๔๘
โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑๒๑๐๑ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
เวลาเรยี น ๒๐๐ ชั่วโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ดบั การเรียนรู/้ ตัวชี้วดั ช่ัวโมง คะแนน
ท่ี
๑๑ เรียนรู้ภาษาถ่ิน มฐ. ท ๑.๑ ภาษาไทยทีท้ังภาษามาตรฐานที่ใช้ ๒๐ 7
ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ เป็นภาษาราชการ และ
มฐ. ท ๒.๑ ภ า ษ า ถิ่ น ซ่ึ ง เป็ น ภ า ษ า ที่ มี
ป. ๒/๓, ป. ๒/๔ ลกั ษณะเฉพาะ แสดงถึงเอกลกั ษณ์
มฐ. ท ๔.๑ ของคนแต่ละท้องถ่ิน การเรียน
ป. ๒/๕ เรอื่ งภาษาไทยมาตรฐานและภาษา
ถิ่น จะทำให้รู้คำศัพท์มากขึ้นและ
เลอื กใชค้ ำไดอ้ ย่างเหมาะสม
๑2 สอบวดั ผลปลายปี (๑๕)
รวม ๕ มฐ./๒๗ ตวั ช้วี ัด ๒๐๐
การจัดหน่วยการเรยี นรู้
รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๒๑๐๑ ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ เวลา/ชัว่ โมง
๑ อักษรไทยไขขาน ๑๘
๒ ตวั สะกดน่าจดจำ ๒๐
๓ กง กม กก กน น่าสนใจ ๒๓
๔ กม เกย เกอว กด สดใส ๒๒
๕ ผันวรรณยุกต์ สนกุ สนาน ๒๐
๖ ประโยคนา่ รู้ ๒๐
๗ การันตห์ รรษา ๑๙
๘ ความหมายของคำจำให้ดี ๒๐
๙ คำคล้องจอง ทอ่ งจำได้ ๑๘
๑๐ เรยี นรูภ้ าษาถิน่ ๒๐
รวมเวลา ๒๐๐
๔๙
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๓๑๐๑
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลาเรยี น ๒๐๐ ช่ัวโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ดบั ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ การเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั ชัว่ คะแนน
ที่ พยางค์และคำเป็ นการน ำ โมง
มฐ. ท ๑.๑ พยัญชนะ สระ ตัวสะกด และ 7
๑ รจู้ กั พยางคแ์ ละคำ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ วรรณยุกต์มาประสมกันเพื่อใช้ ๑๗
ในการอ่านและเขียน การรู้จัก
มฐ. ท ๒.๑ พยางค์และคำ จึงเป็นพื้นฐาน
ป. ๓/๑ ส ำ คั ญ ข อ งก า ร อ่ า น แ ล ะ
การเขียนภาษาไทย
มฐ. ท ๔.๑
ป. ๓/๑
๒ มาตราตัวสะกดนา่ จดจำ มฐ. ท ๑.๑ มาตราตัวสะกด คือพยัญชนะ ๑๗ 7
ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ท่ีอยู่ท้ายพยางค์ โดยมาตรา
ป. ๓/๓, ป. ๓/๙ ตวั สะกดในภาษาไทยมีทั้งหมด
มฐ. ท ๔.๑ ๘ มาตรา ได้แก่มาตรา กง
ป. ๓/๑ กม กก กบ กน กด เกยและ
เกอว ส่วนคำท่ีไม่มีตัวสะกด
คือ แม่ ก กา ดังนั้นการสะกด
ค ำ ต า ม ม า ต ร า เป็ น พ้ื น ฐ า น
สำคัญของการอ่านและเขียน
คำในภาษาไทย
๓ เกย เกอว กด สดใส มฐ. ท ๑.๑ มาตราเกย เกอว และกด เป็น ๒๐ 7
ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ มาตราตัวสะกดในภาษาไทยท่ี
สำคัญและการผันอักษรเป็น
มฐ. ท ๓.๑ การออกสียงคำให้ตรงกับเสียง
ป. ๓/๕, ป. ๓/๖ วรรณยุกต์ การเรียนรู้มาตรา
ตัวสะกด และการผันอักษร
มฐ. ท ๔.๑ เปน็ พน้ื ฐานสำคัญชองการอ่าน
ป. ๓/๑ และ เขียนคำในภาษาไทยให้
ถกู ตอ้ ง
๕๐
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
เวลาเรยี น ๒๐๐ ชั่วโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ดบั ช่อื หน่วยการเรียนรู้ การเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด ชว่ั คะแนน
ท่ี โมง
7
๔ คำควบกลำ้ มฐ. ท ๑.๑ คำควบกล้ำ คือ คำท่ีมีพยัญชนะ ๒๐
7
เพ่ือนอักษรนำ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ ต้นสองตัวเรียงกันมาประสมสระ
(๑๕)
มฐ. ท ๒.๑ เดี ย ว กั น แ ล ะอ่ าน อ อ ก เสี ย ง 7
ป. ๓/๒, ป. ๓/๕ พยัญชนะต้นสองตัวกล้ำกัน แต่
ป. ๓/๖ อักษรนำคือ คำที่มีพยัญชนะสอง
มฐ. ท ๔.๑ ตัวร่วมกันอยู่ในสระตัวเดียวกัน
ป. ๓/๑ ดังน้ันการเรียนรู้คำควบกล้ำ และ
อักษรนำจะทำให้อ่าน และเขียน
ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง
๕ ชนิดของคำหนูจำได้ มฐ. ท ๑.๑ คำในภาษาไทยแบ่งออกเป็น ๗ ๒๓
ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒ ชนิด ไดแ้ ก่ คำนาม คำสรรพนาม
มฐ. ท ๒.๑ คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท
ป. ๓/๔ คำสันธานและคำอุทาน การนำ
มฐ. ท ๔.๑ ชนิดของคำมาเรียงกันให้ได้ใจความ
ป. ๓/๒ , ป. ๓/๔ จะก ลายเป็ น ป ระโยค ดั งน้ั น
มฐ. ท ๕.๑ การรู้จักชนิดของคำจะทำให้ใช้คำ
ป. ๓/๒ ใน ภ า ษ า ไท ย ได้ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ
เหมาะสมกับโอกาส
๖ สอบวดั ผลกลางปี
๗ ประวสิ รรชนีย์ มฐ. ท ๑.๑ คำท่ีประวิสรรชนีย์ คือ คำท่ีนำ ๑๘
มคี วามสขุ ป. ๓/๑ , ป. ๓/๒, พยญั ชนะมาประสมสระ -ะ และคง
ป. ๓/๖ , ป. ๓/๗ รูปไว้ ส่วนคำท่ีไม่ประวิสรรชนีย์
มฐ. ท ๔.๑ คือคำที่ไม่มรี ปู สระ –ะ แตอ่ ่านออก
ป. ๓/๑ เสียง อะ กึ่งเสียงโดยการทำความ
เข้าใจคำที่ประวิสรรชนีย์และคำท่ี
ไม่ประวิสรรชนีย์จะทำให้อ่านและ
เขี ย น ภ า ษ า ไ ท ย ได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง
ประกอบกับ การทำความเข้าใจคำ
ที่ใช้ รร บัน และบรร จะทำให้ใช้
คำในภาษาไทยได้อย่างถูกต้องมาก
ยิ่งขึ้น
๕๑
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓
เวลาเรยี น ๒๐๐ ชวั่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ดับ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ การเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด ชว่ั โมง คะแนน
ที่
๘ คำคล้องจอง มฐ. ท ๑.๑ คำคล้องจองเป็นคำท่ีใช้สระ ๒๐ 7
เดียวกัน และมีตัวสะกดอยู่ใน
เพ่ือนพอ้ ง คำขวญั ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ มาตราเดียวกัน แตม่ ีพยัญชนะ
ต้นต่างกันและถ้อยคำท่ีสัมผัส
มฐ. ท ๔.๑ คล้องจองกัน คำคล้องจอง
แต่งขึ้นเพ่ือเตือนใจหรือเพื่อ
ป. ๓/๕ จู ง ใจ ให้ เห็ น คุ ณ ค่ า แ ล ะ
ความสำคัญของสิ่งที่กล่าวถึง
มฐ. ท ๕.๑ เรี ย ก ว่ า ค ำ ข วั ญ ดั ง นั้ น
การเรียนรู้และทำความเข้าใจ
ป. ๓/๓, ป.๓/๔ คำคล้องจองจะทำให้สามารถ
แ ต่ ง ค ำ ข วั ญ ได้ แ ล ะ เป็ น
การอนุรักษ์ภาษาไทย
๙ ฤ ฤๅ และการันต์ มฐ. ท ๑.๑ คำที่มี ฤ อ่านออกเสียงได้สาม ๒๔ 7
หรรษา ป. ๓/๑ , ป.๓/๒, แบบ ได้แก่ รึ ริ เรอ และคำที่
ป. ๓/๔, ป. ๓/๕ มี ฤๅ อ่านออกเสียง รือ ส่วน
มฐ. ท ๔.๑ คำท่ีมีการันต์จะไม่ออกเสียง
ป. ๓/๑ ตัวอักษรที่มีการันต์อยู่ ดังนั้น
มฐ. ท ๕.๑ การเรียนรู้คำท่ีมี ฤ ฤๅ และตัว
ป. ๓/๑ การันต์ จะทำให้อ่านและ
เขยี นภาษาไทยไดอ้ ย่างถูกต้อง
นอกจากนี้การเรียนรู้และทำ
ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เก่ี ย ว กั บ ล ำ ดั บ
เห ตุการณ์ การคาดค ะเน
เหตุการณ์ การจับใจความ
สำคัญและการหาข้อคิดจาก
เรื่องที่อ่านจะเป็นการพัฒนา
ความสามารถในด้าน
๕๒
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๓๑๐๑ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
เวลาเรยี น ๒๐๐ ช่ัวโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ดบั การเรยี นร้/ู ตวั ชวี้ ดั ชั่วโมง คะแนน
ท่ี
7
ทักษะการอ่านและการใช้
ภาษาไทยของนักเรียนได้ดี
ย่งิ ขน้ึ
๑๐ เรียนร้ภู าษาถ่นิ มฐ. ท ๑.๑ ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น ๑๗
ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ ภ า ษ า ร า ช ก า ร ที่ ใช้ ใน
มฐ. ท ๓.๑ การเขียนอักษรในโรงเรียน
ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ แ ล ะ ใช้ ใน โอ ก าส ท่ี เป็ น
ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, ทางการ แต่ภาษาถิ่นเป็น
ป. ๓/๖ ภาษาที่เป็นลักษณะเฉพาะ
มฐ. ท ๔.๑ และแส ดงถึงค วามเป็ น
ป. ๓/๖ เอกลั กษ ณ์ เฉพ าะ แล ะ
แสดงถึงเอกลักษณ์ลักษณะ
ความเป็นอยู่ของผู้คนใน
ท้องถิ่นของแต่ละภาคของ
ป ร ะ เท ศ ไ ท ย ดั ง น้ั น
การเรียนรู้ภาษาถ่ินจะทำ
ให้นักเรียนสามารถเลือกใช้
ภาษาได้อย่างถูกต้อง และ
เห มาะสม กับ กาลเท ศ ะ
ส่งผลให้ส่ือสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นอกจากน้ี
ก า ร ฟั ง แ ล ะ ดู เ ป็ น
การสอ่ื สารท่ีนกั เรียนต้องใช้
ในชีวิตประจำวัน ดังน้ัน
นักเรียนควรรู้จักฟังและดู
อยา่ งเหมาะสม
๕๓
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑ ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
เวลาเรียน ๒๐๐ ชัว่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ดับ การเรียนร้/ู ตัวชวี้ ดั ชัว่ โมง คะแนน
ท่ี
๑๑ การใชพ้ จนานุกรม มฐ. ท ๑.๑ ก า ร ใช้ พ จ น า นุ ก ร ม เป็ น ๒๔ 7
ป. ๓/๑, ป.๓/๒, การค้น ห าความ ห มายขอ ง
ป.๓/๘ คำศัพท์ และเป็นการตรวจสอบ
มฐ. ท ๒.๑ การเขียนสะกดคำให้ถูกต้อง
ป. ๓/๓ ดั ง น้ั น ก า ร เรี ย น รู้ ก า ร ใช้
มฐ. ท ๔.๑ พจนานุกรมจะทำให้นักเรียน
ป. ๓/๓ สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่าง
ถูกต้อง เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
นอกจากน้ีการทำความเข้าใจ
แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ
จะทำให้นักเรียนเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมีระบบ
๑๓ สอบวดั ผลปลายปี (๑๕)
รวม ๕ มฐ./ ๓๑ ตวั ชวี้ ดั ๒๐๐
การจัดหนว่ ยการเรยี นรู้
รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๓๑๐๑ ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ เวลา/ชว่ั โมง
๑ รู้จักพยางค์และคำ ๑๗
๒ มาตราตัวสะกดนา่ จดจำ ๑๗
๓ เกย เกอว กด สดใส ๒๐
๔ คำควบกลำ้ เพื่อนอักษรนำ ๒๐
๕ ชนิดของคำหนจู ำได้ ๒๓
๖ ประวสิ รรชนีย์ มีความสุข ๑๘
๗ คำคล้องจอง เพ่ือนพ้อง คำขวญั ๒๐
๘ ฤ ฤๅ และการันต์ หรรษา ๒๔
๙ เรยี นรูภ้ าษาถิน่ ๑๗
๑๐ การใช้พจนานุกรม ๒๔
รวมเวลา ๒๐๐
๕๔
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๔๑๐๑ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
เวลาเรียน ๑๖๐ ช่ัวโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ดบั ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ การเรียนร้/ู ตัวชว้ี ัด ชั่วโมง คะแนน
ที่
๑ การผจญภยั ของ มฐ. ท ๑.๑ อ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อย ๑8 10
กรองวรรณคดีและวรรณกรรมใน
สดุ สาคร ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, บ ท เรี ย น พ ร้ อ ม ทั้ งอ่ าน จั บ
ใจความจากเร่ืองท่ีอ่านและฟัง
ป. ๔/๓, ป. ๔/๘ เรียนรู้เรื่องสำนวน ฝึกแต่งคำ
ข วั ญ แ ล ะ เขี ย น เร่ื อ ง ต า ม
มฐ. ท 2.1 จินตนาการ ตลอดจนฝึกเขียนคัด
ลายมอื ใหส้ วยงาม
ป.4/1, ป.4/2,
ป.4/7
มฐ. ท ๓.๑
ป. ๔/๒, ป. ๔/๔
มฐ. ท ๔.๑
ป. ๔/๑, ป.4/6
มฐ. ท 5.1
ป. 4/2
๒ นำ้ ผ้ึงหยดเดยี ว มฐ. ท ๑.๑ วรรณกรรมเรื่องน้ำผ้ึงหยดเดียว 18 10
เป็นวรรณกรรมท่ีให้คติเตือนใจ
ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, เก่ียวกับเร่ืองความสามัคคี ฝึก
อ่านออกเสียงและเขียนย่อความ
ป. ๔/๓, ป.๔/4 จากเร่ืองที่อ่าน การเขียนบันทึก
เหตุการณ์ เรียนรู้คำท่ีมีสระและ
ป. ๔/5, ป.4/6 ตัวสะกดเดียวกันหรือที่เรียกว่า
คำคล้องจอง ทบทวนการเขียน
มฐ. ท ๒.๑ สะกดคำ ตลอดจนทบทวนชนิด
ของคำเร่ือง คำนามและคำสรรพ
ป.4/4, ป.๔/๖, นาม
ป. ๔/๘
มฐ. ท ๓.๑
ป. ๔/๕
มฐ. ท ๔.๑
ป. ๔/๑, ป.4/2,
ป.4/5
มฐ. 5.1
ป.4/3, ป.4/4
๕๕
โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท ๑๔๑๐๑ ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔
เวลาเรียน ๑๖๐ ชั่วโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชือ่ หน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ดับ การเรยี นรู้ การเรียนรู้/ ชว่ั โมง คะแนน
ท่ี ตวั ชีว้ ดั
๓ ระบำสายฟ้า มฐ. ท ๑.๑ อ่านออกเสียงร้อยแก้ว ร้อยกรอง และจับ ๑9 10
ป.๔/๑, ป.๔/๒, ใจความจากวรรณคดีวรรณ กรรมใน
ป.๔/๓, ป.๔/๘ บ ท เรียน (ระบ ำสายฟ้ าแล ะนิ ท าน
มฐ. ท 2.1 คุณธรรม) เรียนรู้คำเป็น คำตาย เพ่ือ
ป.4/1, ป.4/2, นำไปสู่การฝึกแต่งคำประพันธ์ประเภท
ป.4/3 กล อ น ส่ี ฝึ ก เขี ยน แน ะน ำแ ล ะอ่ าน
มฐ. ท ๓.๑ ประกาศที่ไม่เป็นทางการ ตลอดจน
ป.4/3, ป.4/4 ทบทวนชนิดของคำเรอื่ ง คำกรยิ า
มฐ. ท ๔.๑
ป.๔/๑, ป.4/2,
ป.4/5
มฐ. ท 5.1
ป.4/1, ป.4/2
๔ เ รื่ อ ง เ ล่ า จ า ก มฐ. ท ๑.๑ การอ่านออกเสียงอักษรนำ คำที่มีตัว 25 10
พทั ลงุ ป.๔/๑, ป.๔/๒, การันต์ อ่านจับใจความป้ายโฆษณา
ป.๔/๓, ป.4/6, และโอวาท ฝึกพิจารณ าข้อเท็จจริง
ป.4/7 ข้อคิดเห็น การเลือกอ่านหนังสือตาม
มฐ. ท 2.1 ความสนใจ ฝึกเขียนอธิบายและเขียน
ป.4/2, ป.4/6 รายงาน ตลอดจนเปรียบเทียบภาษาไทย
มฐ. ท ๔.๑ มาตรฐานกบั ภาษาถน่ิ ของแต่ละภาค
ป.๔/๒, ป.4/6,
ป.4/7
มฐ. ท ๕.๑
ป.4/1, ป.4/2
5 สอบวดั ผลกลางปี 15
๕๖
โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๔๑๐๑ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔
เวลาเรียน ๑๖๐ ชวั่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ดบั การเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด ชว่ั โมง คะแนน
ที่
6 ดวงจันทร์ของ มฐ. ท ๑.๑ การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ร้อย 25 10
ลำเจียก ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, กรองและการบอกความหมายของ
ป. ๔/๓, ป.4/4, ถ้อยคำสำนวนที่ประกอบด้วย คำท่ี
ป.4/5, ป.4/6, มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น คำควบ
ป.4/7 กล้ำ สำนวนไทย อ่านจับใจความ
มฐ. ท ๒.๑ ว ร รณ ค ดี แ ล ะ ว รรณ ก ร รม ใน
ป. ๔/1, ป.4/4 บทเรียน ฝึกคาดคะเนเหตุการณ์ใน
มฐ. ท 3.1 เรื่องท่ีอ่าน และสามารถพูดแสดง
ป.4/3, ป.4/5 ความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟังและดูได้
มฐ. ท ๔.๑ ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของ
ป.4/1, ป.๔/๒, ค ำน าม ส รรพ น าม ก ริย า ใน
ป.4/5 ประโยค เพ่ือให้สามารถใช้สำนวน
มฐ. ท ๕.๑ ภาษาไดถูกต้องตามอักขระวิธีไทย
ป.4/1, ป.4/2, สามารถส่ือสาร พูดรายงานผล
ป.๔/5 การคน้ คว้าได้เป็นลำดับขน้ั ตอน
๗ ห้องสมุดปา่ มฐ. ท ๑.๑ การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ร้อย 27 10
ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, กรองวรรณกรรม วรรณคดีต่าง ๆ
ป. ๔/๓, ป.4/4, ในบทเรียนให้เข้าใจยิ่งขึ้น ต้อง
ป.4/5 อาศัยการต้ังและตอบคำถาม ซ่ึง
มฐ. ท 2.1 นำไปสู่การจับใจความและสรุป
ป.4/2, ป.4/3, ประเด็นสำคัญของเร่ืองได้ ฝึกแต่ง
ป.4/4, ป.4/6 ประโยคสามัญ เพ่ื อนำไป ใช้ใน
ป.4/7 การเขียนย่อความ เขียนบันทึก
มฐ. ท 3.1 เขียนรายงาน และการเขียนเรื่อง
ป.4/3, ป.4/5 ตามจินตนาการ ตลอดจนเรียนรู้
มฐ. ท ๔.๑ เรื่องสุภาษิต คำพังเพย ให้สามารถ
ป.4/2, ป.๔/๔, ใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ งกับสถานการณ์
ป.๔/๖
มฐ. ท ๕.๑
ป. ๔/2, ป.4/4,
ป.4/5
๕๗
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๔๑๐๑ ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔
เวลาเรยี น ๑๖๐ ช่ัวโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ดบั การเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด ช่วั โมง คะแนน
ที่
๘ เท่ยี วเมอื งพระรว่ ง มฐ. ท ๑.๑ การอ่านวรรณคดีเร่ืองพระร่วง 28 10
ป. ๔/๑, ป. ๔/2, ซึ่งเป็นวรรณคดีที่ให้คติสอนใจ
ป. ๔/3, ป.4/4, เก่ียวกับเรื่องความขยัน ความ
ป.4/6 กตัญญู หากจะให้เข้าใจเรื่อง
มฐ. ท 2.1 ที่ อ่ า น ได้ ง่ า ย ต้ อ ง ศึ ก ษ า
ป.4/1, ป.4/2, ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค ำ แ ล ะ
ป.4/3, ป.4/4, ฝึกต้ังคำถาม ตอบคำถาม
ป.4/7 นอกจากนี้ยังช่วยให้อ่านจับ
มฐ. ท ๓.๑ ใจความ เขียนย่อความได้ดี
ป. ๔/๑, ป. ๔/๓, และตรงประเด็น การฝึกแต่ง
ป.4/4 คำคล้องจอง ซ่ึงเป็นพื้นฐาน
มฐ. ท 4.1 ของการแต่งคำขวัญ แต่ง
ป.4/1, ป.4/2, กาพย์ยานี 11 เรียนรู้เร่ือง
ป.4/4, ป.4/5, การใช้คำราชาศัพท์ ตลอดจน
ป.4/7 ชนิ ดและห น้ าท่ี ของคำใน
มฐ. ท ๕.๑ ประโยค
ป. ๔/2, ป. ๔/4
9 สอบวดั ผลปลายปี 15
รวม ๕ มฐ./ ๓๓ ตวั ช้ีวดั ๑๖๐ 100
๕๘
การจดั หนว่ ยการเรยี นรู้
รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท ๑๔๑๐๑ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ เวลา/ช่วั โมง
๑ การผจญภัยของสุดสาคร 18
๒ นำ้ ผ้ึงหยดเดียว 18
๓ ระบำสายฟา้ 19
๔ เร่อื งเล่าจากพัทลงุ 25
๕ ดวงจันทร์ของลำเจียก 25
๖ ห้องสมุดป่า 27
๗ เทีย่ วเมืองพระร่วง 28
รวมเวลา ๑๖๐
๕๙
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕
เวลาเรียน ๑๖๐ ช่วั โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำดับ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นร้/ู ตัวชี้วัด ชัว่ โมง คะแนน
๑ สังข์ทอง มฐ. ท ๑.๑ การอ่านทำนองเสนาะ เป็นการอ่าน 20 9
ตอน กำเนดิ พระสังข์ ป. ๕/๑, ป. ๕/2 บทร้อยกรองท่ีมีลีลา จังหวะ ทำนอง
มฐ. ท ๒.๑ เป็นลักษณะเฉพาะของคำประพันธ์
ป. ๕/๑, ป. ๕/๓ แ ต่ ล ะ ป ระ เภ ท ว รรณ ค ดี เรื่อ ง
มฐ. ท 3.1 สังข์ทอง ตอน กำเนิดพระสังข์ เป็น
ป.5/1 วรรณคดีท่ีให้ข้อคิดเก่ียวกับเรื่อง
มฐ. ท 4.1 ค วาม กตั ญ ญู รู้คุ ณ ก ารอธิบ าย
ป.5/1, ป.5/4 ความหมายของคำและข้อความ
มฐ. ท 5.1 เป็นการอธิบายคำศัพท์ยาก เพื่อให้
ป.5/1, ป.5/2, คำและข้อความให้ชัดเจนข้ึน นำไปสู่
ป.5/3, ป.5/4 ก า ร เขี ย น แ ผ น ภ า พ ส รุ ป เร่ื อ ง
ก าร วิ เค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ข อ ง ว ร ร ณ ค ดี
และการพู ดแสดงความ คิดเห็ น
คำราชาศัพท์ เป็นคำศัพท์ที่ใช้กับ
พระมหากษัตริย์ ซ่ึงแตกต่างจากคำ
ของสุภาพชนทั่วไป สว่ นชนิดของคำ
เร่ืองคำบุพบท เป็นคำท่ีใช้เช่ือมคำ
บอกตำแหน่ง และคำสันธาน เป็นคำ
ทใี่ ช้เชอ่ื มประโยค
๒ กระเชา้ สดี า มฐ. ท ๑.๑ การเขียนแผนภาพสรุปเรื่อง เป็น 20 9
ป. ๕/๑, ป.5/4, การเขียนสรุปเรื่องราว ใหส้ นั้ กระชับ
ป.5/5 แต่ครอบคลุมเน้ือหาสาระ วรรณคดี
มฐ. ท ๒.๑ วรรณ กรรมในบทเรียน มีข้อคิด
ป. ๕/๓, ป.5/4, เตือนใจ ซึ่งการอ่านเป็นการฝึกอ่าน
ป.5/8 แบบคิดวิเคราะห์ และจับใจความ
มฐ. ท 3.1 ส่วนการอ่านอักษรนำ เป็นการอ่าน
ป.5/2, ป.5/3 คำที่มีเสียง ห นำ การอ่านคำท่ีมี
มฐ. ท ๔.๑ พยัญชนะควบกล้ำ เป็นการอ่านคำท่ี
ป. ๕/๑, ป.5/2, มีพยัญชนะต้น 2 ตัว อ่านออกเสียง
ป. ๕/๖ กล้ำกัน ประสมสระและตัวสะกด
เดยี วกนั และจำแนกสว่ นประกอบ
๖๐
โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๕๑๐๑ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
เวลาเรียน ๑๖๐ ชั่วโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำดับ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้/ตัวชี้วัด ชั่วโมง คะแนน
มฐ. ท ๕.๑ ของประโยค เป็นการจำแนก
ป. ๕/1, ป.5/2, ส่วนภาคประธานและภาค
ป.5/3 แสดง
๓ วชิ าเหมอื นสินค้า มฐ. ท ๑.๑ บทอ่านเร่ือง วชิ าเหมือนสนิ ค้า 20 9
ป.๕/๑, ป.๕/2, เป็นบทอาขยานบทหลักที่ควร
ป.5/5 ท่องจำ โดยการอ่านร้อยแก้ว
มฐ. ท 2.1 และร้อยกรองน้ัน ต้องทราบ
ป.5/2, ป.5/7 ฉันทลกั ษณ์ของกาพย์ยานี 11
มฐ. ท ๓.๑ ฝึกต้ังคำถามและตอบคำถาม
ป.5/1, ป.๕/๒, เชิงเหตุผลจากเร่ืองที่อ่าน คำ
ป.๕/๕ พังเพย คือ ถ้อยคำสำนวน
มฐ. ท ๔.๑ เป รี ย บ เที ย บ ก า ร เขี ย น
ป.5/1, ป.๕/๒, เรียงความ มีส่วนประกอบ 3
ป.5/3, ป.4/6, ส่วน ได้แก่ คำนำ เน้ือเร่ือง
ป.4/7 สรุป การกรอกแบบรายการ
มฐ. ท 5/1 เป็นการเขียนข้อความหรือทำ
ป.5/2, ป.5/4 เคร่ืองหมายลงในเอกสาร
ส่วนชนิดของคำ เร่อื งคำอทุ าน
เป็นคำแสดงอาการ
๔ ราชาธริ าช มฐ. ท ๑.๑ การอ่านวรรณ กรรม เร่ือง 20 9
ตอน กำเนดิ มะกะโท
ป.๕/๑, ป.๕/2, มะกะโท ให้เข้าใจและจดจำ
ป.5/3, ป.5/7 เน้ือเร่ืองได้ง่าย ต้องฝึกการ
มฐ. ท ๒.๑ เขีย น ส รุป เรื่อ ง พู ด ล ำดั บ
ป.๕/๔, ป.5/5 เหตุการณ์ และอธิบายความรู้
มฐ. ท 3.1 จากเร่ือง วิเคราะห์คุณค่าด้าน
ป.5/4, ป.5/3 ต่างๆ ทางวรรณคดี วิเคราะห์
มฐ. ท ๔.๑ ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองท่ีฟัง
ป.5/4, ป.5/5, และดู เรียนรู้เร่ืองคำที่มาจาก
ป.๕/๗ ภ าษ าต่างป ระเท ศ ได้ แก่
ภาษาจีน อังกฤษ เขมร บาลี
สันสกฤต ญ่ีปุ่น เปน็ ตน้
๖๑
โครงสรา้ งรายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑๕๑๐๑ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕
เวลาเรียน ๑๖๐ ชวั่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำดับ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัด ช่วั โมง คะแนน
มฐ. ท ๕.๑ สว่ นการเขียนจดหมายถงึ
ป.๕/๑, ป.5/2, ผูป้ กครองและญาตเิ ปน็
ป.5/3 ลักษณะของการเขียน
จดหมายส่วนตวั
5 สอบวัดผลกลางปี (๑5)
6 ตนเปน็ ที่พ่ึงแหง่ ตน มฐ. ท ๑.๑ การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว 20 8
ป. ๕/1, ป.5/2, ร้อยกรอง เรื่องตนเป็นท่ีพ่ึง
ป.5/3, ป.5/7 แห่งตน อธิบายความหมาย
มฐ. ท ๒.๑ ของคำและข้อความ อ่านออก
ป. ๕/2, ป.5/6 เสียงคำท่ีมีตัวการันต์ และคำ
มฐ. ท ๓.๑ ควบกล้ำ คำภาษาต่างประเทศ
ป. ๕/2 ในภาษาไทย สำนวนไทย คำที่
มฐ. ท ๔.๑ มคี วามหมายโดยนัย การเขียน
ป.5/1, ป.5/2, แสดงความรู้สึก การเลือกอ่าน
ป.๕/5, ป.5/7 ห นั ง สื อ ต า ม ค ว า ม ส น ใจ
มฐ. ท 5.1 กลมุ่ คำ ประโยค สว่ นชนิดของ
ป.5/2, ป.5/3, คำ เร่ือง ชนิดและหน้าท่ีของ
ป.5/4 คำวิเศษณ์และคำบุพบท
7 โคลงโลกนติ ิ มฐ. ท ๑.๑ อ่านทำนองเสนาะบทร้อย 19 8
ป.๕/1, ป.5/2, กรองโคลงโลกนิติ อธิบาย
ป.5/4, ป.5/5 ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค ำ แ ล ะ
มฐ. ท ๒.๑ ข้อความท่ีเป็นการบรรยาย
ป.๕/2 และพรรณนา อ่านจับใจความ
มฐ. ท 3.1 และแยกขอ้ เทจ็ จรงิ ข้อคิดเห็น
ป.5/2 การเขียนคำอวยพร ส่วนชนิด
มฐ. ท ๔.๑ ของค ำเป็ น เรื่องช นิ ด แล ะ
ป.๕/1 หน้าทีข่ องคำเช่ือม
มฐ. ท ๕.๑
ป.๕/2, ป.5/3
๖๒
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕
เวลาเรียน ๑๖๐ ช่วั โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำดบั ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั ช่ัวโมง คะแนน
๘ ผรู้ ดู้ ีเปน็ ผเู้ จริญ มฐ. ท ๑.๑ การอ่านทำนองเสนาะบทร้อย 20 9
ป. ๕/1, ป.5/2 กรองผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ อธิบาย
มฐ. ท ๒.๑ ค ว า ม รู้ แ ล ะ วิ เค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า
ป. ๕/2, ป.๕/4, วรรณคดี วรรณกรรมท่ีอ่าน
ป.5/5 วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจาก
มฐ. ท 3.1 เร่ืองท่ีฟังและดู อธิบายความรู้
ป.5/3 แล ะเขีย น ย่อ ค วาม นิ ท าน
มฐ. ท ๔.๑ พ้ืนบ้าน แต่งกาพย์ยานี 11
ป. ๕/1, ป.5/6 และการเขียนจดหมายส่วนตัว
มฐ. ท ๕.๑ จ ด ห ม า ย ถึ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง แ ล ะ
ป.5/1, ป.๕/2, ญาติ
ป.5/3
๙ เพลงชาติไทย มฐ. ท ๑.๑ อ่านวรรณกรรม เร่ืองเพลง 21 9
ป. ๕/2, ป.๕/5 ชาติไทย อธิบายความหมาย
มฐ. ท ๒.๑ ของคำและข้อความ วิเคราะห์
ป. ๕/1, ป.5/7, คุ ณ ค่ าข อ งเพ ล งช าติ ไท ย
ป.5/8 คั ด ล า ย มื อ ต า ม รู ป แ บ บ
มฐ. ท 3.1 การเขียนตัวอักษรไทย อ่าน
ป.5/1 จั บ ใ จ ค ว า ม ส ำ คั ญ
มฐ. ท 4.1 เป รี ย บ เที ย บ ภ า ษ า ไท ย
ป.5/4, ป.5/7 มาตรฐานกับภาษาถ่ิน คำ
มฐ. ท 5.1 ราชาศัพท์ สำนวนไทย และ
ป.5/2, ป.5/3, การเขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ
ป.5/4
๑0 สอบวัดผลปลายปี (15)
รวม ๕ มฐ./๓๓ ตัวช้วี ัด ๑๖๐ ๑๐๐
๖๓
การจัดหน่วยการเรยี นรู้
รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๕๑๐๑ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ เวลา/ช่วั โมง
๑ สังข์ทอง ตอน กำเนิดพระสงั ข์ 20
๒ กระเชา้ สดี า 20
๓ วชิ าเหมอื นสินคา้ 20
๔ ราชาธริ าช ตอน กำเนดิ มะกะโท 20
๕ ตนเปน็ ทพ่ี ึ่งแห่งตน 20
๖ โคลงโลกนิติ 19
๗ ผูร้ ู้ดีเป็นผเู้ จรญิ 20
๘ เพลงชาติไทย 21
รวมเวลา ๑๖๐
๖๔
โครงสรา้ งรายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑6๑๐๑ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
เวลาเรยี น ๑๖๐ ชวั่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำดับ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ที่ เรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด เรียน คะแนน
(ชวั่ โมง)
๑ ชมรมคนรักวรรณคดี มฐ. ท 1.๑ การอ่านออกเสียงร้อยแก้วที่เป็น 23 12
ป. ๖/๑, ป.6/3 โวหาร การจับใจความและอธิบาย
มฐ. ท 2.1 ความรู้เรื่องท่ีอ่าน การเขียนประกาศ
ป.6/4, ป. 6/2, และพูดโน้มน้าวใจ การกรอกแบบ
ป.6/6, ป.6/7 รายการ การเขียนจดหมายแสดง
มฐ ท 3.1 ความยินดเี รยี นร้คู ำท่มี าจากภาษา
ป.6/2, ป.6/5 ต่างประเทศ ชนิดและหน้าท่ี
มฐ. ท 4.1 ของคำนาม และคำสรรพนาม
ป.6/1, ป.6/3, การวเิ คราะหส์ ่วนประกอบของ
ป.6/4 ประโยคสามัญ และสำนวนสุภาษิตที่
มฐ. ท 5.1 เป็นคำพังเพย
ป.6/3
๒ นิทานทองอนิ มฐ. ท 1.๑ อา่ นจับใจความนิทานทองอนิ 27 12
ป.6/1, ป. ๖/2, ก าร อ ธิ บ า ย ค ว าม ห ม าย ข อ งค ำ
ป.6/3 ประโยค และขอ้ ความท่ีเปน็ โวหาร
มฐ. ท 2.1 ก า ร เ ขี ย น แ ผ น ภ า พ โ ค ร ง เรื่ อ ง แ ล ะ
ป.6/5, ป.6/7, แผนภาพความคิด การอ่านข้อมูลจาก
ป.6/8 แผนผงั แผนท่ี แผนภูมิและกราฟ
มฐ ท 3.1 การอ่าน ออกเสียงอักษ รย่อและ
ป.6/1 เคร่ืองหมายวรรคตอน วิเคราะห์
มฐ. ท 4.1 ส่วนประกอบของประโยครวม และ
ป.6/1, ป.6/2, เรียนรู้ระดบั ภาษา
ป.6/4
มฐ. ท 5.1
ป.6/1, ป.6/2,
ป.6/4
๓ ก า ร เดิ น ท า งข อ ง มฐ. ท 1.๑ อ่านออกเสียงร้อยแก้วร้อยกรองบท 30 10
พลายน้อย ป. ๖/1, ป.6/2, เสภาขุนช้างขุนแผน การอ่านจับ
ป.6/3, ป.6/4, ใจความ แล ะแส ดงความ คิ ดเห็ น
ป.6/5 วรรณคดี และส่ือต่าง ๆ คำราชาศัพท์
มฐ. ท 2.1 ช นิ ด แ ล ะ ห น้ า ท่ี ข อ ง ค ำ บุ พ บ ท แ ล ะ
ป.6/2 คำเช่อื ม การวเิ คราะหส์ ว่ นประกอบ
๖๕
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑6๑๐๑ ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
เวลาเรียน ๑๖๐ ชัว่ โมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำดับ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ที่ เรยี นรู้/ตัวชี้วดั เรยี น คะแนน
(ชว่ั โมง)
มฐ ท 3.1 ของประโยคซ้อน รวมถึงการเขียน
ป.6/1, ป.6/4 รายงานการศึกษาค้นควา้ และการพดู
มฐ. ท 4.1 นำเสนอรายงาน
ป.6/1, ป.6/2,
ป.6/4, ป.6/6
มฐ. ท 5.1
ป.6/1, ป.6/3,
ป.6/4
4 สอบวัดผลกลางปี (๑5)
5 อย่าชงิ สกุ ก่อนห่าม มฐ. ท 1.๑ การอธิบายความหมายของคำ ประโยค 25 12
ป.6/1, ป. ๖/2, และข้อความที่เป็นโวหารเรื่องอย่าชิงสุก
ป.6/3, ป.6/4 ก่อนห่ามการนำเสนอรายงานการศึกษา
มฐ. ท 2.1 ค้นคว้า การอธิบายคุณค่าวรรณคดีเรื่อง
ป.6/2, ป.6/4 ท่ีอ่าน การเขียนเรียงความ การพูดโน้ม
มฐ ท 3.1 น้าวใจ การเขียนจดหมายกิจธุระใน
ป.6/1, ป.6/3, ชีวิตประจำวัน การแต่งกลอนสุภาพหรือ
ป.6/4, ป.6/5 เรีย ก อี ก อ ย่ างห นึ่ งว่า ก ล อ น แ ป ด
มฐ. ท 4.1 การอ่านจับ ใจความ และการแยก
ป.6/5, ป.6/6 ข้อเท็จจรงิ ขอ้ คิดเหน็
มฐ. ท 5.1
ป.6/3, ป.6/4
6 ศึกสายเลอื ด มฐ. ท 1.๑ การอธิบายความหมายของคำ ประโยค 28 12
ป.6/1, ป.6/2, และข้อความ ที่ เป็ น โวห ารเร่ืองศึก
ป.6/3, ป.6/5 สายเลือด การอ่านกลอนบทละครเป็น
มฐ. ท 2.1 ทำนองเสนาะ คำราชาศัพท์ การเขียน
ป.6/5, ป.6/7, ย่อความจากเร่ืองศึกสายเลือด ชนิดและ
ป.6/8 หน้าท่ีของคำอุทาน การเขยี นโน้มน้าวใจ
มฐ ท 3.1 คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ การอ่าน
ป.6/1, ป.6/2 วัน เดือน ปี แบบไทย และลักษณะของ
มฐ. ท 4.1 ประโยคสามญั รวม และซอ้ น
ป.6/3, ป.6/4
๖๖
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท ๑6๑๐๑ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
เวลาเรยี น ๑๖๐ ชั่วโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน
ลำดบั ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลาเรียน น้ำหนกั
ท่ี เรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
มฐ. ท 5.1
ป.6/1, ป.6/2,
ป.6/3
7 สมุดมิตรภาพ มฐ. ท 1.๑ การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ร้อยกรอง 27 12
ป.6/1, ป.6/3, จ าก ว รร ณ ค ดี แ ล ะ ว รรณ ก รร ม
ป.6/5 ในบทเรียน การอธิบายคุณค่าของ
มฐ. ท 2.1 เรื่องที่อ่าน การพูดแสดงความรู้
ป.6/1, ป.6/2, ความเข้าใจของเร่ืองที่ฟังและดู
ป.6/6 การเขียนคำขวัญ การเขียนจดหมาย
มฐ ท 3.1 ส่วนตัวในชีวิตประจำวัน การตั้งถาม
ป.6/1, ป.6/2, และคำตอบเชิงเหตุผล และการเขียน
ป.6/4 แสดงความรู้สกึ
มฐ. ท 4.1
ป.6/1
มฐ. ท 5.1
ป.6/3, ป.6/4
8 สอบวัดผลปลายปี (15)
รวม
๕ มฐ./๓๓ ตัวช้ีวดั ๑๖๐ ๑๐๐
๖๗
การจดั หน่วยการเรยี นรู้
รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๑๖๑๐๑ ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ เวลา/
ชว่ั โมง
๑ ชมรมคนรกั วรรณคดี 23
๒ นิทานทองอิน 27
๓ การเดินทางของพลายน้อย 30
๔ อย่าชิงสกุ กอ่ นหา่ ม 25
๕ ศึกสายเลอื ด 28
๖ สมุดมิตรภาพ 27
รวมเวลา ๑๖๐
๖๘
การประเมินผลกลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
๖๙
การประเมินผลกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
การวัดผลและประเมินการเรียนรู้ด้านภาษาเป็นงานที่ยากซึ่งต้องการความเข้าใจที่
ถูกต้องเก่ียวกับการพัฒนาทางภาษา ดังน้ันผู้ปฏิบัติหน้าท่ีวัดผลการเรียนรู้ด้านภาษาจำเป็นต้องเข้าใจ
หลกั การของการเรยี นรภู้ าษา เพอื่ เป็นพนื้ ฐานการดำเนนิ งาน ดังน้ี
๑. ทักษะทางภาษาทั้งการฟัง การดู การพูด การอ่าน และการเขียนมีความสำคัญ
เทา่ ๆกัน และทักษะเหลา่ นีจ้ ะบูรณาการกัน ในการเรยี นการสอนจะไม่แยกฝึกทักษะทีละอย่างจะต้องฝึก
ทกั ษะไปพร้อมๆกนั และทกั ษะทางภาษาทักษะหน่ึงจะสง่ ผลต่อการพัฒนาทักษะทางภาษาอ่นื ๆ ดว้ ย
๒. ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพร้อมกับการพัฒนาความคิด
เพราะภาษาเป็นส่ือของความคิด ผู้ท่ีมีทักษะและความสามารถในการใช้ภาษา มีประมวลคำมากจะช่วย
ให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดด้วย ขณะเดียวกันการเรียนภาษาจะเรียนร่วมกันกับผู้อื่นมี
การติดต่อส่ือสาร ใช้ภาษาในการติดต่อกับเพื่อนกับครูจึงเป็นการฝึกทักษะทางสังคมด้วย เมื่อผู้เรียนได้
ใช้ภาษาในสถานการณ์จริงทั้งในบริบททางวิชาการในห้องเรียนและในชุมชนจะทำให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษา
และไดฝ้ ึกทักษะทางสังคมในสถานการณ์จริง
๓. ผู้เรียนต้องเรียนรู้การใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนอย่างถูกต้องด้วยการฝึกการใช้
ภาษามิใช่เรียนรู้กฎเกณฑ์ทางภาษาแต่เพียงอย่างเดียว การเรียนภาษาจะต้องเรียนรไู้ วยากรณ์หรือหลัก
ภาษา การสะกดคำ การใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอน และนำความร้ดู งั กล่าวไปใชใ้ นการฝึกฝนการเขยี นและ
พัฒนาทางภาษาของตน
๔. ผู้เรียนทุกคนจะได้รับการพัฒนาทักษะทางภาษาเท่ากัน แต่การพัฒนาทางภาษา
จะไม่เทา่ กนั และวิธกี ารเรียนรู้จะต่างกัน
๕. ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด หลักสูตรจะต้องให้ความสำคัญ
และใช้ความเคารพและเห็นคุณค่าของเช้ือชาติ จัดกิจกรรมภูมิหลังของภาษาและการใช้ภาษาถ่ินของ
ผู้เรียน และช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาภาษาไทยของตน และพัฒนาความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับภาษาไทย และ
กระตุ้นให้ผเู้ รยี นสามารถเรยี นภาษาไทยดว้ ยความสขุ
๖. ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือของการเรียนรู้ และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะต้องใช้
ภาษาไทยเป็นเครื่องมือการสื่อสารและแสวงหาความรู้ การเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะใช้ภาษาใน
การคิดวเิ คราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การอภิปราย การเขียนรายงาน การเขียนโครงการ การตอบคำถาม
การตอบข้อทดสอบ ดังน้ันครูทุกคนไม่ว่าจะสอนวิชาใดก็ตามจะต้องใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน เป็น
ตวั อย่างที่ดแี กน่ ักเรยี น และต้องสอนการใช้ภาษาแก่ผู้เรยี นดว้ ยเสมอ
หลักการของการประเมนิ ผลในช้ันเรยี นทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
ประการแรก : การประเมนิ ผลในช้ันเรยี นท่ีมีประสิทธภิ าพจะต้องส่งเสริมการเรียนรูข้ อง
ผเู้ รยี น
ประการท่ีสอง : การประเมินจะต้องใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมลู ท่ีหลากหลาย
ประการท่สี าม : การประเมินจะต้องมีความเท่ียงตรง เชอื่ ถือได้ และยุตธิ รรม
๗๐
วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลผลการเรียนของผู้เรยี น
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกนำมาใช้ในการประเมินโดยทั่วไป ได้แก่ การสังเกต
การตรวจงานหรือผลงาน การทดสอบความรู้ การตรวจสอบการปฏบิ ัติ และการแสดงออก อยา่ งไรกต็ าม
มีการนำเสนอแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยพิจารณาจากเป้าประสงค์ของการประเมินที่
เฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เพื่อข้อมูลที่ได้จะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนา
กระบวนการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างแทจ้ ริง ดังนี้
๑. การให้ตอบแบบทดสอบ ทั้งในลักษณะที่เป็นแบบเลือกคำตอบ ได้แก่ ข้อสอบแบบ
เลือกตอบ ถูก-ผดิ จับคู่ และข้อสอบชนดิ ให้ผูส้ อบสร้างคำตอบ ไดแ้ ก่ เติมขอ้ ความในชอ่ งวา่ ง คำตอบสั้น
เปน็ ประโยค เป็นขอ้ ความ แผนภูมิ
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการนี้เหมาะกับการวัดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความรู้
เก่ียวกับกระบวนการ ซ่ึงมีข้อดีท่ีใช้เวลาในการดำเนินการน้อย ง่าย และสะดวกต่อการนำไปใช้ ให้ผล
การประเมินที่ตรงไปตรงมา เน่ืองจากมีกฎการประเมินชัดเจน แต่ไม่เหมาะกับการนำไปใช้กับผล
การเรียนรูท้ ี่เปน็ เจตคติ ค่านิยม
๒. การดูจากผลงาน เช่น เรียงความ รายงานการวิจัย บันทึกประจำวัน รายงาน
การทดลอง บทละคร บทร้อยกรอง แฟ้มผลงาน เป็นต้น ผลงานจะเป็นตัวแสดงให้เห็นการนำความรู้
และทักษะไปใช้ในการปฏิบัติงานของผู้เรียน จุดเด่นของการประเมินโดยดูจากผลงานนี้ คือ จะแสดงให้
เห็นสิ่งท่ีนักเรียนสามารถทำได้ มีการกำหนดเกณฑ์การประเมิน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถประเมินตนเอง
ได้ เพื่อการปรับปรุงพัฒนาตนเองของผู้เรียน เพ่อื นก็สามารถใช้เกณฑ์ในการประเมินผลงานของผู้เรียน
ได้เช่นกัน จุดอ่อนของการประเมินจากผลงาน คือ ต้องมีการกำหนดกฎเกณฑ์การประเมินร่วมกัน ต้อง
ใช้เวลาในการประเมนิ มาก รวมท้งั ตัวแปรภายนอก อาจเขา้ มามอี ิทธพิ ลต่อการประเมินได้ง่าย
๓. ดูการปฏิบัติ โดยผู้สอนสามารถสังเกตการนำทักษะและความรู้ไปใช้ได้โดยตรง
ในสถานการณ์ที่ให้ปฏิบัติจริง วิธีการนี้ถูนำไปใช้อย่างกว้างขวางในการประเมิน การปฏิบัติท่ีมีระเบียบ
ขอ้ บังคับ เช่น การ ร้องเพลง ดนตรี พลศึกษา การโตว้ าที การกล่าวสุนทรพจน์ ละครเวที การประเมิน
โดยวิธีการนี้จะมีคุณค่ามาก หากผู้เรียนได้นำไปใช้ในการประเมินตนเองเพื่อสร้างแรงจูงใจ
ในการปรับปรุงพัฒนาตนเองให้ดีข้ึน ในกระบวนการประเมิน จะมีเคร่อื งมือประกอบการดำเนนิ การ คือ
แบบสำรวจรายการ มาตราสว่ นประมาณค่า และเกณฑ์การใหร้ ะดบั คะแนน (scoring rubric )
๔. ดูกระบวนการ วิธีการนี้จะให้ข้อมูลเก่ียวกับวิธีการเรียนรู้ กระบวนการคิดของ
ผู้เรียนมากกว่าท่ีจะดูผลงานหรือการปฏิบัติ ซ่ึงจะทำให้เข้าใจกระบวนการคิดท่ีผู้เรียนใช้ วิธีการท่ี
ครูผู้สอนใช้อยู่เป็นประจำในกระบวนการเรียนการสอน คือ การให้นักเรียนคิดดังๆ การตั้งคำถาม ให้
นักเรยี นตอบ โดยครูจะเป็นผู้สังเกตวิธกี ารคิดของผู้เรียน วิธกี ารเชน่ นี้เป็นกระบวนการที่จะให้ข้อมลู เพื่อ
การวินิจฉัย และเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเหมาะกับ
การประเมินพัฒนาการด้านคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะนิสัยการตัดสินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระ
ภาษาไทย
การตัดสินผลการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เป็นการตัดสินผลการเรียนสาระ
การเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละช้ัน จึงเป็นการดำเนินการตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แล้วนำผล
การเรยี นไปสรุปตดั สินให้ผเู้ รียนผ่านระดบั ช้ัน
๑. การตัดสินผลการเรยี น
๑.๑ ผู้สอนทำการวัดและประเมินผลผู้เรียนให้ครอบคลุมทุกตัวช้ีวัดด้วยวิธีการท่ี
หลากหลาย โดยการวัดและประเมินผลไปพร้อมกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน และต้องให้
ความสำคญั กบั การประเมินระหวา่ งเรยี นมากกวา่ ประเมินปลายปี
๑.๒ กำหนดเกณฑ์การประเมินใหร้ ะดับผลการเรียน สถานศึกษาตอ้ งกำหนดเกณฑ์
การประเมินให้ระดับคุณภาพผลการเรียน สามารถอธิบายผลการตัดสินว่าผู้เรียนต้องมีความรู้ ทักษะ
๗๑
และคุณลักษณะโดยรวมอยู่ในระดับใด จึงยอมรับว่าผ่านการประเมิน เช่น ได้-ตก, คิดเป็นร้อยละ,
ผ่าน-ไม่ผ่าน ส่วนผลการเรียนท้ังระบบตัวเลขและตัวอักษรในการประเมินสาระการเรียนรู้
โรงเรยี นนาถอ่ นวิทยานกุ ลู กำหนดเป็นระดับผลการเรยี น ๘ ระดบั คือ
ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนนร้อยละ
๔ ผลการเรยี นดเี ยี่ยม ๘๐ - ๑๐๐
๓.๕ ผลการเรยี นดีมาก ๗๕ - ๗๙
๓ ผลการเรยี นดี ๗๐ - ๗๔
๒.๕ ผลการเรยี นคอ่ นขา้ งดี ๖๕ - ๖๙
๒ ผลการเรยี นน่าพอใจ ๖๐ - ๖๔
๑.๕ ผลการเรยี นพอใช้ ๕๕ - ๕๙
๑ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่ำ ๕๐ - ๕๔
๐ ผลการเรยี นตำ่ กวา่ เกณฑ์ ๐ - ๔๙
๑.๓ ประเมินให้ระดับผลการเรียนกลุ่มสาระภาษาไทย ตามเกณฑ์การประเมินให้
ระดับผลการ เรียนตาม ที่สถานศึกษากำหนด กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดให้
ดำเนินการซ่อมเสริม ปรับปรุง แก้ไขผู้เรียนในสาระภาษาไทย การประเมินด้วยวิธีการที่มีประสิทธิภาพ
จนผ้เู รยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตัวชีว้ ัด สถานศกึ ษาควรดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สนิ้ ในภาคเรียนต่อไป และให้
ระดับผลการเรยี นใหม่ตามเง่ือนไขท่สี ถานศกึ ษากำหนด
๒. การตดั สนิ ผลการเรยี นกลุ่มสาระภาษาไทยในแตล่ ะช้ัน
ผู้เรียนต้องเรียนรู้ตามกลุ่มสาระภาษาไทยครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรของ
สถานศึกษา และไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรยี นให้ “ผ่าน” แนวการวดั ผลและประเมินผลตามตัวช้ีวดั
การสะกดคำ
การวัดผลและประเมินผลว่านักเรียนสามารถสะกดคำได้หรือไม่ อย่างไร ครูสามารถ
ดำเนินการไดท้ ั้งขณะสอนและสน้ิ สุดการสอนและเคร่ืองมือ ดงั น้ี
๑. การสังเกต ในการสังเกตนักเรียนอย่างไม่เป็นทางการขณะอ่านแจกลูกสะกดคำ
หรอื สังเกตการใช้นิ้วมือเขียนรูปตัวอักษรของคำที่อ่านในอากาศนัน้ ครูควรบันทกึ พฤติกรรมของนักเรยี น
ในแบบสังเกตท่ีเตรยี มไว้
๒. การทดสอบในระหว่างชั่วโมงสอน ครูอาจสร้างแบบทดสอบให้นักเรียนเติมสระ
พยญั ชนะท่ขี าดหายไป หรอื ให้นักเรียนจำแนกคำทีค่ รกู ำหนดในตารางแจกลกู
๓. การสอบถาม ครูอาจตั้งคำถามให้นักเรียนตอบปากเปล่าเก่ียวกับตำแหน่งของสระ
รปู ร่างของสระ หรือให้นักเรียนเขียนคำใหม่ที่ใช้พยัญชนะ หรือสระหรอื ตัวสะกดเหมือนกับคำท่ีได้เรียน
ไปแลว้ หรือคำท่ีครกู ำหนดให้
มาตราตวั สะกด
ครูสามารถวัดผลและประเมินผลนักเรียนว่ามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรา
ตัวสะกดได้โดยวธิ กี ารและเครอื่ งมือ ดงั น้ี
๗๒
๑. ทดสอบปากเปล่า โดยครูกำหนดคำสะกดในมาตราต่าง ๆ ทั้งท่ีสะกดตรงมาตรา
และไม่ตรงมาตราให้นักเรียนอ่านแล้วครูใช้แบบสังเกตเพ่ือประเมินว่านักเรียนสาม ารถอ่านตัวสะกดท่ี
กำหนดได้ถูกต้องหรอื ไม่
๒. เขียนตามคำบอกโดยครูเลือกคำท่ีสะกดในมาตราต่างๆ ทั้งท่ีสะกดตรงมาตราและ
ไม่ตรงมาตราบอกใหน้ กั เรยี นเขียนและครตู รวจแก้การเขียนตวั สะกดของนักเรยี น
๓. ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบแบบเขียนตอบ ให้เขียนคำอ่านของตัวสะกดท่ีครู
กำหนดให้หรือใช้แบบทดสอบแบบเลือกตอบให้นกั เรยี นเลือกคำในตัวเลือกใดที่เขียนคำอา่ นถกู ตอ้ ง หรือ
เลอื กตวั เลือกใดที่เขยี นคำอา่ นไม่ถูกต้อง
อ่านออกเสียงควบกล้ำ
การวัดผลและประเมินผลนักเรียนว่าสามารถอ่านออกเสียงควบกล้ำได้ถูกต้องหรือไม่
ครูอาจจะมีคำหรือข้อความหรือเพลงที่มีคำควบกล้ำแล้วให้นักเรียนอ่านให้ฟัง แล้วครูบันทึกผล
การประเมนิ ในแบบประเมนิ การอา่ น
การคัดลายมือ
การวัดและประเมินผลการคัดลายมอื ครูอาจใหน้ ักเรียนคดั ข้อความท่ีกำหนดใหภ้ ายใน
เวลาทก่ี ำหนด ครูสามารถสังเกตทา่ ทางการคดั ของนักเรยี นว่าถูกต้องหรอื ไม่ เช่น วางสมดุ ขนานกบั โต๊ะ
แขนทั้งสองวางบนโต๊ะ หน้าต้ังตรงห่างจากสมุดประมาณ 30 เซนติเมตร จับดินสอด้วยน้ิวช้ีและ
นว้ิ หัวแม่มือ เท้าทั้งสองข้างราบกับพื้น เป็นต้น และตรวจผลงานของนักเรียนโดยมีเกณฑ์การให้คะแนน
เช่น การเขียนตัวอักษรถูกต้อง การวางวรรณยุกต์ถูกท่ี ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสะอาด
เป็นต้น
การอา่ น
การวัดผลประเมนิ ผล อาจใช้วิธกี ารดงั น้ี
๑. พิจารณาความถูกต้องเหมาะสมในการวิเคราะห์คำ วลี หรือประโยค นอกจากน้ัน
ควรวัดผลดา้ นเหตุผลการวิเคราะห์ทัศนะของผู้เขียนจากเร่ืองทอ่ี ่าน ตลอดจนประเมินผลจากความตั้งใจ
สนใจ และผลงานท่ีได้มอบหมาย
๒. ให้นักเรียนเลือกอ่านบทร้อยกรองท่ีนักเรียนชอบแล้วสรุปความเป็นร้อยแก้ว
โดยใช้สำนวนภาษาท่เี ขา้ ใจง่าย
๓. ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรองเร่ือง……… แล้ววิเคราะห์วิจารณ์บทที่อ่านในด้าน
รูปแบบฉนั ทลักษณ์ ความคิดและเน้ือหาสาระในบทร้อยกรอง กลวิธใี นการแตง่ ของบทรอ้ ยกรอง และสิ่ง
ท่ีผู้เขยี นฝากไวใ้ นบทร้อยกรอง
๔. ให้นกั เรียนอา่ นบทรอ้ ยกรองเร่อื ง…………… แลว้ วเิ คราะหว์ ่าเนือ้ หาของบทร้อยกรอง
ให้อารมณ์ ความรู้สึก สอดคล้องกับเน้ือหาของบทร้อยกรองหรือไม่อย่างไร นักเรียนมีความซาบซ้ึง
ประทับใจกับบทร้อยกรองท่ีอ่านหรือไม่ ต่อจากนั้นจึงพิจารณาความสามารถและผลการทำงานด้วย
การวดั ผลความถกู ตอ้ งของการใชถ้ ้อยคำ สำนวนภาษา การสรปุ ความ การวเิ คราะห์วจิ ารณบ์ ทร้อยกรอง
และความตง้ั ใจในการทำงาน
๕. ใหน้ ักเรยี นอ่านข้อความให้ถูกต้องชดั เจนตามแบบท่ีกำหนดให้
๗๓
๖. ให้นักเรียนอ่านเร่ืองและสรุปความจากเร่ือง พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นเชิง
วิเคราะห์
๗. ให้นักเรียนอ่านข่าวหรือบทความจากหนังสือพิมพ์ แล้วขีดเส้นใต้ข้อความที่เป็น
ข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ ความทเ่ี ปน็ ขอ้ คิดเหน็ ของผู้เขียนด้วยสหี รือสัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน
๘. ให้นกั เรยี นตัดข่าวจากหนงั สือพิมพแ์ ล้ววเิ คราะหว์ ่าข่าวน้ันมีการนำเสนอข้อเท็จจริง
หรือมีความคิดเห็นของผู้เขียนแทรกอยู่ด้วย พร้อมท้ังให้เหตุผลประกอบว่าความคิดเห็นของผู้เขียน
น่าเชือ่ ถอื หรือไม่เพยี งใด
๙. ให้นักเรียนวิเคราะห์วิจารณ์การพาดหัวข่าวของหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ ในแง่การใช้
สำนวนภาษา การสอ่ื ความหมาย และความสอดคล้องกับเน้อื หาของข่าวนนั้ ๆ
๑๐. ให้นักเรียนตัดข้อความโฆษณาจากสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ แล้วแสดงความคิดเห็นเชิง
วิเคราะหว์ จิ ารณใ์ นด้านความน่าเช่ือถอื การใช้สำนวนภาษา ความนา่ สนใจของการนำเสนอ
๑๑. ให้นักเรียนอ่านเร่ือง…………… แล้วตีความเน้ือหาให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของผู้เขียนแลว้ สรปุ ความคิดเหน็ ของผู้เขียน พรอ้ มทัง้ เสนอแนวความคิดของผู้เรยี นทม่ี ีต่อหนังสือเลม่ นัน้
ส่วนการวัดและการประเมินผลในกิจกรรมตา่ ง ๆ ทก่ี ล่าวมาแล้วมเี กณฑ์การวัดผลดังน้ี
๑. ความถูกตอ้ งชดั เจนในการวิเคราะห์วจิ ารณ์การพาดหัวข่าว
๒. การใช้สำนวนภาษาในการนำเสนอ
๓. การแสดงความคิดเหน็ เชิงวิเคราะหว์ จิ ารณท์ ี่ถูกต้องชดั เจน
๔. เหตผุ ลทใ่ี ชป้ ระกอบการประเมินคุณค่าของหนังสอื ท่ีอ่าน
๕. ความสามารถในการแยกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ ไดถ้ ูกตอ้ ง
การเขียน
การวัดผลแลการประเมินผลวิชาการเขียนนี้ส่ิงสำคัญท่ีสุดอยู่ที่ “การตรวจผลงาน”
พร้อมการวิจารณ์เสนอแนะ เพ่ือให้นักเรียนได้นำไปปรับปรุงแก้ไขหาจุดบกพร่องของตนเอง วิธีการ
วัดผลและการประเมินผลงานเขียนมีมากมายหลายวิธี ท้ัง ๑๐ วิธีท่ีนำมาเสนอน้ีเป็นเพียงส่วนหนึ่ง
เท่าน้ัน ขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่นำเสนอไว้ ครูสามารถเพ่ิมเติมปรับเปล่ียนให้เหมาะสมแก่สถานการณ์ได้
ท้งั สิน้ วิธีวดั ผลมดี งั น้ี
๑. ถ้าเป็นกิจกรรมประเภทเกมเติมคำถูกผิด ควรจะเฉลยคำตอบตรวจงานกันระหว่าง
เพ่อื นในชั่วโมงเรยี น แล้วสง่ ครตู รวจอกี ครง้ั
๒. ถ้าเป็นกิจกรรมแสดงความคิดเห็นอาจใช้อภิปรายแสดงความคิดกบั เพ่ือนร่วมชัน้ ได้
ครวู ัดผลทั้งการสังเกต การตอบคำถาม การสนทนา การสัมภาษณ์ และการอภิปราย
๓. ถ้าเป็นกิจกรรมการเขียนในห้องเรียนและมีเวลาเขียนเสร็จภายในห้องเรียนครูอาจ
พิจารณาคัดเลือกข้อเขียนเด่น แปลก ใหม่ นำมาถ่ายทอดให้นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดเห็น วิจารณ์
ช่นื ชม และนำไปเปน็ แบบอยา่ งการสรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาความคิด ตดิ ผลงานท่ปี ้ายนิเทศประจำสัปดาห์
๔. ถา้ เป็นกิจกรรมกลมุ่ ครูสงั เกตความร่วมมือของนักเรียนทกุ คนในกลุม่
๕. ถ้าเป็นงานเขียนที่เป็นการบ้าน ควรซักถามวิธีการผลติ ข้อเขียน สาเหตุ และคาดว่า
จะไดร้ ับผลอยา่ งไรเสียก่อนเพื่อทราบแนวความคดิ ในการทำงานของนกั เรยี นอย่างคร่าว ๆ
๖. การบนั ทึกอนทุ นิ ควรใหจ้ ดั ทำอย่างสมำ่ เสมอเปน็ ผลงานการเขยี นอีก ๑ ชิน้
๗๔
๗. การเขียนเลา่ เรือ่ งจากประสบการณ์หรือการกระทำที่นา่ ยกย่องของนักเรียนเองหรือ
ท่ีไปประสบมา นำมาเขียน ครูอาจเสนอแนวทางในการผลิตผลงานใหม่ ๆ ได้หลายวิธีเช่น เขียนเป็น
การต์ ูน คำขวัญ คำประพันธ์ บันทึก เล่าเร่อื ง และข่าวเป็นต้น นับเป็นกิจกรรมที่สรา้ งสรรค์ของนักเรียน
ได้ และควรนำส่งลงหนังสอื พมิ พบ์ างฉบับได้
๘. การให้นักเรียนมีสว่ นร่วมในการพิจารณาผลงานของเพ่ือน ๆ ว่าผู้ใดชอบงานชิ้นใด
เพราะเหตุใด
๙. การจัดทำป้ายนิเทศแสดงผลงานเขียนโดยเฉพาะงานเขียนที่อยู่ในช่วงเทศกาล
ตา่ ง ๆ เช่น วันแม่ วันพ่อ วนั ลอยกระทง ฯลฯ
๑๐. การรวบรวมผลงานการเขยี น จัดทำเปน็ Portfolio แลกเปลย่ี นกบั เพื่อน ๆ
การวัดสมรรถภาพการเขียนอาจใช้วิธีการให้นักเรียนเขียนโดยตรงตามหัวข้อที่
กำหนดให้ หรืออาจ วัดความคิดเชิงสร้างสรรค์ โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องอย่างเสรีเชิงสรรค์หรือใช้
แบบทดสอบวัดการสะกดคำ การเรียงลำดับคำ การใช้เครื่องหมายและการใช้ถ้อยคำ กรณีให้นักเรียน
เขียนเรยี งความตามหวั ข้อทก่ี ำหนด ครูสามารถกำหนดเกณฑ์และใช้แบบประเมิน
การฟงั
แนวทางการวัดสมรรถภาพการฟัง ครจู ะวดั ได้ดงั น้ี
๑. ให้ฟงั เพือ่ แยกเสยี งจากแถบบันทกึ เสียงหรือจากครูอ่านให้ฟัง
๑.๑ ให้ฟงั แลว้ ปฏิบตั ิตาม โดยครอู าจจะส่ังใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง แล้ว
ครใู ช้การสังเกตความถกู ตอ้ งในการปฏบิ ตั ิ
๑.๒ ให้ฟงั เพือ่ วัดความสามารถจบั ใจความสำคญั ของเรอื่ งที่ฟัง ก่อนลงมือวดั ผล ครู
ตอ้ งชี้แจงให้นักเรียนทราบว่าครูจะอ่านข้อความให้นักเรียนฟังเพียง 2 คร้ัง ให้นักเรียนฟังให้ดีแล้วครูจะ
ตงั้ คำถามจากเร่ืองท่ีฟังทีละข้อ นกั เรยี นจะไมม่ โี อกาสเห็นข้อความท่ีครูอ่าน นกั เรียนจะได้รับแจกเฉพาะ
แบบทดสอบ (ที่ไมม่ ขี ้อความทผ่ี ู้ควบคุมการสอบอ่านให้ฟงั ) และกระดาษคำตอบเท่านั้น
๑.๓ ให้ฟังเพอื่ วดั ความสนกุ เพลดิ เพลิน ซาบซ้ึง โดยครูอาจเปดิ แถบบนั ทกึ เสยี งหรือ
อ่านให้นกั เรยี นฟังแลว้ ใชแ้ บบบันทึกการมอี ารมณร์ ่วมในการฟงั เชน่ หนา้ ตา ทา่ ทางในการฟัง
๑.๔ มารยาทในการฟงั โดยครอู าจจะสังเกตนกั เรียนในขณะทเ่ี พื่อนนกั เรียนออกมา
รายงานหรือพูดหน้าชั้นเรียน โดยใช้แบบสังเกต ความตง้ั ใจในการฟัง ซักถามเม่ือมีโอกาส ปรบมือให้เม่ือ
ผพู้ ดู จบ ท่านัง่ ฟังสุภาพ ไมส่ ่งเสียงคุยในขณะทฟ่ี งั ฯลฯ
การดู
การวดั ผลและประเมนิ ผลการดู ครูสามารถใช้วธิ ีการและเคร่ืองมือดังนี้
๑. สังเกต ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะดูกิจกรรมในสถานการณ์ที่
โรงเรียนจัดให้ เชน่ ในชน้ั เรียนนกั เรียนดูการอภิปราย โต้วาที ดวู ิดีทัศน์ ดลู ะครหรือเม่อื จดั ให้นักเรียนไป
ทัศน์ศกึ ษานอกสถานท่ี เป็นต้น ครสู งั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นโดยใชแ้ บบสังเกตความตั้งใจ
ความสนใจของนกั เรยี น
๒. ตรวจผลงาน เมื่อจัดกิจกรรมให้นักเรียนไปดูแล้วครูอาจจะกำหนดให้นักเรียนทำ
รายงาน หรือเขียนแสดงความรู้สึกต่อสิ่งท่ีไปดูส่งครูหรือให้นักเรียนจัดนิทรรศการ ครูประเมินนักเรียน
โดยใช้แบบประเมินผลงานของนักเรียน
๗๕
๓. ทดสอบ โดยครใู ช้แบบใหเ้ ขียนตอบส้ัน ๆ หรือแบบทดสอบเลือกตอบเพ่ือตรวจสอบ
ความรู้ของนักเรียนเกีย่ วกบั ส่ิงที่ให้ไปดู
การพูด
แนวทางการวดั สมรรถภาพการพูด
วิธีการวัดสมรรถภาพการพูดทเ่ี หมาะสมวิธหี นงึ่ คือ ครกู ำหนดให้นกั เรียนออกมาพูด
หน้าช้ันเรียนและครูสังเกต และบันทึกพฤติกรรมการพูดเช่น บุคลิกท่าทาง การใช้สายตา การควบคุม
อารมณ์ กาแสดงออกทางสีหนา้ การใช้นำ้ เสยี ง การออกเสยี งชัดเจน และมารยาทในการพูด เป็นต้น
วรรณคดวี รรณกรรม
การวดั ผลวรรณคดีและวรรณกรรม ครูสามารถใชว้ ธิ ีการและเครือ่ งมือวัดผล ดังน้ี
๑. สอบถามปากเปล่า ในระหว่างดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนครูอาจจะสอบถาม
นักเรียนเก่ียวกับเน้ือเรื่องเพ่ือวัดความรู้ ความเข้าใจ และการประเมินค่าตัวละคร เช่น ให้นักเรียน
วิจารณ์ตัวละครหรือถามว่าชอบตัวละครตัวใด เพราะเหตุใด โดยให้ยกตัวอย่างพฤติกรรมของตัวละคร
ทช่ี อบ เปน็ ตน้
๒. ทดสอบโดยแบบทดสอบ เช่น ใช้แบบทดสอบเขียนตอบ ให้นักเรียนตอบส้ัน ๆ หรือ
เขียนวิจารณ์ตัวละคร เขียนบอกเหตุผลว่าทำไมถึงชอบตัวละครหรือวรรณคดีหรือวรรณกรรมเร่ืองน้ัน
และใช้แบบทดสอบแบบเลือกตอบซ่ึงสามารถวัดพฤติกรรมด้านความรู้ ความจำ ความเข้าใจ
การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และประเมินค่าเช่น ครูอาจจะนำข้อความซ่ึงตัดตอนมาจาก
วรรณคดีวรรณกรรมมาให้นักเรียน แล้วถามนักเรียนเพ่ือวัดการอ่านจับใจความสำคัญ วัดจุดมุ่งหมาย
หรอื จดุ เน้นของผู้ประพนั ธห์ รือวดั ความต้องการของผปู้ ระพนั ธ์เป็นตน้
๓. แสดงละครหรือบทบาทสมมติ ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มและให้เลือกวรรณคดี
วรรณกรรมตอนใดตอนหน่ึงมาแสดง ขณะที่นักเรียนแสดงครูสามารถสังเกตพฤติกรรมการแสดงออก
ประเมินการทำงานกลุ่มหรือความเข้าใจในบทบาทและความรู้สึกของตัวละคร และครูสังเกตพฤติกรรม
ของนักเรยี นท่ีเปน็ ผู้ชมโดยใช้แบบสังเกต
๔. ประเมินโดยการใช้แบบประเมินจิตพิสัยเพ่ือวัดความซาบซึ้งในสุนทรียรสของภาษา
ในการอา่ นวรรณคดวี รรณกรรมของนกั เรยี น
๕. อภิปรายหรือโต้วาทีในประเด็นหรือญัตติท่ีสอดคล้องกับวรรณคดีวรรณกรรม
โดยครูใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมของผู้โต้วาทแี ละพฤติกรรมของนักเรียนท่เี ป็นผ้ชู มดว้ ย
แนวปฏิบัตใิ นการวัดและประเมนิ ผลการเรียนร้โู รงเรยี นนาถ่อนวทิ ยานุกูล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการ
คือ การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จนั้น นักเรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนซึ่งเป็น
เป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพนักเรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและ
๗๖
สารสนเทศท่ีแสดงพฒั นาการ ความก้าวหนา้ และความสำเร็จทางการเรียนของนักเรียน ตลอดจนข้อมูล
ทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ การสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนเกิด การพัฒนาและเรยี นรู้อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับ
สถานศึกษา มีรายละเอียด ดังน้ี
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัด
การเรียนรู้ ครู ผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิค
การประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน
การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยครู ผู้สอนเป็นผู้ประเมิน
เองหรือเปิดโอกาสให้นักเรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ีไม่
ผา่ นตัวช้วี ัดใหม้ ี การสอนซอ่ มเสริม
การประเมินระดับชนั้ เรยี นเป็นการตรวจสอบว่า นักเรยี นมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงท่ี
จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุง
การเรียนการสอนของตนดว้ ย ท้งั นโ้ี ดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชี้วัด
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพ่ือตัดสิน
ผลการเรียนของผู้เรยี นเปน็ รายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้ง
สามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับ
สถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัด
การเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนว
ทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 ผู้ปกครองและชมุ ชน
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคุณภาพนักเรียน ท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้
นักเรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตามสภาพปัญหา
และความต้องการ ได้แก่ กลุ่มนักเรียนท่ัวไป กลุ่มนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มนักเรียนที่มี
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลมุ่ ผู้เรยี นทมี่ ีปญั หาดา้ นวินัยและพฤติกรรม กล่มุ นักเรียนท่ปี ฏิเสธโรงเรียน
กลุ่มนักเรียนที่มีปญั หาทางเศรษฐกิจและสงั คม กลุม่ พิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นตน้ ข้อมูลจาก
การประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้รับการพฒั นาและประสบความสำเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศกึ ษา จะตอ้ งจัดทำระเบยี บว่าด้วยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็น
ขอ้ กำหนดของหลักสตู รสถานศึกษา เพื่อใหบ้ คุ ลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายถอื ปฏบิ ัตริ ว่ มกนั
๗๗
เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
๑. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และ
เขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนานักเรียน
แต่ละคนเป็นหลัก และต้องเกบ็ ข้อมูลของนกั เรียนทุกด้านอยา่ งสม่ำเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรียน
รวมทงั้ สอนซอ่ มเสรมิ ผู้เรียนให้พัฒนา จนเตม็ ตามศกั ยภาพ
ระดบั ประถมศกึ ษา
(๑) ผ้เู รยี นต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมด
(๒) ผู้เรียนตอ้ งได้รบั การประเมินทกุ ตัวชว้ี ัด และผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ
๘๐ ของจำนวนตัวชีว้ ดั
(๓) ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวิชา ไมน่ ้อยกวา่ ระดบั “ ๑ ”
จึงจะถือวา่ ผ่านเกณฑ์
(๔) นักเรียนต้องได้รบั การประเมิน และมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนสมรรถนะผู้เรียน ในระดับ “ ผ่าน ” ขึ้นไป มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในระดบั “ ผา่ น ” ขนึ้ ไป และมีผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนานักเรียนในระดบั “ ผา่ น
๗๘
ตัวอยา่ งแผนการจัดการเรยี นรู้
๗๙
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 - 3
กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ เทอม 1
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอื่ ง การผจญภยั ของสดุ สาคร เวลา 18 ชว่ั โมง
เรื่อง การจบั ใจความ (การผจญภัยของสดุ สาคร) เวลา 2 ชวั่ โมง
ผู้สอน นางสาวหทัยกาญจน์ มาภา โรงเรียนนาถ่อนวทิ ยานุกลู
1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชว้ี ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน
การดำเนินชีวติ และมีนสิ ยั รกั การอ่าน
ตัวช้วี ัด
ท ๑.๑ ป.๔/๓ อ่านเร่ืองส้ันๆ ตามเวลาทก่ี ำหนดและตอบคำถามจากเร่ืองที่อา่ น
2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
พุทธพิ ิสยั
อธิบายหลกั การอา่ นจบั ใจความได้
ทักษะพิสัย
จับใจความจากเร่ืองการผจญภยั ของสุดสาครได้
จติ พิสยั
บอกประโยชน์ของการอ่านจับใจความสำคญั
๓. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
การอ่านเรื่อง การผจญภัยของสุดสาคร จะต้องฝึกจบั ใจความสำคญั และตอบคำถามได้
๔. สาระการเรยี นรู้
การอ่านจบั ใจความ
5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (ช่ัวโมงท่ี ๒ - ๓)
ข้ันนำ
ครูสนทนาซกั ถามนักเรียนถึงวิธีการและหลกั การอ่านเพ่ือจับใจความสำคัญ
ขัน้ สอน
1. นักเรียนดภู าพ เร่อื งการผจญภัยของสุดสาคร ครูอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ จากภาพ ดงั น้ี
- คนในภาพคือใคร
- พาหนะทีใ่ ชใ้ นการเดนิ ทาง
- อุปกรณท์ ใี่ ช้ในการเดินทาง
๘๐
2. นักเรียนอ่านจับใจความ เรอื่ ง การผจญภยั ของสดุ สาคร ท่ีเปน็ ร้อยแกว้ จากหนงั สือ
วรรณคดลี ำนำ
๓. นกั เรยี นและครูชว่ ยกันสรุปความรู้จากเร่ืองที่อา่ นโดยใช้คำถามดังนี้
- สุดสาครคือใคร
- พาหนะทใี่ ช้ในการเดินทาง
- สดุ สาครมขี องวิเศษอะไรไว้ปอ้ งกนั ตวั
- อันตรายทไ่ี ด้รบั จากการเดินทางไกล
- ข้อคิดสำหรบั การเตรยี มตัวเดนิ ทาง
ขนั้ สรปุ
1. นักเรียนช่วยกันสรปุ หลักการอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ
2. นกั เรยี นทำแบบฝึกหัด เพ่ือเป็นการทบทวนบทเรยี น
6. แหลง่ การเรยี นร้/ู สอ่ื
๑. เกม, เพลง
๒. ภาพการผจญภยั ของสุดสาคร
๓. หนงั สือเรยี นวรรณคดลี ำนำ
๔. หนังสือแบบฝึกหดั ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
๕. ปรศิ นาคำทาย
๖. สไลด์
7. การวดั ผลและการประเมินผล วธิ ีการประเมิน เครอ่ื งมอื
ส่ิงท่ีประเมิน ตรวจสมุด แบบประเมนิ
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ตรวจสมุด แบบประเมิน
๑. อธิบายหลักการอ่านจับใจความได้ ใช้คำถาม คำถาม
๒. จับใจความจากเรอ่ื งการผจญภัยของสดุ สาคร
๓. บอกประโยชน์ของการอ่านจบั ใจความสำคัญ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ
สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
๑. ใฝเ่ รียนรู้ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน
๒. มุ่งม่นั ในการทำงาน ใชค้ ำถาม คำถาม
สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
๘๑
อภิธานศพั ท์
๘๒
อภธิ านศพั ท์
กระบวนการเขยี น
กระบวนการเขียนเป็นการคิดเรื่องที่จะเขียนและรวบรวมความรู้ในการเขียน กระบวน
การเขียน มี ๕ ขัน้ ดังนี้
๑. การเตรียมการเขียน เป็นข้ันเตรียมพร้อมท่ีจะเขียนโดยเลือกหัวข้อเร่ืองที่จะเขียน
บนพ้ืนฐานของประสบการณ์ กำหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใช้วธิ ีการอ่าน
หนังสือ สนทนา จัดหมวดหมู่ความคิด โดยเขียนเป็นแผนภาพความคดิ จดบันทึกความคิดที่จะเขียนเป็น
รปู หัวข้อเร่อื งใหญ่ หวั ขอ้ ยอ่ ย และรายละเอยี ดคร่าว ๆ
๒. การยกร่างข้อเขียน เม่ือเตรียมหัวข้อเรอ่ื งและความคิดรูปแบบการเขียนแลว้ ให้นำ
ความคิดมาเขียนตามรูปแบบท่ีกำหนดเป็นการยกร่างข้อเขียน โดยคำนึงถึงว่าจะเขียนให้ใครอ่าน จะใช้
ภาษาอย่างไรให้เหมาะสมกับเรื่องและเหมาะกับผู้อนื่ จะเรมิ่ ต้นเขยี นอยา่ งไร มหี ัวข้อเร่ืองอย่างไร ลำดับ
ความคดิ อยา่ งไร เชื่อมโยงความคดิ อย่างไร
๓. การปรับปรุงข้อเขียน เม่อื เขียนยกร่างแล้วอ่านทบทวนเร่อื งท่ีเขียน ปรับปรุงเรอื่ งท่ี
เขียนเพิ่มเติมความคิดให้สมบูรณ์ แก้ไขภาษา สำนวนโวหาร นำไปให้เพื่อนหรือผู้อ่ืนอ่าน
นำข้อเสนอแนะมาปรบั ปรุงอกี คร้งั
๔. การบรรณาธิการกิจ นำข้อเขียนท่ีปรับปรุงแล้วมาตรวจทานคำผิด แก้ไขให้ถูกต้อง
แล้วอา่ นตรวจทานแก้ไขข้อเขียนอีกคร้งั แก้ไขขอ้ ผิดพลาดทัง้ ภาษา ความคิด และการเวน้ วรรคตอน
๕. การเขียนให้สมบูรณ์ นำเร่ืองที่แก้ไขปรับปรุงแล้วมาเขยี นเรื่องให้สมบูรณ์ จัดพิมพ์
วาดรปู ประกอบ เขียนให้สมบูรณ์ด้วยลายมือท่สี วยงามเป็นระเบียบ เมือ่ พมิ พ์หรอื เขียนแล้วตรวจทานอีก
ครัง้ ใหส้ มบูรณ์กอ่ นจัดทำรปู เล่ม
กระบวนการคิด
การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นกระบวนการคิด คนที่จะคิดได้ดีต้องเป็น
ผู้ฟัง ผู้พูด ผู้อ่าน และผู้เขียนท่ีดี บุคคลที่จะคิดได้ดีจะต้องมีความรู้และประสบการณ์พ้ืนฐานในการคิด
บคุ คลจะมีความสามารถในการรวบรวมขอ้ มูล ขอ้ เท็จจรงิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า จะตอ้ ง
มคี วามรแู้ ละประสบการณ์พ้ืนฐานที่นำมาช่วยในการคิดทั้งสิ้น การสอนให้คิดควรให้ผู้เรียนรู้จักคัดเลือก
ข้อมูล ถ่ายทอด รวบรวม และจำข้อมูลต่าง ๆ สมองของมนุษย์จะเป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสาร และ
สามารถแปลความข้อมูลข่าวสาร และสามารถนำมาใช้อ้างอิง การเป็นผู้ฟัง ผู้พูด ผู้อ่าน และผู้เขียนท่ีดี
จะต้องสอนให้เป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสารท่ีดีและเป็นนักคิดท่ีดีด้วย กระบวนการสอนภาษาจึงต้องสอน
ให้ผู้เรียนเป็นผู้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและมีทักษะการคิด นำข้อมูลข่าวสารท่ีได้จากการฟังและการอ่าน
นำมาสู่การฝึกทักษะการคิด นำการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนมาสอนในรูปแบบบูรณาการ
ทักษะ ตัวอย่าง เช่น การเขียนเป็นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การสังเคราะห์
การประเมินค่า การสร้างสรรค์ ผู้เขียนจะนำความรู้และประสบการณ์สู่การคิดและแสดงออกตาม
ความคิดของตนเสมอ ต้องเป็นผู้อ่านและผู้ฟังเพื่อรับรู้ข่าวสารที่จะนำมาวิเคราะห์และสามารถแสดง
ทรรศนะได้
๘๓
กระบวนการอา่ น
การอ่านเป็นกระบวนการซึ่งผู้อ่านสร้างความหมายหรือพัฒนา การตีความระหว่าง
การอ่านผู้อ่านจะต้องรู้หัวข้อเร่ือง รู้จุดประสงค์ของการอ่าน มีความรทู้ างภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาท่ีใช้
ในหนังสือท่ีอ่าน โดยใช้ประสบการณ์เดิมเป็นประสบการณ์ทำความเข้าใจกับเรื่องท่ีอ่าน กระบวนการ
อา่ นมีดงั นี้
๑. การเตรียมการอ่าน ผู้อ่านจะต้องอ่านชื่อเร่ือง หัวข้อย่อยจากสารบัญเรื่อง อ่าน
คำนำ ให้ทราบจุดมุ่งหมายของหนังสือ ตั้งจุดประสงค์ของการอ่านจะอ่านเพื่อความเพลิดเพลินหรือ
อ่านเพื่อหาความรู้ วางแผนการอ่านโดยอ่านหนังสือตอนใดตอนหน่ึงว่าความยากง่ายอย่างไร หนังสือ
มีความยากมากน้อยเพียงใด รูปแบบของหนังสือเป็นอย่างไร เหมาะกับผู้อ่านประเภทใด เดาความว่า
เปน็ เร่อื งเก่ียวกับอะไร เตรียมสมดุ ดินสอ สำหรับจดบันทึกข้อความหรอื เน้ือเรือ่ งทส่ี ำคัญขณะอา่ น
๒. การอ่าน ผูอ้ ่านจะอ่านหนงั สือให้ตลอดเล่มหรอื เฉพาะตอนทตี่ ้องการอ่าน ขณะอ่าน
ผูอ้ า่ นจะใช้ความรู้จากการอา่ นคำ ความหมายของคำมาใชใ้ นการอ่าน รวมทั้งการรู้จักแบ่งวรรคตอนดว้ ย
การอ่านเร็วจะมีส่วนชว่ ยให้ผู้อ่านเข้าใจเรือ่ งไดด้ ีกวา่ ผู้อา่ นชา้ ซึ่งจะสะกดคำอ่านหรอื อ่านย้อนไปยอ้ นมา
ผู้อา่ นจะใชบ้ ริบทหรือคำแวดล้อมช่วยในการตคี วามหมายของคำเพือ่ ทำความเขา้ ใจเรื่องที่อ่าน
๓. การแสดงความคดิ เห็น ผอู้ ่านจะจดบันทกึ ขอ้ ความท่ีมีความสำคัญ หรือเขยี นแสดง
ความคิดเห็น ตีความข้อความที่อ่าน อ่านซ้ำในตอนทีไ่ มเ่ ข้าใจเพอ่ื ทำความเข้าใจให้ถูกตอ้ งขยายความคิด
จากการอ่าน จับคู่กับเพอื่ นสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ต้ังข้อสงั เกตจากเร่ืองที่อา่ น ถา้ เป็นการอ่าน
บทกลอนจะตอ้ งอา่ นทำนองเสนาะดัง ๆ เพอ่ื ฟงั เสียงการอ่านและเกดิ จินตนาการ
๔. การอ่านสำรวจ ผู้อ่านจะอ่านซ้ำโดยเลือกอ่านตอนใดตอนหน่ึง ตรวจสอบคำและ
ภาษาที่ใช้ สำรวจโครงเรื่องของหนังสือเปรียบเทียบหนังสือที่อ่านกับหนังสือที่เคยอ่าน สำรวจและ
เชอ่ื มโยงเหตุการณ์ในเร่อื งและการลำดบั เรือ่ ง และสำรวจคำสำคญั ที่ใช้ในหนังสือ
๕. การขยายความคิด ผู้อ่านจะสะท้อนความเข้าใจในการอ่าน บันทึกข้อคิดเห็น
คุณค่าของเร่ือง เชื่อมโยงเรื่องราวในเร่ืองกับชีวิตจริง ความรู้สึกจากการอ่าน จัดทำโครงงาน
หลักการอ่าน เช่น วาดภาพ เขียนบทละคร เขียนบันทึกรายงานการอ่าน อ่านเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีผู้เขียนคน
เดยี วกนั แต่ง อา่ นเรือ่ งเพิม่ เติม เรื่องทีเ่ ก่ียวโยงกับเรือ่ งทีอ่ า่ น เพื่อให้ได้ความรู้ทีช่ ดั เจนและกวา้ งขวางข้ึน
การเขียนเชงิ สร้างสรรค์
การเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการเขียนโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการใน
การเขียน เช่น การเขียนเรยี งความ นิทาน เร่อื งสั้น นวนิยาย และบทร้อยกรอง การเขียนเชิงสร้างสรรค์
ผู้เขียนจะต้องมีความคิดดี มีจินตนาการดี มีคลังคำอย่างหลากหลาย สามารถนำคำมาใช้
ในการเขยี น ตอ้ งใช้เทคนิคการเขียน และใชถ้ ้อยคำอย่างสละสลวย
การดู
การดูเป็นการรับสารจากส่ือภาพและเสียง และแสดงทรรศนะได้จากการรับรู้สาร
ตีความ แปลความ วิเคราะห์ และประเมินคุณค่าสารจากสื่อ เช่น การดูโทรทัศน์ การดูคอมพิวเตอร์
การดูละคร การดูภาพยนตร์ การดูหนงั สือการ์ตูน (แมไ้ ม่มเี สียงแตม่ ถี ้อยคำอ่านแทนเสียงพูด) ผู้ดจู ะต้อง
รับร้สู าร จากการดูและนำมาวิเคราะห์ ตีความ และประเมินคุณค่าของสารทเี่ ป็นเนอ้ื เร่อื งโดยใชห้ ลักการ
พิจารณาวรรณคดีหรือการวิเคราะห์วรรณคดีเบื้องต้น เช่น แนวคิดของเรื่อง ฉากที่ประกอบเรื่อง
๘๔
สมเหตุสมผล กิริยาท่าทาง และการแสดงออกของตัวละครมีความสมจริงกับบทบาท โครงเร่ือง เพลง
แสง สี เสียง ท่ีใช้ประกอบการแสดงให้อารมณ์แก่ผู้ดูสมจริงและสอดคล้องกับยุคสมัยของเหตุการณ์ท่ี
จำลองสู่บทละคร คุณค่าทางจรยิ ธรรม คุณธรรม และคณุ ค่าทางสงั คมท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อผูด้ ูหรือผู้ชม ถา้ เป็น
การดูข่าวและเหตุการณ์ หรือการอภิปราย การใช้ความรู้หรือเรื่องท่ีเป็นสารคดี การโฆษณาทางสื่อ
จะต้องพิจารณาเน้ือหาสาระว่าสมควรเช่ือถือได้หรือไม่ เป็นการโฆษณาชวนเช่ือหรือไม่ ความคิดสำคัญ
และมีอิทธิพลต่อการเรียนรมู้ าก และการดูละครเวที ละครโทรทัศน์ ดูข่าวทางโทรทัศน์จะเป็นประโยชน์
ไดร้ บั ความสนุกสนาน ต้องดูและวเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สามารถแสดงทรรศนะของตนไดอ้ ย่างมเี หตผุ ล
การตีความ
การตีความเป็นการใช้ความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่านและการใช้บริบท ได้แก่ คำท่ี
แวดล้อมขอ้ ความ ทำความเขา้ ใจขอ้ ความหรือกำหนดความหมายของคำให้ถูกต้อง
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายว่า การตีความหมาย
ช้ีหรือกำหนดความหมาย ให้ความหมายหรืออธิบาย ใช้หรือปรับให้เข้าใจเจตนา และความมุ่งหมายเพ่ือ
ความถูกตอ้ ง
การเปล่ียนแปลงของภาษา
ภาษาย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา คำคำหน่ึงในสมัยหนึ่งเขียนอย่างหนึ่ง
อีกสมัยหน่ึงเขียนอีกอย่างหน่ึง คำว่า ประเทศ แต่เดิมเขียน ประเทษ คำว่า ปักษ์ใต้ แต่เดิมเขียน ปักใต้
ในปัจจุบันเขียน ปักษ์ใต้ คำว่า ลุ่มลึก แต่ก่อนเขียน ลุ่มฦก ภาษาจึงมีการเปล่ียนแปลง ทั้งความหมาย
และการเขยี น บางครง้ั คำบางคำ เช่น คำว่า หล่อน เป็นคำสรรพนามแสดงถงึ คำพูด สรรพนามบุรุษท่ี ๓
ทเ่ี ป็นคำสภุ าพ แตเ่ ด๋ียวนีค้ ำว่า หลอ่ น มคี วามหมายในเชงิ ดูแคลน เป็นต้น
การสร้างสรรค์
การสร้างสรรค์ คือ การรู้จักเลือกความรู้ ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาเป็นพื้นฐานใน
การสร้างความรู้ ความคดิ ใหม่ หรือสิ่งแปลกใหม่ท่ีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงกวา่ เดิม บุคคลที่จะมี
ความสามารถในการสรา้ งสรรค์จะตอ้ งเป็นบุคคลท่ีมีความคิดอิสระอยเู่ สมอ มคี วามเชอื่ ม่ันในตนเอง มอง
โลกในแง่ดี คิดไตร่ตรอง ไม่ตัดสินใจส่ิงใดง่าย ๆ การสร้างสรรค์ของมนุษย์จะเก่ียวเนื่องกันกับความคิด
การพูด การเขียน และการกระทำเชิงสรา้ งสรรค์ ซึ่งจะต้องมกี ารคิดเชงิ สรา้ งสรรค์เป็นพื้นฐาน
ความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นความคิดที่พัฒนามาจากความรู้และประสบการณ์เดิม ซึ่ง
เปน็ ปจั จัยพน้ื ฐานของการพูด การเขียน และการกระทำเชงิ สร้างสรรค์
การพูดและการเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการแสดงออกทางภาษาที่ใช้ภาษาขัดเกลาให้
ไพเราะ งดงาม เหมาะสม ถกู ตอ้ งตามเน้ือหาท่ีพดู และเขยี น
การกระทำเชิงสร้างสรรค์เป็นการกระทำที่ไม่ซ้ำแบบเดิมและคิดค้นใหม่แปลกไปจาก
เดิม และเปน็ ประโยชนท์ ีส่ ูงข้ึน
๘๕
ข้อมูลสารสนเทศ
ข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใดส่ิงหนึ่งที่สามารถ
สื่อความหมายด้วยการพูดบอกเล่า บันทึกเป็นเอกสาร รายงาน หนังสือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถ่าย
บันทึกด้วยเสียงและภาพ บันทึกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นการเก็บเรื่องราวต่าง ๆ บั นทึกไว้เป็น
หลกั ฐานดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ
ความหมายของคำ
คำท่ใี ชใ้ นการตดิ ต่อสอ่ื สารมีความหมายแบ่งได้เป็น ๓ ลักษณะ คอื
๑. ความหมายโดยตรง เป็นความหมายที่ใช้พูดจากันตรงตามความหมาย คำหนึ่งๆ น้ัน
อาจมีความหมายได้หลายความหมาย เช่น คำว่า กา อาจมีความหมายถึง ภาชนะใส่น้ ำ หรืออาจ
หมายถงึ นกชนิดหน่งึ ตัวสดี ำ รอ้ ง กา กา เป็นความหมายโดยตรง
๒. ความหมายแฝง คำอาจมีความหมายแฝงเพ่ิมจากความหมายโดยตรง มักเป็น
ความหมายเก่ียวกับความรู้สึก เช่น คำว่า ขี้เหนียว กับ ประหยัด หมายถึง ไม่ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย
เปน็ ความหมายตรง แตค่ วามรู้สกึ ต่างกนั ประหยดั เปน็ ส่ิงดี แตข่ ี้เหนียวเป็นส่งิ ไมด่ ี
๓. ความหมายในบริบท คำบางคำมีความหมายตรง เม่ือร่วมกับคำอื่นจะมีความหมาย
เพ่ิมเติมกว้างข้ึน หรือแคบลงได้ เช่น คำว่า ดี เด็กดี หมายถึง ว่านอนสอนง่าย เสียงดี หมายถึง ไพเราะ
ดินสอดี หมายถึง เขียนได้ดี สุขภาพดี หมายถึง ไม่มีโรค ความหมายบริบทเป็นความหมายเช่นเดียวกับ
ความหมายแฝง
คุณค่าของงานประพนั ธ์
เมอ่ื ผู้อ่านอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมแล้วจะต้องประเมินงานประพันธ์ ให้เห็นคุณค่า
ของงานประพันธ์ ทำใหผ้ อู้ ่านอ่านอยา่ งสนุก และได้รบั ประโยชนจ์ าการอา่ นงานประพันธ์ คุณค่าของงาน
ประพันธ์แบง่ ได้เป็น ๒ ประการ คือ
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ถ้าอ่านบทร้อยกรองก็จะพิจารณากลวิธีการแต่ง การเลือก
เฟ้นถ้อยคำมาใช้ได้ไพเราะ มีความคิดสร้างสรรค์ และให้ความสะเทือนอารมณ์ ถ้าเป็นบทร้อยแก้ว
ประเภทสารคดี รูปแบบการเขียนจะเหมาะสมกับเนื้อเร่ือง วิธีการนำเสนอน่าสนใจ เน้ือหามี
ความถูกต้อง ใช้ภาษาสละสลวยชัดเจน การนำเสนอมีความคิดสร้างสรรค์ ถ้าเป็นร้อยแก้วประเภท
บันเทิงคดี องค์ประกอบของเร่ืองไม่ว่าเรื่องสั้น นวนิยาย นิทาน จะมีแก่นเร่ือง โครงเรื่อง ตัวละครมี
ความสัมพันธ์กัน กลวิธีการแต่งแปลกใหม่ น่าสนใจ ปมขัดแย้งในการแต่งสร้างความ สะเทือน
อารมณ์ การใช้ถ้อยคำสร้างภาพได้ชัดเจน คำพูดในเร่ืองเหมาะสมกับบุคลิกของตัวละครมีความคิด
สรา้ งสรรคเ์ กย่ี วกบั ชีวิตและสงั คม
๒. คุณค่าด้านสังคม เป็นคุณค่าทางด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ
ชวี ิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ และคุณค่าทางจริยธรรม คุณค่าด้านสังคม เป็นคุณค่าที่ผู้อ่านจะเข้าใจชีวิต
ทั้งในโลกทัศน์และชีวทัศน์ เข้าใจการดำเนินชีวิตและเข้าใจเพ่ือนมนุษย์ดีข้ึน เน้ือหาย่อมเก่ียวข้องกับ
การช่วยจรรโลงใจแก่ผู้อ่าน ช่วยพัฒนาสังคม ช่วยอนุรักษ์ส่ิงมีคุณค่าของชาติบ้านเมือง และสนับสนุน
คา่ นิยมอันดงี าม
๘๖
โครงงาน
โครงงานเป็นการจัดการเรียนรู้วิธีหนึ่งที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนด้วยการค้นคว้า ลงมือ
ปฏิบัติจริง ในลักษณะของการสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ผู้เรียนจะรวบรวมข้อมูล นำมา
วิเคราะห์ ทดสอบเพ่ือแก้ปัญหาข้องใจ ผู้เรียนจะนำความรู้จากชั้นเรียนมาบูรณาการในการแก้ปัญหา
ค้นหาคำตอบ เป็นกระบวนการค้นพบนำไปสู่การเรียนรู้ ผู้เรียนจะเกิดทักษะการทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
ทักษะการจัดการ ผู้สอนจะเข้าใจผู้เรียน เห็นรูปแบบการเรียนรู้ การคิด วิธีการทำงานของผู้เรียน จาก
การสงั เกตการทำงานของผเู้ รียน
การเรียนแบบโครงงานเป็นการเรียนแบบศึกษาค้นคว้าวิธีการหน่ึง แต่เป็นการศึกษา
คน้ คว้าท่ใี ชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการพัฒนาผเู้ รยี นให้เป็นคนมีเหตผุ ล
สรุปเรื่องราวอย่างมีกฎเกณฑ์ ทำงานอย่างมีระบบ การเรียนแบบโครงงานไม่ใช่การศึกษาค้นคว้าจัดทำ
รายงานเพียงอยา่ งเดยี ว ตอ้ งมีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลและมีการสรุปผล
ทักษะการสอ่ื สาร
ทักษะการสอื่ สาร ได้แก่ ทักษะการพูด การฟัง การอา่ น และการเขียน ซึ่งเปน็ เคร่ืองมือ
ของการส่งสารและการรับสาร การส่งสาร ได้แก่ การส่งความรู้ ความเช่ือ ความคิด ความรู้สึกด้วย
การพดู และการเขยี น ส่วนการรับสาร ได้แก่ การรับความรู้ ความเช่ือ ความคิด ด้วยการอ่านและการฟัง
การฝึกทักษะการส่ือสารจึงเป็นการฝึกทักษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน ให้สามารถรับสาร
และสง่ สารอย่างมีประสิทธภิ าพ
ธรรมชาตขิ องภาษา
ธรรมชาติของภาษาเป็นคุณสมบัติของภาษาท่ีสำคัญ มีคุณสมบัติพอสรุปได้ คือ
ประการท่ีหนึ่ง ทุกภาษาจะประกอบด้วยเสียงและความหมาย โดยมีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ใน
การใช้อย่างเป็นระบบ ประการที่สอง ภาษามีพลังในการงอกงามมิรู้ส้ินสุด หมายถึง มนุษย์สามารถใช้
ภาษาสื่อความหมายได้โดยไม่ส้ินสุด ประการที่สาม ภาษาเป็นเรื่องของการใช้สัญลักษณ์ร่วมกันหรือ
สมมติร่วมกัน และมีการรับรู้สัญลักษณ์หรือสมมติร่วมกัน เพื่อสร้างความเข้าใจตรงกัน ประการที่ส่ี
ภาษาสามารถใช้ภาษาพูดในการติดต่อสื่อสาร ไม่จำกัดเพศของผู้ส่งสาร ไม่ว่าหญิง ชาย เด็ก ผู้ใหญ่
สามารถผลัดกันในการส่งสารและรับสารได้ ประการที่ห้า ภาษาพูดย่อมใช้ได้ทั้งในปัจจุบัน อดีต
และอนาคต ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ ประการที่หก ภาษาเป็นเคร่ืองมือการถ่ายทอดวัฒนธรรม และ
วิชาความรู้นานาประการ ทำใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมและการสร้างสรรคส์ ง่ิ ใหม่
แนวคิดในวรรณกรรม
แนวคิดในวรรณกรรมหรอื แนวเรื่องในวรรณกรรมเป็นความคิดสำคัญในการผูกเรื่องให้
ดำเนินเรื่องไปตามแนวคิด หรือเป็นความคิดท่ีสอดแทรกในเรื่องใหญ่ แนวคิดย่อมเก่ียวข้องกับมนุษย์
และสงั คม เป็นสารท่ผี ู้เขยี นส่งใหผ้ ู้อา่ น เชน่ ความดีย่อมชนะความช่ัว ทำดไี ด้ดที ำชั่วไดช้ ั่วความยตุ ิธรรม
ทำให้โลกสันติสขุ คนเราพ้นความตายไปไม่ได้ เป็นต้น ฉะนั้นแนวคิดเป็นสารท่ีผูเ้ ขียนต้องการส่งให้ผู้อื่น
ทราบ เช่น ความดี ความยุตธิ รรม ความรัก เป็นตน้
๘๗
บริบท
บริบทเป็นคำที่แวดล้อมข้อความที่อ่าน ผู้อ่านจะใช้ความรู้สึกและประสบการณ์มา
กำหนดความหมายหรือความเข้าใจ โดยนำคำแวดล้อมมาช่วยประกอบความรู้และประสบการณ์ เพอ่ื ทำ
ความเข้าใจหรอื ความหมายของคำ
พลังของภาษา
ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพ่ือ
การดำรงชีวิต เป็นเครื่องมือของการสื่อสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิด
และแสดงออกของความคดิ ด้วยการพูด การเขยี น และการกระทำซึ่งเป็นผลจากการคิด ถ้าไม่มีภาษาคน
จะคิดไม่ได้ ถา้ คนมภี าษาน้อย มีคำศัพท์น้อย ความคดิ ของคนก็จะแคบไม่กวา้ งไกล คนที่ใช้ภาษาได้ดีจะ
มีความคิดดีดว้ ย คนจะใชค้ วามคิดและแสดงออกทางความคิดเป็นภาษา ซง่ึ ส่งผลไปสู่การกระทำ ผลของ
การกระทำส่งผลไปสู่ความคิด ซ่ึงเป็นพลังของภาษา ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญต่อมนุษย์ ช่วยให้มนุษย์
พฒั นาความคดิ ช่วยดำรงสังคมให้มนษุ ย์อยู่ร่วมกันในสงั คมอยา่ งสงบสุข มีไมตรตี ่อกนั ช่วยเหลอื กันดว้ ย
การใช้ภาษาติดต่อสื่อสารกัน ช่วยให้คนปฏิบัติตนตามกฎเกณฑ์ของสังคม ภาษาช่วยให้มนุษย์เกิด
การพัฒนา ใช้ภาษาในการแลกเปล่ียนความคิดเห็น การอภิปรายโต้แย้ง เพื่อนำไปสู่ผลสรุป มนุษย์ใช้
ภาษาในการเรียนรู้ จดบันทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง
ภาษายังมีพลังในตัวของมันเอง เพราะภาพย่อมประกอบด้วยเสียงและความหมาย การใช้ภาษาใชถ้ ้อยคำ
ทำให้เกิดความรู้สึกต่อผู้รับสาร ให้เกิดความจงเกลียดจงชังหรือเกิด ความช่ืนชอบ ความรักย่อมเกิดจาก
ภาษาทั้งส้ิน ทน่ี ำไปสู่ผลสรปุ ทม่ี ีประสิทธิภาพ
ภาษาถน่ิ
ภาษาถิ่นเป็นภาษาพ้ืนเมืองหรือภาษาท่ีใช้ในท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นภาษาด้ังเดิมของชาว
พื้นบ้านท่ีใช้พูดจากันในหมู่เหล่าของตน บางคร้ังจะใช้คำที่มีความหมายต่างกันไปเฉพาะถ่ิน บางครั้งคำ
ที่ใช้พูดจากันเป็นคำเดียว ความหมายต่างกันแล้วยังใช้สำเนียงที่ต่างกัน จึงมีคำกล่าวท่ีว่า “สำเนียง
บอกภาษา” สำเนียงจะบอกว่าเป็นภาษาอะไร และผู้พูดเป็นคนถิ่นใด อย่างไรก็ตามภาษาถ่ินในประเทศ
ไทยไมว่ ่าจะเป็นภาษาถนิ่ เหนือ ถิ่นอีสาน ถิ่นใต้ สามารถสื่อสารเขา้ ใจกันได้ เพียงแต่สำเนียงแตกต่างกัน
ไปเท่าน้ัน
ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรียกว่า ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เป็นภาษาที่
ใช้ ส่ือสารกันท่ัวประเทศและเป็นภาษาท่ีใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการ
ในการติดต่อส่ือสารสร้างความเป็นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาท่ีใช้กันในเมืองหลวง ที่ใช้
ติดต่อกันท้ังประเทศ มีคำและสำเนียงภาษาท่ีเป็นมาตรฐาน ต้องพูดให้ชัดถ้อยชัดคำได้ตามมาตรฐาน
ของภาษาไทย ภาษากลางหรือภาษาไทยมาตรฐานมีความสำคัญในการสร้างความเป็นปกึ แผ่น วรรณคดี
มกี ารถ่ายทอดกันมาเปน็ วรรณคดปี ระจำชาติจะใชภ้ าษาท่ีเป็นภาษาไทยมาตรฐานในการสร้างสรรค์งาน
ประพนั ธ์ ทำใหว้ รรณคดีเปน็ เครือ่ งมอื ในการศกึ ษาภาษาไทยมาตรฐานได้
๘๘
ภาษาพูดกบั ภาษาเขยี น
ภาษาพูดเป็นภาษาที่ใช้พูดจากัน ไม่เป็นแบบแผนภาษา ไม่พิถีพิถันในการใช้แต่ใช้
สอื่ สารกันได้ดี สรา้ งความรู้สึกท่ีเป็นกันเอง ใช้ในหมู่เพื่อนฝูง ในครอบครวั และติดต่อสื่อสารกันอย่างไม่
เป็นทางการ การใช้ภาษาพูดจะใช้ภาษาที่เป็นกันเองและสุภาพ ขณะเดียวกันก็คำนึงว่าพูดกับบุคคลที่มี
ฐานะต่างกัน การใช้ถ้อยคำก็ต่างกันไปด้วย ไม่คำนึงถึงหลักภาษาหรอื ระเบียบแบบแผนการใชภ้ าษามาก
นกั
ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาท่ีใช้เคร่งครัดต่อการใช้ถ้อยคำ และคำนึงถึงหลักภาษา เพื่อ
ใช้ในการส่ือสารให้ถูกต้องและใช้ในการเขียนมากกว่าพูด ต้องใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เขียนให้เป็นประโยค
เลือกใช้ถ้อยคำท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ในการส่ือสาร เป็นภาษาที่ใช้ในพิธีการต่าง ๆ เช่น การกล่าว
รายงาน กล่าวปราศรัย กล่าวสดุดี การประชุมอภิปราย การปาฐกถา จะระมัดระวังการใช้คำท่ีไมจ่ ำเป็น
หรอื คำฟมุ่ เฟือย หรือการเล่นคำจนกลายเป็นการพดู หรอื เขียนเล่น ๆ
ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ
ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ (Local Wisdom) บางครั้งเรยี กว่า ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน เป็นกระบวน
ทัศน์ (Paradigm) ของคนในท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยู่
รอด แต่คนในท้องถิ่นจะสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติ เป็นความรู้ ความคิด ท่ี
นำมาใช้ในท้องถิ่นของตนเพื่อการดำรงชีวิตท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ผู้รู้จึงกลายเป็น
ปราชญช์ าวบ้านทีม่ คี วามรู้เก่ยี วกบั ภาษา ยารกั ษาโรคและการดำเนนิ ชีวติ ในหมบู่ า้ นอย่างสงบสุข
ภมู ปิ ัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาเป็นความรู้ทางภาษา วรรณกรรมท้องถิ่น บทเพลง สุภาษิต
คำพงั เพยในแต่ละท้องถ่ิน ที่ได้ใช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ เพ่ือใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทาง
สังคมที่ต่างกัน โดยนำภูมิปัญญาทางภาษาในการสั่งสอนอบรมพิธีการต่างๆ การบันเทิงหรือการละเล่น
มกี ารแต่งเปน็ คำประพนั ธใ์ นรูปแบบต่างๆ ท้ังนทิ าน นิทานปรัมปรา ตำนาน บทเพลง บทร้องเลน่ บทเห่
กล่อม บทสวดต่าง ๆ บททำขวัญ เพื่อประโยชน์ทางสงั คมและเป็นสว่ นหนง่ึ ของวฒั นธรรมประจำถ่นิ
ระดบั ภาษา
ภาษาเป็นวัฒนธรรมทคี่ นในสงั คมจะต้องใช้ภาษาให้ถูกตอ้ งกบั สถานการณ์และโอกาสท่ี
ใช้ภาษา บุคคลและประชุมชน การใช้ภาษาจึงแบ่งออกเป็นระดับของการใช้ภาษาได้หลายรูปแบบ
ตำราแตล่ ะเลม่ จะแบง่ ระดับภาษาแตกต่างกันตามลักษณะของสัมพันธภาพของบคุ คลและสถานการณ์
การแบง่ ระดบั ภาษาประมวลไดด้ งั น้ี
๑. การแบ่งระดบั ภาษาทเี่ ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ
๑.๑ ภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือภาษาท่ีเป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการประชุม
ในการกล่าวสนุ ทรพจน์ เป็นต้น
๑.๒ ภาษาท่ีไม่เป็นทางการหรือภาษาท่ีไม่เป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาใน
การสนทนา การใช้ภาษาในการเขียนจดหมายถึงผู้คุ้นเคย การใช้ภาษาในการเล่าเร่อื งหรือประสบการณ์
เป็นต้น
๘๙
๒. การแบ่งระดับภาษาท่ีเป็นพิธีการกับระดับภาษาท่ีไม่เป็นพธิ ีการ การแบ่งภาษาแบบ
น้เี ปน็ การแบง่ ภาษาตามความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลเป็นระดับ ดังน้ี
๒.๑ ภาษาระดบั พธิ ีการ เป็นภาษาแบบแผน
๒.๒ ภาษาระดับก่งึ พธิ ีการ เปน็ ภาษากึ่งแบบแผน
๒.๓ ภาษาระดับที่ไมเ่ ป็นพิธกี าร เป็นภาษาไมเ่ ป็นแบบแผน
๓. การแบ่งระดับภาษาตามสภาพแวดล้อม โดยแบ่งระดับภาษาในระดับย่อยเป็น
๕ ระดบั คอื
๓.๑ ภาษาระดับพธิ ีการ เชน่ การกล่าวปราศรัย การกลา่ วเปดิ งาน
๓.๒ ภาษาระดับทางการ เชน่ การรายงาน การอภปิ ราย
๓.๓ ภาษาระดับกึ่งทางการ เชน่ การประชมุ อภปิ ราย การปาฐกถา
๓.๔ ภาษาระดับการสนทนา เช่น การสนทนากบั บคุ คลอยา่ งเปน็ ทางการ
๓.๕ ภาษาระดบั กนั เอง เชน่ การสนทนาพูดคยุ ในหมู่เพื่อนฝงู ในครอบครวั
วิจารณญาณ
วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทำความเข้าใจเร่ืองใดเรื่องหนึ่งอย่างมี
เหตุผล การมีวิจารณญาณต้องอาศัยประสบการณ์ในการพิจารณาตัดสินสารด้วยความรอบคอบ และอย่าง
ชาญฉลาดเปน็ เหตเุ ปน็ ผล