หลักสูตร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ปีการศึกษา 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
นครพนม เขต 1
โ ร ง เ รี ย น น า ถ่ อ น วิท ย า นุ กู ล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ
หลักสูตรสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖4 ได้จัดทำขึ้นให้
สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนาถ่อนวิทยานุกูล ฉบับปรับปรุง ๒๕64 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพและความต้องการของ
ท้องถิ่น
โรงเรียนนาถ่อนวิทยานุกูลได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยได้กำหนด
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง โครงสร้าง
หลักสูตรโรงเรียนนาถ่อนวิทยานุกูล คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา การจัดหน่วยการเรียนรู้
การประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญของ
ผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และอภธิ านศัพท์ เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน
ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ เกิดสมรรถนะสำคัญทั้ง ๕ ประการ และมีคุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์ตามจุดหมายของหลกั สูตร
ขอขอบคุณท่านผู้อำนวยการสถานศึกษา คณะครูผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตร
และขอขอบคุณคณะวทิ ยากรทีใ่ หค้ วามรู้ คำแนะนำในการจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษาจนสำเรจ็ เรียบร้อย
ด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพได้เป็น
อย่างดี
โรงเรยี นนาถอ่ นวิทยานกุ ลู
๒๕64
สารบัญ
เรอ่ื ง หนา้
คำสง่ั กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293 / 2551
คำนำ
วิสัยทัศน.์ ...............................................................................................................................................1
พนั ธกจิ ..................................................................................................................................................1
จดุ หมาย................................................................................................................................................1
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน....................................................................................................................1
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์.....................................................................................................................2
ค่านิยมหลกั 12 ประการ......................................................................................................................2
คณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นในศตวรรษ 21 .......................................................................................................3
ทำไมต้องเรียนรภู้ าษาไทย.....................................................................................................................3
เรยี นรูอ้ ะไรในภาษาไทย........................................................................................................................4
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้...............................................................................................................4
คณุ ภาพผู้เรยี น.......................................................................................................................................5
ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง...................................................................................................7
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นนาถ่อนวิทยานกุ ูล พทุ ธศกั ราช 2564 ..............................26
โครงสร้างหลักสตู รรายวชิ าภาษาไทย.................................................................................................28
คำอธิบายรายวิชา…………………………………………………………………………………………………………………30
การจดั ทำโครงสร้างรายวชิ าและการจัดหน่วยการเรียนรู้ .................................................................๓8
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑................................................................................................................39
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒................................................................................................................45
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓................................................................................................................49
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔................................................................................................................54
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕................................................................................................................59
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖................................................................................................................64
การประเมนิ ผลกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย...................................................................................69
ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้............................................................................................................78
อภิธานศพั ท์................................................................................................................. .......................81
ภาคผนวก.............................................................................................................. .............................90
คณะผจู้ ดั ทำ.................................................................................................................................91
๑
วิสยั ทศั น์
วิชาภาษาไทย มุ่งให้ผู้เรียนนำความร้ไู ปใช้ในการสือ่ สารทัง้ ทางดา้ นการฟัง ดู พูด อ่าน
เขียน มีความคิดสร้างสรรค์ รักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้
ภาษาไทยและความเป็นไทย ภูมิใจและช่ืนชมในวรรณคดีและวรรณกรรม ซ่ึงภูมิปัญญาไทยสามารถนำ
ทักษะทางภาษามาพัฒนาตนและประยุกต์ในการดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมตาม
สถานการณ์ มคี ุณธรรม จริยธรรม วสิ ัยทัศน์ โลกทศั น์ทีก่ วา้ งไกลและลกึ ซงึ้
พนั ธกิจ
1. พฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนการสอน
2. พัฒนาครู-อาจารย์ สู่มาตรฐานวิชาชีพและความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
3. พฒั นาแหลง่ ความรู้ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยที ที่ นั สมัยอันเหมาะสมมาใช้
4. เสรมิ สร้างความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งโรงเรียนกับชมุ ชน เพื่ออนรุ กั ษแ์ ละสบื สาน
วฒั นธรรมตลอดจนภูมปิ ัญญาพ้นื บา้ น
5. เสริมสร้างใหน้ ักเรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทีพ่ ึงประสงค์
จุดหมาย
นักเรียนนำความรู้ด้านภาษาไทยไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถ
พัฒนางานและนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างเหมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึง
ประสงค์ มคี วามรกั และความภูมิใจในภาษาไทย
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
ในการพัฒนาผ้เู รียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นนาถอ่ นวิทยานุกูล ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี ำหนด มงุ่ ให้ผ้เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรม
ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล
และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อ
ตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์
ความรหู้ รอื สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๒
๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรค
ต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้
มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิด ขึ้น
ตอ่ ตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และ
การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ
ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการร้จู ักหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ท่สี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี
ด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้
การส่ือสารการทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้เู รียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนาถ่อนวิทยานุกูล ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
ดงั น้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซ่อื สัตย์สจุ ริต
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
๖.มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจติ สาธารณะ
คา่ นยิ มหลัก 12 ประการ
1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2. ซือ่ สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสงิ่ ท่ีดีงามเพ่ือส่วนรวม
3. กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หม่ันศกึ ษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี อ่ ผู้อ่ืน เผื่อแผแ่ ละแบ่งปัน
๓
7. เขา้ ใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขทถี่ ูกต้อง
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผ้นู อ้ ยรจู้ ักการเคารพผู้ใหญ่
9. มสี ตริ ตู้ วั รู้คดิ รทู้ ำ รู้ปฏบิ ตั ติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั
10. รจู้ กั ดำรงตนอยโู่ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดำรสั ของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รู้จกั อดออมไว้ใช้เม่ือยามจำเปน็ มไี ว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลอื ก็แจกจ่าย
จำหนา่ ยและพร้อมทจ่ี ะขยายกจิ การเม่ือมีความพร้อม เมื่อมีภมู คิ ุ้มกันทีด่ ี
11. มคี วามเขม้ แข็งทั้งรา่ งกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพ้ตอ่ อำนาจฝ่ายตำ่ หรอื กเิ ลส
มคี วามละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลักของศาสนา
12. คำนงึ ถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง
คุณลกั ษณะผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21
๑. มีคณุ ธรรมกำกับใจ เป็นคนดมี นี ำ้ ใจ เอ้ือเฟื่อเผอื่ แผ่
2. เปน็ ผ้มู นี สิ ยั ใฝร่ ูใ้ ฝเ่ รยี น มคี วามเพยี รพยายามที่จะแสวงหา ความรู้ให้ถงึ สุดขอบ
ความรทู้ ส่ี ามารถเขา้ ถึงได้
3. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างน้อย ๒ ภาษาได้อยา่ งเช่ยี วชาญ
4. มีพน้ื ฐานและทกั ษะการคำนวณท่ีดี และมคี วามชำนาญในการใชค้ อมพิวเตอร์และ
อปุ กรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ
5. สามารถเล่นดนตรแี ละกีฬาเป็นอย่างนอ้ ย ๑ ชนดิ
6. สามารถจดั การใจและมีวิธีคดิ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาอย่างยง่ั ยนื
7. พร้อมเผชิญปญั หาและสามารถเลอื กวธิ ีแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ทำไมตอ้ งเรยี นภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็น
เอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสาร
เพ่ือสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิต
ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก
แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์
ใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ้ น
การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้าน
วฒั นธรรม ประเพณี และสนุ ทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรยี นรู้ อนุรกั ษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่
ชาติไทยตลอดไป
๔
เรยี นรู้อะไรในภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร
การเรยี นรอู้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และเพื่อนำไปใชใ้ นชีวติ จริง
• การอ่าน การอ่านออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ชนิด
ต่าง ๆ การอ่านในใจเพ่ือสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากส่ิงท่ีอ่าน เพ่ือ
นำไป ปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
• การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนส่ือสาร โดยใช้ถ้อยคำและรูปแบบ
ต่างๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตาม
จินตนาการ วิเคราะหว์ ิจารณ์ และเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์
• การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความ
คิดเหน็ ความรสู้ กึ พดู ลำดับเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ทัง้ เป็นทางการ
และไมเ่ ป็นทางการ และการพูดเพือ่ โนม้ น้าวใจ
• หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้
ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของ
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
• วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูล
แนวความคิด คณุ ค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเขา้ ใจบทเห่ บทรอ้ ง
เล่นของเด็ก เพลงพ้ืนบ้านที่เป็นภูมิปัญญาท่ีมีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม
ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้เกิดความซาบซ้ึงและ
ภูมใิ จ ในบรรพบรุ ุษที่ได้สง่ั สมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จบุ ัน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ
แกป้ ญั หาในการดำเนินชีวติ และมนี ิสัยรกั การอา่ น
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน
เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้
ความคิด และความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ
๕
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
ไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
คุณภาพผู้เรยี น
จบช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓
• อา่ นออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เร่ืองส้ัน ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ
ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับ
เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบาย
จากเรื่องที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนังสือ
อย่างสม่ำเสมอ และมีมารยาทในการอ่าน
• มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึก
ประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและ
มีมารยาทในการเขียน
• เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ต้ังคำถาม ตอบคำถาม รวมท้ังพูดแสดง
ความคิดความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนำ หรือพูด
เชิญชวนให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
• สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์
หน้าที่ของคำในประโยค มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ แต่ง
ประโยคง่าย ๆ แต่งคำคล้องจอง แต่งคำขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
เหมาะสมกับกาลเทศะ
• เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อม
เด็ก ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยานและ
บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจได้
จบชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖
• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้องอธิบาย
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ข้อความ สำนวนโวหาร จากเรื่องท่ีอ่าน
เข้าใจคำแนะนำ คำอธิบายในคู่มือต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมทั้งจับใจ
ค ว า ม ส ำ คัญ ข อ งเรื่อ ง ที่อ่า น แ ล ะ น ำ ค ว า ม รู้ค ว า ม คิด จ า ก เรื่อ ง ที่ อ่า น ไ ป ตัด สิน ใจ แ ก้ปัญ ห า ใน ก า ร
ดำเนินชีวิตได้มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่งท่ีอ่าน
• มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ
แต่งประโยคและเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ
โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว
กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่าง
สร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน
๖
• พูดแสดงความรู้ ความคิดเก่ียวกับเร่ืองที่ฟังและดู เล่าเร่ืองย่อหรือสรุปจากเรื่อง
ที่ฟังและดู ตั้งคำถาม ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟัง
และดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดตามลำดับข้ันตอนเร่ืองต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็น
ค้นคว้าจากการฟัง การดู การสนทนา และพูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการดู
และพูด
• สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษิต รู้และ
เข้าใจชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ใช้คำราชาศัพท์และคำสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่
กลอนสุภาพ และกาพย์ยานี ๑๑
• เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้าน
ร้องเพลงพื้นบ้านของท้องถ่ิน นำข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจำบท
อาขยานตามท่ีกำหนดได้
๗
ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพือ่ นำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หา
ในการดำเนินชวี ิต และมีนิสยั รกั การอ่าน
ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป. ๑ ๑. อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ
ขอ้ ความสัน้ ๆ คำคล้องจองและข้อความท่ีประกอบด้วยคำ
๒ .บ อ ก ค ว าม ห ม าย ข อ งค ำ แ ล ะ พนื้ ฐาน คือ คำท่ีใช้ในชีวิตประจำวันไมน่ ้อยกว่า
ข้อความที่อ่าน ๖๐๐ คำ รวมท้ังคำท่ีใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อ่นื ประกอบดว้ ย
- คำทมี่ ีรูปวรรณยกุ ตแ์ ละไมม่ รี ปู วรรณยกุ ต์
- คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง
ตามมาตรา
- คำที่มพี ยัญชนะควบกลำ้
- คำที่มีอักษรนำ
๓. ตอบคำถามเกีย่ วกับเรื่องทีอ่ า่ น การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่าง ๆ เชน่
๔. เล่าเรอ่ื งยอ่ จากเรอ่ื งท่อี า่ น - นิทาน
๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่อื งทอี่ ่าน - เรอ่ื งส้ัน ๆ
- บทร้องเลน่ และบทเพลง
- เร่ืองราวจากบทเรยี นในกล่มุ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรยี นร้อู น่ื
๖ .อ่ าน ห นั งสื อ ต า ม ค ว า ม ส น ใจ การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ เชน่
อย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเร่ืองท่ี - หนงั สือทนี่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย
อา่ น - หนังสอื ทีค่ รูและนักเรียนกำหนดร่วมกนั
๗. บอกความหมายของเคร่ืองหมาย การอา่ นเครอ่ื งหมายหรอื สญั ลกั ษณ์
หรือสญั ลักษณ์สำคญั ที่มกั พบเหน็ ใน ประกอบดว้ ย
ชวี ติ ประจำวนั - เครอื่ งหมายสัญลกั ษณต์ ่าง ๆ ทพี่ บเห็น
ในชีวติ ประจำวนั
- เคร่อื งหมายแสดงความปลอดภัยและ
แสดงอนั ตราย
๘. มมี ารยาท ในการอ่าน มารยาทในการอ่าน เชน่
- ไมอ่ ่านเสยี งดงั รบกวนผู้อน่ื
- ไม่เล่นกนั ขณะทอ่ี า่ น
- ไมท่ ำลายหนงั สือ
๘
ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป. ๒ ๑. อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง การอ่านออกเสียงและการบอกวามหมายของ
ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ คำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง
ไดถ้ ูกต้อง ง่าย ๆ ท่ีประกอบด้วยคำพื้นฐานเพ่ิมจาก ป. ๑
๒. อธิบายความหมายของคำและ ไม่นอ้ ยกว่า ๘๐๐ คำ รวมทงั้ คำท่ีใชเ้ รียนรู้
ข้อความทอ่ี ่าน ในกล่มุ สาระการเรียนรู้อืน่ ประกอบดว้ ย
- คำทีม่ ีรูปวรรณยุกตแ์ ละไม่มรี ูปวรรณยุกต์
- คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง
ตามมาตรา
- คำทม่ี ีพยญั ชนะควบกล้ำ
- คำทม่ี ีอกั ษรนำ
- คำท่ีมตี ัวการันต์
- คำทม่ี ี รร
- คำทม่ี พี ยญั ชนะและสระที่ไมอ่ อกเสยี ง
๓. ต้ังคำถามและตอบคำถามเก่ียวกับ การอ่านจบั ใจความจากสือ่ ตา่ ง ๆ เช่น
เรอ่ื งทอี่ า่ น - นทิ าน
๔. ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด - เรือ่ งเล่าส้นั ๆ
จากเรื่องทอี่ ่าน - บทเพลงและบทร้อยกรองง่ายๆ
๕. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน - เรอ่ื งราวจากบทเรียนในกลุม่ สาระการเรยี นรู้
เหตกุ ารณจ์ ากเร่ืองทอี่ า่ น ภาษาไทยและกลุม่ สาระการเรยี นรู้อืน่
- ข่าวและเหตุการณป์ ระจำวนั
๖. อ่านหนังสือตามความสนใจอย่าง การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่
สม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องทีอ่ ่าน - หนังสอื ทน่ี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย
- หนงั สือที่ครูและนกั เรียนกำหนดรว่ มกนั
๗. อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติ การอ่านข้อเขียนเชงิ อธิบาย และปฏิบตั ิ
ตามคำส่งั หรือข้อแนะนำ ตามคำสง่ั หรือข้อแนะนำ
- การใชส้ ถานทส่ี าธารณะ
- คำแนะนำการใช้เคร่ืองใช้ท่ีจำเป็นในบ้านและ
ในโรงเรียน
๘. มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น เชน่
- ไม่อา่ นเสยี งดงั รบกวนผูอ้ ืน่
- ไมเ่ ลน่ กันขณะที่อา่ น
- ไมท่ ำลายหนงั สือ
- ไม่ควรแย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะท่ี
ผ้อู ืน่ กำลังอา่ นอยู่
๙
ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป. ๓ ๑. อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่อง การอ่านออกเสียงและการบอกความหมาย
สั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ ของคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อย
ถูกตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว กรองง่าย ๆ ท่ีประกอบด้วยคำพ้ืนฐานเพิ่มจาก
๒. อธิบายความหมายของคำและ ป.๒ ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คำ รวมท้ังคำที่เรียนรู้
ขอ้ ความที่อ่าน ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อื่น ประกอบดว้ ย
- คำท่มี ตี ัวการันต์
- คำที่มี รร
- คำท่มี ีพยญั ชนะและสระไม่ออกเสียง
- คำพอ้ ง
- คำพเิ ศษอน่ื ๆ เช่น คำทใี่ ช้ ฑ ฤ ฤๅ
๓. ต้ังคำถามและตอบคำถาม การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ต่าง ๆ เช่น
เชิงเหตุผลเกย่ี วกับเร่ืองท่ีอ่าน - นิทานหรือเรอื่ งเก่ยี วกับท้องถนิ่
๔. ลำดับเหตุการณแ์ ละคาดคะเน - เรอื่ งเล่าสนั้ ๆ
เหตกุ ารณจ์ ากเรอ่ื งทอี่ ่านโดยระบุ - บทเพลงและบทร้อยกรอง
เหตผุ ลประกอบ - บทเรียนในกลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ืน่
๕. สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองท่ี - ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันในท้องถิ่น
อ่านเพอ่ื นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน และชมุ ชน
๖ . อ่ าน ห นั งสื อ ต าม ค ว าม ส น ใจ การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เชน่
อย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องท่ี - หนังสอื ท่ีนกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย
อ่าน - หนงั สือทีค่ รแู ละนกั เรยี นกำหนดร่วมกัน
๗. อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตาม
ตามคำสง่ั หรอื ข้อแนะนำ คำสัง่ หรอื ข้อแนะนำ
- คำแนะนำตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน
- ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำขวัญ
๘. อธิบายความหมายของข้อมูลจาก การอา่ นข้อมลู จากแผนภาพ แผนท่ี
แผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ และแผนภมู ิ
๙. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เช่น
- ไมอ่ า่ นเสียงดังรบกวนผูอ้ ่นื
- ไม่เล่นกันขณะท่อี า่ น
- ไม่ทำลายหนังสือ
- ไม่ควรแย่งอา่ นหรือชะโงกหนา้ ไปอ่านขณะ
ท่ผี ู้อืน่ กำลงั อ่าน
๑๐
ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป. ๔ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ การอ่านออกเสียงและการบอกความหมาย
บทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้อง ข อ ง บ ท ร้ อ ย แ ก้ ว แ ล ะ บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง ที่
๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค ประกอบดว้ ย
และสำนวนจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน - คำทม่ี ี ร ล เปน็ พยัญชนะต้น
- คำท่มี ีพยัญชนะควบกล้ำ
- คำท่ีมอี ักษรนำ
- คำประสม
- อักษรยอ่ และเคร่ืองหมายวรรคตอน
- ประโยคที่มีสำนวนเป็นคำพังเพย สุภาษิต
ปรศิ นาคำทาย และเครอื่ งหมายวรรคตอน
การอ่านบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ
๓. อ่านเรื่องส้ัน ๆ ตามเวลาท่ีกำหนด การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่าง ๆ เชน่
และตอบคำถามจากเรือ่ งที่อ่าน - เรอ่ื งส้นั ๆ
๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น - เรอื่ งเลา่ จากประสบการณ์
จากเร่ืองท่อี า่ น - นิทานชาดก
๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน - บทความ
โดยระบเุ หตผุ ลประกอบ - บทโฆษณา
๖. สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากเรอ่ื ง - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
ท่ีอา่ นเพ่ือนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั - ข่าวและเหตุการณป์ ระจำวัน
- สารคดแี ละบันเทิงคดี
๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความ การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เช่น
สนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความ - หนังสอื ทน่ี ักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย
คิดเห็นเก่ยี วกบั เรอื่ งทอ่ี า่ น - หนงั สอื ที่ครูและนกั เรียนกำหนดร่วมกัน
๘. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น
ป. ๕ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ การอ่านออกเสียงและการบอกความหมาย
บทร้อยกรองไดถ้ ูกต้อง ข อ ง บ ท ร้ อ ย แ ก้ ว แ ล ะ บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง ที่
๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค ประกอบด้วย
และข้อความท่ีเป็นการบรรยาย - คำท่มี พี ยัญชนะควบกลำ้
และการพรรณนา - คำทม่ี ีอกั ษรนำ
๓. อธบิ ายความหมายโดยนัย จากเร่ือง - คำทม่ี ตี ัวการนั ต์
ทอี่ ่านอย่างหลากหลาย - อกั ษรย่อและเครือ่ งหมายวรรคตอน
- ข้อความทเี่ ปน็ การบรรยายและพรรณนา
- ขอ้ ความทม่ี ีความหมายโดยนัย
๑๑
ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ
๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก การอา่ นจบั ใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ เชน่
เรื่องทอ่ี า่ น - วรรณคดีในบทเรียน
๕. วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น - บทความ
เกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่านเพื่อนำไปใช้ - บทโฆษณา
ในการดำเนินชวี ิต - งานเขียนประเภทโนม้ น้าวใจ
- ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจำวัน
๖. อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่ัง ก า ร อ่ า น งา น เขี ย น เชิ งอ ธิ บ า ย ค ำ ส่ั ง
ขอ้ แนะนำ และปฏิบตั ติ าม ข้อแนะนำ และปฏิบตั ิตาม เชน่
- การใชพ้ จนานุกรม
- การใชว้ สั ดุอุปกรณ์
- การอา่ นฉลากยา
- คู่มือและเอกสารของโรงเรียนที่เกย่ี วขอ้ งกับ
นกั เรียน
- ข่าวสารทางราชการ
๗. อ่า น ห นัง สือ ที่มีคุณ ค่า ต า ม การอ่านหนังสอื ตามความสนใจ เช่น
ความสนใจอย่างสม่ำเสมอและ - หนังสอื ท่ีนกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั
แ ส ด ง ค ว า ม คิด เห็น เ กี่ย ว กับ - หนงั สือที่ครูและนกั เรียนกำหนดรว่ มกนั
เรื่องที่อ่าน
๘. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน
ป. ๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ การอ่านออกเสียงและการบอกความหมาย
บทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ข อ ง บ ท ร้ อ ย แ ก้ ว แ ล ะ บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง
๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค ประกอบดว้ ย
และขอ้ ความที่เป็นโวหาร - คำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ
- คำท่ีมอี กั ษรนำ
- คำทม่ี ีตวั การันต์
- คำที่มาจากภาษาตา่ งประเทศ
- อกั ษรย่อและเครือ่ งหมายวรรคตอน
- วนั เดอื น ปแี บบไทย
- ข้อความทเี่ ปน็ โวหารตา่ ง ๆ
- สำนวนเปรียบเทยี บ
การอ่านบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ
๑๒
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
๓. อ่านเร่ืองส้ัน ๆ อย่างหลากหลาย การอา่ นจบั ใจความจากส่ือต่าง ๆ เช่น
โดยจับเวลาแล้วถามเกย่ี วกบั เรอ่ื ง - เรอื่ งส้นั ๆ
ท่ีอา่ น - นทิ านและเพลงพน้ื บา้ น
๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก - บทความ
เร่ืองท่อี า่ น - พระบรมราโชวาท
๕. อธิบายการนำความรู้และความคิด - สารคดี
จากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหา - เร่ืองสัน้
ในการดำเนินชวี ติ - งานเขยี นประเภทโนม้ นา้ ว
- บทโฆษณา
- ขา่ ว และเหตกุ ารณส์ ำคัญ
การอ่านเร็ว
๖. อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ก า ร อ่ า น งา น เขี ย น เชิ งอ ธิ บ า ย ค ำ สั่ ง
ขอ้ แนะนำ และปฏิบตั ติ าม ขอ้ แนะนำ และปฏิบัตติ าม
- การใช้พจนานกุ รม
- การปฏบิ ัติตนในการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม
- ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันในโรงเรียน และ
การใชส้ ถานท่สี าธารณะในชุมชนและท้องถิน่
๗. อธิบายความหมายของข้อมูล จาก การอ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ
การอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
และกราฟ
๘. อ่านหนังสือตามความสนใจ และ การอ่านหนงั สอื ตามความสนใจ เชน่
อธบิ ายคณุ คา่ ทีไ่ ด้รับ - หนังสือทน่ี ักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั
- หนังสืออ่านท่คี รูและนักเรยี นกำหนดรว่ มกนั
๙. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน
๑๓
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวใน
รปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
ชั้น ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป. ๑ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด
การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั
๒. เขยี นส่อื สารดว้ ยคำและประโยคงา่ ย ๆ ตามรปู แบบการเขยี นตวั อักษรไทย
๓. มมี ารยาทในการเขียน การเขียนสื่อสาร
- คำที่ใช้ในชีวิตประจำวนั
ป. ๒ ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัด - คำพ้นื ฐานในบทเรียน
๒. เขยี นเรอ่ื งส้นั ๆ เกยี่ วกับประสบการณ์ - คำคลอ้ งจอง
๓. เขียนเรื่องสัน้ ๆ ตามจินตนาการ - ประโยคงา่ ย ๆ
๔. มมี ารยาทในการเขียน
มารยาทในการเขยี น เช่น
ป. ๓ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด - เขียนใหอ้ า่ นงา่ ย สะอาด ไม่ขดี ฆ่า
๒ เขยี นบรรยายเกี่ยวกับสง่ิ ใดสงิ่ หน่งึ - ไม่ขดี เขียนในที่สาธารณะ
ได้อย่างชัดเจน - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี
๓. เขียนบนั ทกึ ประจำวนั และบคุ คล
๔. เขยี นจดหมายลาครู
๕. เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม
รปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย
การเขียนเรอ่ื งสนั้ ๆ เกี่ยวกบั ประสบการณ์
การเขยี นเรอ่ื งสั้น ๆ ตามจนิ ตนาการ
มารยาทในการเขยี น เช่น
- เขยี นให้อา่ นงา่ ย สะอาด ไม่ขีดฆ่า
- ไม่ขีดเขยี นในทีส่ าธารณะ
- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี
และบุคคล
- ไม่เขยี นล้อเลยี นผอู้ ื่นหรือทำให้ผูอ้ ืน่
เสียหาย
การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด
ตามรปู แบบการเขยี นตวั อกั ษรไทย
การเขียนบรรยายเกย่ี วกบั ลักษณะของคน
สตั ว์ ส่ิงของ สถานท่ี
การเขยี นบนั ทกึ ประจำวัน
การเขยี นจดหมายลาครู
การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำ ภาพ
และหัวข้อท่ีกำหนด
๑๔
ช้นั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
๖. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน เช่น
- เขียนให้อา่ นง่าย สะอาด ไม่ขดี ฆา่
- ไมข่ ดี เขียนในทส่ี าธารณะ
- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่
และบคุ คล
- ไมเ่ ขยี นล้อเลยี นผู้อ่นื หรอื ทำใหผ้ ู้อน่ื
เสยี หาย
ป. ๔ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึง การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึง
บรรทดั บรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย
๒. เขียนส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน การเขียนสอื่ สาร เช่น
และเหมาะสม - คำขวัญ
- คำแนะนำ
๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ
ความคดิ เพอื่ ใช้พัฒนางานเขียน ความคิดไปพัฒนางานเขยี น
๔. เขยี นย่อความจากเรอื่ งสน้ั ๆ การเขียนย่อความจากสื่อต่าง ๆ เช่น
นิทาน ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ
จดหมาย คำสอน
๕. เขยี นจดหมายถึงเพอ่ื นและบิดามารดา การเขยี นจดหมายถงึ เพื่อนและบิดามารดา
๖. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจาก การเขียนบันทึกและเขียนรายงานจาก
การศกึ ษาคน้ คว้า การศกึ ษาค้นควา้
๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ การเขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการ
๘. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน
ป.๕ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และ การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั
ครงึ่ บรรทัด และครึ่งบรรทดั ตามรูปแบบการเขียน
ตวั อกั ษรไทย
๒. เขียนส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน การเขยี นสื่อสาร เช่น
และเหมาะสม - คำขวญั
- คำอวยพร
- คำแนะนำและคำอธิบายแสดงขั้นตอน
๓. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ
ความคดิ เพือ่ ใชพ้ ัฒนางานเขยี น ความคดิ ไปพฒั นางานเขยี น
๔. เขยี นยอ่ ความจากเรอ่ื งท่อี ่าน การเขียนย่อความจากสื่อต่าง ๆ เช่น
นิทาน ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ
แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน
โอวาท คำปราศรยั
๑๕
ชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
๕. เขียนจดหมายถงึ ผ้ปู กครองและญาติ การเขียนจดหมายถงึ ผปู้ กครองและญาติ
๖. เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ การเขยี นแสดงความร้สู กึ และความคิดเหน็
ตรงตามเจตนา
๗. กรอกแบบรายการต่าง ๆ การกรอกแบบรายการ
- ใบฝากเงนิ และใบถอนเงิน
- ธนาณัติ
- แบบฝากสง่ พัสดไุ ปรษณยี ภณั ฑ์
๘. เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ การเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ
๙. มมี ารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น
ป.๖ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และ การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด
ครงึ่ บรรทัด และครึง่ บรรทัดตามรูปแบบการเขียน
ตัวอักษรไทย
๒. เขียนส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน การเขียนสอ่ื สาร เช่น
และเหมาะสม - คำขวญั
- คำอวยพร
- ประกาศ
๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ การเขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ
ความคดิ เพอื่ ใช้พัฒนางานเขยี น ความคิด
๔. เขยี นเรียงความ การเขียนเรียงความ
๕. เขียนยอ่ ความจากเรือ่ งทอี่ า่ น การเขียนย่อความจากสื่อต่าง ๆ เช่น
นิทาน ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ
แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน
โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน
ระเบียบ คำส่งั
๖. เขยี นจดหมายส่วนตวั การเขียนจดหมายส่วนตัว
- จดหมายขอโทษ
- จดหมายแสดงความขอบคณุ
- จดหมายแสดงความเหน็ ใจ
- จดหมายแสดงความยินดี
๗. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ การกรอกแบบรายการ
- แบบคำรอ้ งต่าง ๆ
- ใบสมคั รศึกษาตอ่
- แบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณยี ภัณฑ์
๘. เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการและ การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการและ
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์
๙. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น
๑๖
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ ึก
ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป. ๑ ๑. ฟังคำแนะนำ คำส่ังง่าย ๆ และปฏิบัติ การฟังและปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ คำส่งั งา่ ย ๆ
ตาม
๒. ตอบคำถามและเล่าเร่ืองทฟ่ี ังและดู การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น
ท้ังทเ่ี ป็นความรแู้ ละความบนั เทิง ความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้
๓. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก และความบนั เทิง เชน่
จากเรอื่ งทฟี่ งั และดู - เรื่องเลา่ และสารคดีสำหรับเดก็
- นิทาน
- การต์ นู
- เรอื่ งขบขัน
๔. พดู สื่อสารไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ การพูดส่ือสารในชวี ติ ประจำวัน เช่น
- การแนะนำตนเอง
- การขอความชว่ ยเหลอื
- การกลา่ วคำขอบคุณ
- การกลา่ วคำขอโทษ
๕. มีมารยาทในการฟงั การดู มารยาทในการฟงั เช่น
และการพดู - ต้งั ใจฟงั ตามองผู้พดู
- ไม่รบกวนผ้อู น่ื ขณะทฟ่ี งั
- ไม่ควรนำอาหารหรือเคร่ืองดื่มไปรับประทาน
ขณะทีฟ่ ัง
- ให้เกยี รติผู้พูดด้วยการปรบมอื
- ไม่พูดสอดแทรกขณะท่ีฟัง
มารยาทในการดู เช่น
- ตงั้ ใจดู
- ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ
ของผ้อู ืน่
มารยาทในการพดู เช่น
- ใช้ถ้อยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ
กาลเทศะ
- ใชน้ ำ้ เสียงนุ่มนวล
- ไม่พูดสอดแทรกในขณะท่ีผอู้ ่ืนกำลังพดู
๑๗
ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป. ๒ ๑. ฟังคำแนะนำ คำส่ังท่ีซับซ้อน และ การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำส่ังที่
ปฏบิ ัตติ าม ซบั ซ้อน
๒. เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งท่ีเป็นความรู้ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น
และความบันเทิง ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู ท้ังที่เป็นความรู้
๓. บอกสาระสำคญั ของเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู และความบันเทงิ เช่น
๔. ต้ังคำถามและตอบคำถามเก่ียวกับ - เรื่องเลา่ และสารคดีสำหรบั เดก็
เรอ่ื งที่ฟังและดู - นิทาน การต์ นู และเรือ่ งขบขนั
๕. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก - รายการสำหรับเดก็
จากเรือ่ งที่ฟังและดู - ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวัน
- เพลง
๖. พดู สอ่ื สารได้ชดั เจนตรงตาม การพดู ส่อื สารในชวี ติ ประจำวัน เชน่
วตั ถปุ ระสงค์ - การแนะนำตนเอง
- การขอความช่วยเหลอื
- การกลา่ วคำขอบคณุ
- การกลา่ วคำขอโทษ
- การพูดขอรอ้ งในโอกาสต่าง ๆ
- การเลา่ ประสบการณใ์ นชวี ติ ประจำวัน
๗. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด มารยาทในการฟัง เช่น
- ต้ังใจฟัง ตามองผพู้ ูด
- ไม่รบกวนผ้อู ืน่ ขณะทีฟ่ งั
- ไม่ควรนำอาหารหรือเคร่ืองดื่มไปรับประทาน
ขณะท่ีฟัง
- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะทฟ่ี งั
มารยาทในการดู เชน่
- ตั้งใจดู
- ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ
ของผ้อู ่ืน
มารยาทในการพูด เช่น
- ใช้ถ้อยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ
กาลเทศะ
- ใชน้ ้ำเสียงนมุ่ นวล
- ไม่พดู สอดแทรกในขณะทผี่ อู้ ่ืนกำลังพดู
- ไม่พูดล้อเลียนให้ผู้อื่นได้รับความอับอายหรือ
เสียหาย
๑๘
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป. ๓ ๑. เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็นและ
ดูทัง้ ที่เปน็ ความรู้และความบนั เทิง ความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้
๒. บอกสาระสำคญั จากการฟังและ และความบนั เทิง เช่น
การดู - เรื่องเลา่ และสารคดสี ำหรับเด็ก
๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับ - นทิ าน การ์ตูน เร่อื งขบขัน
เรือ่ งทฟ่ี งั และดู - รายการสำหรับเดก็
๔. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก - ขา่ วและเหตุการณใ์ นชีวิตประจำวัน
จากเรื่องทีฟ่ ังและดู - เพลง
๕ . พู ด สื่ อ ส า ร ได้ ชั ด เจ น ต ร ง ต า ม การพูดสอ่ื สารในชวี ติ ประจำวนั เช่น
วัตถุประสงค์ - การแนะนำตนเอง
- การแนะนำสถานทใี่ นโรงเรยี นและ
ในชมุ ชน
- การแนะนำ/เชิญชวนเกี่ยวกับการปฏิบัติตน
ในด้านต่าง ๆ เช่น การรักษาความสะอาด
ของรา่ งกาย
- การเลา่ ประสบการณใ์ นชีวิตประจำวัน
- การพูดในโอกาสต่าง ๆ เช่น การพูดขอร้อง
การพูดทักทาย การกลา่ วขอบคุณและขอโทษ
การพูดปฏิเสธ และการพูดชกั ถาม
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู มารยาทในการฟงั เชน่
และการพดู - ตง้ั ใจฟงั ตามองผู้พดู
- ไมร่ บกวนผอู้ ่นื ขณะที่ฟงั
- ไม่ควรนำอาหารหรือเคร่ืองดื่มไปรับประทาน
ขณะท่ฟี งั
- ไมแ่ สดงกิรยิ าทไ่ี ม่เหมาะสม เชน่ โห่ ฮา หาว
- ให้เกยี รตผิ พู้ ูดดว้ ยการปรบมอื
- ไม่พดู สอดแทรกขณะที่ฟงั
มารยาทในการดู เช่น
- ตงั้ ใจดู
- ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ
ของผู้อน่ื
มารยาทในการพดู เช่น
- ใช้ถ้อยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ
กาลเทศะ
- ใชน้ ำ้ เสียงนุม่ นวล
- ไมพ่ ดู สอดแทรกในขณะที่ผ้อู น่ื กำลงั พดู
- ไมพ่ ูดลอ้ เลียนใหผ้ ูอ้ ื่นไดร้ ับความอับอายหรือ
๑๙
ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
เสียหาย
ป. ๔ ๑. จำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก การจำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่อง
เรอื่ งท่ฟี งั และดู ทีฟ่ งั และดู ในชีวติ ประจำวนั
๒. พดู สรุปความจากการฟังและดู การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้
๓. พดู แสดงความรู้ ความคดิ เห็นและ ความคิดในเรอื่ งทีฟ่ ังและดู จากสื่อตา่ ง ๆ เช่น
ความรสู้ กึ เกี่ยวกบั เรือ่ งท่ฟี ังและดู - เรื่องเลา่
๔. ต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล - บทความสั้น ๆ
จากเรอื่ งท่ีฟงั และดู - ข่าวและเหตุการณป์ ระจำวนั
- โฆษณา
- สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์
- เรื่องราวจากบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรู้อื่น
๕. รายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษา การรายงาน เชน่
ค้นควา้ จากการฟงั การดู และ - การพดู ลำดบั ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน
การสนทนา - การพูดลำดับเหตุการณ์
๖. มีมารยาทในการฟงั การดู มารยาทในการฟงั การดู และการพดู
และการพูด
ป. ๕ ๑. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และ การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้
ความรูส้ ึกจากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู ความคดิ ในเรื่องท่ฟี ังและดู จากสอ่ื ต่าง ๆ เช่น
๒. ต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล - เร่อื งเลา่
จากเรื่องทฟ่ี งั และดู - บทความ
๓. วเิ คราะห์ความน่าเช่อื ถือจากเร่อื ง - ข่าวและเหตุการณ์ประจำวนั
ที่ฟงั และดูอยา่ งมีเหตผุ ล - โฆษณา
- สื่อสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์
การวเิ คราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรือ่ งทฟ่ี ัง
และดใู นชวี ิตประจำวัน
๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา การรายงาน เชน่
คน้ ควา้ จากการฟัง การดู - การพูดลำดับข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน
และการสนทนา - การพดู ลำดับเหตกุ ารณ์
๕. มมี ารยาทในการฟัง การดู มารยาทในการฟงั การดู และการพดู
และการพดู
๒๐
ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ป.๖ ๑. พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ การพดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจใน
จุดประสงคข์ องเร่ืองที่ฟังและดู จุดประสงคข์ องเรื่องที่ฟงั และดจู ากส่ือตา่ ง ๆ
๒. ต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล ได้แก่
จากเรื่องทีฟ่ ังและดู - สื่อสิง่ พิมพ์
- สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์
๓. วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากการฟัง การวิเคราะหค์ วามนา่ เชอื่ ถอื จากการฟังและดู
และดสู ื่อโฆษณาอย่างมเี หตผุ ล สอื่ โฆษณา
๔. พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษา การรายงาน เช่น
ค้นคว้าจากการฟัง การดู และการ - การพดู ลำดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน
สนทนา - การพดู ลำดบั เหตกุ ารณ์
๕ . พู ดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผล และ การพดู โน้มน้าวในสถานการณ์ต่าง ๆ เชน่
นา่ เชื่อถอื - การเลือกตงั้ กรรมการนกั เรยี น
- การรณรงคด์ ้านตา่ ง ๆ
- การโต้วาที
๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู มารยาทในการฟัง การดู และการพูด
และการพดู
สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ
ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป. ๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์
และเลขไทย เลขไทย
๒. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลูก และการอา่ น
ของคำ เปน็ คำ
มาตราตัวสะกดทตี่ รงตามมาตราและ
ไมต่ รงตามมาตรา
การผนั คำ
ความหมายของคำ
๓. เรยี บเรยี งคำเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ การแตง่ ประโยค
๔. ต่อคำคล้องจองงา่ ย ๆ คำคล้องจอง
ป. ๒ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์
และเลขไทย เลขไทย
๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลกู และการอา่ น
ของคำ เปน็ คำ
๒๑
ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
มาตราตัวสะกดทตี่ รงตามมาตราและ
ไม่ตรงตามมาตรา
การผันอักษรกลาง อกั ษรสูง และอกั ษรต่ำ
คำทมี่ ีตัวการนั ต์
คำที่มีพยญั ชนะควบกล้ำ
คำทม่ี อี ักษรนำ
คำทม่ี ีความหมายตรงขา้ มกัน
คำทม่ี ี รร
ความหมายของคำ
๓. เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตาม การแต่งประโยค
เจตนาของการส่อื สาร การเรียบเรยี งประโยคเป็นข้อความส้นั ๆ
๔. บอกลกั ษณะคำคล้องจอง คำคลอ้ งจอง
๕. เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ภาษาไทยมาตรฐาน
ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ ภาษาถิ่น
ป. ๓ ๑. เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ การสะกดคำ การแจกลกู และการอา่ น
เปน็ คำ
มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รง
ตามมาตรา
การผันอกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรต่ำ
คำที่มีพยญั ชนะควบกล้ำ
คำทม่ี ีอกั ษรนำ
คำทป่ี ระวิสรรชนยี ์และคำท่ี
ไมป่ ระวิสรรชนีย์
คำที่มี ฤ ฤๅ
คำท่ีใช้ บัน บรร
คำทใ่ี ช้ รร
คำท่มี ีตัวการนั ต์
ความหมายของคำ
๒. ระบชุ นิดและหน้าท่ีของคำในประโยค ชนิดของคำ ได้แก่
- คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกรยิ า
๓. ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมายของคำ การใช้พจนานกุ รม
๔. แตง่ ประโยคงา่ ย ๆ การแตง่ ประโยคเพือ่ การส่ือสาร ได้แก่
- ประโยคบอกเล่า
- ประโยคปฏเิ สธ
- ประโยคคำถาม
๒๒
ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
- ประโยคขอร้อง
- ประโยคคำสงั่
๕. แต่งคำคลอ้ งจองและคำขวญั คำคล้องจอง
คำขวญั
๖. เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน ภาษาไทยมาตรฐาน
ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ ภาษาถนิ่
ป. ๔ ๑. สะกดคำและบอกความหมายของคำใน คำในแม่ ก กา
บรบิ ทต่าง ๆ
มาตราตวั สะกด
การผนั อักษร
คำเป็นคำตาย
คำพ้อง
๒. ระบุชนิดและหน้าท่ขี องคำในประโยค ชนิดของคำ ได้แก่
- คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกรยิ า
- คำวเิ ศษณ์
๓ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ การใชพ้ จนานกุ รม
๔. แตง่ ประโยคไดถ้ กู ต้องตามหลกั ภาษา ประโยคสามัญ
- สว่ นประกอบของประโยค
- ประโยค ๒ สว่ น
- ประโยค ๓ ส่วน
๕. แตง่ บทรอ้ ยกรองและคำขวญั กลอนสี่
คำขวญั
๖. บอกความหมายของสำนวน สำนวนทเี่ ป็นคำพังเพยและสภุ าษิต
๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถน่ิ ได้ ภาษาถิ่น
ป. ๕ ๑. ระบชุ นิดและหนา้ ท่ีของคำในประโยค ชนิดของคำ ได้แก่
- คำบุพบท
- คำสันธาน
- คำอุทาน
๒. จำแนกส่วนประกอบของประโยค ประโยคและสว่ นประกอบของประโยค
๓. เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐาน
กับภาษาถ่นิ ภาษาถ่ิน
๔. ใช้คำราชาศพั ท์ คำราชาศพั ท์
๕. บอกคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย คำทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ
๖. แต่งบทรอ้ ยกรอง กาพยย์ านี ๑๑
๒๓
ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
๗. ใช้สำนวนได้ถูกต้อง สำนวนทเ่ี ป็นคำพงั เพยและสุภาษติ
ป. ๖ ๑. วิเคราะหช์ นิดและหนา้ ท่ีของคำใน ชนดิ ของคำ
ประโยค - คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกริยา
- คำวเิ ศษณ์
- คำบุพบท
- คำเชอื่ ม
- คำอทุ าน
๒. ใชค้ ำไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล คำราชาศพั ท์
ระดบั ภาษา
ภาษาถน่ิ
๓. รวบรวมและบอกความหมายของ คำท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศ
คำภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย
๔. ระบุลักษณะของประโยค กลุ่มคำหรอื วลี
ประโยคสามัญ
ประโยครวม
ประโยคซอ้ น
๕. แต่งบทร้อยกรอง กลอนสภุ าพ
๖. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบสำนวนท่ีเป็นคำ สำนวนทเ่ี ปน็ คำพงั เพย และสภุ าษติ
พังเพย และสุภาษติ
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง
ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป. ๑ ๑. บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการ วรรณกรรมร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง
ฟงั วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและ สำหรับเด็ก เช่น
รอ้ ยกรองสำหรบั เด็ก - นิทาน
- เร่ืองสั้นงา่ ย ๆ
- ปริศนาคำทาย
- บทร้องเล่น
- บทอาขยาน
๒๔
ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- บทรอ้ ยกรอง
- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น
๒. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรอง
และบทร้อยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามทกี่ ำหนด
- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ป. ๒ ๑. ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือ วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง
การฟั งวรรณ กรรมสำห รับเด็ก สำหรับเด็ก เชน่
เพือ่ นำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน - นิทาน
- เรอ่ื งสั้นงา่ ย ๆ
- ปรศิ นาคำทาย
- บทอาขยาน
- บทร้อยกรอง
- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน
๒. รอ้ งบทรอ้ งเลน่ สำหรบั เด็ก บทร้องเล่นทม่ี ีคุณคา่
ในท้องถน่ิ - บทร้องเล่นในทอ้ งถ่ิน
- บทรอ้ งเล่นในการละเลน่ ของเด็กไทย
๓. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ คี ุณคา่
และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตาม - บทอาขยานตามทก่ี ำหนด
ความสนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ป. ๓ ๑ . ระบุ ข้ อ คิ ด ท่ี ได้ จ าก ก ารอ่ าน วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพนื้ บ้าน
ว ร ร ณ ก ร ร ม เพื่ อ น ำ ไ ป ใ ช้ ใ น - นิทานหรือเร่ืองในทอ้ งถนิ่
ชวี ิตประจำวัน - เรอ่ื งสั้นงา่ ย ๆ ปริศนาคำทาย
๒. รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อม - บทร้อยกรอง
เด็ ก เพ่ื อ ป ลู ก ฝั งค ว าม ชื่ น ช ม - เพลงพืน้ บ้าน
วัฒนธรรมทอ้ งถิ่น - เพลงกล่อมเดก็
๓. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและ
ท่อี า่ น ตามความสนใจ
๔. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ุณคา่
และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตาม - บทอาขยานตามทีก่ ำหนด
ความสนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
๒๕
ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป. ๔ ๑. ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เชน่
นิทานคติธรรม - นทิ านพน้ื บ้าน
๒. อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพ่ือ - นทิ านคตธิ รรม
นำไปใช้ในชีวิตจริง - เพลงพ้นื บ้าน
- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและ
ตามความสนใจ
๓. รอ้ งเพลงพื้นบา้ น เพลงพืน้ บา้ น
๔. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองทมี่ ีคุณคา่
และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กำหนด
สนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ป. ๕ ๑ . ส รุ ป เร่ื อ งจ าก ว รรณ ค ดี ห รื อ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เชน่
วรรณกรรมท่ีอา่ น - นทิ านพื้นบา้ น
๒. ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่าน - นทิ านคติธรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ - เพลงพืน้ บา้ น
นำไปใชใ้ นชีวิตจริง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี นและ
๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ ตามความสนใจ
วรรณกรรม
๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณคา่
และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กำหนด
สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ
ป. ๖ ๑. แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่
หรือวรรณกรรมท่ีอ่าน - นทิ านพ้ืนบ้านท้องถ่นิ ตนเองและ
๒. เล่านิทานพ้ืนบ้านท้องถ่ินตนเอง ทอ้ งถิ่นอื่น
และนทิ านพ้ืนบา้ นของท้องถนิ่ อน่ื - นทิ านคตธิ รรม
๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และ - เพลงพ้นื บา้ น
ว ร ร ณ ก ร ร ม ที่ อ่ า น แ ล ะ น ำ ไป - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและ
ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ ตามความสนใจ
๔. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี คี ุณคา่
และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามท่กี ำหนด
สนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
๒๖
โครงสร้างหลักสูตรสถานคึกษา
โรงเรียนนาถอ่ นวทิ ยานกุ ูล พทุ ธศกั ราช 2561
๒๗
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนนาถ่อนวิทยานกุ ูล พุทธศกั ราช 2563
กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรียน(ชวั่ โมง/ปี)
กล่มุ สาระการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวตั ศิ าสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ 12๐ 120 120
ศลิ ปะ 40 4๐ 4๐ 8๐ 8๐ 8๐
การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ 4๐ 4๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ 4๐ 4๐
รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ 4๐ 4๐
รายวิชาเพ่มิ เติม ๑6๐ ๑6๐ ๑6๐ 16๐ 16๐ 16๐
ภาษาองั กฤษ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
รวมเวลาเรียน (เพ่มิ เตมิ )
กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 4๐ 4๐ 4๐ 40 40 40
4๐ 4๐ 4๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมแนะแนว ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมนักเรียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ชุมนมุ
๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
กจิ กรรมสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด
๑,๐0๐ ช่วั โมง/ปี
๒๘
โครงสรา้ งหลักสูตรสาระการเรยี นรู้รายวชิ าภาษาไทย
๒๙
โครงสร้างหลักสูตรสาระการเรยี นรู้รายวชิ าภาษาไทย
รายวชิ าพื้นฐาน
ชั้นปี รหสั วชิ า เวลาเรียน
(ช่วั โมง)
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ท ๑๑๑๐๑ ๒๐๐
ประถมศึกษาปที ่ี ๓
ประถมศึกษาปีที่ ๔ ท ๑๒๑๐๑ ๒๐๐
ประถมศกึ ษาปีที่ ๕
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ท ๑๓๑๐๑ ๒๐๐
ท ๑๔๑๐๑ ๑๖๐
ท ๑๕๑๐๑ ๑๖๐
ท ๑๖๑๐๑ ๑๖๐
๓๐
คำอธิบายรายวิชา
๓๑
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย๑ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
คำอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคำ
และข้อความ ตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจ
อย่างสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มัก
พบเห็นในชีวิตประจำวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียน
สื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคำแนะนำ คำส่ังง่ายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม
เล่าเร่ือง พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
เน้นมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและ
บอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ ต่อคำคล้องจองง่ายๆ
บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง
สำหรับเด็ก ฝึกท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้
กระบ วน การอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงห าความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การ
ดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียน
ภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิด
ป ร ะ โย ช น์โ ด ย ใช้ห ลัก ป รัช ญ า ข อ ง เศ ร ษ ฐ กิจ พ อ เพีย ง แ ล ะ ส า ม า ร ถ น ำ ไป ป ร ะ ยุก ต์ใช้กับ
ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวชี้วัด
๓๒
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒
กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คำอธิบายรายวชิ า
ฝกึ อ่านออกเสยี งคำ คำคลอ้ งจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ อธบิ ายความหมาย
ของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความ
คิดเหน็ และคาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสอื ตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรอื่ งท่ีอ่าน
อา่ นข้อเขียนเชงิ อธบิ าย และปฏบิ ตั ิตามคำส่งั หรอื ข้อแนะนำ มีมารยาทในการอา่ น
ฝกึ คดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทดั เขยี นเรื่องสัน้ ๆ เก่ยี วกับประสบการณ์ เขียน
เรื่องส้ันๆ ตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟงั ฟงั คำแนะนำ คำสงั่ ท่ีซับซอ้ นและปฏบิ ตั ติ าม เลา่ เรื่อง บอก
สาระสำคัญของเร่ือง ต้ังคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรง
ตามวัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดูและการพดู
ฝกึ ทกั ษะการเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย เขยี นสะกดคำและบอก
ความหมายของคำ เรียบเรยี งคำเป็นประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการส่อื สาร บอกลักษณะคำคลอ้ งจอง
เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ
ฝกึ จับใจความสำคัญจากเร่อื ง ระบุข้อคิดที่ไดจ้ ากการอา่ นหรือการฟงั วรรณกรรม
สำหรบั เด็ก เพอ่ื นำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ี
กำหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ
กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดู
และการพดู พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารไดถ้ กู ตอ้ ง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็น
คุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจำวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ช้ีวัด
๓๓
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คำอธิบายรายวิชา
ฝกึ อ่านออกเสียงคำ ขอ้ ความ เรอื่ งสน้ั ๆ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ อธิบายความหมาย
ของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุป
ความรู้ ข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่าง
สม่ำเสมอและนำเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำส่ังหรือข้อแนะนำ อธิบาย
ความหมายของขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอา่ น
ฝกึ คดั ลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นบรรยาย เขียนบันทกึ ประจำวัน เขียน
เร่ืองตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขียน
ฝกึ ทักษะการฟงั การดูและการพูด เล่ารายละเอยี ด บอกสาระสำคญั ต้ังคำถาม
ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทใน
การฟัง การดูและการพดู
ฝกึ เขียนตามหลกั การเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบชุ นดิ หน้าท่ี
ของคำ ใชพ้ จนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ เลอื กใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ
ระบุข้อคดิ ที่ไดจ้ ากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั รจู้ กั เพลง
พื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพ่ือปลูกฝังความช่ืนชมวฒั นธรรมท้องถ่ิน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดี
ท่ีอ่าน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการ
อ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคำถาม ตอบคำถาม
ใช้ทกั ษะการฟงั การดแู ละการพูด พดู แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สอ่ื สารไดถ้ ูกต้อง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็น
คุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘,ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ช้ีวัด
๓๔
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คำอธิบายรายวชิ า
ฝึกอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค
และสำนวนจากเร่ืองท่ีอ่าน อ่านเร่ืองส้ัน ๆ ตามเวลาท่ีกำหนดและตอบคำถามจากเรื่องท่ีอ่าน แยก
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ
สรุปความร้แู ละขอ้ คดิ จากเรอ่ื งท่ีอา่ น เพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันเลอื กอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความ
สนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่าน มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วย
ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียน
แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากเรื่องส้ัน ๆ เขียนจด
หมายถึงเพ่ือนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเรื่องตาม
จนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน
ฝกึ ทักษะการฟงั การดูและการพดู จำแนกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็นเร่ืองที่ฟงั และดู
พดู สรุปจากการฟังและดู พดู แสดงความรู้ ความคดิ เห็นและความร้สู กึ เก่ียวกบั เร่ืองที่ฟังและดู ตงั้ คำถาม
และตอบคำถามเชงิ เหตุผลจากเร่ืองที่ฟังและดู พูดรายงานเร่อื งหรือประเด็นท่ีศกึ ษาคน้ คว้าจากการฟงั
การดูและการสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขยี น เขียนสะกดคำ
และบอกความหมายของคำในบริบทตา่ งๆ ระบุชนิดและหน้าทขี่ องคำในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหา
ความหมายของคำแต่งประโยคไดถ้ ูกต้องตามหลักภาษา แตง่ บทร้อยกรองและคำขวัญ บอกความหมาย
ของสำนวน เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ได้
ระบุข้อคิดจากนทิ านพน้ื บา้ นหรอื นิทานคตธิ รรมอธบิ ายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้
ในชวี ิตจริงรอ้ งเพลงพื้นบ้านท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
คิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการ
แกป้ ัญหา การฝึกปฏิบัติอธิบาย บันทึก การตงั้ คำถาม ตอบคำถาม ใช้ทกั ษะการฟัง การดูและการพูดพูด
แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย
เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
วธิ กี ารของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชี้วดั
๓๕
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
คำอธบิ ายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง อธบิ ายความหมายของคำ ประโยคและ
ข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เลือกอ่าน
หนังสือทีม่ ีคณุ คา่ ตามความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมอื ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทัด เขยี นสอ่ื สาร เขียนแผนภาพ
โครงเร่ือง แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึก
และความคิดเห็น กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้ง
คำถาม ตอบคำถาม วเิ คราะหค์ วาม พดู รายงาน มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ระบชุ นิดและหน้าที่ของคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบของประโยค เปรยี บเทียบ
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน ใชค้ ำราชาศัพท์ บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แตง่ บท
ร้อยกรอง ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
สรุปเรื่องจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมทอ่ี ่าน ระบคุ วามรู้ ขอ้ คิดจากการอ่านวรรณคดี
และวรรณกรรมท่ีสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำบท
อาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการ
เขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏบิ ัติ อธบิ าย
บันทึก การต้ังคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สือ่ สารได้ถกู ตอ้ ง รักการเรยี นภาษาไทย เห็น
คุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการ
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนำไปประยุกต์ใชก้ ับชวี ิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชี้วัด
๓๖
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คำอธบิ ายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและ
ข้อความที่เป็นโวหาร อ่านเร่ืองส้ัน ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต อ่านงานเขียน
เชิงอธิบาย คำส่ัง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนท่ี
แผนภมู แิ ละกราฟ เลือกอ่านหนงั สือตามความสนใจและอธิบายคณุ ค่าทไ่ี ดร้ บั มีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคดั ลายมือด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และครึ่งบรรทัด เขยี นสื่อสารโดยใช้คำไดถ้ ูกตอ้ ง
ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียน
เรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตาม
จินตนาการและสร้างสรรค์ มมี ารยาทในการเขยี น
ฝึกทกั ษะการฟงั การดแู ละการพูด พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเร่ืองที่
ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่
ฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและ
การสนทนา พดู โน้มนา้ วอยา่ งมเี หตุผลและน่าเชื่อถอื มมี ารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด
ฝกึ วเิ คราะห์ชนิดและหน้าทข่ี องคำในประโยค ใชค้ ำไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและ
บคุ คล รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ระบลุ กั ษณะของประโยค
แต่งบทรอ้ ยกรอง วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบสำนวนทเี่ ปน็ คำพงั เพยและสุภาษติ
ฝกึ แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอ่าน เล่านทิ านพืน้ บ้านทอ้ งถ่ิน
ตนเองและนิทานพ้ืนบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านและนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน
กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุป
ความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการ
สังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะ
การฟงั การดแู ละการพูด พดู แสดงความคิดเหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารไดถ้ กู ตอ้ ง รกั การเรียนภาษาไทย เห็น
คุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการ
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
๓๗
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชวี้ ดั
๓๘
การจัดทำโครงสรา้ งรายวชิ าและการจดั หน่วยการเรยี นรู้
๓๙
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑1๑๐๑ ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
เวลาเรยี น ๒๐๐ ชวั่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ดับ การเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ดั ช่ัว คะแนน
ท่ี โมง
๑ อักษรแสนสนุก มฐ. ท ๑.๑ อักษรไทยเป็นสัญลักษณ์ท่ีใช้แทน ๑๘ 7
ป. ๑/๑, ป.๑/๒, เสียงในภาษาไทยได้แก่ พยัญชนะ
ป.๑/๓, ป.๑/๗ สระ วรรณยุกต์และตัวเลขไทย
มฐ. ท ๔.๑ การฝกึ อ่านออกเสียงสะกดคำ
ป. ๑/๑ จะทำให้อา่ นคำ ข้อความและเร่ือง
สั้ น ๆ ได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ
ค ล่ อ งแ ค ล่ ว แ ล ะ สั ญ ลั ก ษ ณ์ เป็ น
เครื่องหมายหรือรูปท่ีใช้แทนคำ
หรือข้อความ ต่าง ๆ เพ่ือให้เกิด
ความเข้าใจท่ตี รงกนั
๒ อา เอ อือ อู โอ มฐ. ท ๑.๑ การฝึกอ่านออกเสียงสะกดคำ จะ ๑๕ 7
และอี พนี่ ้องกัน ป. ๑/๑, ป.๑/๒, ทำให้อ่านคำ ข้อความ และเรื่อง
ป.๑/๓ ส้ั น ๆ ได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ
มฐ. ท ๒.๑ คล่องแคล่ว การฝึกคัดลายมือ จะ
ป. ๑/๑ ทำเขียนตัวอักษรไทยได้ถูกต้อง
มฐ. ท ๓.๑ และสวยงาม เม่ือฟังคำสั่งต่าง ๆ
ป. ๑/๑ เราควรต้ังใจฟัง และปฏิบัติตน
มฐ. ท ๔.๑ ตามคำสั่งน้ัน ๆ ได้อย่างถูกต้อง
ป.๑/๒ และเหมาะสม การสะกดคำจะทำ
ให้อ่านและเขียนคำต่าง ๆ ได้
อย่างถกู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว
๔๐
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑1๑๐๑ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
เวลาเรียน ๒๐๐ ชว่ั โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ดับ การเรยี นร้/ู ตัวชี้วัด ชว่ั คะแนน
ท่ี โมง
๓ ร้จู กั แอ อวั เออ มฐ. ท ๑.๑ การสะกดคำจะทำให้อ่านและ ๑๗ 7
ออ เอีย และ เอือ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, เขียนคำต่าง ๆ ข้อความและเร่ือง
ป. ๑/๓ ส้ั น ๆ ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งแ ล ะ
มฐ. ท ๒.๑ คล่องแคล่ว การฝึกคัดลายมือ
ป. ๑/๑ จ ะ ท ำ ให้ เขี ย น ตั ว อั ก ษ ร ไท ย ไ ด้
มฐ. ท ๓.๑ ถูกต้องและสวยงาม การพูดคุย
ป. ๑/๔, ป. ๑/๕ สื่อสารกันมีหลายโอกาส เช่น พูด
มฐ. ท ๔.๑ ทักทาย พูดขอร้อง พูดชักชวน
ป. ๑/๒ พู ด แ น ะ น ำตั ว จึ งค ว รพู ด ให้
เห ม าะ ส ม กั บ โอ ก าส แ ล ะ มี
มารยาทในการพูด
๔ อะ อิ อึ เอะ แอะ มฐ. ท ๑.๑ การสะกดคำจะทำให้อ่านและ ๒๔ 7
และ อุ สนกุ สนาน ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, เขียนคำต่าง ๆ ข้อความและเร่ือง
ป. ๑/๓ สั้ น ๆ ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งแ ล ะ
มฐ. ท ๒.๑ คล่องแคล่ว การฝึกคัดลายมือ
ป. ๑/๑ จ ะ ท ำ ใ ห้ เขี ย น ตั ง อั ก ษ ร ไ ท ย ได้
มฐ. ท ๓.๑ ถกู ต้องและสวยงาม การพูดแสดง
ป. ๑/๓, ป. ๑/๕ ความคิดเห็นเป็นการพูดเพื่อบอก
มฐ. ท ๔.๑ ใหฟ้ งั ทราบวา่ ผพู้ ูดมีความคดิ เห็น
ป. ๑/๒ อยา่ งไรต่อสิง่ ทฟ่ี งั และดู
๔๑
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑1๑๐๑ ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
เวลาเรยี น ๒๐๐ ชวั่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ดับ การเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั ช่วั คะแนน
ท่ี โมง
๕ โอะ เอาะ เอียะ มฐ. ท ๑.๑ การฝึกอ่านออกเสียงสะกดคำจะ ๒๗ 7
เออะและอวั ะ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ทำให้อ่านคำ ข้อความและเรื่อง
หวั เราะรา่ ป. ๑/๓ ส้ั น ๆ ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งแ ล ะ
มฐ. ท ๒.๑ คล่องแคล่ว การฝึกคัดลายมือ
ป. ๑/๑ จ ะ ท ำ ใ ห้ เขี ย น ตั ง อั ก ษ ร ไ ท ย ได้
มฐ. ท ๓.๑ ถูกต้องและสวยงาม การพูดเล่า
ป. ๑/๒ เรื่องเป็นการพูดถ่ายทอดความรู้
มฐ. ท ๔.๑ หรือประสบการณ์ของผู้พูดไปสู่
ป. ๑/๒ ผู้ฟัง การสะกดคำจะทำให้อ่าน
มฐ. ท ๕.๑ และเขยี นคำต่างๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง
ป. ๑/๒ และคล่องแคลว่
๖ สอบกลางปี (๑๕)
7
๗ เอา ใอ อำ ไอ มฐ. ท ๑.๑ การฝึกอ่านออกเสียงสะกดคำจะ ๒๓
ไปด้วยกัน ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ทำให้อ่านคำ ข้อความและเรื่อง
ป. ๑/๓ สั้ น ๆ ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งแ ล ะ
คล่องแคล่ว การฝึกคัดลายมือ
มฐ. ท ๒.๑ จ ะ ท ำ ใ ห้ เขี ย น ตั ง อั ก ษ ร ไ ท ย ได้
ป. ๑/๑ ถูกต้องและสวยงาม ในการอ่าน
ฟงั หรือดเู ร่อื งราวความรตู้ ่างๆเรา
มฐ. ท ๓.๑ ควรฝึกต้ังคำถามและตอบคำถาม
ป. ๑/๒ เพื่อเป็นการทบทวนสรุปความรู้
การสะกดคำจะทำให้อ่านและ
มฐ. ท ๔.๑ เขียนคำต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
ป. ๑/๒ และคลอ่ งแคล่ว
๔๒
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑1๑๐๑ ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
เวลาเรียน ๒๐๐ ช่ัวโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ดับ การเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด ชัว่ คะแนน
ที่ โมง
7
๘ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ มฐ. ท ๑.๑ การฝึกอ่านออกเสียงสะกดคำ ๒๔
7
คืออะไร ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, จะทำให้อ่านคำ ข้อความและ
ป. ๑/๓, ป. ๑/๔ เร่ืองสั้น ๆได้อย่างถูกต้องและ
มฐ. ท ๒.๑ คล่องแคล่ว การเล่าเร่ืองย่อจาก
ป. ๑/๑ เรื่องท่ีอ่าน จะช่วยทบทวนและ
มฐ. ท ๔.๑ สรุปความรทู้ ่ีอ่านมาได้ การฝึกคัด
ป. ๑/๒ ล า ย มื อ จ ะ ท ำ ให้ เขี ย น ตั ว
มฐ. ท ๕.๑ อั ก ษ ร ไท ย ได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ
ป. ๑/๒ สวยงาม การสะกดคำ จะทำให้
อ่านและเขียนสะกดคำได้อย่าง
ถูกต้องและคล่องแคล่ว การ
ท่องจำบทอาขยานหรือบทร้อย
กรองต่าง ๆ จะทำให้อา่ นได้คล่อง
และนอกจากน้ียังทำให้เห็นคุณค่า
ของภาษาไทยดว้ ย
๙ กม เกย กบ มฐ. ท ๑.๑ การฝึกอ่านออกเสียงสะกดคำ ๑๘
มาพบกัน ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, จะทำให้อ่านคำ ข้อความและ
ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, เรื่องส้ัน ๆ ได้อย่างถูกต้องและ
ป. ๑/๕ ค ล่ อ งแ ค ล่ ว ก าร ค า ด ค ะ เน
มฐ. ท ๔.๑ เรื่องราวและเหตุการณ์ เป็นการ
ป. ๑/๒ คิ ด ล่ ว ง ห น้ า โ ด ย อ า ศั ย
ประสบการณ์ ในการคิด แล้ว
กำหนดแนวทางในการปฏิบัติตน
ให้เหมาะสม การสะกดคำจะทำ
ให้อ่านและเขียนคำต่าง ๆ ได้
อยา่ งถูกต้องและคลอ่ งแคลว่
๔๓
โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑1๑๐๑ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑
เวลาเรยี น ๒๐๐ ช่ัวโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
ดับ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ การเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั ชวั่ คะแนน
ท่ี โมง
๑๐ มาตราแม่กด มฐ. ท ๑.๑
ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, การฝึกอ่านออกเสียงสะกดคำ ๑๖ 7
จดจำไว้ ป. ๑/๓, ป. ๑/๖,
ป. ๑/๘ จะทำให้อ่านคำ ข้อความและ
๑๑ เรียนรปู้ ระโยคสนกุ มฐ. ท ๔.๑
ป. ๑/๒ เร่ืองส้ัน ๆ ได้อย่างถูกต้องและ
๑2 สอบวัดผลปลายปี
รวม ๕ มฐ./๒๒ ตวั ชี้วัด มฐ. ท ๑.๑ คล่องแคล่ว การเลือกอ่านหนังสือ
ป. ๑/๑, ป. ๑/๒,
ป. ๑/๓ ท่ีดีมีประโยชน์และเหมาะสมกับ
มฐ. ท ๒.๑
ป. ๑/๒, ป. ๑/๓ วัย จะทำให้ได้รับประโยชน์จาก
มฐ. ท ๔.๑
ป. ๑/๓, ป. ๑/๔ หนังสือท่ีอ่านมากที่สดุ การสะกด
คำ จะทำให้อ่านและเขียนคำต่าง
ๆ ได้อยา่ งถกู ต้องและคล่องแคล่ว
การฝึกอ่านออกเสียงสะกดคำ ๑๘ 7
จะทำให้อ่านคำ ข้อความและ
เร่ื อ ง สั้ น ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ
คล่องแคล่ว การเขียนเรื่องจาก
ภาพ เป็นการเขียนเพ่ือแสดง
ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก
หลังจากดูภาพแล้ว ประโยคคือ
คำท่ีนำมาเรียบเรียงให้ได้ใจความ
คำคล้องจอง เป็นคำทใี่ ชเ้ สียงสระ
เดี ย ว กั น แ ล ะ มี ตั ว ส ะ ก ด อ ยู่ ใ น
มาตราตัวเดียวกัน แต่มีพยัญชนะ
ต้นต่างกัน การอ่านวรรณกรรม
แล้วหาข้อคิดจากเร่ือง จะทำให้
ไดป้ ระโยชน์จากเร่อื งที่อ่านสูงสดุ
(๑๕)
๒๐๐
๔๔
การจัดหน่วยการเรยี นรู้
รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๑๑๐๑ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ เวลา/ช่วั โมง
๑ อกั ษรแสนสนุก ๑๘
๒ อา เอ ออื อู โอและอี พน่ี อ้ งกนั ๑๕
๑๗
๓ รูจ้ กั แอ อัว เออ ออ เอีย และเออื ๒๔
๔ อะ อิ อึ เอะ แอะ และ อุ สนกุ สนาน ๒๗
๕ โอะ เอาะ เอียะ เออะ และ อวั ะ หวั เราะร่า ๒๓
๒๔
๖ เอา ใอ อำ ไอ ไปด้วยกนั ๑๘
๗ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ คืออะไร ๑๖
๘ กม เกย กบ มาพบกัน ๑๘
๙ มาตราแม่กด จดจำไว้ ๒๐๐
๑๐ เรยี นรปู้ ระโยคสนุก
รวมเวลา
๔๕
โครงสรา้ งรายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท ๑๒๑๐๑ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒
เวลาเรียน ๒๐๐ ช่วั โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ดับ การเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ชว่ั คะแนน
ที่ โมง
๑ อักษรไทยไขขาน มฐ. ท ๑.๑ อักษรไทย เป็นสัญลักษณ์ท่ีใช้ ๑๘ 7
ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ แ ท น เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย
มฐ. ท ๒.๑ ประกอบด้วยพยัญ ชนะ สระ
ป. ๒/๑ ว ร รณ ยุ ก ต์ แ ล ะ ตั ว เล ข ไท ย
มฐ. ท ๔.๑ ก า ร อ่ า น เขี ย น อั ก ษ ร ไ ท ย แ ล ะ
ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ การประสมคำจึงเป็นพื้นฐาน
ส ำ คั ญ ข อ ง ก า ร อ่ า น เขี ย น
ภาษาไทย
๒ ตวั สะกดนา่ จดจำ มฐ. ท ๑.๑ ตัวสะกดเป็นพยัญชนะท่ีประสม ๒๐ 7
ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ อยู่ท้ายพยางค์หรือคำ อันเป็น
มฐ. ท ๓.๑, องค์ ป ระก อ บ ห น่ึ งข อ งค ำใน
ป. ๒/๖, ป. ๒/๗ ภาษาไทย การเรียนรู้เร่ืองมาตรา
มฐ. ท ๔.๑ ตัวสะกด การอ่านสะกดคำและ
ป. ๒/๒ การอ่านเป็นคำ จะทำให้อ่านและ
เขียนคำได้ถกู ต้อง
๓ ก ง ก ม ก ก ก น มฐ. ท ๑.๑ องค์ประกอบสำคัญในภาษาไทย ๒๓ 7
นา่ สนใจ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ นั้นนอกจากจะมีพยัญชนะต้น
มฐ. ท ๓.๑ ส ร ะ ตั ว ส ะ ก ด แ ล้ ว ยั ง
ป. ๒/๑ ประกอบด้วยวรรณยุกต์ ซ่ึงเป็น
มฐ. ท ๔.๑ เครื่องหมายแทนเสียงของคำอีก
ป. ๒/๒ ด้ ว ย ก ารผั น ว รรณ ยุ ก ต์ เป็ น
การออกเสียงคำให้ถูกต้องตาม
เสียงหรือรูปวรรณยุกต์ที่ประสม
อ ยู่ ก ารเรีย น รู้เรื่อ งม าต รา
ตัวสะกดและการผันวรรณยุกต์
จ ะ ท ำ ใ ห้ อ่ า น แ ล ะ เขี ย น ค ำ ไ ด้
ถูกต้อง
๔๖
โครงสรา้ งรายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑๒๑๐๑ .ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒
เวลาเรียน ๒๐๐ ช่วั โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ดบั การเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั ช่ัวโมง คะแนน
ที่
๔ กม เกย เกอว กด มฐ. ท ๑.๑ องค์ประกอบของคำในภาษาไทย ๒๒ 7
สดใส ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ น้ัน นอกจากจะมีพยัญชนะต้น
ป. ๒/๖, ป. ๒/๘ ส ร ะ ตั ว ส ะ ก ด แ ล้ ว ยั ง
มฐ. ท ๔.๑ ประกอบด้วย วรรณยุกต์ ซ่ึงเป็น
ป. ๒/๒ เครื่องหมายแทนเสียงของคำอีก
มฐ. ท ๕.๑ ด้ ว ย ก ารผั น ว รรณ ยุ ก ต์ เป็ น
ป. ๒/๑ การออกเสียงหรือรูปวรรณยุกต์
ท่ีประสมอยู่ การเรียนรู้เร่ือง
ม าต ราตั ว ส ะก ด แล ะก ารผั น
วรรณยุกต์ จะทำใหอ้ า่ นและเขียน
คำไดถ้ ูกตอ้ ง
๕ ผั น ว ร ร ณ ยุ ก ต์ มฐ. ท ๑.๑ คำในภาษาไทยประกอบด้วย ๒๐ 7
สนกุ สนาน ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
ป. ๒/๕ พยัญชนะต้นอาจมีสองตัวเรียงกัน
มฐ. ท ๔.๑ ประสมสระเดียวกัน เรียกว่าคำ
ป. ๒/๒ ควบกล้ำ และอักษรนำ ส่วน
วรรณยุกต์เป็นเคร่ืองหมายแทน
เสียงของคำ การผันวรรณยุกต์
จึงเป็นการออกเสียงคำให้ถูกต้อง
ต า ม เสี ย ง ห รื อ รู ป ว ร ร ณ ยุ ก ต์ ที่
ประสมอยู่ การเรียนรู้เรื่องคำควบ
ก ล้ ำ อั ก ษ ร น ำ แ ล ะ ก า ร ผั น
วรรณยุกต์ จะทำให้สามารถอ่าน
และเขียนคำได้ถูกต้อง
๖ สอบวัดผลกลางปี (๑๕)
๔๗
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๒๑๐๑ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒
เวลาเรยี น ๒๐๐ ชั่วโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
ดับ การเรียนรู/้ ตวั ชี้วัด ช่ัว คะแนน
ท่ี โมง
๗ ประโยคนา่ รู้ มฐ. ท ๑.๑ ประโยคเปน็ การนำคำมาร้อยเรียง ๒๐ 7
ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ กัน ประกอบด้วยภาคประธาน
มฐ. ท ๒.๑ และภาคแสดง การใช้ประโยคที่
ป. ๒/๒ ถูกต้อง จะทำให้สื่อสารสัมฤทธิ์
มฐ. ท ๔.๑ ผล
ป. ๒/๓
๘ การันตห์ รรษา มฐ. ท ๑.๑ ภาษาไทยมีการยืมคำมาจาก ๑๙ 7
ป. ๒/๑, ป. ๑/๒ ภ าษ าอ่ื น ค ำยื ม มั ก มี อั ก ษ ร
ป. ๒/๓, ป. ๒/๔ การันต์ซึ่งเป็นอักษรที่มีทัณฑฆาต
มฐ. ท ๓.๑ กำกับเพ่ือไม่ให้ออกเสียงตัวอักษร
ป. ๒/๓, ป. ๒/๔ นั้นและมีการใช้ รร ทำหน้าท่ีเป็น
ป. ๒/๕, ป. ๒/๗ พ ยั ญ ช น ะ แ ล ะ ตั ว ส ะ ก ด
มฐ. ท ๔.๑ การเรียน เร่ืองอั กษ รการัน ต์
ป. ๒/๒ และค ำที่ มี รร จะท ำให้ อ่าน
และเขยี นคำไดถ้ ูกตอ้ ง
๙ ความหมายของคำ มฐ. ท ๑.๑ ค ำ เป็ น ห น่ ว ย ท่ี เล็ ก ท่ี สุ ด ใน ๒๐ 7
จำใหด้ ี ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ภ า ษ า ไท ย ท่ี มี ค ว า ม ห ม า ย
ป. ๒/๗ ความหมายของคำแต่ละคำอาจ
มฐ. ท ๓.๑ เหมือนกัน คล้ายกัน แตกต่างกัน
ป. ๒/๒ หรือตรงข้ามกันก็ได้ การศึกษา
มฐ. ท ๔.๑ ความหมายของคำจะทำให้เข้าใจ
ป. ๒/๒ และสามารถใช้คำ ในการส่ือสาร
ไดอ้ ย่างถูกต้อง
๑๐ คำคลอ้ งจอง มฐ. ท ๑.๑ คำคล้องจองเป็นคำท่ีมีเสียงสระ ๑๘ 7
ทอ่ งจำได้ ป. ๒/๑, ป. ๑/๒ และเสียงตัวสะกดเดียวกัน แต่มี
มฐ. ท ๔.๑ พยัญ ชนะต้นและวรรณ ยุกต์
ป. ๒/๔ แตกต่างกัน การฝึกแต่งคำคล้อง
มฐ. ท ๕.๑ จองเปน็ พืน้ ฐานเบือ้ งตน้ ของ
ป. ๒/๓ การแต่งบทรอ้ ยกรอง