล้เคียงกันด้วย รวมทั้งการศึกษารูปแบบการประเมินท่ีนักวิชาการทางการ
ประเมินได้เสนอไว้ ซึ่งจะทาให้ผู้ประเมินได้แนวคิดและมองเห็นแนวทางในการประเมิน มีความ
เช่ือมั่นและสามารถออกแบบการประเมนิ ได้อย่างคมชัดลกึ มากข้นึ เพราะรูปแบบการประเมินจะเป็น
กรอบแนวความคิดในการประเมินท่ีบ่งบอกให้ทราบว่า ในการประเมินหลักสูตรน้ัน ควรพิจารณา
ประเมนิ อะไรบ้าง (what) และในบางรูปแบบการประเมนิ อาจเสนอแนะถงึ วิธีการประเมนิ ตรวจสอบ
ดว้ ยวา่ ควรทาอย่างไร (how) ดงั ตวั อยา่ ง รปู แบบการประเมนิ ซิป (CIPP Model) ของสตัฟเฟิลบีมได้
เสนอแนะว่า ในการประเมนิ หลกั สตู รควรพจิ ารณาหรอื ตัดสินคุณค่าของหลักสูตร ใน 4 ประเด็น คือ
(1) การประเมินสภาวะแวดล้อมของหลักสตู ร (2) การประเมินปจั จัยเบอ้ื งตน้ หรอื ทรพั ยากรในการใช้
หลักสูตร (3) การประเมินกระบวนการใช้หลักสูตรและ (4) การประเมินผลผลิตของหลักสูตร
การศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับรูปแบบการประเมินต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้ประเมินสามารถออกแบบและวาง
แผนการประเมินได้อยา่ งสมเหตุสมผล มีความเชื่อมั่นในการดาเนินการประเมินหลักสูตรให้บรรลุผล
สาเรจ็ ได้
3. กาหนดวัตถปุ ระสงค์และตวั บ่งชกี้ ารประเมิน
หลังจากที่ผูป้ ระเมนิ ได้ศกึ ษาวเิ คราะห์ ทาความเข้าใจเก่ยี วกับหลักสูตรที่ต้องการประเมิน
และศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการประเมินแล้ว จะทาให้ทราบความชัดเจนว่าต้องการ
ประเมินเพื่ออะไร จึงกาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินหลักสูตร ในแต่ละวัตถุประสงค์ของการ
ประเมนิ ก็กาหนดตัวบ่งชีก้ ารประเมนิ วา่ จะประเมนิ อะไรบ้าง
4. การออกแบบการประเมนิ
การออกแบบการประเมินหลักสูตรเป็นการวางแผนการประเมินเพื่อกาหนดรูปแบบ
ขอบเขตและแนวทางการประเมินเพ่ือให้ได้สารสนเทศเก่ียวกับหลักสูตรที่มุ่งประเมิน ซ่ึง จะเน้น
ประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจเพอื่ การปรับปรุงพัฒนาและเปลี่ยนแปลงหลักสูตรต่อไป การออกแบบการ
ประเมนิ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพท่ีจะใหไ้ ด้คาตอบตรงตามวตั ถุประสงค์ของการประเมินหรือได้สารสนเทศท่ี
เปน็ ประโยชนต์ อ่ การตัดสนิ ใจ จะตอ้ งมอี งคป์ ระกอบท่สี าคัญ 3 ประการ คอื
4.1 การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design) เป็นการวางแผนเพื่อ
กาหนดว่า ในการประเมินหลักสูตรคร้ังนี้ มุ่งศึกษาประเด็นการประเมิน ตัวแปร หรือตัวบ่งชี้การ
ประเมนิ อะไรบา้ ง และจะใช้เครอ่ื งมือเก็บรวบรวมขอ้ มูล หรือวัดตัวแปรประเภทใดบ้าง ขั้นตอนนี้จึง
เป็นการกาหนดเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินให้มีความเหมาะสมหรือสอดคล้องกับ
ลักษณะของตัวแปรหรือตัวบ่งชี้การประเมิน เช่น แบบสอบถาม แบบทดสอบ หรือแบบวัดต่าง ๆ
เปน็ ตน้
11
4.2 การออกแบบการสมุ่ ตัวอย่าง (sampling design) หรือการเลือกผู้ให้ข้อมูลหลัก
(key informants) เป็นการวางแผนเพื่อกาหนดว่า ในแต่ละประเด็นการประเมิน ตัวแปรที่ศึกษา
หรอื ตวั บง่ ช้กี ารประเมินเหลา่ นั้น จะเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใดหรือใครจะเป็นผู้ให้ข้อมูล
ในกรณีของการประเมนิ หลกั สตู ร นิยมใช้กลมุ่ ตวั อย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) หรือผู้ให้
ขอ้ มลู หลัก ซงึ่ มักจะเป็นผเู้ กีย่ วข้องกบั หลักสูตรเป็นอยา่ งดี ท่สี ามารถจะใหข้ ้อมูลได้อยา่ งถูกต้อง ตรง
ประเด็น และชดั เจน
4.3 การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (analysis design) เป็นการวางแผนเพ่ือ
กาหนดว่า ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้จากเคร่ืองมือวัดแต่ละประเภทจะวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร ใช้
วธิ ีการทางสถติ ิอยา่ งไร หรือวเิ คราะห์ข้อมลู ดว้ ยสถิติชนิดใด
กล่าวโดยสรุปในการออกแบบการประเมินหลักสูตร เป็นการกาหนดแนวทางการ
ประเมินหลักสตู ร โดยผปู้ ระเมินจะต้องศึกษาวิเคราะห์ในแต่ละวัตถุประสงค์ของการประเมินว่า จะ
มุ่งศึกษาตัวแปร ประเด็นการประเมิน หรือตัวบ่งช้ีการประเมินใดบ้าง จะเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
แหล่งใด หรือใครเป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยใช้เครื่องมือวัดประเภทใดและจะนาข้อมูลมาวิเคราะห์
อย่างไร รวมทั้งจะตัดสินผลการประเมินโดยใช้เกณฑอ์ ะไร
5. การจัดทาโครงการประเมนิ หลักสตู ร
หลังจากผูป้ ระเมินไดอ้ อกแบบการประเมินหรือดาเนินการตามลาดับข้ันตอนที่ 1-4 แล้ว
จะต้องจัดทาโครงการประเมินหลักสูตร ซึ่งเป็นเอกสารท่ีได้จากการวางแผนการประเมินที่แสดง
กรอบแนวคิดและแนวทางในการดาเนนิ การประเมนิ หลักสตู รอย่างเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร ในโครงการ
ประเมินหลักสูตรจะมีส่วนประกอบหลายเรื่อง แต่ส่วนประกอบท่ีสาคัญคือกรอบแนวทางในการ
ประเมนิ หลักสูตร (พิชิต ฤทธิ์จรูญและคณะ 2550: 40-48)
6. การพัฒนาเครือ่ งมือเก็บรวบรวมขอ้ มลู
เปน็ ขั้นตอนของการเตรียมจัดหาหรือจัดทาเคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมิน
โดยตรวจสอบว่าเครื่องมือเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทีร่ ะบุไว้ในโครงการประเมนิ น้นั มีหรอื ยัง จะใช้เครื่องมือ
ท่ีมีผู้อ่ืนสร้างไว้แล้วหรือจะต้องสร้างขึ้นมาใหม่ เคร่ืองมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลจะต้องวัดได้ตรง
สอดคล้อง และครอบคลมุ กบั ประเดน็ การประเมนิ ตัวแปรหรอื ตวั บ่งชี้การประเมิน หากเคร่ืองมือที่มี
อยู่ไม่เหมาะสมท่ีจะใช้ ผู้ประเมินต้องสร้างเคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลขึ้นมาใหม่ โดยจะต้องมีการ
ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือวัด เช่น ตรวจสอบด้านความเป็นปรนัย ความยาก ( difficulty)
ความตรง (validity) ความเท่ียง (reliability) เปน็ ต้น
เทคนิควิธีและเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินมีหลายประเภท ผู้
ประเมินต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม ตรงกับการวัดตัวแปร ตัวบ่งช้ีหรือประเด็นการประเมิน และ
ลกั ษณะของผู้ใหข้ อ้ มูล เชน่ แบบทดสอบ แบบสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม
และการใช้มูลจากเอกสาร เป็นตน้ (สมคดิ พรมจุย้ , 2557)
7. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
เป็นการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจริง โดยใช้เคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลแต่ละ
ประเภทที่ได้พัฒนาขึ้น ซึ่งจะต้องมีการวางแผน ประสานงานกับผู้ให้ข้อมูล กาหนดช่วงระยะเวลา
วิธีการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจน เพ่ือให้การเก็บรวบรวมข้อมูลมีความถูกต้อง และ
สมบูรณ์ครบถ้วน ผู้ประเมินจะต้องใช้เทคนิควิธีและเคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นไปตาม
แผนการดาเนินงานที่กาหนดไว้ เพอ่ื ให้ทนั ตามเวลาทก่ี าหนดไว้
12
8. การวเิ คราะหข์ ้อมลู
เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้เพื่อให้ได้
คาตอบตามวัตถปุ ระสงค์ของการประเมินหลักสูตร วธิ ีการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ต้องพิจารณาให้สอดคล้อง
กับลกั ษณะของข้อมูล โดยท่ัวไปการวิเคราะห์ข้อมูลกระทาได้ 2 ลักษณะคือ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
เชิงปริมาณ โดยใช้สถิติเป็นเครื่องมือช่วย เช่น ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การ
ทดสอบนัยสาคัญทางสถิติด้วย t-test F-test เป็นต้น และ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ส่วนมากใชเ้ ทคนิคการวเิ คราะหเ์ นือ้ หา (content analysis)
9. การรายงานผลการประเมินหลกั สูตร
เปา้ หมายสาคัญของการประเมนิ หลกั สูตรก็เพ่ือนาสารสนเทศไปใช้ประกอบการตัดสินใจ
เก่ียวกับการปรับปรุงพัฒนา และเปล่ียนแปลงหลักสูตรให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมาย ผู้เรียน
ผู้ปกครอง หรือสังคม ผู้ประเมินจึงต้องนาเสนอรายงานผลการประเมินต่อผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้อง
เพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับหลักสูตรอย่างมีเหตุผลและเกิดประโยชน์สูงสุด รายงานผลการประเมิน
หลักสูตรแบ่งประเภทได้หลายลักษณะขึ้นอยู่กับเกณฑ์ท่ีใช้จาแนก ถ้าใช้เกณฑ์จาแนกตามบทบาท
ของการประเมินแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ รายงานการ ประเมินระหว่างดาเนินการใช้หลักสูตร
(formative report) หรือรายงานความก้าวหน้าการดาเนินการใช้หลักสูตร(progress report)และ
รายงานประเมินสรุปผลรวมหลังการใช้หลักสูตรครบวงจร (summative report) (Worthen and
Sanders, 1987 : 34) ถา้ ใชเ้ กณฑ์จาแนกตามลักษณะของการนาผลการประเมินไปใช้ แบ่งออกเป็น
3 ประเภท คือ (1) รายงานเชิงการบริหาร (executive report) หรือบทสรุปสาหรับผู้บริหาร
(executive summary report) เป็นรายงานการประเมินฉบบั ย่อที่นาเสนอเฉพาะประเด็นสาคัญต่อ
ผู้บริหารหรือผู้มีอานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตร ลักษณะของบทสรุปสาหรับผู้บริหาร อาจ
นาเสนอไว้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานการประเมินฉบับสมบูรณ์ หรือจัดทาแยกเป็นบทสรุปสาหรับ
ผบู้ รหิ ารเป็นการเฉพาะกไ็ ด้ มีเน้ือหาสาระประมาณ 3-15 หน้า (2)รายงานเชิงวิชาการ (academic
report) หรอื รายงานการวจิ ัยเชิงประเมิน (evaluative research report) เป็นรูปแบบของรายงาน
การประเมนิ หลักสตู รฉบับสมบรู ณ์ที่มจี ุดมุง่ หมายเพื่อใหผ้ ้เู ก่ียวข้องหรือผู้รับผิดชอบต่อหลักสูตรหรือ
ผู้อ่านโดยท่ัวไปได้ทราบรายละเอียดของการประเมินหลักสูตรอย่างครบถ้วน (3)บทความวิจัย
(research article) เป็นรายงานการประเมินหลักสูตรที่นาเสนอในรูปบทความวิจัย เพื่อเผยแพร่
ผลการวจิ ยั ประเมินหลักสูตรทจี่ ะเป็นประโยชนต์ อ่ วงการวิชาการหรือวงการวชิ าชพี ให้กว้างขวางมาก
ข้ึน โดยนาเสนอในเอกสารการประชุมทางวิชาการหรือวารสารทางวิชาการ มีความยาว 15 – 20
หน้า
1.5 การนาผลการประเมินหลกั สตู รไปใช้
การนาผลการประเมินหลักสตู รไปใช้ มีวัตถุประสงค์สาคัญเพื่อให้ผู้บริหารและบุคคลที่
เก่ียวข้องในระดับต่างๆได้รับรู้และใช้สารสนเทศจากการประเมินเพ่ือการตัดสินใจในส่งเสริม
สนับสนนุ และดาเนนิ การพฒั นาหลกั สตู รและการใช้หลกั สูตรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การนาผลการ
ประเมนิ หลกั สูตรไปใช้จะมคี วามสาคัญตอ่ การตดั สนิ ใจกอ่ นริเริม่ การพัฒนาหลกั สูตร การปรับปรุงตัว
หลักสูตรให้มีความสมบูรณ์ การจัดทรัพยากรในการใช้หลักสูตรให้มีความเหมาะสม เพียงพอ การ
ปรบั ปรุงกระบวนการใช้หลักสูตร และการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับอนาคตของหลักสูตรเมื่อใช้หลักสูตรครบ
วงจร
13
1. ลักษณะของการนาผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
การนาผลการประเมินหลักสูตรไปใช้เพ่ือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารหรือ
ผ้เู กย่ี วขอ้ งในการเลอื กทางเลอื กในการดาเนินการเก่ียวกับหลักสูตร สามารถทาได้ในลักษณะต่าง ๆ
ดังนี้
1.1 การนาผลการประเมินไปใช้เพื่อการพัฒนาหลักสูตร โดยหน่วยงานทาง
การศึกษาหรือสถานศึกษาได้ใช้สารสนเทศจากการประเมินก่อนการพัฒนาหลักสูตร ประกอบการ
ตัดสินใจในการริเร่ิมพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้ได้หลักสูตรที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสมกับสภาพ
ปจั จุบันและตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และสังคม โดยผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้อง
จะตอ้ งแสวงหาสารสนเทศใหค้ รบถ้วน เพยี งพอตอ่ การพฒั นาหลักสูตรซึ่งจะต้องมีการประเมินความ
ต้องการจาเป็น หรือการประเมินสภาวะแวดล้อมของหลักสูตร เพ่ือให้มีเหตุผลท่ีเพียงพอและเกิด
ความมั่นใจตอ่ การพัฒนาหลกั สตู ร
1.2 การนาผลการประเมินไปใช้เพื่อจัดทรัพยากรในการใช้หลักสูตร ก่อนการนา
หลักสูตรไปใช้ ผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องจะต้องจัดปัจจัยหรือสนับสนุนทรัพยากรสาหรับการใช้
หลักสูตรให้มีความเหมาะสม อย่างพอเพียง และมีความพร้อม รวมท้ังความมีคุณภาพของปัจจัย
เพ่ือให้การนาหลักสูตรไปใช้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้วยเหตุน้ี ผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องจึง
ตอ้ งมกี ารประเมินปัจจยั หรอื ทรพั ยากรในการใช้หลกั สูตร และใชข้ อ้ มูลผลการประเมินนี้เพ่ือตัดสินใจ
เกี่ยวกบั การจัด ปรบั เปล่ียนปัจจัยหรือทรัพยากรให้เอื้ออานวยต่อการใช้หลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ
มากท่ีสดุ
1.3 การนาผลการประเมนิ ไปใช้เพ่ือการปรับแผน กระบวนการหรือวิธีดาเนินการใช้
หลักสูตร ในระหว่างการดาเนนิ การใชห้ ลกั สตู ร ผูบ้ ริหารหรอื ผู้เกี่ยวข้องจะต้องมีสารสนเทศเกี่ยวกับ
สภาพการใช้หลกั สตู ร ปัญหา อปุ สรรค จดุ เด่น จุดด้อยของกระบวนการหรือวิธีการบริหารหลักสูตร
และการจัดการเรียนการสอน จึงต้องมีการประเมินกระบวนการ ศึกษาความก้าวหน้า หรือปัญหา
อุปสรรคในการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน แล้วใช้สารสนเทศดังกล่าวนี้ เพื่อ
ประกอบการตดั สนิ ใจปรบั แผน กระบวนการ วิธีการบริหารหลักสตู รและการจัดการเรียนการสอนให้
มคี วามเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้นึ
1.4 การนาผลการประเมินไปใชเ้ พ่ือตัดสนิ ประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธิภาพของหลักสูตร
หลงั จากทีผ่ ู้บรหิ ารหรือผเู้ ก่ียวขอ้ งไดด้ าเนินการใช้หลักสูตรครบวงจรแล้ว ก็จะต้องมีการประเมินผล
การใช้หลักสูตรท้ังระบบและใช้สารสนเทศจากผลการประเมินตัดสินคุณ ค่า หรือตรวจสอบ
ประสทิ ธผิ ลและประสิทธิภาพของหลักสตู ร ซึ่งจะนาไปสู่การตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้เก่ียวข้องใน
การปรับปรงุ พฒั นา เปลีย่ นแปลง หรอื ยกเลกิ หลักสูตร
2. แนวปฏิบตั ใิ นการนาผลการประเมินหลกั สตู รไปใช้
ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้มีอานาจใน การตัดสินใจเก่ี ยวกับหลักสูตรควรนาผลการ
ประเมนิ หลักสูตรไปใช้ประกอบการตัดสนิ ใจเก่ยี วกับหลักสูตร ดงั น้ี
2.1 สารสนเทศจากการประเมินหลักสูตรท่ีจะนามาใช้จะต้องมีความตรงประเด็นหรือ
เก่ยี วข้อง (relevant) กับเรอื่ งท่จี ะนาไปใช้ในการตัดสินใจ มปี ระโยชน์ (useful) ต่อการตัดสินใจ ทา
ใหผ้ ู้บริหารสถานศึกษาหรอื หนว่ ยงานทางการศึกษาเช่ือมั่นต่อการตัดสินใจว่าจะไม่มีความผิดพลาด
และก่อใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ผ้เู รียน ผ้ปู กครอง และสงั คมโดยส่วนรวม
14
2.2 สารสนเทศจากการประเมินหลักสูตรจะต้องมีความเป็นปัจจุบัน ทันสมัย และ
จะต้องทันเวลา (timely) หรือทันเหตุการณ์ต่อการตัดสินใจที่จะไม่ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อ
สถานศึกษา การใช้หลักสตู ร และการจดั การเรยี นการสอน รวมท้ังผ้เู รยี น ผูป้ กครอง และสังคม
2.3 สารสนเทศจากการประเมนิ หลักสตู รจะตอ้ งมคี วามถกู ต้อง ชัดเจน สื่อความหมาย
ไดด้ ี และเขา้ ใจได้งา่ ยรวมท้ังมีความครอบคลุม เพียงพอต่อการตัดสินใจ ช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจได้
อย่างม่นั ใจว่าถกู ตอ้ ง เปน็ ประโยชน์ต่อสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องกับหลักสูตรและการจัดการเรียน
การสอน
2.4 ควรจดั ระบบการใชส้ ารสนเทศ โดยต้องมีการวางแผนการประเมินล่วงหน้าควบคู่
กับการวางแผนการใช้หลักสูตร มีกระบวนการหรือกิจกรรมท่ีผลักดัน ส่งเสริมให้เกิดการประเมิน
หลักสูตรและการใชส้ ารสนเทศจากการประเมนิ ทีร่ วดเรว็ และคล่องตัว
2.5 สร้างความตระหนักให้เห็นคุณค่าของสารสนเทศจากการประเมินหลักสูตร โดย
จะต้องมีกลไกหรือกิจกรรมสร้างความตระหนักให้เห็นคุณค่าการใช้สารสนเทศจากการประเมิน
ประกอบการตดั สินใจแกผ่ ู้บรหิ ารและผูเ้ ก่ียวขอ้ งกับหลกั สูตร
2.6 สร้างวฒั นธรรมการเรียนรู้ร่วมกัน การทางานแบบมีส่วนร่วมและการร่วมคิดร่วม
ทา (participation & collaboration) โดยการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดาเนินงาน
ร่วมประเมิน ร่วมใช้สารสนเทศจากการประเมินหลักสูตรย้อนกลับเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
หลักสตู ร การบรหิ ารหลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอนอย่างตอ่ เน่อื ง
2.7 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนของ
สถานศึกษาและหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง โดยการจัดทาฐานข้อมูลเก่ียวกับหลักสูตรและการใช้หลักสูตร
ตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็นระบบทม่ี ีความครอบคลมุ รวดเรว็ ตอ่ การตัดสินใจเกีย่ วกบั หลกั สูตร
2.8 กาหนดแผนและปฏิทินความต้องการสารสนเทศของสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ งเพื่อกากบั (monitoring) การประเมินหลักสูตร และการนาสารสนเทศจากการประเมินมา
ใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้มีอานาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตรให้มี
ประสิทธิภาพ
2.9 สร้างระบบหรือกลไกในการส่งเสริมการใช้สารสนเทศจากการประเมินเก่ียวกับ
หลกั สตู รและการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ผลการประเมนิ ทัง้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
บทบาทของผบู้ รหิ ารและบุคลากรท่เี กีย่ วข้องกับการประเมินหลกั สตู ร
ในการประเมนิ หลักสูตร มีผูเ้ ก่ียวข้องหลายระดับท้ังผู้บริหารระดับนโยบาย ผู้บริหารระดับ
เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผ้ปู ระเมินหรอื คณะกรรมการประเมินหลักสูตร ครู อาจารย์
ผสู้ อน ซ่ึงจะมีบทบาทที่เกีย่ วข้องกบั การประเมินหลกั สตู ร ดงั นี้
1. ผู้บริหารระดับนโยบาย ควรมบี ทบาทเกี่ยวข้องกับการประเมินหลักสูตรในลักษณะของ
การส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการพัฒนาหลักสูตรและใช้หลักสูตรได้มีการ
ประเมินหลักสูตรและนาผลการประเมินหลักสูตรมาใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุง และพัฒนา
หลักสูตร การบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนและเป็นผู้ใช้
สารสนเทศจากการประเมนิ หลกั สูตรเพอื่ การตดั สนิ ใจในเชิงนโยบายเกีย่ วกบั หลกั สูตร
2. ผูบ้ รหิ ารระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ควรมีบทบาทเก่ียวข้องกับการประเมินหลักสูตรโดย
สนับสนุนให้สถานศึกษาประเมินหลักสูตรและนาผลการประเมินหลักสูตรมาใช้ประโยชน์ นิเทศ
ติดตามผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่ องเพื่อให้บุคลากรในสถานศึกษาสามารถ
15
ดาเนินการประเมนิ หลักสูตรได้และใชป้ ระโยชนจ์ ากผลการประเมินได้อย่างคุ้มค่า สังเคราะห์ผลการ
ประเมินหลักสูตรสถานศึกษาหรือประเมินผลหลักสูตรของสถานศึกษาโดยภาพรวมของเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา เพื่อให้ได้สารสนเทศสาหรับการตัดสินใจเชิงนโยบายในการส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร
และการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
3. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ควรมีบทบาทเก่ียวข้องกับการประเมินหลักสูตรโดยสนับสนุนให้มี
การประเมินหลักสูตรและใชผ้ ลการประเมินหลักสูตรเพื่อปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การ
บรหิ ารหลกั สูตรและการ
จัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประเมินตนเองในการใช้หลักสูตร
สถานศึกษา พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการประเมิน จัดทาระบบ
สารสนเทศเพอื่ การตดั สินใจเกย่ี วกบั หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา เป็นผู้ใช้ผลการ
ประเมินหลักสูตรเพื่อตัดสินใจในเชิงการบริหารเกี่ยวกับหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ให้มี
ประสทิ ธภิ าพ รวมท้ังรายงานผลการประเมินหลักสูตรต่อคณะกรรมการสถานศึกษาเพ่ือให้ทราบผล
การใชห้ ลกั สูตรและนาไปส่กู ารตัดสินใจเก่ยี วกับหลักสตู รสถานศกึ ษา
4. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ควรมีบทบาทเก่ียวข้องกับการประเมินหลักสูตรโดยให้
ความรว่ มมอื และสนบั สนุนคณะการประเมินหลกั สตู รให้สามารถดาเนินการประเมินเป็นไปตามแผน
หรือโครงการประเมินหลักสูตร และเป็นผู้ใช้สารสนเทศจากการประเมินเพ่ือตัดสินใจเกี่ยวกับการ
ส่งเสริม พัฒนาหลักสูตร การบริหารหลักสูตร และการจดั การเรยี นการสอนในสว่ นทเ่ี กยี่ วข้อง
5. ผู้ประเมนิ หรอื คณะกรรมการประเมินหลักสูตร ควรมีบทบาทเก่ียวข้องกับการประเมิน
หลักสูตร โดยศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาตนเองให้มีความเข้าใจและมีทักษะในการประเมินหลักสูตร
จดั ทาแผนหรอื โครงการประเมนิ หลกั สตู ร พฒั นาเครื่องมือการประเมนิ ดาเนนิ การประเมินให้เป็นไป
ตามโครงการประเมินหลักสูตร จัดทารายงานผลการประเมินหลักสูตรและนาเสนอผลการประเมิน
ต่อผู้บรหิ ารและผู้เกยี่ วข้องเพ่ือนาไปส่กู ารตดั สินใจเกยี่ วกับหลกั สูตรปฏิบตั ิการประเมินให้เป็นไปตาม
หลกั การทางวิชาการและจรรยาบรรณในการประเมนิ
6. ครู อาจารย์ผูส้ อน ควรมบี ทบาทเกีย่ วข้องกบั การประเมินหลักสูตร โดยร่วมศึกษาเรียนรู้
และพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความเข้าใจในการประเมินหลักสูตร ให้ความร่วมมือในการประเมิน
หลกั สูตร โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ตามสภาพความเป็นจริง
เพอื่ ให้ผลการประเมินมีความตรงและเช่ือถอื ได้
การประเมินหลกั สูตรเป็นกระบวนการท่จี ะช่วยให้ได้สารสนเทศเกี่ยวกับหลักสูตรซึ่งจะเป็น
ประโยชนต์ ่อผบู้ ริหาร ครผู ู้สอนและผู้เกี่ยวข้องได้ใช้ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตร ท้ังก่อน
เริ่มพัฒนาหลักสูตร ก่อนการใช้หลักสูตรโดยจัดปัจจัยหรือทรัพยากรให้มีความพร้อมหรือความ
พอเพียง ระหว่างการใช้หลักสูตรโดยปรับปรุงและพัฒนากระบวนบริหารหลักสูตรและการจัดการ
เรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขึ้น และหลังการใชห้ ลักสูตรครบวงจรแล้วการประเมินจะช่วยให้
ได้สารสนเทศเก่ียวกับสัมฤทธิผลของหลักสูตร จุดเด่น จุดด้อยของหลักสูตรซ่ึงจะช่วยให้ผู้บริหาร
ครผู สู้ อนและผเู้ กยี่ วขอ้ งตดั สนิ ใจปรับปรงุ พัฒนาหรือเปล่ียนแปลงหลักสูตรอย่างมีเหตุผลด้วยความ
รอบคอบและเป็นประโยชนต์ ่อผูเ้ รยี น ผ้ปู กครองและสังคม ในการประเมินหลักสูตรจะต้องออกแบบ
วางแผนและดาเนินการประเมินอย่างเป็นระบบ มีความถูกต้อง มีความเหมาะสม และมีความ
น่าเช่ือถือในสารสนเทศจากผลการประเมิน ซึ่งกว่าจะได้สารสนเทศมาจะต้องลงทุนท้ังกาลังสมอง
สติปัญญา กาลังใจ เวลาและงบประมาณ ผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร จึงควรให้การ
16
สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้เกิดการประเมินหลักสูตรและนาสารสนเทศจากการประเมินมาใช้ประกอบการ
ตัดสินใจเพื่อการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้มี
ประสทิ ธิภาพอยา่ งคุม้ ค่า เกดิ ประโยชนต์ ่อสถานศกึ ษา และผ้เู รยี น ผปู้ กครองและสงั คมให้มากท่ีสดุ
2. หลักสูตรโรงเรียนบ้านไผ่ พุทธศักราช 2557 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2.1. ความนา
หลักสตู รโรงเรียนบ้านไผ่ (ฉบบั ปรับปรุง 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 จัดทาข้ึนเพอื่ ให้สอดคล้องกบั การเปลยี่ นแปลงมาตรฐานและตัวช้ีวัดที่
เปล่ียนแปลงไป และเพื่อให้การจัดการศึกษาสอคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม สภาพแวดลอ้ ม และความรทู้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญกา้ วหนา้ อย่างรวดเร็ว มุ่ง
พัฒนาเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของผเู้ รียนใหส้ ามารถเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษท่ี 21
และทัดเทียมกับนานาชาติ โดยพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณภาพด้านความรู้ ทักษะที่จาเป็นสาหรับการ
ดารงชวี ิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีคุณค่า และมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง บนพ้ืนฐานความเป็นไทย และความเป็นสากล มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้
คุณธรรมและมีจิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและเปน็ พลโลก แสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามมาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard
School) คือ ผู้เรียนเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้าหน้าทางความคิด ผลิต
งานอย่างสร้างสรรค์ และรว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก
โรงเรียนบ้านไผ่ เป็นโรงเรียนท่พี ฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ตามมาตรฐานการศึกษาขั้น
พื้นฐานและตามมาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) ได้จัดทา
และพัฒนาหลักสูตร ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน คุณลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
พันธกิจ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชว้ี ัด รวมถงึ จัดใหส้ อดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รียนแต่ละคน
วสิ ยั ทัศน์
มุ่งม่ันพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง ด้วยการ
บรหิ ารงานตามเกณฑ์รางวัลคณุ ภาพ OBECQA
พนั ธกิจ
1. เสรมิ สร้างการมีระเบียบวินยั ใฝ่เรยี นรู้ และอยอู่ ย่างพอเพียงให้แก่นกั เรียน
2. ส่งเสริมกระบวนการบรหิ ารงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ OBECQA
3. ส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรทู้ เี่ นน้ ให้นกั เรียนมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ ง
พอเพยี ง
4. ระดมทรพั ยากร และสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
กลยทุ ธ์
1. สง่ เสริมกจิ กรรมทเ่ี น้นวินยั ใฝ่เรียนรู้ การอยูอ่ ย่างพอเพยี ง และคณุ ลกั ษณะอัน
พงึ ประสงค์แก่ผู้เรยี น
2. พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและสมรรถนะสาคัญของนกั เรยี นตามมาตรฐานการจัด
การศึกษา
17
3. ส่งเสรมิ กิจกรรมท่ีพฒั นาคุณภาพนักเรยี นสู่ประชาคมอาเซียน ไดแ้ ก่ 1) ฝึกคิดทา
อย่างสมดุล 2) เพิม่ พนู จิตสาธารณะ 3) ใหอ้ ิสระจินตนาการ 4) ยึดโยงคุณภาพมาตรฐาน 5)อ่าน
เขียนคิดเลขคล่อง 6) สอื่ สารสองภาษา 7) พัฒนา ICT อยา่ งเทา่ ทัน 8) ครบครันสมรรถนะด้าน
อาชีพ 9) สอ่ งประทีปสอู่ าเซยี น)
4. สง่ เสรมิ การบริหารจดั การศกึ ษาแบบมีสว่ นร่วมจากครู-บคุ ลากร กรรมการ
สถานศกึ ษา องคก์ รชุมชนผปู้ กครอง และผูท้ ีเ่ กย่ี วข้อง
5. พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์รางวลั คณุ ภาพ OBECQA
6. พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการจัดการศึกษาภายในสถานศกึ ษาให้มี
ประสิทธิภาพ
7. พัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรทู้ ่ีเน้นนกั เรยี นเป็นสาคัญ เสริมสรา้ งวนิ ยั ใฝ่
เรียนร้แู ละการอยู่อย่างพอเพยี งแกน่ ักเรยี น
8. ส่งเสรมิ การวิจยั ในชั้นเรียนเพื่อพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ของนกั เรยี น
9. สง่ เสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรมจริยธรรมและพฒั นาความรู้ความสามารถของผู้บริหาร ครู
และ บุคลากรตามจรรยาบรรณวิชาชพี
10. ระดมทรัพยากรในการจัดการศึกษาให้พอเพียงและมีประสิทธิภาพ
(งบประมาณ/บคุ ลากร/วิทยากร/แหลง่ เรยี นร/ู้ โรงเรยี นคขู่ นาน)
11. พัฒนาสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอ้ือต่อการเรียนรู้
อยา่ งต่อเนื่อง
12. พัฒนาเครอื ข่ายการเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพ
จุดหมายหลกั สตู ร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี
ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ
ผู้เรียน เมอ่ื จบการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ดังน้ี
1. มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวติ
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มสี ุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4. มีความรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มนั่ ในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม
อยา่ งมีความสขุ
18
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ของนักเรียนโรงเรยี นบา้ นไผ่
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และร้รู ักสามัคคี
2. ซื่อสตั ย์สุจริต และกตัญญูกตเวที
3. มวี ินยั และมีความรับผิดชอบ
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ิตสารธารณะ และมภี าวะผนู้ า
คุณลกั ษณะโรงเรียนมาตรฐานสากล
1. ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) (เป็นเลิศวิชาการ ส่ือสารได้
อยา่ งนอ้ ยสองภาษา ลา้ หนา้ ทางความคดิ ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก)
2. การจัดการเรียนการสอนเทียบเคยี งมาตรฐานสากล (World-Class Standard)
3. บริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ (Quality System Management)
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านไผ่ ยึดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งให้
ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสอื่ สาร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม
ในการ ใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อ
แลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม
รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล
ขา่ วสารดว้ ย หลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธีการส่ือสาร ที่มีประสิทธิภาพโดย
คานงึ ถึงผลกระทบท่มี ีตอ่ ตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพ่อื นาไปสู่การสร้างองค์
ความรู้หรอื สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคท่ี
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสมั พันธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา
ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ ที่
เกิดขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดล้อม
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไป
ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการ
อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ
ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรูจ้ กั หลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมทไ่ี ม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่
19
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้
การส่ือสาร การทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม
การจัดการเรยี นการสอนสาระเพม่ิ เตมิ ทม่ี ีความเปน็ สากล
โรงเรียนได้พัฒนาหลักสูตรให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระ
การศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ทุกรายวชิ า และสาระเพ่ิมเติม 3 รายวิชา
ได้แก่
1. การศึกษาค้นคว้าและการสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation :
IS1)
2. การสือ่ สารและการนาเสนอ (Communication and Presentation : IS1)
3. การนาองคค์ วามรู้ไปใชบ้ ริการสังคม (Social Service Activity : IS3)
ในการจัดการเรยี นการสอนได้ใช้กระบวนการเรยี นรูบ้ นั ได 5 ขัน้
2.2 มาตรฐานการเรยี นรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุ
ปญั ญา หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา
6. ศลิ ปะ
7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี
8. ภาษาต่างประเทศ
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ม่งุ ให้ผู้เรียนได้พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้าน
เพ่ือความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มี
ศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม
สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งมีความสขุ
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น แบ่งเปน็ 3 ลักษณะ ดงั น้ี
1. กิจกรรมแนะแนว
เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม
สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ
สามารถปรับตนได้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนย้ี ังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมท่ี
ชว่ ยเหลอื และใหค้ าปรึกษาแก่ผปู้ กครองในการมสี ว่ นร่วมพัฒนาผูเ้ รยี น
20
2. กจิ กรรมนกั เรียน
เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ ดี ความ
รับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การ
ช่วยเหลือ แบ่งปันกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด
และ ความสนใจของผู้เรียน ใหไ้ ดป้ ฏบิ ตั ิด้วยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน
ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความ
เหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของโรงเรียนและท้องถ่ิน กิจกรรมนักเรียน
ประกอบดว้ ย
2.1 กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชา
ทหาร
2.2 กิจกรรมชุมนุม/ชมรม
3. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
เปน็ กจิ กรรมทีส่ ่งเสริมให้ผู้เรยี นบาเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คม ชมุ ชน
และทอ้ งถิ่นตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพอ่ื แสดงถึงความรบั ผิดชอบ ความดีงาม ความ
เสียสละตอ่ สงั คม มีจิตสาธารณะ เชน่ กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กจิ กรรมสร้างสรรค์สงั คม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปีละ 120 ชั่วโมง และช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จานวน 360 ชั่วโมงนั้น เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรม
นักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพ่ือสังคมและ
สาธารณประโยชน์ใหโ้ รงเรยี นจดั สรรเวลาให้ผ้เู รยี นได้ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ดังน้ี
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-3) รวม 3 ปี จานวน 45 ช่วั โมง
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชวั่ โมง
2.3 การจัดการเวลาเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนข้ันต่า
สาหรบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ซึ่งโรงเรยี นสามารถเพ่มิ เตมิ ไดต้ ามความ
พรอ้ มและจดุ เน้น โดยสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของโรงเรียนและสภาพของผู้เรยี น ดังนี้
21
โครงสร้างเวลาเรยี น ตามหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านไผ่ 2557
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช พ.ศ. 2551
เวลาเรยี น
กลุ่มสาระการเรยี นรู้/ กิจกรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4–6
กลุม่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
วิทยาศาสตร์ 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 280 (7 นก.)
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.)
- ประวัติศาสตร์ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) นก.) 81 (2
- ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
- หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และ 120 (3นก.) 120 (3 นก.) 120 (3นก.) 240 (6 นก.)
การดาเนินชีวิตในสงั คม
- ภูมิศาสตร์
- เศรษฐศาสตร์
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3นก.)
ศลิ ปะ 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.)
การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 40 (1นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.)
ภาษาตา่ งประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 1,640 (41
นก.)
2,640 (66 นก.)
รายวิชาเพ่มิ เติม ตามโครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนกาหนด ตามโครงสร้าง
หลกั สูตร
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 120 120 120
- กิจกรรมแนะแนว 120 120 120 โรงเรียนกาหนด
- กจิ กรรมนักเรียน/ชุมนุม
- ลกู เสอื –เนตรนาร,ี ไมน่ ้อยกว่า 1,200 ชัว่ โมง/ปี 360
ยุวกาชาด,ผู้บาเพ็ญประโยชน์
360
กจิ กรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ รวม 3 ปี
รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ไมน่ ้อยกว่า
3,600 ช่ัวโมง
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด
22
การจัดการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรเู้ ป็นกระบวนการสาคญั ในการนาหลักสตู รสู่การปฏบิ ตั ิ หลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลกั สูตรทม่ี ีมาตรฐานการเรยี นรู้
สมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียน เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเดก็ และ
เยาวชน
ในการพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณสมบัตติ ามเปา้ หมายหลกั สตู ร ผู้สอนพยายามคดั สรร
กระบวนการเรยี นรู้ จดั การเรยี นรูโ้ ดยช่วยใหผ้ ้เู รยี น เรยี นรผู้ ่านสาระทก่ี าหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ รวมทง้ั ปลูกฝงั เสริมสร้างคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ พัฒนาทักษะตา่ งๆ อนั เปน็
สมรรถนะสาคญั ใหผ้ ้เู รียนบรรลุตามเปา้ หมาย
1. หลกั การจัดการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้
และพัฒนาตนเองได้ ยดึ ประโยชนท์ ี่เกดิ กับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และ
พัฒนาการทางสมอง เนน้ ให้ความสาคญั ทัง้ ความรู้ และคุณธรรม
2. กระบวนการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการ
เรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย เปน็ เครอ่ื งมอื ทจ่ี ะนาพาตนเองไปสเู่ ป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้
ท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณากา ร กระบวนการสร้างความรู้
กระบวนการคดิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการ
เรียนรู้ จากประสบการณจ์ รงิ กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย
กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ยั
กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการ
ฝึกฝน พัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร
ดังนน้ั ผู้สอน จงึ จาเป็นต้องศกึ ษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้
ในการจดั กระบวนการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
3. การออกแบบการจัดการเรยี นรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรโรงเรียนให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน
แล้วจงึ พิจารณาออกแบบการจัดการเรยี นรู้โดยเลอื กใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้
การวดั และประเมินผล เพื่อให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายท่กี าหนด
4. บทบาทของผู้สอนและผเู้ รยี น
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ท้ังผู้สอน
และผู้เรียนควรมีบทบาท ดังนี้
23
4.1 บทบาทของผู้สอน
1) ศึกษาวิเคราะห์ผูเ้ รียนเปน็ รายบคุ คล แลว้ นาข้อมูลมาใชใ้ นการวางแผน
การจดั การเรยี นรู้ ทที่ ้าทายความสามารถของผูเ้ รียน
2) กาหนดเป้าหมายทต่ี ้องการใหเ้ กดิ ขึ้นกับผ้เู รยี น ด้านความรแู้ ละทกั ษะ
กระบวนการ ทเ่ี ปน็ ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พันธ์ รวมทั้งคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและพฒั นาการทางสมอง เพอื่ นาผู้เรยี นไปสเู่ ป้าหมาย
4) จัดบรรยากาศทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ และดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนให้เกิดการ
เรียนรู้
5) จัดเตรยี มและเลอื กใช้ส่ือให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภมู ิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยีท่เี หมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน
6) ประเมินความก้าวหนา้ ของผ้เู รียนด้วยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาตขิ องวิชาและระดับพฒั นาการของผเู้ รยี น
7) วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ มาใช้ในการซอ่ มเสรมิ และพฒั นาผเู้ รียน รวมทง้ั
ปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผเู้ รียน
1) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผดิ ชอบการเรียนรูข้ องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหลง่ การเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อความรู้
ตัง้ คาถาม คิดหาคาตอบหรอื หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวธิ ีการต่าง ๆ
3) ลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ สรุปสิ่งทีไ่ ด้เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง และนาความรูไ้ ประยกุ ต์ใช้
ในสถานการณต์ ่างๆ
4) มปี ฏสิ มั พนั ธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกบั กลมุ่ และครู
5) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรียนรขู้ องตนเองอยา่ งต่อเน่ือง
2.4 สอ่ื การเรยี นรู้
ส่ือการเรยี นรเู้ ปน็ เครอื่ งมอื สง่ เสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียน
เขา้ ถงึ ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลกั สูตรไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
ส่ือการเรยี นร้มู หี ลากหลายประเภท ท้ังสื่อธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ์ สอื่ เทคโนโลยี และเครือข่าย การ
เรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และ
ลลี าการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายของผู้เรียน
การจัดหาส่ือการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาข้ึนเอง หรือ
ปรบั ปรงุ เลอื กใชอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพจากสือ่ ต่างๆ ทีม่ อี ยู่รอบตัวเพือ่ นามาใชป้ ระกอบในการจัดการเรียนรู้
ท่ีสามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยโรงเรียนควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพ่ือ
พัฒนาใหผ้ ้เู รียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง โรงเรียน เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
และผู้มหี นา้ ที่จดั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ควรดาเนินการดังน้ี
1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ส่ือการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และ
เครือข่ายการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในโรงเรียนและในชุมชน เพ่ือการศึกษาค้นคว้าและการ
แลกเปลยี่ นประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหว่างโรงเรยี น ท้องถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก
24
2. จัดทาและจัดหาส่ือการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้
ผู้สอน รวมท้งั จดั หาส่ิงท่ีมีอยูใ่ นทอ้ งถิน่ มาประยุกตใ์ ช้เปน็ สอื่ การเรียนรู้
3. เลือกและใช้สื่อการเรยี นร้ทู ี่มคี ุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย
สอดคลอ้ ง กับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของ
ผู้เรยี น
4. ประเมนิ คุณภาพของสื่อการเรยี นรู้ทีเ่ ลอื กใช้อย่างเป็นระบบ
5. ศึกษาคน้ ควา้ วจิ ยั เพือ่ พฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของ
ผู้เรยี น
6. จดั ใหม้ กี ารกากบั ติดตาม ประเมนิ คุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับส่ือและการใช้
สื่อการเรยี นร้เู ปน็ ระยะๆ และสม่าเสมอ
ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ทใ่ี ช้ในโรงเรยี น ควร
คานงึ ถึงหลักการสาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกบั หลักสตู ร วัตถปุ ระสงค์การ
เรยี นรู้ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ การจดั ประสบการณใ์ ห้ผูเ้ รยี น เนอื้ หามคี วามถูกตอ้ งและ
ทันสมัย ไมก่ ระทบความม่นั คงของชาติ ไมข่ ดั ต่อศีลธรรม มกี ารใชภ้ าษาท่ถี กู ตอ้ ง รปู แบบการ
นาเสนอท่เี ข้าใจง่าย และนา่ สนใจ
2.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวดั และประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ
คือการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี น ให้ประสบผลสาเร็จน้ัน ผเู้ รยี นจะตอ้ งได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพ่ือให้บรรลุ
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็น
เป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับ
โรงเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็น
กระบวนการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นโดยใช้ผลการประเมนิ เป็นขอ้ มลู และสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การพัฒนาและเรียนรูอ้ ยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบ่งออกเปน็ 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับ
โรงเรยี น ระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา และระดับชาติ มรี ายละเอียด ดงั นี้
1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการ
จดั การเรยี นรู้ ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการ
ประเมนิ อยา่ งหลากหลาย เชน่ การซักถาม การสังเกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การ
ประเมินช้ินงาน/ ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเอง
หรือเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นประเมนิ ตนเอง เพื่อนประเมนิ เพ่ือน ผปู้ กครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่าน
ตวั ชี้วัดใหม้ กี ารสอนซอ่ มเสรมิ
การประเมนิ ระดบั ชั้นเรียนเปน็ การตรวจสอบวา่ ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ อนั เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่ง
ท่จี ะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาปรบั ปรุงและส่งเสรมิ ในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุง
การเรยี นการสอนของตนด้วย ทงั้ น้โี ดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัด
25
2. การประเมนิ ระดับโรงเรียน เป็นการประเมินที่โรงเรยี นดาเนินการเพ่อื ตัดสินผลการ
เรยี นของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษา
ของโรงเรียน ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาใน ด้านใด
รวมท้ังสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในโรงเรียนเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการ
ประเมินระดับโรงเรียนจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ
หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการ
โรงเรยี น สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง
และชมุ ชน
3. การประเมินระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา เป็นการประเมินคณุ ภาพผู้เรียนในระดับ
เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็น
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ
สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและ
ดาเนินการโดยเขตพื้นทก่ี ารศึกษา หรอื ดว้ ยความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานตน้ สังกัด ในการดาเนินการจัด
สอบ นอกจากน้ียังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับโรงเรียนในเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา
4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน โรงเรยี นต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนท่ี
เรยี น ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้
เป็นขอ้ มูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับ
คณุ ภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นขอ้ มลู สนับสนนุ การตัดสนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนในการ
ตรวจสอบทบทวนพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ถอื เป็นภาระความรบั ผิดชอบของโรงเรียนท่ีจะต้องจัดระบบ
ดแู ลช่วยเหลือ ปรบั ปรุงแกไ้ ข สง่ เสรมิ สนบั สนุนเพื่อใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพบนพ้ืนฐาน
ความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ีจาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป
กลุม่ ผ้เู รยี นที่มีความสามารถพเิ ศษ กลุ่มผเู้ รยี นทม่ี ผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนต่า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหา
ดา้ นวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนท่ีปฏเิ สธโรงเรยี น กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
กลุม่ พิการทางร่างกายและสติปญั ญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของโรงเรียนในการ
ดาเนินการช่วยเหลอื ผเู้ รยี นได้ทันทว่ งที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จ
ในการเรยี น
โรงเรียนในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัด
และประเมินผลการเรียนของโรงเรยี นให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็น
ขอ้ กาหนดของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติ
รว่ มกนั
26
2.6 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1. การตดั สนิ การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตดั สินผลการเรยี น
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และ
เขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นน้ัน ผสู้ อนตอ้ งคานงึ ถงึ การพัฒนาผู้เรียน
แต่ละคนเป็นหลกั และตอ้ งเก็บขอ้ มลู ของผู้เรียนทุกด้านอยา่ งสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน
รวมทงั้ สอนซ่อมเสรมิ ผูเ้ รยี นใหพ้ ัฒนาจนเต็มตามศกั ยภาพ
ระดบั มัธยมศกึ ษา
(1) ตดั สนิ ผลการเรยี นเป็นรายวิชา ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียน
ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้งั หมดในรายวิชานน้ั ๆ
(2) ผ้เู รียนต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตวั ชี้วดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่โรงเรียน
กาหนด
(3) ผเู้ รยี นต้องได้รับการตดั สนิ ผลการเรียนทุกรายวิชา
(4) ผู้เรียนต้องได้รบั การประเมิน และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ี่
โรงเรยี นกาหนด ในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรยี น
การพิจารณาเล่ือนช้ันท้ังระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมี
ขอ้ บกพรอ่ ง เพียงเล็กน้อย และโรงเรียนพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่
ในดุลพินิจของโรงเรียนที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมี
แนวโนม้ ว่าจะเปน็ ปญั หาต่อการเรยี นในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น โรงเรียนอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาให้
เรียนซ้าชั้นได้ ท้งั น้ีใหค้ านงึ ถึงวุฒิภาวะและความรคู้ วามสามารถของผ้เู รียนเป็นสาคัญ
1.2 การให้ระดบั ผลการเรยี น
ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้
ตวั เลขแสดงระดบั ผลการเรียนเปน็ 8 ระดับ ดังนี้
ระดบั ผลการเรยี น 4 หมายถึง ผลการเรียนดเี ยย่ี ม
ระดับผลการเรยี น 3.5 หมายถึง ผลการเรยี นดมี าก
ระดบั ผลการเรยี น 3 หมายถงึ ผลการเรยี นดี
ระดับผลการเรียน 2.5 หมายถงึ ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี
ระดับผลการเรียน 2 หมายถึง ผลการเรยี นน่าพอใจ
ระดับผลการเรียน 1.5 หมายถงึ ผลการเรยี นพอใช้
ระดับผลการเรยี น 1 หมายถึง ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ข้นั ต่า
ระดบั ผลการเรียน 0 หมายถงึ ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นตา่
ระดับผลการเรยี น มส หมายถึง ไมม่ สี ทิ ธ์ิสอบ
ระดบั ผลการเรยี น ร หมายถึง ไม่ส่งงานหรือไม่ได้เข้าสอบ
ปลายภาค
27
ระดับผลการเรยี น มก หมายถงึ ลงทะเบียนเรียนโดยไม่คิด
หนว่ ยกิต
การประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
นนั้ ให้ระดบั ผลการประเมนิ เปน็ ดีเย่ียม ดี และผ่าน
การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน จะต้องพิจารณาทง้ั เวลาการเข้ารว่ ม
กจิ กรรม การปฏิบตั กิ ิจกรรมและผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑท์ ีโ่ รงเรยี นกาหนด และให้ผลการเข้า
ร่วมกิจกรรมเปน็ ผา่ น และไมผ่ า่ น
1.3 การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรียนเปน็ การสอ่ื สารให้ผ้ปู กครองและผ้เู รียนทราบ
ความกา้ วหนา้ ในการเรียนรูข้ องผ้เู รยี น ซ่งึ โรงเรยี นต้องสรปุ ผลการประเมินและจดั ทา
เอกสารรายงานใหผ้ ู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างนอ้ ยภาคเรียนละ 1 ครง้ั
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏบิ ตั ิของ
ผู้เรียน ท่ีสะทอ้ นมาตรฐาน การเรียนรกู้ ลุม่ สาระการเรียนรู้
1.4 เกณฑก์ ารจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบ
การศึกษา เป็น 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็น
รายวชิ าพืน้ ฐาน 63 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามทีโ่ รงเรียนกาหนด
(2) ผเู้ รยี นตอ้ งได้หนว่ ยกติ ตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวา่ 77 หน่วยกิต โดยเป็น
รายวิชาพ้นื ฐาน 63 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิ่มเตมิ ไม่น้อยกวา่ 14 หน่วยกติ
(3) ผู้เรียนมผี ลการประเมิน การอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ในระดบั ผา่ น
เกณฑ์การประเมนิ ตามท่โี รงเรียนกาหนด
(4) ผู้เรยี นมผี ลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามท่โี รงเรียนกาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ตามท่โี รงเรียนกาหนด
เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดย
เป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน 39 หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมตามที่โรงเรยี นกาหนด
(2) ผู้เรียนตอ้ งได้หนว่ ยกติ ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็น
รายวิชาพื้นฐาน 39 หน่วยกติ และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไม่น้อยว่า 38 หนว่ ยกิต
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ตามที่โรงเรยี นกาหนด
(4) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ตามทีโ่ รงเรียนกาหนด
28
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามท่โี รงเรียนกาหนด
สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง
การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส
การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการของโรงเรียน เขตพ้ืนที่การศึกษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง
ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติกา รวัดและ ปร ะเมิน ผลการ
เรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
1.5 เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูล
และสารสนเทศทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั พฒั นาการของผเู้ รยี นในด้านตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี
1.5.1 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด
(1) ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและ
รบั รองผลการเรียนของผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการ
ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องโรงเรียน และผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียน
จะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับภาค
บังคับ(ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3) จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6) หรือเม่ือลาออกจาก
โรงเรียนในทกุ กรณี
(2) ประกาศนียบัตร เปน็ เอกสารแสดงวุฒกิ ารศึกษาเพ่ือรับรองศักดิ์
และสิทธ์ิของผู้จบการศึกษา ท่ีโรงเรียนให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
(3) แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบ
หลกั สูตรโดยบันทกึ รายชื่อและข้อมูลของผู้จบการศึกษาภาคบังคับ (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3) และผู้จบ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6)
1.5.2 เอกสารหลักฐานการศึกษาทโ่ี รงเรียนกาหนด
เป็นเอกสารที่โรงเรียนจัดทาข้ึนเพ่ือบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้
และข้อมูลสาคัญ เก่ียวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียน
ประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน และ เอกสารอ่ืน ๆ ตามวัตถุประสงค์ของ
การนาเอกสารไปใช้
1.6 การเทียบโอนผลการเรียน
โรงเรียนสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆได้แก่ การ
ย้ายโรงเรียน การเปล่ียนรปู แบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับ
การศกึ ษาตอ่ การศกึ ษาจากตา่ งประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบ
โอนความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อ่ืนๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา
สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ การจดั การศกึ ษาโดยครอบครวั
การเทียบโอนผลการเรยี นควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือ
ต้นภาคเรียนแรกท่ีโรงเรียนรับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ท้ังนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการ
เรยี นต้องศกึ ษาต่อเน่อื งในโรงเรียนทีร่ บั เทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรยี น โดยโรงเรียนที่รบั ผูเ้ รียนจาก
การเทยี บโอนควรกาหนดรายวชิ า/จานวนหน่วยกิตท่จี ะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม
29
การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนนิ การได้ ดังนี้
1. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศึกษา และเอกสารอืน่ ๆ ท่ใี ห้ข้อมูลแสดง
ความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
2. พจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถของผ้เู รียนโดยจัดให้มีการทดสอบ
ด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ท้งั ภาคความรูแ้ ละภาคปฏิบัติ
3. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจรงิ
การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบัติ ของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
3. งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง
กระทรวงศึกษาธิการ (2548) ได้ศึกษาการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานตามทัศนะของ
ครูผสู้ อนในโรงเรียนนาร่อง และโรงเรียนเครือข่ายแกนนาท่ีใช้หลักสูตรสถานศึกษา ในปีการศึกษา
2545 กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการประเมินจานวน 285 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลเป็นครูผู้สอนจานวน 3,921
คน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ในด้านการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนส่วนใหญ่สร้างหลักสูตร
สถานศึกษาขึ้นเองโดยใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นกรอบในการท า ร้อยละ74.8 ครูผู้สอน
มากกว่าร้อยละ 70 วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอนมากกว่าร้อยละ 80 ใช้ส่ือ
การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเร่ืองที่เรียน มีการประเมินผลโดยพิจารณาจากผลงานและช้ินงาน การ
ทดสอบพฤตกิ รรมการเรียนรู้และ การปฏิบัติครูผู้สอนร้อยละ 63.7 แก้ปัญหาการเรียนการสอนโดย
ท าวิจัยง่าย ๆ ด้านความพึงพอใจต่อหลักสูตรสถานศึกษาและคุณลักษณะของนักเรียน พบว่า
ครผู ู้สอนพึงพอใจตอ่ หลักสูตรสถานศึกษาระดบั มาก ในเรือ่ ง แนวทางการจดั กจิ กรรมของหลักสูตร ที่
เน้นการบูรณาการและยึดนักเรียนเป็นสาคัญ ด้านแนวโน้มการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ตาม
หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พบว่า ควรเป็นดังน้ีคือ หลักสูตรควรยืดหยุ่นสอดคล้องกับสภาพ
ท้องถ่ิน ทันยุคทันต่อเหตุการณ์สนองความต้องการของผู้เรียน สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ทุกกลุ่ม มี
ความเป็นรูปธรรม มีความชัดเจน และเน้ือหาสาระไม่มากและไม่ซ้า ซ้อน การจัดการเรียนต้อ ง
คานึงถึงความสามารถ ความต้องการของผเู้ รยี น และความรู้ความสามารถของบุคลากร ดา้ นบุคลากร
ต้องจัดครูผู้สอนให้ตรงกับสาขาท่ีเรียน ความถนัด และเพียงพอกับจานวนนักเรียน และพัฒนา
บุคลากรให้ทันยุคทันสมัยอย่างต่อเน่ือง ผู้ปกครองและชุมชนควรมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน และมสี ว่ นร่วมในการจดั ทาหลกั สูตร
พิทักษ แกวในเมฆ ( 2550 ) ไดศึกษาปจจัยที่สัมพันธกับการบริหารจัดการ หลักสูตร
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตรัง จาการวิจัยพบว า 1. การปฏิบัติการ
บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตรัง ทั้ง 4 ดาน ไดแก
การ เตรียมความพรอม การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาการดาเนินการใช หลักสูตร และการ
ประเมนิ ผล หลกั สูตร มีคาเฉลยี่ คะแนนการปฏบิ ัติอยูในระดับมาก 2. ความสัมพันธระหวางปจจัยด
านพฤติกรรม การบริหาร กบั การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาตรงั พบวาปจจัยดานพฤติกรรมการบริหารกับการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน คือ ปจจัย ดานพฤติกรรมการบริหาร คือ ดานภาวะผูนาการเปล่ียนแปลง ดานการบริหาร
เวลา กับการบริหาร จดั การหลักสตู รสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานมีความสัมพันธอยางมีนัยสาคัญทางสถิติ
30
ท่ีระดับ .05 ปจจัยที่ พบเปนคุณสมบัติของปจจัยเหลาน้ันสามารถเปลี่ยนแปลงปรับปรุงพัฒนาให
กับผูบริหารไดสามารถ นามาใชกบั การบริหารจัดการหลักสตู รสถานศึกษาได
นิภารัตน์ ทิพโชติ (2550) ได้ทาการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาช่วงชั้น ที่ 1 และช่วงช้ัน
ที่ 2 : กรณีศึกษาโรงเรยี นวดั บึงทองหลาง เขตบางกะปิกรุงเทพมหานคร โดยใช้รูปแบบการประเมิน
แบบซิปโมเดล ประเมินองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ
และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน กรรมการการศึกษาและนักเรียน
จานวน 2,497 คน ผลการวิจัยสรุปได้ว่าในภาพรวมทั้งหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรท้องถิ่น มี
ความเหมาะสมในระดับมาก ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตร
ท้องถ่นิ พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ดา้ นกระบวนการ ของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตร
ท้องถ่ินพบว่ามีการปฏิบัติในระดับมาก ด้านผลผลิตของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรท้องถิ่น
พบวา่ ผู้เรียนมคี ณุ ลกั ษณะตามจดุ มุ่งหมายของหลักสูตรอยู่ในระดับมาก และด้านความพึงพอใจต่อ
การใช้หลักสูตรสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหาร ครูผู้สอน และกรรมการการศึกษามีความพึงพอใจใน
ระดับมากทุกด้าน จากการศึกษาผลการวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการประเมินหลักสูตรพบว่างานวิจัยเชิง
ประเมิน ส่วนใหญ่มุ่งประเมินเชิงระบบท้ังในด้านบริบท ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการ และผลผลิต
รวมถึง การศกึ ษาเฉพาะในเรื่องการใช้หลักสูตรด้านการเรียนการสอน การบริหารหลักสูตร การวัด
และ ประเมินผล ผลการวิจยั ท่ีเกิดข้ึนจะแตกต่างกันตามสภาพปัญหา วัตถุประสงค์และรูปแบบการ
ประเมินท่ีผูป้ ระเมนิ เลอื กใช้
รุงนภา นูตราวอง (สมชาย ขอสินกลาง.2548: 39; อางอิงจาก Rungnapa Nutravong.
2003. School-Based curriculum decision-making: A study of the Thailand.) ไดวิจัยเร่ือง
กระบวนการตัดสินใจสั่งการดานการบริหารหลักสูตรภายในโรงเรียน: การศึกษากรณีการปฏิรูป
หลกั สตู ร สถานศกึ ษาในประเทศไทย ผลการวิจัยพบวา ขอเรียกรองของผูจัดทานโยบายซ่ึงตองการ
ใหโรงเรียนสามารถมอี านาจในการบริหารงานดวยตนเองนนั้ ยังเปนสถานการณที่จดั วามีความยุงยาก
และความซบั ซอนอยูมาก เพราะถงึ แมวาบคุ ลากรภายในโรงเรียนจะยอมรับ และเล็งเห็นถึงขอดีของ
โครงการท่ี จัดทาข้ึนเพ่ือเปล่ียนแปลงอานาจ ในงานด้านการบริหารหลักสตู รของโรงเรยี นก็ตาม แตก็
พบวา กลุมโรงเรียนในแถบชนบทยังไมมีความพรอมสาหรับการเปล่ียนแปลงดังกลาว ระบบการ
บริหารงานตามลาดับข้ัน ซึ่งเปนระบบการบริหารงานตามแบบเดิมยังคงถูกนามาใชในระบบการ
บริหารงานดานการศกึ ษาในปจจุบัน รวมทัง้ ในสวนของโรงเรียนเอง กย็ งั คอนขางท่จี ะมบี ทบาทเปนผู
ตอบรับนโยบายมากกว าที่จะเป นผู สร างนโยบายเพื่อตอบสนองตามความต องการพ้ืนฐานของ
โรงเรยี นไดดวยตนเอง นอกจากน้ี ยังพบวามีปจจยั ทสี่ าคัญ 3 ประการ ซงึ่ ไดรับการยอมรบั จาก
กลุมตัวอยางในการวิจัยว่า เป็นอุปสรรคตอกระบวนการตัดสินใจสั่งการในงานดานการบริหาร
หลกั สูตรของโรงเรียน คือ การขาดปจจัยดานเวลา รวมทั้งการขาดความรูและประสบการณในการ
พฒั นางานดานการบริหารหลกั สูตรของโรงเรียน
วิรุฬ เกิดภักดี.(2551)ได ศึกษาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสังกัด
กรงุ เทพมหานคร สานักงานเขตบางขนุ เทยี น จากการวิจยั พบวา 1. การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตบางขุนเทียนอยูในระดับมากทุกดานตามลาดับ คือ
การปรบั ปรุงพัฒนาการบริหารหลักสูตร การสรุปผลการดาเนินงาน การดาเนินการบริหารหลักสูตร
และ การนเิ ทศกากบั ตดิ ตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตบางขุนเทียนของเครือขายท่ี 71 กับเครือขายท่ี 72
31
พบวา การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตบางขุนเทียน
ของเครือขายท่ี 71 กบั เครอื ขายที่ 72 ไมแตกตางกัน 3. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มี
มโนทัศนการสอนตางกันเกี่ยวกับการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
สานักงานเขตบางขุนเทียน พบว่า ครูท่ีมีมโนทัศน การสอนตางกัน มีความคิดเห็นในการบริหาร
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี น สงั กัดกรงุ เทพมหานครสานักงานเขตบางขุนเทียนไมแตกตางกัน และ
3.ปจจัยในแตละดานวาสงผลตอการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขต
พ้นื ทก่ี ารศึกษาตรงั 3.1 การวเิ คราะห การถดถอยพหคุ ณู ของปจจยั ดานชวี สังคม ปจจยั ทางดาน
พฤตกิ รรมการบริหาร ความคาดหวงั คณุ ภาพของนกั เรยี นกับการบรหิ ารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน พบวา ปจจัยดานชีวสังคม ปจจัยดานพฤติกรรมการบริหาร กับการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มคี วามสมั พนั ธอยางมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ.05 3.2 ปจจัยดานชีวสังคม
ปจจัยดานพฤติกรรมการบริหาร ความคาดหวังคุณภาพของนักเรียนกับการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พบว า ตัวพยากรณที่ดีท่ีสุดท่ีถูกเลือกเขามาก อนคือ ภาวะผูนาการ
เปลี่ยนแปลง เม่ือเพิ่มตัวพยากรณ คือ การบริหารเวลา คุณวุฒิทางการศึกษา และขนาดโรงเรียน
พบวา คาสหสัมพันธพหุคูณเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อเพ่ิมตัวพยากรณคือ
ขนาดโรงเรียน พบวาคาสหสัมพันธ พหุคูณเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01, 3.3 ค่า
นา้ หนกั ความสาคัญของตัวแปรท่ีสงผลต่อการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พบว่า
คา่ น้าหนักความสาคัญในรปู คะแนนดิบของพฤตกิ รรมการบรหิ าร ความคาดหวังคณุ ภาพของนักเรียน
คุณวุฒิทางการศึกษาและภาวะผูนาการเปลี่ยนแปลง สงผลทางบวกตอการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานอยางมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 สวนคุณวุฒิทางการศึกษา และประสบ
การณในการบรหิ ารโรงเรยี น สงผลทางลบตอการบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
สมชัย ทองกลึง (2551) การศึกษาการดาเนินงานการบริหารหลักสูตร สถานศึกษาใน
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพชรบุรี ผลการศึกษาพบว า 1. การ
ดาเนินงานการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาเพชรบุรี เขต 1 ตามความคิดเห็นของครูและผูบริหาร ทั้ง 7 ดานอยูในระดับมากทุกดาน
2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและผูบริหารท่ีมีตอการดาเนินงานการบริหารหลักสูตร
สถานศึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพชรบุรี เขต 1 พบวา ครู
และผูบริหารมี ความคิดเหน็ แตกตางกันอยางมีนยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ใน 4 ดาน ไดแก ดาน
การจดั ทาสาระ หลักสูตรสถานศกึ ษา ดานการวางแผนและตรียมการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปใช ด
านการดาเนินการ ใชหลักสูตรสถานศึกษา และดานการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผล 3.
การเปรียบเทียบความ คิดเห็นของครูท่ีมีตอการดาเนินงานการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา ใน
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 1 จาแนกตามกลุมสาระท่ี
สอน พบ วา ครูที่สอนกลุมสาระตางกันมีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
.05 ใน 4 ดาน ไดแก ดานการ จัดทาสาระหลักสูตรสถานศึกษา ดานการวางแผนและเตรียมการนา
หลักสูตรสถานศึกษาไปใช ดานการดาเนินการใชหลักสูตรสถานศึกษา และดานการนิเทศ กากับ
ติดตามและประเมนิ ผลหลกั สตู รสถานศึกษา
สมชาย วางหา (2550) ได้ประเมินหลกั สตู รสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐานโรงเรยี นบ้านใหม่ อาเภอ
วังชิ้น จังหวัดแพร่กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครูฝ่าย
วิชาการ ครูผู้สอน และผู้ปกครอง จานวน 119 คน ผลการวิจัย พบว่า จุดมุ่งหมายของ หลักสูตร
32
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน และโครงสร้างมีความสอดคล้องกับสภาพสถานศึกษาและสภาวะ ปัจจุบันมี
ความสอดคล้องในระดับมากที่สุด ด้านวิสัยทัศน์สาระการเรียนรู้และ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์มี
ความสอดคลอ้ ง กบั สภาพสถานศึกษาและสภาวะปัจจุบันมีความสอดคล้องในระดับ มากด้านปัจจัย
นาเข้า พบว่า บุคลากร งบประมาณ เอกสารหลักสูตร วัสดุอุปกรณ์ส่ือการเรียนการ สอนบุคลากร
สายสนับสนุนการศึกษา และงบประมาณไม่เพียงพอ ด้านการเรียนการสอนพบว่าครูไม่ แจ้ง
จุดมุ่งหมายขอบเขตเน้ือหาในกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนทราบ และการประเมินผลการ
เรียนรายวิชายังไม่ชัดเจน ครูขาดการเตรียมการสอนล่วงหน้า การเรียน การสอนไม่ยึดเด็กเป็น
ศนู ยก์ ลาง ขาดการบรู ณาการเน้อื หาระหว่างวิชา นักเรียนยังขาดทักษะทางวิชาการด้านการรู้จักคิด
วิเคราะหด์ ้านการวัดและประเมินผล เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนไดป้ ระเมินตนเองน้อย ครูไม่นาผลการวัด
และประเมินมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน และด้านความพึงพอใจ ผู้ปกครองมีความพึง
พอใจในผลการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรในระดับมากและพบว่า
ผลสมั ฤทธข์ิ องนกั เรียนแตล่ ะปกี ารศกึ ษา มผี ลการเรยี นทกุ วชิ าเฉลย่ี มากขน้ึ ตามลาดบั
เฮิรด (สมชัย ทองกลึง. 2551: 94; อางอิงจาก Hurd. 2007: Abstract) ไดการศึกษา ผูนา
ทางการปฏิรูปการศึกษาความเปนโลกาภิวตั น ในสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงคของการวิจัย เพ่ือ
บงช้ีถึงการเปลี่ยนแปลงกลยุทธใหกับโรงเรียน ไดสรางความเปนสากลใหกับโรงเรียน ผลการวิจัย
พบวา โลกาภิวัตนซง่ึ เปนการผสมผสานเชือ่ มตอระหวางกันไมวาจะเปนนามธรรมหรือรูปธรรมไดให
บริบทอันจะทาให สถาบันการศึกษาระดับสูงได พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงทางด านวัฒนธรรม
หลกั สูตร สถานศกึ ษา และองคประกอบทางการศกึ ษาในปจจบุ นั ของตัวเอง การตอบสนองท่ีมากขึ้น
ทีจ่ ะกาวเขา สโู ลกาภิวัตนคอื การนาความเปนสากลมาสูการสอน การวจิ ัย และการบริการของตัวเอง
กระบวนการน้ี รูจักกนั ดใี นช่อื “กระบวนการความเปนสากล” (โลกาภิวตั น) การออกแบบงานวิจัยที่
มคี ณุ ภาพมากข้ึนไดรวบรวมกลยุทธเขากับสวนตางๆ ท้ังที่เป็นผูนา ผูสนับสนุน และกระบวนการที่
ทาใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงนั้นๆ การเก็บรวบรวมขอมูลไดมาจากการสัมภาษณ เอกสารตางๆ และ
การสงั เกตโดยตรง สวนการวเิ คราะหนัน้ ประกอบไปดวยรปู แบบทีเ่ ปนรากฐานง่าย ๆ
จากผลการวจิ ัยทีเ่ กีย่ วของทงั้ ในประเทศและตางประเทศ สรุปไดวา การศึกษาปจจัยหลาย
ประการ ที่สัมพันธกับการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ึนพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ยังมีปจจัยหลายๆอยางท่ีทาใหการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษายังไมบรรลุผล
เท่าท่ีควร และยังไม เปนไปตามกฎหมาย ท้ังป จจัยภายใน เชน การเตรียมความพร อมของ
สถานศกึ ษายงั ไมสมบูรณเนือ่ งจากขาดงบประมาณ การขาดปจจยั ดานเวลา รวมทั้งการขาดความรู
และประสบการณ ในการพัฒนางานดานการบริหารหลักสูตรของโรงเรียน และปจจัยภายนอก ท่ี
สถานศึกษาตองมีสวนเก่ียวของกับบุคคลภายนอกโรงเรียน ไมวาจะเปนผูปกครอง ชุมชน องคกร
ปกครองสวนท้องถนิ่ ทคี่ วรจะเขามามสี วนรวมอยางแทจรงิ เพราะท่ผี านมา บริบท สภาพแวดลอม
ตางๆยังไมเอ้ืออานวยใหมีการทางานรวมกันระหวางสถานศึกษากับชุมชนมากนกั จงึ กลายเปนอีก
ปจจัยหนงึ่ ท่ผี ูจ้ ดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาควรใหความสาคญั และควรจะทาการศึกษาเพ่ือหาแนวทาง
ในการสร้างและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนมี
ความเหมาะสมกบั โลกในศตวรรษที่ 21 อย่างแทจ้ รงิ
33
บทท่ี 3
วิธีดาเนินการประเมิน
การประเมินหลกั สตู รรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โรงเรียนบา้ นไผ่ ครัง้ น้ี ประกอบดว้ ยกระบวนการ
ของการประเมนิ ดงั นี้
1. กลุ่มเป้าหมาย
2. เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล
3. ข้นั ตอนการดาเนินงาน
4. สถิติและการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
6. เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนน
1. กล่มุ เปา้ หมาย
กล่มุ เป้าหมายที่ใชใ้ นการประเมินครง้ั น้ี ประกอบดว้ ย
1. ผู้บริหารและครกู ลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
จำนวน 7 คน
2. นกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 84 คน
2. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู
การประเมินหลักสตู รรายวิชาประวตั ิศาสตรไ์ ทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรยี นบ้านไผ่ ครั้งนี้ ใช้เครอ่ื งมอื ในการประเมนิ
1. แบบประเมินหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นไผ่ สำหรับผู้บริหาร/ครู ในดา้ นบริบท
ด้านปจั จัยเบอ้ื งตน้ ดา้ นกระบวนการ และด้านผลผลิต
2. แบบประเมินหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นไผ่ สำหรับนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
3. แบบสารวจขอ้ มูล
3. ข้นั ตอนการดำเนินการ
3.1 การเก็บรวบรวมข้อมลู ดาเนินการดงั น้ี
1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและ
การประเมนิ หลักสูตร
2) สรา้ งเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมิน ไดแ้ ก่ แบบสอบถามเพ่ือการประเมนิ หลักสตู รจานวน
2 ฉบบั และแบบสารวจขอ้ มลู 1 ฉบบั
3) เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมลู จากการสอบถามความคิดเหน็ เกี่ยวกับหลกั สูตร
4) สรปุ ผลการประเมินและนำเสนอรายงานผลการประเมิน
34
3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าสถิติ ทาการวเิ คราะห์โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรปู
เพ่อื หาคา่ ความถี่ คา่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน สาหรับใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
ผลการประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านไผ่ โดยการหาคา่ เฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
นาเสนอในรปู แบบตารางประกอบ
4. สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. วิเคราะหผ์ ลการประเมินหลกั สตู รรายวิชาประวัตศิ าสตรไ์ ทย ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของกล่มุ เปา้ หมาย ทั้ง 2 กลมุ่ เปน็ ค่าเฉลยี่ ( X ) และ
สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
สตู รการหาค่าเป็นคา่ เฉล่ีย ( X ) (บุญชม ศรสี ะอาด, 2553)
X X
n
เมอ่ื X แทน คะแนนเฉลี่ย
X แทน คะแนนแตล่ ะคน
X แทน ผลรวมคะแนนของทกุ คน
n แทน จานวนข้อมูลท้งั หมด
สตู รการหาสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( S.D.) (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2553)
S.D. n X 2 ( X )2
n(n 1)
เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
X 2 แทน ผลรวมของคะแนนยกกาลังสอง
( X )2 แทน จานวนข้อมลู ทั้งหมด
n แทน จานวนขอ้ มลู ทง้ั หมด
จากระดับความคดิ เห็นของผตู้ อบแบบประเมิน ทก่ี ำหนดไว้ 5 ระดับ
เหน็ ด้วยในระดบั มากท่สี ดุ มีค่าคะแนนเทา่ กบ 5
เห็นด้วยในระดับมาก มีค่าคะแนนเท่ากบั 4
เหน็ ด้วยในระดับปานกลาง มีค่าคะแนนเทา่ กบ 3
เหน็ ด้วยในระดบั นอ้ ย มีค่าคะแนนเทา่ กบั 2
เหน็ ด้วยในระดับนอ้ ยทีส่ ดุ มีค่าคะแนนเท่ากบั 1
35
นาคะแนนระดับคุณภาพมาคิดคำนวณค่าเฉล่ีย เพ่อื แปลผล ดังน้ี
ค่าเฉลี่ยระหว่าง การแปลผล
4.51 – 5.00 เห็นด้วยมากทส่ี ุด
3.51 – 4.50 เห็นด้วยมาก
2.51 – 3.50 เห็นด้วยปานกลาง
1.51 – 2.50 เห็นด้วยน้อย
1.00 – 1.50 เห็นด้วยนอ้ ยท่สี ดุ
2. วเิ คราะห์ผลการสารวจผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและการสารวจคณุ ลักษณะ
อันพงึ ประสงค์ เปน็ คา่ ร้อยละ (บุญชม ศรีสะอาด, 2553)
สตู ร
p f 100
N
เมอ่ื p แทน ค่าร้อยละ
f แทน ความถ่ีทีต่ ้องการแปลงใหเ้ ปน็ คา่ ร้อยละ
N แทน จานวนความถ่ีทั้งหมด
36
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การประเมินหลกั สูตรรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ในครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมิน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไผ่ พุทธศักราช 2557 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุม่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า
ส31102 ประวัติศาสตร์ไทย 1 และ ส31104 ประวัติศาสตร์ไทย 2 ในองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่
ดา้ นบรบิ ท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โดยนาข้อมูลมาวิเคราะห์และ
นาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ดังน้ี
1. สัญลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
2. การวเิ คราะห์ข้อมลู
3. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
เพือ่ ความเข้าใจตรงกันในการแปลความหมาย ผู้ประเมนิ กาหนดสญั ลักษณ์ทใ่ี ช้ในการ
วเิ คราะห์ข้อมูล ดงั น้ี
X แทน คา่ คะแนนเฉล่ยี (mean)
S.D. แทน คา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (standard deviation)
n แทน จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง (sample size)
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
การประเมนิ หลักสตู รรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ไทย คร้งั น้ี วิเคราะหโ์ ดยใช้สถติ ิพ้ืนฐาน คอื
ร้อยละ คา่ เฉลีย่ (mean) และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (standard deviation)
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ผลการประเมนิ หลักสูตรรายวชิ าประวตั ิศาสตรไ์ ทย โดยผบู้ ริหาร/ครู และนกั เรียนชน้ั
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ปรากฏผลดงั ตอ่ ไปน้ี
37
ตารางท่ี 1 ผลการประเมินหลักสูตรรายวิชาประวัตศิ าสตร์ไทย โดยผู้บรหิ าร/ครูจานวน 7 คน
รายการประเมิน ค่าเฉลยี่ S.D. แปลความ
ดา้ นบรบิ ท
1. 1. มีส่วนร่วมในการจดั ทาหลักสูตร 4.71 0.20 มากท่ีสดุ
2. วิสยั ทศั นข์ องสถานศึกษาสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา 4.29 0.39 มาก
3. กาหนดโครงสร้างและสดั ส่วนเวลาเรียนในหลักสูตรสถานศกึ ษา 4.71 0.20 มากที่สุด
4. คาอธบิ ายรายวชิ าสอดคล้องกับผลการเรยี นรู้และสาระการเรียนรู้ 3.86 0.37 มาก
5. นาสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่นมาบูรณาการในรายวิชา / ตัวชี้วดั 3.57 0.52 มาก
6. คาอธบิ ายรายวชิ าสอดคลอ้ งกบั สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 4.14 0.37 มาก
7. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลถกู ตอ้ งตามแนวการวดั ผลประเมนิ ผลทก่ี าหนด 4.43 0.32 มาก
ไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
8. เกณฑก์ ารประเมินผลสอดคลอ้ งกบั แนวการวดั ประเมินผลตามหลักสตู ร 4.57 0.22 มากที่สุด
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
เฉลี่ยรวมดา้ นบรบิ ท 4.28 0.32 มาก
ด้านปัจจัยเบอ้ื งตน้
คุณสมบัตขิ องครู
9. มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน 4.71 0.20 มากที่สดุ
10. มคี วามรับผิดชอบในการจดั การเรยี นการสอน 4.86 0.15 มากทส่ี ุด
11.ตรงตอ่ เวลาและอาใจใส่นักเรียนเปน็ รายบุคคล 4.29 0.31 มากทส่ี ุด
12.ตรวจสอบงานทมี่ อบหมายและให้ขอ้ มูลย้อนกลบั สม่าเสมอ 4.00 0.24 มาก
13.มีความรคู้ วามเขา้ ใจ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด ตามหลกั สูตรแกนกลาง 4.43 0.32 มาก
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ.2551และหลักสตู รมาตรฐานสากล
14.มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั 3.88 0.43 มาก
15.มีความรู้ความเขา้ ใจในการจัดทาวจิ ัยในช้ันเรยี น 4.14 0.37 มากทสี่ ุด
16.มคี วามรดู้ ้านการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น 3.43 0.52 มากทส่ี ุด
17.มีความรู้ความสามารถในการจัดทาและใชส้ อื่ การเรยี นรู้ 4.00 0.47 มาก
18.มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่อื พฒั นาการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 3.86 0.28 มากที่สุด
สอื่ การเรียนรู้
19.มสี อ่ื เทคโนโลยีและอปุ กรณท์ ่ที ันสมัยและเอื้อตอ่ การเรียนรู้ 4.43 0.22 มาก
20.มสี ่ือภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 4.14 0.37 มาก
21.สอ่ื วัสดุ อปุ กรณ์ หนงั สือ ตารา มีความเพยี งพอต่อจานวนผู้เรยี น 3.43 0.52 มาก
22.นกั เรียนมีส่วนรว่ มในการผลิตและใช้สอื่ /แหล่งเรียนรู้ 3.71 0.51 มาก
23.มีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายเหมาะสมกบั วัยของผู้เรียน 3.86 0.37 มาก
24.มงี บประมาณเพยี งพอในการสนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ขู องผู้เรยี น 4.57 0.22 มากทีส่ ดุ
เฉล่ียรวมดา้ นปจั จัยเบ้ืองตน้ 4.20 0.85 มาก
38
ตารางที่ 1 ผลการประเมินหลักสูตรรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ไทย โดยผู้บริหาร/ครูจานวน 7 คน (ต่อ)
รายการประเมนิ ค่าเฉล่ีย S.D. แปลความ
ดา้ นกระบวนการ
25.จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย 4.29 0.39 มาก
ทงั้ ในและนอกหอ้ งเรียนไดเ้ หมาะสม
26.จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทัง้ ในและนอกหอ้ งเรียนไดเ้ หมาะสม 4.00 0.47 มาก
27.ผ้เู รยี นมีส่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 3.86 0.37 มาก
28. มีการใช้สื่อท่ที ันสมัยและมีคณุ ภาพ มีความหลากหลายและสง่ ผล 4.29 0.39 มาก
ต่อการเรยี นรู้ของผ้เู รียน
29.ใชว้ ธิ ีการวัดผลประเมนิ ผลทห่ี ลากหลายตรงตามสภาพจริง 4.43 0.32 มาก
30.การวดั ผลประเมนิ ผลผูเ้ รียนตามหลกั สูตรสอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร 4.57 0.22 มาก
แกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
31.จัดกจิ กรรม/โครงการในการการบริหารงานวิชาการท่ีส่งผลต่อการ 4.00 0.41 มาก
พฒั นาหลกั สูตรและการจัดการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสม
32. มีการนเิ ทศติดตามการดาเนินงานดา้ นหลักสูตรอยา่ งต่อเนือ่ ง 3.71 0.45 มาก
33. มกี ารประเมนิ และพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 4.43 0.32 มาก
34. มกี ารวิจัยเพือ่ พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาและการจัดการเรยี นรู้ 4.48 0.24 มาก
เฉลี่ยรวมดา้ นกระบวนการ 4.21 0.36 มาก
ด้านผลผลติ
35. นกั เรียนมีความรคู้ วามสามารถตามหลกั สตู ร 4.14 0.37 มาก
36. นกั เรียนคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สูตร 4.43 0.32 มาก
เฉลี่ยรวมด้านผลผลิต 4.29 0.80 มาก
เฉลย่ี รวมทกุ ด้าน 4.26 0.72 มาก
จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผลการประเมนิ หลักสูตรรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ไทย ของผบู้ ริหาร/ครู
มคี วามพึงพอใจในระดับ มาก ( = 4.28, S.D. = 0.32 ) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น ด้านบริบท มคี วาม
พงึ พอใจระดับมาก ( = 4.26, S.D. = 0.72 ) โดยเรียงลาดับไดด้ ีท่ีสุด คอื การมสี ่วนร่วมในการจัดทา
หลกั สตู รมีความพงึ พอใจระดับมาก ( = 4.71, S.D. = 0.20) รองลงมา คอื การกาหนดโครงสร้างและ
สดั สว่ นเวลาเรียนในหลักสตู รสถานศึกษา มีความพึงพอใจระดับมาก ( = 4.71, S.D. = 0.20) และ
เกณฑ์การประเมินผล สอดคล้องกับแนวการวัดประเมินผลตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
พุทธศักราช 2551 มีความพึงพอใจระดับมาก ( = 4.57, S.D. = 0.22) ตามลาดบั
ดา้ นปัจจัยเบื้องต้น มีความพงึ พอใจระดับมาก ( = 4.20, S.D. = 0.85 ) โดยเรยี งลาดับไดด้ ี
ทีส่ ดุ คือ ครูมีความรับผิดชอบในการจัดการเรยี นการสอน มีความพึงพอใจระดบั มากท่ีสุด ( = 4.86,
S.D. = 0.15) รองลงมา ครมู ีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน มคี วามพงึ พอใจระดับ มากที่สุด
( = 4.71, S.D. = 0.20) และมงี บประมาณเพียงพอในการสนบั สนนุ การจดั กิจกรรมการเรียนรขู้ อง
ผเู้ รยี น มีความพึงพอใจระดับมากท่สี ุด ( = 4.57, S.D. = 0.22) ตามลาดับ
39
ด้านกระบวนการ มีความพงึ พอใจระดับมาก ( = 4.21, S.D. = 0.36 ) โดยเรยี งลาดับได้
ดที ส่ี ดุ คือ การวดั ผลประเมนิ ผลผเู้ รยี นตามหลักสูตรสอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้น
พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มีความพึงพอใจระดบั มากทีส่ ุด ( = 4.57, S.D. = 0.22) รองลงมา คือ
มกี ารวจิ ยั เพื่อพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้ มีความพึงพอใจระดับมาก ( = 4.48,
S.D. = 0.24) และมีการประเมินและพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนือ่ ง มคี วามพึงพอใจระดับ
มาก ( = 4.43, S.D. = 0.32) ตามลาดับ
ด้านผลผลติ มีความพงึ พอใจระดบั มาก ( = 4.29, S.D. = 0.80 ) โดยเรียงลาดบั ได้ดีที่สุด
คือ นกั เรยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตร มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด ( = 4.43,
S.D. = 0.32) รองลงมา คือ นกั เรียนมคี วามรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีความพึงพอใจระดับมาก
( = 4.14, S.D. = 0.37) ตามลาดับ
ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ หลกั สตู รรายวิชาประวัติศาสตรไ์ ทย โดยนักเรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
จานวน 84 คน
รายการประเมิน คา่ เฉลี่ย S.D. แปลความ
ด้านปจั จยั เบ้อื งต้น
4.46 0.91 มาก
คุณสมบัติของครูผู้สอน/สอื่ อปุ กรณ/์ อาคารสถานท่ี 4.50 0.81 มาก
1. ครูมคี วามรู้ ความสามารถในวิชาทส่ี อน 4.44 0.85 มาก
4.37 0.86 มาก
2. ครูมีความรบั ผดิ ชอบและตงั้ ใจในการสอน 4.81 0.57 มาก
4.32 0.94 มาก
3. ครูตรงต่อเวลาและอาใจใส่นกั เรยี นเปน็ รายบุคคล 4.45 0.88 มาก
4.48 0.85 มาก
4. ครูตรวจสอบงานท่ีมอบหมายและให้ข้อมูลย้อนกลบั สม่าเสมอ
4.83 0.43 มากท่ีสดุ
5. มีห้องเรียนและหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารท่ีพรอ้ มใช้ 4.52 0.92 มากที่สุด
6. การจดั บรรยากาศในห้องเรยี นเหมาะสมและเอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ 4.69 0.82 มาก
4.45 0.97 มาก
7. จานวนคาบเรยี น/สัปดาหม์ ีความเหมาะสม 4.39 0.94 มาก
เฉล่ยี รวมดา้ นปัจจยั เบอื้ งตน้ 4.77 0.62 มากที่สดุ
ดา้ นกระบวนการ 4.85 0.48 มากทสี่ ดุ
การจัดการเรยี นรู/้ การวดั และประเมนิ ผล 4.55 0.85 มากทส่ี ุด
8.จัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั 4.51 0.84 มากทส่ี ุด
9. ครใู ช้รูปแบบกจิ กรรมการเรียนร้ทู ่หี ลากหลายนา่ สนใจ
10. มกี จิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีให้นักเรยี นได้ลงมอื ปฏิบัติจริง
11.นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
12. มีการใชส้ ่อื ทีท่ ันสมยั และมคี ุณภาพ มคี วามหลากหลายและ
สง่ ผลตอ่ การเรียนร้ขู องผเู้ รียน
13.ใชว้ ิธกี ารวัดผลประเมนิ ผลทหี่ ลากหลายตรงตามสภาพจรงิ
14.กิจกรรมการเรยี นรู้มงุ่ สง่ เสรมิ ทกั ษะด้านการคิด
15.มกี ารสร้างแรงจงู ใจในการเรยี นรู้
16.นาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรงุ การจดั การเรยี นรแู้ ละ
จัดสอนซ่อมเสรมิ
40
ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ หลักสูตรรายวิชาประวตั ศิ าสตรไ์ ทย โดยนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
จานวน 84 คน (ตอ่ )
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย S.D. แปลความ
17.มกี ารรายงานผลการเรียนใหน้ ักเรยี นทราบเปน็ ระยะ 4.83 0.48 มากทส่ี ดุ
4.63 0.82 มากที่สุด
เฉล่ียรวมด้านกระบวนการ
ด้านผลผลิต 4.57 0.88 มากท่สี ดุ
18. นักเรียนมีความรู้เพ่ิมข้ึนหลงั จากการจดั การเรียนรู้ 4.48 0.96 มาก
19.นักเรยี นมีความคดิ สร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา การสร้างปัญญา 4.32 0.91 มาก
และการบูรณาการ 4.46 0.92 มาก
4.52 0.86 มากทส่ี ดุ
20.นกั เรยี นสามารถนาความรูไ้ ปใช้ในชีวิตประจาวันได้
เฉลยี่ รวมด้านผลผลิต
เฉล่ียรวมทกุ ด้าน
จากตารางที่ 2 พบว่า ผลการประเมินหลักสตู รรายวิชาประวตั ิศาสตรไ์ ทย ของนักเรยี นช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 มีความพงึ พอใจในระดบั มากที่สุด ( = 4.52, S.D. = 0.86 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ ราย
ด้าน ดา้ นปจั จยั เบื้องต้น มคี วามพงึ พอใจระดบั มาก ( = 4.48, S.D. = 0.85 ) โดยเรยี งลาดับได้ดีท่ีสดุ
คือ มีห้องเรียนและหอ้ งปฏบิ ตั ิการทพ่ี รอ้ มใช้ มีความพึงพอใจระดบั มากทีส่ ุด ( = 4.81, S.D. =
0.57) รองลงมา ครมู ีความรับผิดชอบและต้ังใจในการสอน มีความพงึ พอใจระดับ มากท่ีสุด ( = 4.71,
S.D. = 0.20) และครมู ีความสามารถในการจดั การเรียนการสอน มีความพึงพอใจระดับ มาก ( = 4.46,
S.D. = 0.91) ตามลาดับ
ด้านกระบวนการ มีความพงึ พอใจระดบั มาก ( = 4.63, S.D. = 0.82 ) โดยเรยี งลาดับได้
ดีทส่ี ดุ คือ กิจกรรมการเรียนรู้มุ่งส่งเสรมิ ทกั ษะดา้ นการคิด มคี วามพงึ พอใจระดบั มากที่สุด ( =
4.57, S.D. = 0.22) รองลงมา คอื จดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ เ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ มีความพึงพอใจระดบั
มากท่ีสดุ ( = 4.83, S.D. = 0.43) มกี ารรายงานผลการเรยี นใหน้ กั เรียนทราบเป็นระยะ มีความพงึ
พอใจระดบั มากทสี่ ุด ( = 4.83, S.D. = 0.48) และมกี ารสร้างแรงจูงใจในการเรยี นรู้ มคี วามพงึ พอใจ
ระดบั มากที่สุด ( = 4.55, S.D. = 0.85) ตามลาดบั
ด้านผลผลติ มีความพึงพอใจระดบั มาก ( = 4.46, S.D. = 0.92 ) โดยเรียงลาดับไดด้ ีทสี่ ดุ
คือ นักเรยี นมคี วามรเู้ พิ่มข้ึนหลงั จากการจดั การเรียนรู้ มคี วามพึงพอใจระดบั มากท่สี ุด ( = 4.57,
S.D. = 0.88) รองลงมา คือ นกั เรยี นมคี วามคิดสร้างสรรค์ รจู้ กั แกป้ ญั หา การสรา้ งปัญญา และ
การบรู ณาการ มีความพงึ พอใจระดบั มาก ( = 4.48, S.D. = 0.96) และนกั เรยี นสามารถนาความรู้
ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ มีความพงึ พอใจระดับมาก ( = 4.32, S.D. = 0.91) ตามลาดับ
41
ตารางท่ี 3 แสดงผลการสารวจผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
จานวน 84 คน
ระดับผลการเรยี น จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ
47.62
4 40 13.9
15.48
3.5 11 11.90
11.90
3 13
-
2.5 10 -
-
2 10 76.19
1.5 -
1-
ไม่ผ่านเกณฑ์ -
รวมจานวนนักเรยี นท่ผี ่านเกณฑ์
( ต้งั แต่ระดบั 3 ขนึ้ ไปร้อยละ 75)
ท่มี า : งานวัดผล โรงเรียนบ้านไผ่
จากตารางที่ 3 ผลการสารวจผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย พบวา่ มี
จานวนนักเรียนที่ผา่ นเกณฑ์ของโรงเรยี นท่กี าหนดไว้ คือ มีผลการเรยี นตงั้ แต่ระดับ 3 ข้นึ ไปรอ้ ยละ
75 จานวน 64 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.19
ตารางท่ี 4 แสดงผลการสารวจดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4
จานวน 84 คน
ผลการประเมนิ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ
3 82 97.62
22 2.38
1-
ทม่ี า : งานวดั ผล โรงเรยี นบ้านไผ่ -
จากตารางที่ 4 ผลการสารวจคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของนกั เรยี นในรายวิชา
ประวตั ศิ าสตร์ไทย พบว่า ส่วนใหญม่ ผี ลการประเมินอยใู่ นระดับดีเย่ียม ( ระดับ 3 ) มีจานวน
82 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 97.62 และผลการประเมินอยู่ในระดับดี (ระดบั 2) จานวน 2 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 2.38
42
บทท่ี 5
สรุปผล อภิปรายผล
การประเมนิ หลักสูตรรายวิชาประวตั ิศาสตร์ไทย ในคร้งั นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านไผ่ พุทธศักราช 2557 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา ส31102
ประวัตศิ าสตรไ์ ทย 1 และ ส31104 ประวัติศาสตร์ไทย 2 ในองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท
ดา้ นปจั จัยเบื้องต้น ดา้ นกระบวนการ และด้านผลผลติ
การประเมินในคร้งั นี้ ผูป้ ระเมนิ นาเสนอผลการประเมินเปน็ 2 ตอน ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของหลกั สูตรรายวชิ าประวตั ิศาสตรไ์ ทย โดย
ผบู้ รหิ าร/ครู และนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4
ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากการสารวจดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและดา้ น
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ในรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย
กลุ่มเปา้ หมายท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาคร้ังนี้ ประกอบด้วย
1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครกู ลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม จานวน 7 คน
2. นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 84 คน
เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นประเมิน ประกอบดว้ ย
1. แบบประเมินหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย สำหรับผู้บริหารและครูผู้สอน
2. แบบประเมินหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตรไ์ ทย สำหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษา
ปที ่ี 4
3. แบบสารวจด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ในรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ไทย
การวเิ คราะหข์ ้อมูลในครัง้ นผ้ี ปู้ ระเมินไดใ้ ชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Excel) โดยหาค่ารอ้ ยละ
คา่ เฉลีย่ ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.)
สรุปผล
ผลการศึกษา สามารถสรปุ ไดด้ ังน้ี
1. ผลการประเมนิ หลกั สูตรรายวิชาประวัติศาสตรไ์ ทย โดยผบู้ รหิ ารและครู
พบว่า ผู้บริหารและครูผู้สอนมีความพึงพอใจเก่ียวกับการจัดทาหลักสูตรรายวิชา
ประวัติศาสตร์ไทยอย่ใู นระดบั มาก เมอื่ พิจารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ด้านที่ผู้บริหารและครูผสู้ อน
เห็นด้วยในระดับมากท่สี ดุ ไดแ้ ก่ ดา้ นผลผลิต รองลงมาคือ ด้านบริบท ด้านการจัดกระบวนการและ
ด้านปจั จัยเบ้ืองตน้ ตามลาดับ
43
2. ผลการประเมนิ หลกั สตู รรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย โดยนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
พบวา่ นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 มีความพงึ พอใจเก่ียวกบั การจัดทาหลักสูตรรายวิชา
ประวัติศาสตร์ไทยอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านท่ีนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 4 เห็นด้วยในระดับมากท่ีสุด ได้แก่ ด้านกระบวนการ รองลงมาคือ ด้านปัจจัย
เบอ้ื งตน้ และดา้ นผลผลติ ตามลาดบั
3. ผลการสารวจด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของ
นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ในรายวชิ าประวตั ิศาสตรไ์ ทย
พบว่าด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์ของโรงเรียนท่ีตั้งไว้คือมีผลการเรียนต้ังแต่
ระดบั 3 ข้นึ ไป รอ้ ยละ 75 สว่ นดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคส์ ว่ นใหญ่อยใู่ นระดบั ดเี ย่ียม
อภปิ รายผล
1. การประเมนิ หลกั สูตรรายวิชาประวัติศาสตรไ์ ทย โดยผบู้ ริหาร/ครู
จากผลการประเมินหลกั สูตรรายวิชาประวตั ิศาสตรไ์ ทยโดยความคิดเห็นของผู้บรหิ าร
และครูในภาพรวม พบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มาก และเม่ือพิจารณาถงึ ความเหมาะสมในแต่
ละดา้ น พบว่า มคี วามเหมาะสมในระดับ มากถึงมากที่สดุ ซงึ่ มีสาเหตุดังตอ่ ไปน้ี
2.1 ดา้ นบริบท
จากผลการประเมนิ พบว่า มีความเหมาะสมในระดบั มาก ซ่งึ เป็นผลมาจาก
ผู้บริหารและครูผูส้ อน ได้มีสว่ นร่วมในการจดั ทาหลักสูตร โดย มสี ว่ นรว่ มในการวเิ คราะห์ อภปิ ราย
เป็นผลใหก้ ารจดั ทาหลักสตู รรายวชิ าประวัติศาสตรไ์ ทย มคี วามถกู ตอ้ งเหมาะสมและสอดคล้องกับ
บริบทของโรงเรยี นบา้ นไผ่ ซง่ึ เป็นโรงเรยี นมาตรฐานสากลไดด้ ีย่ิงขึ้น
2.2 ดา้ นปจั จัยเบ้ืองตน้
จากผลการประเมินพบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มาก ซึ่งเป็นผลมาจาก
ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านไผ่มีศักยภาพ ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น
ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญดว้ ยวธิ กี ารท่ีหลากหลายท้ังในและนอกห้องเรียนได้อย่างเหมาะสม อีกทั้ง จัด
กระบวนการเรยี นรู้ตามแนวทางของโรงเรียนมาตรฐานสากล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
ทุกกิจกรรมการเรียนรู้ มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างเพียงพอและเหมาะสม มีการ
วดั ผลและประเมินด้วยวิธีการท่หี ลากหลาย ตามสภาพจรงิ และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
2.3 ดา้ นกระบวนการ
จากผลการประเมินพบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มาก ซ่ึงเป็นผลมาจาก
โรงเรียนมกี ารประเมนิ หลกั สูตรทกุ 3 ปี เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับความ
ต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนความต้องการของชุมชน และให้สอดคล้องกับการ
เปล่ียนแปลงของสังคม และยังมีกระบวนการนิเทศ ติดตามการนาหลักสูตรไปใช้ของทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ อย่างจริงจังและต่อเนื่อง รวมทั้งมีการประเมินผลการใช้หลักสูตรและการทา
วจิ ยั เพื่อพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไผใ่ หม้ คี วามเหมาะสมมากทีส่ ดุ
44
2.4 ดา้ นผลผลิต
จากผลการประเมนิ พบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มาก ซ่ึงเป็นผลมาจาก
ครมู ีศักยภาพ มีความรับผิดชอบ โรงเรียนมีความพร้อมและสนับสนุนท้ังงบประมาณและอ่ืนๆ
เพื่อพัฒนานักเรียนให้เต็มตามศักยภาพ นักเรียนมีความรู้และทักษะรอบด้าน ตลอดจนมีจิต
อาสา ชว่ ยเหลอื สงั คม มที กั ษะชีวิตทด่ี ีพรอ้ มจะเตบิ โตเป็นพลเมืองที่ดแี ละมีคุณภาพ
2. การประเมนิ หลักสตู รรายวชิ าประวัติศาสตรไ์ ทยโดยนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4
จากผลการประเมนิ หลกั สตู รรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ไทยโดยนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษา
ปที ี่ 4 ในภาพรวม พบวา่ มคี วามเหมาะสมในระดับ มากที่สุด และเมอ่ื พจิ ารณาถงึ ความเหมาะสมใน
แต่ละด้าน พบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มากถึงมากทสี่ ดุ ซึง่ มสี าเหตุดงั ตอ่ ไปน้ี
2.1 ด้านปจั จยั เบอ้ื งต้น
จากผลการประเมินพบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มาก ซึ่งเป็นผลมาจาก
ครูมีความรู้ความสามารถ มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา และเอาใจใส่นักเรียน ห้องเรียนมี
ความพร้อมทัง้ วัสดุ-อุปกรณแ์ ละเทคโนโลยี การจดั บรรยากาศในห้องเรียนเหมาะสมเอ้ือต่อการ
เรยี นรู้
2.2 ด้านกระบวนการ
จากผลการประเมินพบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มากท่ีสุด ซึ่งเป็นผลมา
จากครมู ีกจิ กรรมการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ใช้สอ่ื ท่ีทันสมัย มีคุณภาพใช้วิธี
กปี่ ระเมนิ ผลที่หลากหลายตามสภาพจริง มีการสร้างแรงจูงใจในการเรียน และรายงานผลการ
เรียนใหน้ กั เรียนทราบเปน็ ระยะ มีการสอนซ่อมเสริมเพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
2.3 ดา้ นผลผลิต
จากผลการประเมินพบว่า มีความเหมาะสมในระดับ มาก ซ่ึงเป็นผลมาจาก
ครูมศี กั ยภาพ มีความรับผิดชอบในการสอน ตรงต่อเวลา เอาใจใส่นักเรียน สอนซ่อมเสริมเพื่อ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ในสว่ นของโรงเรียนมีความพรอ้ มและสนบั สนุนทั้งงบประมาณ
และอื่นๆเพอื่ พฒั นานักเรียนให้เต็มตามศักยภาพ ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้และทักษะรอบด้าน
ตลอดจนมีจิตอาสา ช่วยเหลือสังคม มีทักษะชีวิตที่ดีพร้อมจะเติบโตเป็นพลเมืองท่ีดีและมี
คณุ ภาพ
3. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของนกั เรยี น
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
จากผลการสารวจพบว่า นักเรียนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ผา่ นเกณฑ์ของโรงเรียนที่ตัง้ ไว้
คือมีผลการเรยี นต้ังแต่ระดบั 3 ข้ึนไป ร้อยละ 75 สว่ นด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงคส์ ่วนใหญ่
อยใู่ นระดับดีเย่ียมซึ่งเป็นผลมาจากครมู ศี กั ยภาพ มคี วามรบั ผิดชอบในการสอน ตรงตอ่ เวลาและ
เอาใจใสน่ ักเรียน มกี ารสอนซ่อมเสรมิ เพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ส่งเสริมใหน้ กั เรียนเข้า
ประกวด แข่งขนั ในรายการตา่ งๆ เพือ่ พัฒนานกั เรยี นให้เตม็ ตามศกั ยภาพ และมที กั ษะชวี ติ ท่ีดี
มคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ส่งผลใหน้ กั เรียนมคี ณุ ลกั ษณะตามที่หลกั สูตร สงั คม และชมุ ชน
ตอ้ งการ เช่น เปน็ พลเมืองดีของชาติ ศรัทธายึดม่ันในศาสนา เคารพ รกั และเทิดทูน สถาบนั
พระมหากษัตรยิ ์ ดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ และระมดั ระวัง สามารถ
45
เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม และ มคี ณุ ธรรม มคี วามสามารถในการรับ-ส่งสาร
รจู้ กั เลือกใช้วธิ ีการส่ือสารท่ี มปี ระสิทธิภาพ มคี วามสามารถในการเลอื กใช้ทกั ษะการดาเนินชวี ิต มี
ความต้งั ใจ เพยี รพยายาม / เข้ารว่ มกิจกรรมแสวงหาความรู้ อย่างสม่าเสมอ มีความสามารถในการ
คดิ วเิ คราะห์ สามารถแกป้ ัญหา และอุปสรรค ต่าง ๆ เปน็ ตน้
ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาและวจิ ัยต่อไป
1. ควรมีการประเมนิ หลักสตู รรายวิชาประวัตศิ าสตร์ไทยทุกปกี ารศกึ ษา และนาผลการ
ประเมนิ ไปปรับปรงุ พัฒนา ให้มคี ณุ ภาพเหมาะสมมากข้ึน
2. ควรมกี ารประเมินหลกั สตู รทุกรายวชิ า และทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เพ่ือนาผลของ
การประเมินไปปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สตู รรายวิชาให้มคี ุณภาพมากยิง่ ขนึ้ ซ่ึงจะส่งผลตอ่ คณุ ภาพ
ของผเู้ รียนเปน็ สาคญั
46
บรรณานกุ รม
กรมวชิ าการ. (2545). หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พอ์ งคก์ รรับส่งสินคา้ และพสั ดภุ ณั ฑ์(ร.ส.พ.).
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2548). การใช้หลักสูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามทศั นะของครผู ้สู อน.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารคลงั สนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ์
______. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์
ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด.
ชวลติ ชกู าแพง. (2551). การพฒั นาหลักสตู ร. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ควิ พี.
ฉรตั ไทยอุทิศ. (2547). คมู่ อื การประเมนิ หลักสูตรสถานศกึ ษา. สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาชลบรุ ี
เขต 1. ทวศี กั ดิ์ จินดานุรกั ษ์. (2549). “การพัฒนาหลกั สตู ร” ในประมวลสาระชุดวิชาการ
ประเมนิ หลักสตู รและการเรียนการสอน หนว่ ยที่ 2 หนา้ 49–111. นนทบรุ ี:
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร.์
นภิ ารตั น์ ทิพโชต.ิ (2550). “การประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาชว่ งชั้นท่ี1 และ 2 : กรณีศกึ ษา
โรงเรยี นวงั บึงทองหลาง เขตบางกะปิกรงุ เทพมหานคร” วทิ ยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑติ
สาขาวชิ าการวจิ ัยและสถติ ิทางการศกึ ษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญศรี พรหมมาพนั ธ์.ุ (2551). "สมั มนาการประเมนิ หลกั สตู ร" ใน ประมวลสาระวิชาสัมมนา
การประเมนิ การศึกษา หน่วยท่ี 12 หนา้ 33-54. นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
สาขาวชิ าศึกษาศาสตร.์
พสุ เดชะรนิ ทร.์ (2546). เส้นทางกลยทุ ธ์สู่การปฏบิ ตั ิดว้ ย Balanced Scorecard และ Key
Performance Indicators. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
พิษณุ ฟองศร.ี (2549). การประเมนิ ทางการศึกษาแนวคิดส่กู ารปฏิบัตพิ ิมพค์ รงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ :
เทียมฝา่ การพมิ พ.์
โรงเรียนวัดใหม่สระพลอย. (2553). หลักสูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2553. สพุ รรณบุร:ี โรงเรียน
วัดใหมส่ ระพลอย.
ลดั ดาวัลย์ เพชรโรจน.์ (2549). “ความร้พู ้นื ฐานเกี่ยวกบั การประเมินหลกั สูตรและการเรียน
การสอน” ในประมวลสาระชดุ วชิ าการประเมินหลักสูตรและการเรยี นการสอน หนว่ ยที่ 3
หนา้ 123 – 164. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์.
วัฒนาพร ระงับทุกข.์ (2544). การจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ .
วชิ ัย วงษ์ใหญ่. (2552). “ การประเมนิ หลักสูตร ” ใน ประมวลสาระชดุ วิชาการพัฒนาหลกั สูตร และ
วิทยวธิ ที างการสอน หนว่ ยที่ 13 หนา้ 54 – 129. นนทบุร:ี มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.
ศรสี มร พมุ่ สะอาด. (2549). “การประเมินหลกั สูตรและการเรยี นการสอน” ใน ประมวลสาระ
ชดุ วิชาการประเมินหลักสูตรและการเรียนการสอน หนว่ ยที่ 13 หนา้ 122 – 149. นนทบุรี
มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์. 49