The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมาลัยฉบับนายเส็ง-นางขำ-A5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระมาลัยฉบับนายเส็ง-นางขำ-A5

พระมาลัยฉบับนายเส็ง-นางขำ-A5

๙๑

๏ ห่าฝนของหอม ตกลงด้วยพลัน
ระงับกลิน่ อนั สาบเหม็นใหส้ ญู
๏ หา่ ฝนชะมด กฤษณาจันทคณุ
ตกลงบริบรู ณ์ หอมฟ้งุ ขจร
๏ หา่ ฝนข้าวสาร ตกมากครามครัน
ถว้ นทง้ั เจด็ วนั เต็มทว่ั สากล
๏ ห่าฝนอาหาร ใหป้ ระชาชน
ให้เลยี้ งชีวติ ตน สบื อายุไป
๏ หา่ ฝนขา้ วเปลือก เม็ดนอ้ ยเม็ดใหญ่
ตกเจ็ดวนั ไป เกลือ่ นทง้ั ธรณี
๏ จะเปน็ พชื นะ แก่โลกโลกีย์
เพ่อื จะใหเ้ ปน็ ศรี สวสั ดีทว่ั กนั
๏ หา่ ฝนผ้าผ่อน แลแพรมพี รรณ
ตกถ้วนเจด็ วัน ย่อมงามบวร
๏ เพื่อจะใหเ้ ปน็ เครอื่ ง นุ่งห่มอาภรณ์
ให้เดนิ เทยี่ วจร กันความละอาย
๏ หา่ ฝนภาชนะ น้อยใหญ่มากมาย
ตกลงเหลอื หลาย เจด็ วนั บรบิ รู ณ์
๏ เป็นเคร่ืองใช้สอย แหง่ คนทัง้ มูล
ใหค้ รบบรบิ รู ณ์ จะไดป้ ้องกัน
๏ ห่าฝนสตั ตะ รัตนะแก้วเจ็ดพนั
ตกลงเจ็ดวัน ทวั่ ทัง้ สากล
๏ เพ่ือจะใหเ้ ป็นศริ ิ สวสั ดมี งคล
ท่วั ทง้ั สากล ชมพทู ปี า

๙๒

๏ เดชะให้ทาน จาศีลภาวนา
ฝนตกเจด็ วันห่า ถ้วนท้งั เจ็ดวนั
๏ เดชะพระสตู ร พระวินัยธรรม์
ฝูงคนท้งั นนั้ ย่ิงยืนขึ้นไป ฯ ๏ ฉนั ท์ ๏ฯ
๏ เดชะบญุ อยู่ในธรรม ลกู หลานนัน้ เรง่ ยินดี
ละร้อยละรอ้ ยขึ้นละปี จาเรญิ ถงึ ยี่สิบปี
๏ ปู่ย่ายืนสบิ ปี เจรญิ ดีเป็นสขุ ใจ
สามสบิ สส่ี ิบย่งิ ขน้ึ ไป เจริญกศุ ลเป็นอารมณ์
๏ ลูกหลานไดส้ ามสบิ ปี ยนื อยดู่ ีเร่งสรา้ งสม
ยนื สีส่ บิ ปีกช็ ่นื ชม เรง่ จาเริญภาวนา
๏ ตายายสส่ี บิ ปี อยสู่ ขุ ดีแลโสภา
ยืนหา้ สบิ พระวสั สา เร่งทาบญุ ยิ่งข้นึ ไป
๏ ลกู หลานหา้ สิบปี มสี วัสดีเจริญใจ
ยิ่งยนื กว่านัน้ ไป เรง่ ทาบญุ ภาวนาอยอู่ ัตรา
๏ ปู่ย่าได้หกสิบปี ส่วนหลานน้ันยง่ิ ยืนกวา่
ได้เจด็ สบิ พระวัสสา เพราะเดชะนา้ ใจดี
๏ ตายายยืนไดเ้ จด็ สิบปี ส่วนหลานน้ันย่ิงขน้ึ ไป
ยืนได้เพราะน้าใจดี สรา้ งกศุ ลภาวนา
๏ ปยู่ ่ายืนแปดสบิ ปี ส่วนหลานมียง่ิ ยืนกวา่
ได้เก้าสบิ พระวสั สา เพราะเจรญิ พระเมตตา
๏ ปยู่ ่ายนื ได้เกา้ สิบปี สว่ นหลานนนั้ ยืนร้อยปี
เดชะพระไมตรี อยู่ในเมตตากรุณา
๏ ยิง่ ยนื ยนื ขนึ้ ไป ถึงสองรอ้ ยพระวสั สา
เดชะด้วยตนภาวนา พรหมวิหารถ้วนท้งั สี่

๙๓

๏ ลกู หลานเจริญมี อายสุ มย่ิงขน้ึ ไป
สามรอ้ ยสร่ี ้อยปี หา้ รอ้ ยปหี กรอ้ ยปี
๏ เจ็ดรอ้ ยแปดร้อยปี เดชศีลาทคิ ณุ า
เกา้ ร้อยชนั ษา เป็นลาดบั ยงิ่ ข้ึนไป
๏ มนษุ ย์ทงั้ หญิงชาย บ่มีใจลมื กุศล
อายุสมมากทกุ คน ยงิ่ ขึ้นไปจนถงึ พัน
๏ สองพนั สามพนั สพี่ นั ยง่ิ ข้ึนไปถึงหา้ พัน
เดชะอยใู่ นยตุ ธิ รรม แลอานาจพรหมวิหาร
๏ หกพนั เจ็ดพันแปดพนั ถึงเก้าพันอายนุ าน
ถึงหมนื่ เร่งช่นื บาน อายุนานเปน็ สุขใจ
๏ ถึงแสนถึงลา้ นโกฏิ ย่ิงนนั้ โสดยง่ิ ขน้ึ ไป
ฝูงคนทงั้ หลายใด บม่ ริ ถู้ งึ ซึ่งมรณา
๏ จะนบั ให้จงรู้แมน่ รอ้ ยแห่งแสนโกฏิครา
ฝงู คนในโลกโลกา ยืนเท่าถึงอสงไขย๑๓๗
๏ ฝงู คนทั่วทง้ั ชมพู ชนื่ ชมอยู่เป็นสขุ ใจ
เกิดสนกุ สาราญใจ บ่มิร้จู ักพระอนิจจา ฯ ๏ ราบ ๏ฯ
๏ ฝูงคนทงั้ หลาย เจรจาดว้ ยกัน
บ่มิรูถ้ ึงธรรม์ มีใจสงสยั
๏ วา่ หน่อผีตาย น้เี ปน็ ฉันใด
ชอื่ ว่าความไข้ ฉันใดนัน้ เล่านา
๏ ฉนั ใดชื่อว่าทกุ ข์ จะบงั เกิดมา
เมื่อเราคิดว่า จะใครพ่ บเห็น

๑๓๗ มนุษย์ในยคุ น้นั อายยุ ืนจนไม่สามารถนบั ได้ (อสงขัย)

๙๔

๏ ชื่อวา่ บม่ ิเทยี่ ง เราบไ่ ดเ้ หน็
บห่ ่อนรเู้ ป็น ความไข้ความตาย
๏ ในเมอ่ื ฝูงคน ลืมตนทัง้ หลาย
จงึ ไข้จึงตาย พลัดพรากจากกนั
๏ แต่นน้ั อายุจึงถอย นอ้ ยไปทกุ วัน
เพราะน้าใจอัน ประมาทมดิ ี
๏ ถอยถดลดไป ยังแสนโกฏิปี
ถอยลงยังมี เก้าหมนื่ ประมาณ
๏ ถอยจากเกา้ หม่ืน ไกลลงไปนาน
ไปหยดุ ถงึ กาล แปดหม่นื มัน่ คง
๏ พระศรีอารยิ - ไมตรผี ู้ยง
ท่านเสดจ็ ลง มาโปรดสตั วท์ ้ังหลาย
๏ จะสอนสตั ว์ ตามอธิบาย
ให้มนุษย์ทัง้ หลาย พน้ บว่ งมารไป ฯ ๏ ฉันท์ ๏ฯ
๏ เมอ่ื น้ันชาวชมพู ช่นื ชมอยู่สุขทัง้ ผอง
ไพบลู ยด์ ้วยเงนิ ทอง เกิดทนุ ทรัพย์กลับมงั่ มี
๏ แผ่นดินเสมอดงั ราบ ราบกวา่ ราบดงั หน้ากลองศรี
หญา้ อ่อนสี่องคุลี เขยี วมสี ีอันปญั ญาวงศ์
๏ น้าไหลขึ้นขา้ งหนึง่ ฟากขา้ งหนงึ่ กไ็ หลลง
เต็มเปย่ี มเล่ียมสระสง เพยี งขอบฝ่ังอย่อู าจิณ
๏ บ่พรอ่ งบ่ลน้ นกั แต่พอกากม้ ลงกนิ
เต็มอยู่เปน็ อาจิณ ใสบริสุทธ์ิเห็นตวั ปลา
๏ ไมตรีเจา้ นา้ ใจสุทธิ หนอ่ พระพทุ ธเสดจ็ ลงมา
ตรัสเป็นพระศาสดา โปรดฝูงโลกคณกิ ร

๙๕

๏ คนทัง้ หลายจะไดฟ้ งั ธรรมพระเจ้าตรสั สงั่ สอน
จะรู้ถงึ ฝง่ั นคร ใหพ้ ้นจากสงสารไป
๏ เม่ือน้ันพระไมตรี ตรัสคดีแก่พระมาลัย
ในกาลเม่อื ขณะได้ ถงึ วสันตฤด๑ู ๓๘
๏ ฝนตกหา้ วนั ตก หา้ วันตกเปน็ เที่ยงอยู่
ครัน้ ถงึ คิมหนั ตฤด๑ู ๓๙ สบิ ห้าวันตกเป็นกาหนด
๏ ครั้นถึงเมือ่ เหมันต๑์ ๔๐ สิบห้าวนั สบิ หา้ วัน
จงึ ตกเปน็ เทย่ี งธรรม์ เป็นกาหนดดังนไี้ ป
๏ ตกแตค่ ่าถึงเที่ยงคืน ครนั้ เขา้ รุ่งกส็ วา่ งไสว
เป็นธรรมดาอตั ราไป แท้ดังน้ีบ่ปรวนแปร
๏ เป็นปรกติดงั นีแ้ ท้ พระศรีอารยิ ์จะมาแล
พระองค์จะเผยแผ่ ไขคลองธรรมเทศนา
๏ ถ้าผู้ใดจะใครพ่ บ พระศรีอาริย์เมือ่ จะมา
จาเรญิ ศลี แลภาวนา จึงจะพบพระสัพพญั ญู
๏ เมอ่ื ใดแลต้นไม้ มีก่ิงใบสะพุม่ อยู่
มดี อกทุกฤดู บานสะพุ่มเตม็ พฤกษา
๏ มีลูกทกุ ก่งิ พร้อม พวงโน้มน้อมค้อมลงมา
มีสารพันอันนานา รสเอมโอชหวานเอาใจ
๏ คนทง้ั หลายชืน่ ถว้ นหน้า ดังน้ีนาพระมาลยั
คราทนี ้นั ข้าจะไป โปรดฝูงสตั วเ์ ขา้ นฤพาน

๑๓๘ ฤดูฝน
๑๓๙ ฤดูร้อน
๑๔๐ ฤดูหนาว

๙๖

๏ ผูใ้ ดจะใคร่อยู่ท่า๑๔๑ จะใครเ่ หน็ หน้าพระศรอี ารยิ ์
ให้เจริญศลี แลทาน ใหภ้ าวนาจงทกุ วนั
๏ เมือ่ ใดชาวชมพู ระรืน่ อยเู่ กล่อื นหากัน
รักษส์ ันตดิ งั เผา่ พันธ์ุ ดงั พีน่ อ้ งชืน่ ชมใจ
๏ เสือกสนปนกันอยู่ ดังไม้ออ้ แลไมไ้ ผ๑่ ๔๒
บา้ นเรือนอยู่หนสี ไู้ กล แตพ่ อไกบ่ นิ ถงึ กัน๑๔๓
๏ คราท่นี ้นั ข้าจะไป นะมาลยั เจา้ อรหนั ต์
จะโปรดสตั ว์ให้ไปสวรรค์ ให้พลนั ลถุ ึงพระนฤพาน
๏ ผใู้ ดจะใคร่สบ ใคร่ไหว้นบพระศรอี าริย์
ใหต้ ั้งธุดงคก์ รรมฐาน ไตรลักษณญาณเร่งภาวนา
๏ เม่อื ใดคนทัง้ หลาย เล่นสบายเป็นนกั หนา
เสวยโภชน์อันโอชา ด้วยน้าผ้งึ อนั หวานมนั
๏ ราร้องฟอ้ นชน่ื ชม เสมือนหน่งึ เทพในเมืองสวรรค์
เลน่ สนกุ อยทู่ ุกวนั เคร่ืองใชส้ อยอเนกไป
๏ ขบั สีซอแลพึงฟัง ด้วยแตรสังข์แลเสยี งใส
มฆี ้องแลกลองชยั ดุริยะดนตรีบาเรอกัน
๏ เลน่ สนุกนอนสบาย บม่ ที กุ ข์สุขเกษมสนั ต์
บไ่ ด้ใชส้ อยกัน บม่ ีโทษทณั ฑ์แลอาญา
๏ คราทีนนั้ ข้าจะไป พระมาลยั อย่าสงกา
จะโปรดสตั ว์ผูเ้ จตนา ให้พน้ ทุกขเ์ ข้านฤพาน

๑๔๑ ทา่ หมายถึง คอย มักพบในคาซ้อน คอยทา่
๑๔๒ หมายถงึ ใกลช้ ิดกันมาก ๆ เปรยี บกบั ต้นออ้ หรือตน้ ไผ่ที่ขนึ้ อยูใ่ นกอเดียวกัน
๑๔๓ หมายถงึ หลงั คาบา้ นเรือนอยู่ติดกนั จานวนมากจนมสี านวนวา่ ไกบ่ ินมติ กดิน

๙๗

๏ ผูใ้ ดจะใครพ่ บ ใคร่ไหวน้ บพระศรีอาริย์
ไหวผ้ ู้น้ันเร่งใหท้ าน ไตรลกั ษณญาณเร่งภาวนา
๏ เมือ่ ใดแลฝงู คน มิขวายขวนดว้ ยโภคา๑๔๔
เหมือนหนงึ่ เทพในชั้นฟา้ บบ่ ฑี าเบียดเบยี นกัน
๏ มีข้าวนา้ ผา้ ผ่อนทิพย์ เหมือนดังเทพในเมืองสวรรค์
มีแก้วแหวนอนนั ต์ เครอื่ งใช้สอยอเนกไป
๏ คราทนี น้ั แลนะพ่อ ขอพระเถระอยา่ ร้อนใจ
คราทีน้ันขา้ จะไป จะโปรดสตั ว์ท้ังหญงิ ชาย
๏ คราทนี น้ั ข้าจะเทศนา เผยวาจาโปรดเปรมปราย
คราทีนน้ั คนท้งั หลาย จะหมายรูปเขา้ นฤพาน
๏ เมอ่ื ใดหญิงแลชาย มมี ากหมายด้วยสงั วาล
เทริดแกว้ งามตระการ มีมากมายประดบั องค์
๏ นงุ่ ห่มสมเรอื งรอง ยอ่ มล้วนทองงามยิง่ ยง
เสอื้ สร้อยประดบั ลง คือดงั เทพในเมืองแมน
๏ คราทีนนั้ ข้าจะไป พระมาลัยเจา้ อย่าแคลน
จะลงไปในดนิ แดน จะโปรดสตั ว์เข้าส่นู ฤพาน
๏ ผู้ใดใครไ่ หวน้ บ จะขอพบพระศรีอารยิ ์
อย่าตดี ่าฆา่ อาจารย์ ผู้มศี ลี พระอปุ ชั ฌาย์
๏ บ่มิทาโทษโกรธแกก่ นั บล่ งทัณฑ์ด้วยอาญา
บโ่ กรธกันด้วยโมหา มที ุนทรพั ย์ใหแ้ ก่กนั
๏ คราทนี ้ันขา้ จะไป นะมาลยั เจา้ อรหันต์
คราที่นนั้ ข้าจะผนั ให้สัตว์นัน้ ถึงโสดา

๑๔๔ ไม่ต้องแสวงหาทรัพย์สมบัตปิ ระดจุ เทพในสวรรค์

๙๘

๏ คราที่นั้นข้าจะบอก เอาสตั ว์ออกจากโลกา
ให้พ้นจากเวลา ให้สัตวน์ ัน้ เขา้ นฤพาน
๏ ผใู้ ดจะใครเ่ หน็ เมอ่ื ทา่ นเป็นพระศรอี ารยิ ์
ใหผ้ ู้น้นั ทาอานาปาน กรรมฐานแลภาวนา
๏ ใหบ้ รกิ รรมว่าอนิจจัง ว่าทกุ ขังว่าอนตั ตา
เอาสง่ิ นี้มาภาวนา จึงจะพบพระศรอี ารยิ ์
๏ เมื่อใดคนในโลกยี ์ บร่ าวีเบยี ดเบยี นผลาญ
บ่ไดท้ าสลวาน ทาราคาญล้างผลาญกัน
๏ ผัวแลเมยี บล่ ะเสีย อยูช่ ่ืนบานเป็นนริ ันดร์
ผวั ผ้เู ดยี วเมียผเู้ ดียว รว่ มสงสารรักร่วมห้องครองใจ
๏ เม่ือนั้นขา้ จะไป พระมาลยั อยา่ สงกา
ข้าพระจะเทศนา โปรดฝูงสตั วเ์ ขา้ สู่นคร
๏ ผู้ใดจะใครเ่ หน็ หนา้ เมือ่ ขา้ เปน็ พระบวร
ใหต้ ดั ใจให้โอนออ่ น บวชเปน็ สงฆ์แลนางชี
๏ ให้ไหว้พระทุกคา่ เช้า ก้มกราบเกลา้ ยอกรชลุ ี
สวดมนต์แผไ่ มตรี เมตตากรณุ าอุเบกขา
๏ ใหภ้ าวนาอนจิ จัง แลทุกขงั อนัตตา
จึงจะพบศาสนา พระศรีอารยิ ์เจ้าจอมไตร
๏ เม่ือใดหญงิ แลชาย บข่ วนขวายด้วยไรน่ า
เลี้ยงชีพชนม์ด้วยต้นไม้ กบั พฤกษาอนั ให้ผล
๏ บห่ ่อนค้าบ่ห่อนขาย บ่ขวนขวายเป็นกงั วล
เกษมสุขทกุ คน มกี ัลปพฤกษาตามปรารถนา
๏ เม่ือนัน้ ข้าจะไป ในมนษุ ยโ์ ลกา
พระอย่ารอ้ นใจเลยนา ถงึ กาหนดข้าจะไป

๙๙

๏ จะโปรดสัตว์ทัว่ ท้งั หลาย มคี วามสบายชน่ื ชมใจ

จะเอาสตั ว์ใหร้ อดไป ลุถงึ ฝ่งั แหง่ นฤพาน

๏ ผู้ใดใครต่ ามเสดจ็ พระสรรเพชรดาญาณ

ใหต้ ั้งอานาปาน ทรงธุดงคเ์ ปน็ อาจณิ

๏ ใหห้ น่ายเบญจขนั ธ์ จงทกุ วนั ปฏิทิน

จึงจะพบพระมุนินทร์ ไมตรีเจ้าผเู้ ลิศล้น

๏ ใหท้ านรกั ษาศลี ให้รางวลั แก่ไพรพ่ ล

จงไดใ้ หแ้ ผผ่ ล หวานออ่ นโอนโอวาทา

๏ ตั้งขนั ติบม่ โิ กรธ บล่ งโทษบ่หิงสา

อดกามราคราคา บ่ผดิ พอ้ งหมองใจกัน

๏ คราทีนั้นข้าจะเสด็จ พระเถรเจา้ จงแจง้ ใจ

คราทีน้นั ข้าจะไข ประตูหอ้ งแหง่ นฤพาน

๏ คราทีนนั้ จะโปรดสตั ว์ ให้กาจดั จากสงสาร

คราน้ันจะให้ทาน อมฤตธรรมโปรดสตั ว์ทั้งหลาย

๏ ผู้ใดจะใครเ่ ฝ้า ไมตรีเจา้ ผู้เปรมปราย

ใหฝ้ งู คนทั้งหญิงชาย เรง่ ขวนขวายสรา้ งกศุ ล

๏ ใหฟ้ ังธรรมจงอย่าขาด อยา่ ประมาทอย่าลมื ตน

จะถงึ มรรคแลผล ในสานกั พระศรอี ารยิ ์

๏ เมื่อใดกากบั นกเคา้ เขา้ มาอยู่ร่วมสถาน

แมวแลหนอู ยสู่ าราญ บม่ ิไดจ้ ะเบยี ดเบยี นกัน

๏ พงั พอนแลงูเห่า เขา้ รบเข้าตบตอดกนั

คร้งั นั้นบ่เบียนกนั เป็นมติ รสนทิ แลไมตรี

๏ เมอ่ื น้ันขา้ จะไป นะมาลยั ผมู้ ศี รี

โปรดสตั ว์ใหพ้ ้นโลกีย์ ใหไ้ ด้เป็นโลกอดุ ร

๑๐๐

๏ ใหห้ น่ายเบญจขันธ์ จงทกุ วนั ปฏิทิน
จึงจะพบพระมนุ ินทร์ ไมตรเี จา้ ผ้เู ลิศล้น
๏ ผู้ใดจะใคร่พบขา้ นะมาลยั ศรทั ธามี
ใหเ้ รง่ สรา้ งกฏุ กิ ฎุ ี ทาสถปู พระพุทธรปู วหิ าร
๏ ต้ังขนั ติใหเ้ ลา่ เรยี น
ปลกู ศาลาแลตะพาน๑๔๕ แลว้ เขยี นธรรมปลูกมหาโพธินมัสการ

๏ เมื่อใดแลราชสหี ์ ทัง้ สว้ มจานการเปรยี ญโรงธรรม
งแู ลกบบ่ขบกัน
๏ ผีเสือ้ อสรู กาย เสอื แลเนื้อบ่เบียนกัน
บ่ได้เกลยี ดเบียดเบยี นพาล บก่ นิ กนั เป็นอาหาร
๏ เมอื่ น้ันข้าจะไป สัตว์ทง้ั หลายบเ่ บียนผลาญ
จะโปรดสตั ว์ทว่ั บรเิ วณ รกุ รานกนั ให้เป็นเวร
๏ ผู้ใดจะใครพ่ บ นะมาลยั มหาเถร
ให้เร่งสรา้ งตะพาน ในไตรภพเขา้ นฤพาน
๏ เมือ่ ใดสตั ว์ทง้ั หลาย ใครป่ ระสบพระศรอี ารยิ ์
บ่จาจองเอาสนิ ไหม อยา่ ขาดการกุศลไป
๏ บข่ ่มเหงบ่รุกราน บม่ ิโกรธบท่ าโทษ
บ่ไดท้ าใหอ้ ับเฉา บ่ใส่กลเอาของเขา
๏ คราน้ันพระศรอี าริย์ บจ่ งผลาญบพ่ าลเอา
จะโปรดสตั ว์ทั่วแดนไตร บเ่ บยี นท่านใหเ้ ขญ็ ใจ
๏ มนุษยแ์ ลเทพา มสี มภารจะลงไป
เปน็ สขุ สนกุ สาราญ ทว่ั พิภพเขา้ นฤพาน
บเ่ คลอ่ื นคลาจากสงสาร
พ้นความตายอนั เวยี นวน

๑๔๕ สะพาน

๑๐๑

๏ ถ้าใครจะใคร่เปน็ ชี ดว้ ยไมตรเี จา้ จมุ พล

อย่าฉอ้ ตระบดั เขาบคุ คล จงึ จะพบพระศรอี ารยิ ์

๏ เอ็นดคู นผยู้ าก อยา่ พดั พรากอย่าจงผลาญ

จงึ จะพบพระศรีอาริย์ เพราะนาใจมรรคแลผล

๏ เมอ่ื ใดชายคดิ ชอบ แลประกอบใจกศุ ล

สันโดษด้วยเมยี ตน แต่คนเดียวเปน็ ภริยา

๏ ผ้หู ญิงกช็ ื่นชม อภริ มยส์ นทิ เสน่หา

รกั ผวั ผเู้ ดยี วนนั้ แลนา เปน็ ป่นิ เกล้าเจ้าจอมพล

๏ ผัวผเู้ ดยี วเมยี ผเู้ ดยี ว ผัวละคนเมียละคน

ผ้ชู ายนนั้ บร่ ะคน ด้วยเมียทา่ นอันผัวมี

๏ ผ้หู ญงิ นน้ั ไซร้ บ่ไดล้ ว่ งประเวณี

รักกันสนุกทกุ ราตรี แตผ่ วั เดยี วแลเมียเดยี ว

๏ ครานั้นพระเมตไตรย เสดจ็ ไปด้วยฉับเฉียว

ผจู้ ะเป็นพระประเสริฐผเู้ ดยี ว ไดพ้ ระนามพระศรอี ารยิ ์

๏ จะนาสตั ว์เข้าไปสู่ เขาไปอยู่ในนฤพาน

ให้อย่สู ุขสาราญ พน้ จากชาติอันสงั วรณ์

๏ ผใู้ ดจะใคร่นมสั การ พระศรีอารยิ ์อันบวร

ใหอ้ ยตู่ ามคาสั่งสอน อนั กลา่ วมาบดั เดยี๋ วดล

๏ ผัวเดยี วเมยี เดียว ผวั ละคนเมียละคน

จงึ จะพบพระจุมพล จะพน้ ทกุ ขใ์ หห้ ลงใหล

๏ เมือ่ ใดข้าวละเมด็ แตกหน่อออกไดพ้ ันกอ

ละหน่อ ๆ ได้พนั กอ ละกอ ๆ มลี าถงึ พนั

๑๐๒

๏ ละกอ ๆ ได้พันรวง ละรวง ๆ ดงั แกล้งสรร

ละรวง ๆ ได้สองทะนาน๑๔๖พัน งามสถติ วจิ ติ รเสถียร

๏ ข้าวเม็ดเดยี วไดส้ องทะนานพัน สองร้อยเจด็ สิบสองเกวยี น๑๔๗

สบิ หกสดั ๑๔๘อันไหลเลยี น ยงั อีกเล่าแปดทะนาน

๏ พชื นั้นหากเกิดเอง บ่พกั ปลกู บ่พักหวา่ น

ครน้ั สุกเป็นขา้ วสาร ขาวบรสิ ุทธิ์เปน็ ธรรมดา

๏ ครานั้นนะพระมาลยั จะลงไปมิได้ช้า

จะโปรดสตั ว์ท้ังโลกา ไตรพภิ พใหร้ งุ่ เรอื ง

๏ เม่อื ใดคนทง้ั หลาย เลน่ สบายบช่ ิงเมือง

บ่ชงิ กนั ใหร้ าคาญเคือง บ่ชงิ ไร่บ่ชงิ นา

๏ บ่มิชิงชา้ งบ่มิชิงม้า แลทาสีแลทาสา๑๔๙

บช่ งิ สรรพนา ๆ บร่ ุกล้นปลน้ ชิงซง่ึ กัน

๏ เมอื่ นน้ั ข้าจะไป นะมาลยั เจ้าอรหนั ต์

จะโปรดสตั ว์ถว้ นทกุ พรรณ ใจบญุ นนั้ เขา้ นฤพาน

๏ ผู้ใดจะใครเ่ ห็น อยา่ ไดก้ ล่าวคาอันธพาล

จงึ จะพบพระศรอี ารยิ ์ เพราะใจบญุ อนั ตนครอง

๏ เมอ่ื ใดคนผู้รา้ ยกาจ บ่วิวาทบต่ ถี อง

บ่ชิงเงนิ บ่ชงิ ทอง บ่ทาลายของทา่ นเสีย

๏ บช่ ิงนาบช่ งิ ทรพั ย์ บช่ ิงผวั บ่ชงิ เมีย

บย่ ยุ งใหท้ า่ นเสีย บ่ทาให้ยากเปน็ สลวน

๑๔๖ ภาชนะในการตวงข้าวในสมัยก่อน ๒๐ ทะนาน มีค่าเท่ากับ ๑ ถัง
๑๔๗ มาตรานบั จานวนข้าวสมัยก่อน ๘๐ สัด หรือ ๑๐๐ ถงั มคี า่ เท่ากับ ๑ เกวยี น
๑๔๘ ภาชนะรปู ทรงกระบอกใชส้ าหรบั การตวงขา้ ว ๒๕ ทะนาน เทา่ กับ ๑ สัด
๑๔๙ ทาสี คือ ทาสผ้หู ญงิ ทาสา คอื ทาสผชู้ าย

๑๐๓

๏ เมือ่ น้นั พระข้าจะไป จะโปรดฝูงประชาชน
ให้ลุถึงมรรคแลผล คืออมฤต๑๕๐นฤพาน
๏ จะโปรดสตั ว์ให้พน้ ทุกข์ ให้อยู่สขุ สาราญ
ใหย้ ืนอยู่จริ งั การ เป็นเทย่ี งแทใ้ จกุศล
๏ ถ้าผใู้ ดจะใครพ่ บ พระศรอี าริย์เจา้ จุมพล
อยา่ ทาให้เป็นสลวน อยา่ ผลาญท่านให้เสียของ
๏ เมอ่ื ใดแผน่ ดินราบ คือดงั ปราบเหมือนหนา้ กลองศรี
บม่ หี นามเร่ียรายก่ายกอง ทรพั ย์ตกลงบ่หอ่ นหาย
๏ เพอ่ื นฝูงอยูด่ ้วยกัน บ่หอ่ นพลัดบ่ห่อนพราย
บห่ อ่ นรู้เป็นอนั ตราย ย่อมบริสทุ ธิ์ทวั่ โลกีย์
๏ คราทีน้ันขา้ จะไป นะมาลยั ผ้มู ศี รี
จะโปรดสตั ว์ทว่ั โลกีย์ ให้ยินดตี ่อมรรคผล
๏ ผใู้ ดจะใคร่ท่า เปน็ หวั หนา้ พระทศพล
ใหต้ ้งั จิตนา้ ใจกนั ราบคาบตอ่ พระศาสนา
๏ ใจช่ืนบานรหู้ ว่านลอ้ ม ออ่ นโนม้ น้อมให้วันทา
จึงจะได้พบพระศาสนา พระไมตรเี จ้าจุมพล
๏ เม่อื ใดคนท่ัวดนิ ดอน บห่ อ่ นเศร้าโศกสกั คน
บ่มีพยาธิเบียดเบียนคน บม่ ิเปน็ ขี้เรอ้ื นเกลื้อนกลากฝี
๏ ตาเห็นใสหไู ด้ยนิ บเ่ ป็นอ่างใบ้บา้ บี
บเ่ ปน็ คอ่ มเตย้ี กุลี แลเปลย้ี งอ่ ยช่างงวยงง
๏ คราทนี ้นั ข้าจะไป นะมาลยั อรยิ ะสงฆ์
จะโปรดสตั ว์ทง้ั หลายจง ให้ลุถึงทางอรหนั ต์

๑๕๐ อมฤต คาภาษาสันสกฤต ตรงกบั คาว่า อมตะ ในภาษาบาลี แปลว่า ไมต่ ายหรอื นิรนั ดร์

๑๐๔

๏ ผู้ใดใครเ่ ป็นชี ด้วยไมตรเี จา้ จอมธรรม์

อย่าทารา้ ยมงุ่ หมายกนั จงึ จะพบพระศรอี าริย์

๏ ขอพระเถรจาจงได้ ไปบอกให้ชาวชมพู

ให้เขาคิดดังน้ีดู ให้ทากุศลจงแจง้ เจน

๏ พระศรีอาริยต์ รสั เทศนา แลว้ ก็ลาพระมหาเถร

ไหวพ้ ระเจดีย์ทัว่ บรเิ วณ สามรอบแล้วกว็ นั ทา

๏ พระศรอี าริย์ถวายเทยี นทอง มณฑากรองไหวบ้ ูชา

นางฟ้าส้ินทัง้ ผอง ตามเสดจ็ ไปพระศรีอารยิ ์

๏ ไหว้แลว้ ก็อาลา ยังดุสติ าวมิ านทอง

สะพรึบพร้อมล้อมทศพล เสดจ็ ท่ามกลางดเู รืองรศั มี

๏ เม่ือน้นั พระมาลยั เจรจาไปดว้ ยอินทรา

สรรเสริญหน่อศาสดา ว่าพระเจา้ ผทู้ รงธรรม์

๏ โพธิสตั ว์พระองค์ งามยง่ิ ยงกวา่ ชาวสวรรค์

สรุ เสียงเทศนาธรรม์ ก็ไพเราะทวั่ เมอื งฟ้า

๏ เมอ่ื นั้นพระมาลยั กล็ าไปในขณะนน้ั

อนิ ทราเจา้ เมืองสวรรค์ กม้ กราบไหวพ้ ระมาลยั

๏ เราขอลามหาราช จะคลาคลาดจากแดนไตร

จะไปด้วยฉบั ไว บอกแก่ชาวมนุษย์โลกา

๏ อินทราแลนางสวรรค์ ยกมอื ขึน้ งามโสภา

ประนมกรไหว้วันทา พระเถรลลี างามมีศรี

๏ พระเถรเจา้ เสดจ็ จากถานา พระลลี าถึงเจดยี ์

กราบกรานอญั ชลุ ี พระเถรลีลามาทกั ษณิ า

๑๐๕

๏ ทักษณิ าเปน็ สามวง พระเสดจ็ ลงจากตงิ สา๑๕๑
บดั ใจถงึ ในโลกา ลดั น้วิ มือเดยี ว๑๕๒บ่ปูนปาน
๏ พระเถรเสด็จเข้าไป ในลงกาเป็นสถาน
พระเถรเสดจ็ สาราญ ในอารามทา่ นนนั้ โสด
๏ เมือ่ น้ันท้าวอนิ ทรา มีนางฟ้าไดแ้ สนโกฏิ
ไหวพ้ ระแล้วเสดจ็ ชวยโชติ ด้วยนางฟา้ หมบู่ รวิ าร
๏ นางฟ้างามสลอน ทรงอาภรณย์ ่อมตระการ
ทรงแก้วเป็นสงั วาล ยอ่ มบรวิ ารท้าวโกสยี ์
๏ ลางนางทรงอาภรณ์ ยอ่ มล้วนทองเรืองรัศมี
เทพานางทัง้ นี้ ยอ่ มห้อมล้อมทา้ วอินทรา
๏ พระอินทรผ์ ทู้ รงธรรม เสด็จไปพลันกลางนางฟ้า
ดังดาวลอ้ มพระจนั ทรม์ า อนั ปรากฏงามไสว
๏ นางฟ้าทง้ั หลาย ก็ลีลาเสดจ็ คลาไคล
หอ้ มลอ้ มเห็นประไพ ยอ่ มบรวิ ารหน่อทศพล
๏ บ้างถวายธปู เทียนทอง ดอกไม้กรองไหว้บูชา
ไหว้พระแลว้ เสดจ็ ลีลา ตามสมเดจ็ ท้าวโกสยี ์
๏ ลางนางบาเรอดนตรี เพราะมากมบี ้างราฟอ้ น
หอ้ มล้อมเสดจ็ จร ไปยงั วิมานสวรรค์
๏ ฝูงเทพดมู หมิ า ตามอมั พลเกษมสันต์
ถวายธปู เทียนจรุ ณ์ จนั ทน์อนั หอมฟุง้ ขจร

๑๕๑ สวรรค์ดาวดึงส์ ภาษาบาลีว่า ตาวตงิ สา
๑๕๒ อาการไปอย่างรวดเร็ว (ย่ิงกว่าความเร็วแสง) ถ้าเป็นภาษาอังกฤษน่าจะตรงกับคาว่า
warp

๑๐๖

๏ ลางองค์กท็ ักษิณ ไหวเ้ จดยี ์ประนมกร
เสรจ็ ไปรอบบริเวณ ครบสามแลว้ ก็วันทา
๏ เทพเจ้าบางพวกก็ กม้ เกศเกล้ายกอัญชุลี
สกั การะดงู ามยง่ิ งามประเสริฐเลิศฟ้า
๏ เครื่องหอมกลิ่นอบ ตลบฟุ้งท่วั ลานพระจุฬา
เทวานางสวรรค์ อเนกอนันตม์ าน้อมถวาย
๏ เป็นกศุ ลสรา้ งขา้ งเทวา ทกุ ๆ วันบเ่ วน้ วาย
เปน็ นจิ นิรันดร์มา เจรญิ ผลหว้ งสขุ สาราญ
๏ นกิ รเทพยดา ทั้งนางฟา้ สโมสรถว้ นหนา้
ฟงั ธรรมอนั บวร พระโพธิสตั ว์ตรสั เทศนา
๏ สั่งสอนหมเู่ ทวา ทั่วทกุ หอ้ งชั้นเวหา
ชวนกนั มาสดับ แล้วเสดจ็ กลบั คลาไคล
๏ เม่ือนน้ั ท้าวอนิ ทรา อันมีศกั ดาเสด็จไป
มทิ นั ชา้ บัดเด๋ียวใจ ถงึ สวรรค์พมิ านศรี
๏ บดั นนั้ ฝงู เทวา ไหวว้ นั ทาพระเจดยี ์
ยอกรอญั ชลี ดว้ ยยินดีแลว้ อาลา
๏ ทักษิณถว้ นสามรอบ ตามระบอบแล้วจงึ ลลี า
จงึ เสด็จเคลอื่ นไคลคลา สูส่ ถานพิมานพลนั
๏ ลางเทพเสดจ็ ไป ลางเทพไซร้กผ็ ายผัน
ลางเทพเสดจ็ หลีกกัน สสู่ ถานพิมานฟา้
๏ ลางเทพเสดจ็ ไป ดไู พรแพรวในเวหา
นางสวรรค์งามโสภา หอ้ มลอ้ มเทวดาไปวิมาน
๏ ครนั้ ถงึ ทเ่ี ทพสถติ บันเทงิ จติ รด้วยบรวิ าร
เสวยทพิ ย์สขุ สาราญ ในวิมานเมืองสวรรค์ ฯ ๏ ร่าย ๏ ฯ

๏ เมอ่ื นนั้ พระเถร ๑๐๗
อนั อยู่อาศัย
๏ ครั้นเจา้ เสด็จ ผู้ชือ่ มาลัย
จงึ บอกข่าวสาร ในบา้ นชนคาม
๏ ท่านส่งั ดงั นี้ ออกภิกขาจาร
ให้ชาวโลกา พระศรีอาริย์สงั่ มา
๏ หญิงชายหมู่ใด ถ้วนถแ่ี ลนา
จะใครพ่ บจมุ พล ขวนขวายสรา้ งผล
๏ ดูกรสาธุ น้าใจกุศล
มาฟังเทศนา ไมตรีเม่ือจะมา
๏ เราได้ขึ้นไป สัปปรุ ุษถ้วนหน้า
จุฬามณี พระศรอี ารยิ ไมตรี
๏ วันน้นั พบพระ ไหวพ้ ระเจดีย์
ตรัสเทศนา ในไตรตรึงษา๑๕๓
๏ สงั่ มาใหเ้ รา ศรีอาริยท์ า่ นมา
เรง่ สรา้ งบารมี เป็นวันอฏั ฐมี
๏ เร่งให้จาศลี บอกชาวโลกยี ์
จึงจะพบศาสนา จึงจะพบพระศาสนา
๏ เม่อื ทา่ นจะได้ แลภาวนา
เปน็ พระชนิ ศรี พระศรีอาริยไมตรี
๏ ในเมือ่ ศาสนา ตรสั ในโลกนี้
คนทว่ั ทัง้ หลาย โปรดสตั วท์ ง้ั หลาย
แห่งพระฦาสาย
ยอ่ มถามเหมือนกัน

๑๕๓ ชือ่ หนง่ึ ของสวรรคด์ าวดงึ ส์

๑๐๘

๏ พน่ี อ้ งพอ่ แม่ แลทั้งเผา่ พันธุ์

เดนิ ไปปะกนั เท่ยี วเล่นสบาย

๏ ผัวเมยี ลูกหลาน เพอ่ื นบา้ นท้งั หลาย

พบกันเดนิ กลาย มิรจู้ ักเลยนา

๏ เมือ่ ไดข้ ึ้นไป สู่เรอื นเคหา

จงึ รู้จกั หน้า ว่าลูกเมยี ตน

๏ เพราะว่าฝูงมนุษย์ งามทัว่ สากล

เดชกุศล พระศรีอารยิ ไมตรี

๏ โปรดสตั ว์ท้งั หลาย หญงิ ชายงามดี

ใหพ้ น้ อเวจี ให้ถงึ เมอื งสวรรค์ ๏ ฉนั ท์ ๏

๏ พระมาลัยเทศนา ดว้ ยปญั ญาพระอรหันต์

เมื่อเสด็จขน้ึ ไปน้ัน พอเป็นวนั อัฐมี

๏ เราไปไหว้พระจฬุ า พบอนิ ทราท้าวโกสยี ์

ได้สนทนาแลพาที เธอแจ้งคดีบอกทุกอัน

๏ แหง่ เทพาอันเสดจ็ มา ไหวว้ ันทาพระเจดยี ์

บรวิ ารลว้ นนางสวรรค์ ก็แหห่ อ้ มล้อมกันมา

๏ มบี รวิ ารรอ้ ยหนึ่งเล่า ด้วยปันขา้ วให้ทานกา

บริวารพันหน่งึ มา ได้ให้ข้าวนายโคบาล

๏ ลางนางสวรรคไ์ ด้แปดหมื่น แสนแลโกฏิพน้ื เปน็ บริวาร

เราคิดว่าพระศรีอารยิ ์ ท่านเสด็จมางามเหลอื ใจ

๏ พระอนิ ทร์แจ้งยบุ ล กุศลเทพทุกคนไป

ได้ทาบุญสิง่ นนั้ ไซร้ ใช่องค์พระเจา้ พระเมตไตรย

๏ เราคดิ วา่ น้อยหน่งึ พระศรอี าริย์ท่านเสดจ็ มา

งามพ้นใจเราสนทนาด้วยท่านไซร้ ทา่ นส่ังมาให้บอกชาวโลกา

๑๐๙

๏ ให้เรง่ สร้างแต่กศุ ล จะพบทา่ นเมอ่ื เสดจ็ มา

จะตรสั พระธรรมเทศนา ใหฝ้ งู สัตวพ์ น้ ทุกขพ์ ลนั

๏ พระสงั่ ฉันใดพระมาลัย เธอแสดงแจ้งทุกข์อนั

แก่ชาวมนษุ ย์ท่ัวท้งั นัน้ ให้ทาบุญสรา้ งกุศลไป

๏ ฝูงสตั ว์ท้ังหญิงและชาย ฟังภิปรายพระมาลยั

ยนิ ดีเปน็ พน้ ใจชวนกัน ทาบญุ ใหท้ านสืบไป

๏ ครนั้ จตุ ๑ิ ๕๔แล้วไปเกดิ ในเมอื งฟ้าสรุ าลยั ๑๕๕

วิมานทพิ ย์เตม็ แน่นไป ทั่วทกุ ช้ันฉกามา๑๕๖

๏ บุรุษชายถวายอุบล แกพ่ ระเถรด้วยศรัทธา

สนิ้ ชีวติ แล้วมชิ ้า ข้นึ ไปเกิดในเมอื งสวรรค์

๏ วิมานแล้ว๑๕๗ด้วยอุบล อันหอมฟ้งุ ขจรนัน้

กลน่ิ ตลบท่วั เมอื งสวรรค์ เดชดว้ ยใจใสศรัทธา

๏ พระมาลัยเทพเถร เสด็จโปรดสตั ว์ท่ัวโลกา

ถงึ กาหนดท่านสร้างมา เสดจ็ เข้าสู่พระนฤพาน

-------------------------------------------

๑๕๔ จตุ ิ แปลวา่ เคลอ่ื น หมายถึง การเคลือ่ นทขี่ องจิตจากภพภูมิหน่ึงไปส่อู กี ภพหนึง่
๑๕๕ สุระ หมายถึง เทวดา อาลัย หมายถึงท่ี อยู่ แปลตรงตัว หมายถึง ที่อยู่ของเทวดาหรือ
สวรรค์
๑๕๖ ฉกามาพจรภูมิ คือ สวรรค์ ๖ ช้ัน ดังนี้ ๑. จาตุมหาราชิกา ๒. ดาวดึงส์ ๓. ยามา ๔. ดุสิต
๕. นิมมานนรดี และ ๖. ปรินิมมิตวสวัสดี
๑๕๗ แล้ว หมายถงึ เสร็จหรอื สาเร็จ มักพบเปน็ คาซอ้ นว่า แล้วเสร็จหรอื สาเร็จแลว้

จากอวสานถงึ เริ่มใหม่:
ยคุ พระศรอี าริยเมตไตรยในไตรภมู ฉิ บับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารสี ๑

ภัครพล แสงเงนิ

บทคดั ยอ่

บทความน้ีมุ่งศึกษาเร่ืองสัตถันตรกัลป์และยุคพระศรีอาริย
เมตไตรยในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส โดยศึกษาเปรียบเทียบกับ
คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ๔ ฉบับ คือ ๑. พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย
ปาฏิกวรรค จักกวัตติสูตร ๒. คัมภีร์พระอนาคตวงศ์ ๓. คัมภีร์อมตรสธารา
ฎกี าอนาคตวงศ์ และ ๔. คัมภีร์พระสาวกนพิ พาน ผลการศกึ ษาพบว่า เนอื้ หา
ของเรื่องสัตถันตรกัลป์และยุคพระศรีอาริยเมตไตรยในไตรภูมิฉบับหอสมุด
แห่งชาติกรงุ ปารีสมคี วามคลา้ ยคลงึ กับคัมภรี ์ทางพระพุทธศาสนาเปน็ อย่างยง่ิ
แสดงให้เห็นว่า ความเช่ือเร่ือง สัตถันตรกัลป์ซ่ึงเป็นเหตุการณ์สาคัญที่จะ
เกิดข้นึ เมื่อสิ้นยุคของพระพุทธเจ้าโคดม และการลงมาอุบัตขิ องพระศรีอาริย
เมตไตรยและพระยาสงั ขจักมหาจักรพรรดิราชยังคงเปน็ ความเชือ่ ท่ีปรากฏใน
วรรณกรรมไตรภูมสิ มยั อยุธยาอย่างชดั เจน

คาสาคัญ: พระศรีอารยิ เมตไตรย, ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาตกิ รุงปารสี

๑ ตีพิมพ์คร้ังแรกในวารสารไทยศึกษา สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ ๑๒
ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธนั วาคม ๒๕๕๙) หนา้ ๑-๑๕

๑๑๑

From the End to Begin: the Era of Ariyamettraiya Buddha in the
National Library of Paris’s Version of Tribhum

Phakphon Sangngern

Abstract

This article aims to investigate the Satthantaragalpa story and
the era of Ariyamettraiya Buddha in the national library of Paris editon of
Tribhum by comparison with four Buddhism Scriptures: Phra Tripitaka
Cakkawattisutti, Anakghatawangsa Scripture, Amatarasadhara Tika
Anagatawangsa and Phra Sawaka Nibbhan Scripture. The study found
that Satthantaragalpa story and the era of Ariyamettraiya Buddha in this
version of Tribhum were very similar with Buddhism Scripture. This
shows that belief in the Satthantaragalpa story, which is the most
important story at the end of Gotama Buddha period and The birth of
Ariyamettraiya Buddha and the emperor, Sankhachak is a belief that can
be found in the Ayutthaya Tribhum.

Keywords: Ariyamettraiya Buddha, The national library of Paris
edition of Tribhum

๑๑๒

บทนา
เม่ือศาสนาของพระพุทธเจ้าโคดม พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันมีอายุ

ครบ ๕,๐๐๐ ปี จะบังเกิดเหตกุ ารณ์สัตถันตรกัลป์๒ คอื เหตกุ ารณท์ ีม่ นษุ ยฆ์ ่า
ฟันกันด้วยอาวุธเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน (สัตถะ หมายถึง อาวุธ, อันตรกัลป์
หมายถึง ระหว่างกัลป)์ มนษุ ยผ์ ู้มปี ัญญาจะไปหลบซ่อนตามป่าเขาเพียงลาพัง
ยุคน้ีมนุษย์จะมีอายุขัยเพียง ๑๐ ปี เม่ือมนุษย์มีอายุ ๕ ปีจะสมรสเป็นสามี
ภรรยากัน ศีลธรรมในจิตใจเสื่อมทรามลงจนถึงท่ีสุด ต่างกระทากรรมหยาบ
ช้า อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ คอื

กายกรรม ๓ คือ ๑. การทาลายชีวิต ๒. ถือเอาของท่ีเขามิได้ให้
๓. ประพฤติผิดในกาม วจกี รรม ๔ คอื ๔. พดู เท็จ ๕. พดู ส่อเสยี ด ๖. พูดคา
หยาบ ๗. พูดเพ้อเจ้อ มโนกรรม ๓ คือ ๘. ละโมบคอยจ้องอยากได้ของเขา
๙. คดิ รา้ ยเขา ๑๐. เหน็ ผดิ จากทานองคลองธรรม๓

๒ เป็น ๑ ใน ๓ สาเหตุการสิ้นชีวิตของมนุษยใ์ นระหวา่ งกลั ป์ สตั ถนั ตรกัลป์เกดิ จากสตั ว์มโี ทสะ
แรงกล้า อีก ๒ ข้อที่เหลือคือ ทุพพิกขันตรกัลป์ (สัตว์โลกส้ินชีวิตด้วยความอดอยากอาหาร เกิดจากสัตว์มี
โมหะแรงกล้า) และโรคันตรกัลป์ (สัตว์โลกส้ินชีวิตด้วยโรคภัยต่างๆ เกิดจากสัตว์มีราคะแรงกล้า) การเกิด
เหตกุ ารณ์เหล่าน้ีล้วนเกิดจากกรรมของสัตวท์ ้ังปวง (กรมศิลปากร. ๒๕๒๐. ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ฉบับท่ี
๒ (ไตรภูมิฉบับหลวง) เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. หน้า ๘๒-๘๓). กัลป์ หมายถึง กาลกาหนด
ระยะเวลาโดยประมาณของกัลป์ คือ เปรียบด้วยภูเขาหินกว้าง ยาว สูง ๑ โยชน์ ทุกๆ ๑๐๐ ปี มีคนนาผ้า
ละเอียดมาลูบก้อนหินน้ันจนกว่าภูเขาหินนั้นจะสึกหรอไปท้ังหมด กัลป์ มี ๔ ประเภท คือ ๑. มหากัลป์
หมายถึง กัลปใ์ หญ่ ๒. อสงไขยกัลป์ หมายถึง กัลป์อันนับเวลาไม่ได้ ๓. อันตรกัลป์ หมายถึง กัลป์ในระหวา่ ง
และ ๔. อายุกัลป์ หมายถึง กาหนดอายุของสัตว์จาพวกนั้นๆ (พระพรหมคุณาภรณ์. (๒๕๕๑).
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์คร้ังท่ี ๑๗. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
หน้า ๑๐-๑๑).

๓ พระพรหมคุณาภรณ์. (๒๕๕๑). พจนานุกรมพทุ ธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพค์ ร้ังท่ี
๑๗. กรงุ เทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. หน้า ๔๗๑-๔๗๒.

๑๑๓

การทาอนาจารโดยไม่คานึงถึงว่าเป็นบิดา มารดา ญาติพ่ีน้องเยี่ยง
สัตว์เดรัจฉาน เป็นต้น ความเชื่อเหล่าน้ีปรากฏในวรรณคดีพระพุทธศาสนา
หลายแห่ง อาทิ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค จักกวัตติสูตร อัน
เปน็ พระสูตรทว่ี ่าด้วยการสิ้นยุคศาสนาพระพุทธเจ้าโคดม พระมาลัยคาหลวง
มเี นื้อหาเกี่ยวกบั การเกิดสัตถันตรกัลป์และการบาเพ็ญบญุ เพ่ือให้ได้ไปเกิดใน
ยุคของพระศรีอาริยเมตไตรย และคัมภีร์พระอนาคตวงศ์ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่
กล่าวถึงเหตุการณ์ในอนาคตกาลและการลงมาอุบัติของพระพุทธเจ้า ๑๐
พระองค์ในอนาคต เป็นต้น หลงั จากเกิดเหตกุ ารณน์ ี้มนุษย์ท่ีรอดชวี ติ จากการ
ไปหลบซ่อนตามป่าเขาได้หม่ันบาเพ็ญกุศลกรรมบท ๑๐ ประการ๔ อันเป็น
ปัจจัยให้ลูกหลานของมนุษยเ์ หล่านั้นมีอายุขยั เจรญิ ขึน้ ไปจนถึงอสงไขย๕แล้ว
ลดลงมาเหลือ ๘๐,๐๐๐ ปี สมเด็จพระศรีอาริยเมตไตรยพระพุทธเจ้าและ
พระยาสังขจักมหาจักรพรรดิราชจะลงมาอุบัติพร้อมกันในชมพูทวีป ในกาล
นัน้ ชมพูทวปี จะเตม็ ไปด้วยความบริบูรณผ์ าสกุ ทุกประการ

การอธิษฐานให้ได้ไปเกิดในยุคพระศรีอาริยเมตไตรยปรากฏใน
วรรณกรรมหลายแห่งตงั้ แต่สมัยสโุ ขทัย ไดแ้ ก่ จารึกหลกั ที่ ๓ (จารกึ นครชุม)
ด้านที่ ๑ บรรทัดท่ี ๖๐-๖๒ “ถ้าผู้ใดต้องการไปเกิดในยุคของพระศรีอาริย
เมตไตรยในอนาคตกาลให้บูชาพระสถูปเจดีย์หรือพระศรีมหาโพธิ…”๖ จารึก

๔ หมายถงึ เว้นจากอกุศลกรรมบถทง้ั ๑๐ ข้อ
๕ อสงไขย คอื จานวนเวลาทน่ี บั ไมไ่ ด้
๖ กรมศิลปากร. (๒๕๑๕). ประชมุ จารึกภาคที่ ๑ จารกึ กรุงสโุ ขทัย. กรงุ เทพฯ: คุรุสภาพระ
สุเมรุ. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พระราชประสิทธิคุณ ณ สุสานวัดราชธานี จ.สุโขทัย).
หนา้ ๔๐.

๑๑๔

หลกั ที่ ๙ก. (จารึกวัดสรศกั ดิ์) บรรทดั ที่ ๓๔-๓๕ ว่า “…นายสรศักด์ไิ หวค้ านบั
จารึกสิ้นกัลปาวสานขอให้ข้าและท่านท้ังหลายขวนขวายทา (กิจ) ใน (พุทธ
ศาสนา) จะปรารถนาทันพระศาสนาของพระโพธิสัตว์ศรีอาริยเมตไตรยทุก
ชาติ”๗ ไตรภมู ิกถา วา่ “ผู้ใดปรารถนาพระนิพพานให้ฟังพระไตรภูมิกถาดว้ ย
ใจศรัทธาและไมป่ ระมาทก็จะได้พบ ได้ไหว้ ได้ฟงั ธรรมพระศรีอาริยเมตไตรย
ท่ีจะมาตรสั รู้ในอนาคตกาล”๘ แสดงให้เหน็ ว่า ความเช่ือเรอื่ งยคุ พระศรีอาริย
เมตไตรยยงั คงปรากฏมาตั้งแต่สมยั อดีตกาล

ลกั ษณะเดน่ ของไตรภูมฉิ บบั หอสมดุ แห่งชาตกิ รงุ ปารสี
ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส เป็นวรรณกรรมไทยที่พบ

ต้นฉบับที่หอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส บันทึกด้วยอักษรไทย
ย่อ ภาษาไทย คาประพันธ์ชนิดรอ้ ยแก้ว สันนิษฐานวา่ “เป็นวรรณกรรมสมัย
อยธุ ยา และนา่ จะอยู่ในยคุ สมัยของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช”๙ เน่อื งจาก
ในยุคน้ีสยามมีการติดต่อสื่อสารกับชาติตะวันตกมากท่ีสุดยุคหน่ึงของ
ประวัติศาสตรส์ มัยอยุธยา ไตรภูมิฉบับนี้มีเน้ือหาเก่ียวกับการสร้างโลกท้ังคติ

๗ กรมศิลปากร. (๒๕๑๕). ประชมุ จารกึ ภาคท่ี ๑ จารกึ กรงุ สโุ ขทยั . กรงุ เทพฯ: คุรุสภาพระ
สุเมรุ. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พระราชประสิทธิคุณ ณ สุสานวัดราชธานี จ.สุโขทัย).
หน้า ๑๖๑.

๘ กรมศิลปากร. (๒๕๓๕). ไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วง. พิมพ์ครง้ั ที่ ๒. กรุงเทพฯ: คุรุ
สภา. หนา้ ๒๙๕.

๙ ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๕๗). ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: การศึกษาเชิง
วิเคราะห์. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีไทย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.หน้า
๖๗.

๑๑๕

ทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พรหมลงมากินง้วนดิน กาเนิดมนุษย์ พระอาทิตย์
พระจนั ทร์ สรรพสง่ิ ในโลก เรอ่ื งพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ในภัทรกัลป์ เปน็ ต้น
ส่วนคตทิ างศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไดแ้ ก่ พระบรเมสวรสร้างโลกและจกั รวาล
มหาพรหมเทพราชสร้างเทวดา๑๐ เรื่องรามเกียรต์ิ๑๑ เร่ืองเกษียรสมุทร เป็น
ตน้

เหตุการณ์สัตถันตรกัลป์และยุคพระศรีอาริยเมตไตรยที่ปรากฏอยู่
ใน ไต รภู มิ ฉบั บ ห อส มุ ด แห่ งชาติกรุงป ารีส เร่ิม เนื้ อห าจากห ลั งสิ้น ยุค ของ
พระพุทธเจ้าโคดมจะเกดิ เหตกุ ารณฆ์ ่าฟนั กนั ระหวา่ งมนุษย์ท้ังหลาย แลว้ อายุ
มนษุ ย์จะเพิม่ ขึน้ ไปถึงอสงไขยและลดลงมาเหลอื ๘๐,๐๐๐ ปี ในกาลน้ันพระ
ศรีอาริยเมตไตรยและพระยาสังขจักมหาจักรพรรดิราช ลงมาอุบัติพร้อมกัน
พิจารณาเน้ือหาที่ปรากฏเบ้ืองต้นพบว่า ใจความหลักครบถ้วนสมบูรณ์ซ่ึง
น่าสนใจศึกษาว่า ในไตรภูมิสมัยอยุธยานั้น มีความเชื่อเรื่องเหตุการณ์สัต
ถันตรกัลป์และยุคพระศรีอาริยเมตไตรยปรากฏอยู่ด้วย ดังนั้นผู้ศึกษาจึงใช้
คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาท่ีปรากฏเน้ือหาเก่ียวกับเหตุการณ์สัตถันตรกัลป์
และยุคพระศรีอารยิ เมตไตรยมาใชใ้ นการเปรียบเทยี บเนื้อหา คือ

๑๐ โปรดอ่านเพิ่มเติมในบทความเร่ือง ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: การศึกษา
เปรียบเทยี บระหว่างเรอ่ื งมหาพรหมเทพราชทอดเลขกับตานานของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู วารสารดารง
วชิ าการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ ๑๕ ฉบบั ท่ี ๑ (มกราคม-มถิ ุนายน ๒๕๕๙) หนา้ ๑๗๗-
๑๙๖.

๑๑ โปรดอา่ นเพ่ิมเติมในบทความเร่อื ง ไตรภูมิฉบับหอสมุดแหง่ ชาตกิ รงุ ปารสี : ความสัมพันธ์
กบั รามเกียรติ์ วารสารดารงวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีท่ี ๑๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-
ธันวาคม ๒๕๕๖) หน้า ๑๕๓-๑๗๔.

๑๑๖

๑. พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค จักกวัตติสูตร พระ
สูตรสาคัญในพระไตรปิฎกเมื่อคร้ังพระพุทธองค์ทรงประทับ ณ เมืองมาตุลา
แคว้นมคธ โดยพระองค์ทรงกล่าวถึงเร่ืองของพระเจ้าจักรพรรดิราช สาเหตุ
แห่งความเจริญและเส่ือมของอายุขัยมนุษย์ การเกิดสัตถันตรกัลป์ และยุค
พระศรีอาริยเมตไตรย

๒. คัมภีรพ์ ระอนาคตวงศ์ ผูแ้ ต่งคอื พระมหากสั สปะเถระ แตง่ เม่ือ
ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ มีเร่ืองราวเกี่ยวยุคพระศรีอาริยเมตไตรย
พระพุทธเจา้ องคท์ ่ี ๕ ในภัทรกัลป์น้ีซงึ่ จะลงมาตรสั รตู้ ่อจากพระพุทธเจ้าองค์
ปัจจุบัน คือ พระสมณะโคดม โดยคัมภีร์อนาคตวงศ์เป็นหนึ่งในคัมภีร์ที่พระ
มหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลไิ ทย) ทรงอ้างถงึ ในบานแพนกของไตรภมู กิ ถา

๓. คัมภีร์อมตรสธารา ฎีกาอนาคตวงศ์ ผู้แต่งคือ พระอุปติสสะ
เถระ “ฎีกา หมายถึง ปกรณ์ท่ีพระอาจารย์ท้ังหลายในภายหลัง แต่งแก้หรือ
อธิบายเพิ่มเติมอรรถกถา”๑๒ อมตรสธารา ฎีกาอนาคตวงศ์ แต่งขึ้นเพื่อ
อธิบายอมตรสธารา อรรถกถา อนาคตวงศ์ อมตรสธารา ฎีกาอนาคตวงศ์ที่
นามาใช้ศกึ ษาในบทความนมี้ าจากยุคพระศรีอารยิ เมตไตรยในไตรภมู โิ ลกวินจิ
ฉยกถาของพระยาธรรมปรชี า (แก้ว) เพราะมีการอา้ งถงึ คัมภรี ์ดงั กล่าว

๔. คัมภีร์พระสาวกนิพพาน เป็นคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่ว่า
ด้วยประวัติของมหาสาวกองค์ต่างๆ ในยุคพุทธกาลตั้งแต่เร่ิมปรารถนาสาวก
ภูมิจนถึงนิพพาน มีเน้ือหาคล้ายคลึงกับมหาปรินิพพานสูตร โดยกล่าวถึง

๑๒ พระพรหมคุณาภรณ์. (๒๕๕๑). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศพั ท์. พิมพ์ครั้งที่
๑๗. กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . หนา้ ๙๓.

๑๑๗

สาวกองค์สาคัญ ได้แก่ พระกัจจายนะเถระ พระมหากัสสปะเถระ พระ
อานนท์เถระ เป็นต้น หนังสือไม่ได้กล่าวถึงประวตั ิความเป็นมาชัดเจนแต่พอ
สรุปได้วา่ เป็นคัมภรี เ์ กา่ แก่คมั ภรี ์หนึ่งที่มีเรอ่ื งราวเนื่องดว้ ยประวัติมหาสาวกที่
สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

ภาพปกหนงั สอื ไตรภมู ิ เอกสารจากหอสมดุ แห่งชาติกรงุ ปารสี
กรมศลิ ปากรพมิ พเ์ ผยแพร่พุทธศักราช ๒๕๕๔

๑๑๘

การเปรียบเทียบสัตถันตรกัลปแ์ ละยุคพระศรีอาริยเมตไตรยในไตรภูมิฉบับ

หอสมดุ แหง่ ชาติกรุงปารสี กบั คมั ภรี ท์ างพระพุทธศาสนา

ผ้ศู ึกษาใช้คัมภรี ์ทางพระพุทธศาสนามาเปรียบเทียบกับเนอื้ หาเรื่อง

สัตถันตรกัลป์และยุคพระศรีอาริยเมตไตรยท่ีปรากฏในไตรภูมิฉบับหอสมุด

แห่งชาติกรุงปารีสเพื่อแสดงให้เห็นถึงความคล้ายคลึงหรือต่างกัน โดยใช้วิธี

สังเขปเนอื้ หาดังรายละเอียดในตารางต่อไปน้ี

ตารางท่ี ๑ เหตุการณ์สัตถนั ตรกลั ป์

ตอน ไตรภูมฉิ บับ พระไตรปฎิ ก พระอนาคตวงศ์
หอสมดุ แหง่ ชาติ จักกวตั ติสูตร
๑. เมื่อศาสนา ผู้ ค น ทั้ งห ล า ย ไม่
พ ร ะพุ ท ธ เจ้ า กรุงปารีส ผู้ ค น ท้ั ง ห ล า ย ไม่ ละอายต่อบาป เสพ
โคดมมีอายุครบ ล ะ อ า ย ต่ อ บ า ป กามซึ่งกันและกันไม่
๕,๐๐๐ ปี ผู้ ค น ทั้ งห ล า ย ไม่ เสพกามซ่ึงกันและ เวน้ แม้แตญ่ าติพี่นอ้ ง
ละอายต่อบาป เสพ กั น ไ ม่ เว้ น แ ม้ แ ต่ ต น เอ ง ม นุ ษ ย์ มี
กามซึ่งกันและกันไม่ ญาติพี่น้องตนเอง อายุขยั ๑๐ ปี เม่ือมี
เว้นแม้แต่ญาติพ่ีน้อง ม นุ ษ ย์ มี อ ายุ ขั ย อายุ ๕ ปีจะสมรส
ต น เอ ง ม นุ ษ ย์ มี ๑๐ ปี เมื่อมีอายุ เป็นสามีภรรยากัน
อายุขัย ๑๐ ปี เม่ือมี ๕ ปีจะสมรสเป็น และจะเกิดสัตถันตร
อายุ ๕ ปีจะสมรส ส า มี ภ ร ร ย า กั น กัลป์เป็นเวลา ๗ วนั
เป็ น ส า มี ภ ร ร ย า กั น แ ล ะ จ ะ เกิ ด สั ต
และจะเกิดสัตถันตร ถั น ต ร กั ล ป์ เป็ น
กลั ป์เปน็ เวลา ๗ วัน เวลา ๗ วนั

๑๑๙

ตารางท่ี ๑ (ต่อ) ไตรภูมฉิ บับหอสมดุ พระไตรปิฎก
ตอน แหง่ ชาตกิ รุงปารีส จักกวตั ตสิ ูตร

๒ . ปั จ จั ย ที่ ท า ให้ คนที่รอดจากสัตถันตรกัลป์ คนทร่ี อดจากสตั ถนั ตรกัลป์ตา่ ง
อ า ยุ ขั ย ข อ ง ม นุ ษ ย์ ต่ า งพ า กั น ส ม า ท า น กุ ศ ล พากันสมาทานกุศลกรรมบท
เพมิ่ ขึน้ กรรมบท ๑๐ ประการ ๑ ๐ ป ระก าร อ ายุขัย ข อ ง
อ า ยุ ขั ย ข อ ง ลู ก ห ล า น ค น ลกู หลานคนเหล่าน้นั จึงเพ่ิมขึ้น
๓. ปัจจัยท่ีทาให้ เหล่าน้ันจึงเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ เรือ่ ยๆ จนถงึ ๘๐,๐๐๐ ปี
อ า ยุ ขั ย ม นุ ษ ย์ จ น ถึ ง อ ส ง ไข ย (ชื่ อ เมื อ ง
ลดลง เป ลี่ยนตามอายุขัยของ เมื่อมนุษย์มีอายุขัย ๘๐,๐๐๐
มนุษย์ คือ ๑๐๐,๐๐๐ ปี= ปี เมืองพาราณสีมีช่ือว่า เกตุ
มดั ทมุ อสงไขย=มณฑาร) มดี
มนุษย์ประมาทในธรรม ทา
อกุศลกรรม ๑๐ ประการ
อ า ยุ จึ งล ด ล ง ม า เห ลื อ
๘๐,๐๐๐ ปี เมืองมณฑาร
เปล่ียนชอ่ื เป็น เกตุมดี

๑๒๐

ตารางที่ ๑ (ตอ่ ) ไตรภูมิฉบับหอสมุด พระไตรปิฎก
ตอน แห่งชาติกรุงปารสี จักกวัตติสตู ร

๔. การอุบัติของ เชถนกาล (ไมป่ รากฏ)
พระเจ้าจักรพรรดิ (ไม่ปรากฏ) สงั ขะ
ราชเมอื งเกตุมดี
- นามเทพบตุ ร อชิตกมุ าร (ไมป่ รากฏ)
- นามพระเจา้ (ขุนพลแกว้ )
จักรพรรดิ
- นามพระโอรส
องค์ใหญ่

จากตารางดังกล่าวแสดงให้เหน็ ว่า เหตกุ ารณ์สัตถันตรกัลป์หลังสิ้น
ศาสนาพระพุทธเจ้าโคดมในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสมีเน้ือหา
รว่ มกบั พระไตรปฎิ ก จกั กวตั ตสิ ตู รและคมั ภีรพ์ ระอนาคตวงศ์ ดงั นี้

๑. เมื่ออายุศาสนาพระพุทธเจ้าโคดมครบ ๕,๐๐๐ ปี ผู้คนจะไม่
ละอายและเกรงกลัวต่อบาป มนษุ ย์จะมีอายขุ ัย ๑๐ ปี และจะเกิดการฆา่ ฟัน
กนั ดว้ ยอาวธุ คือ สัตถนั ตรกัลปเ์ ป็นเวลา ๗ วัน

๒. ปัจจัยท่ีทาให้อายุขัยของมนุษย์เพ่ิมขึ้น คือ ผู้คนท่ีรอดจากสัต
ถันตรกัลป์จะพากันประพฤติกุศลกรรมบท ๑๐ ประการจึงทาให้อายุขัยของ
ลูกหลานพวกเขาเหลา่ นนั้ เพิ่มขึ้นจนไปถึงอสงไขยปี แตพ่ ระไตรปิฎก จักกวัต
ตสิ ูตรว่า มนุษย์จะมีอายุเพิ่มข้ึนเร่อื ยๆ จนถึง ๘๐,๐๐๐ ปี อีกท้ังไตรภูมฉิ บับ
หอสมดุ แห่งชาติกรุงปารีสยังใหร้ ายละเอียดของช่ือเมืองระหวา่ งทีอ่ ายุขยั ของ
มนุษยเ์ พิม่ ขึ้นด้วยว่า เมอื่ มนุษย์มอี ายุขยั ๑๐๐,๐๐๐ ปี เมอื งพาราณสีเปลี่ยน

๑๒๑

ช่ือเป็นเมืองมัดทุม เม่ือมนุษย์มีอายุอสงไขยปี เมืองมัดทุมเปลี่ยนช่ือเป็น
มณฑาร

๓. มนุษย์ผมู้ ีอายขุ ัยอสงไขยปีเกดิ ความประมาทในธรรมอายุขัยจึง
ถอยลงมาเหลือ ๘๐,๐๐๐ ปี เมืองพาราณสีเปล่ียนช่ือเป็นเกตุมดี แต่ไตรภูมิ
ฉบบั หอสมุดแหง่ ชาติกรุงปารีสว่า เมืองมณฑารเปล่ยี นช่ือเป็น เกตุมดี๑๓

๔. การอุบัติของพระเจ้าจักรพรรดิราช เนื้อหาส่วนใหญ่มีความ
ใกล้เคียงกันแต่ต่างกันที่รายละเอียด คือ ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุง
ปารสี ว่า เชถนกาลเทพบุตร (พระอนาคตวงศ์วา่ มหานฬวกาลเทวบุตร และ
ไม่ปรากฏชื่อในจักกวัตติสูตร) จะจุติจากสวรรค์ลงมาเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ
ราช (ซง่ึ ไตรภูมิฉบบั หอสมุดแห่งชาติกรงุ ปารีสไมไ่ ด้กลา่ วถึงพระนาม แต่จักก
วตั ติสูตรว่า สังขะ และพระอนาคตวงศ์ว่า สังขจักร์) พระเจ้าจักรพรรดิราชนี้
จะมีพระโอรสองค์ใหญ่นามว่า อชิตกุมาร (ไม่ปรากฏในจักกวัตติสูตร) ซึ่งจะ
เป็นขุนพลแกว้ (ปรินายกรตั นะ) หนง่ึ ในของคู่บุญของพระเจา้ จกั รพรรดิราช

๑๓ การเปลี่ยนช่ือจากมณฑารเป็นเมืองเกตุมดีไม่ได้แตกต่างไปจากพระไตรปิฎกและพระ
อนาคตวงศ์เพราะเมอื งเหล่านี้ (มัดทมุ -มณฑาร) ล้วนเคยเปน็ เมอื งพาราณสมี ากอ่ นน่ันเอง

๑๒๒

ตารางท่ี ๒ ยุคพระศรีอารยิ เมตไตรย พระ อมตรสธารา
เนื้อหา ไตรภูมฉิ บบั อนาคตวงศ์ ฎีกาอนาคต
หอสมุด
แหง่ ชาติกรงุ วงศ์
ปารสี

๑. พระศรี พระศรีอาริยไมตรี พระศรอี ารยิ พระศรอี ารยิ
อาริเมตไตรย เมตไตรย เมตไตรย
นามพุทธบิดา สพุ พราหมณ์
นามพระโอรส พราหมณ์ สุพรหมา สุพรหมพราหมณ์
วทั กุมาร พราหมณ์ (ไมป่ รากฏ)
เวลาครองเพศ วฒั นกุมาร
ฆราวาส
พาหนะ ๘,๐๐๐ ปี ๘,๐๐๐ ป๑ี ๔ (ไม่ปรากฏ)
มหาภเิ นษกรมณ์ ปราสาท ปราสาท (ไมป่ รากฏ)
นามอัครสาวก
โลกภเถระ อโสกเและ อโสกเและพรหม
ระยะเวลากระทา ๗ วนั พรหมเทพ เทพ
เพยี ร
๗ วนั (ไมป่ รากฏ)

๑๔ ต้นฉบับที่บาเพ็ญ ระวิน ปริวรรต เป็น ๘๐,๐๐๐ ปี แต่ในฉบับของประภาส สุระเสน
ปริวรรต เป็น ๘,๐๐๐ ปี (ประภาส สุระเสน (ปริวรรต). ๒๕๔๐. พระคัมภีร์อนาคตวงศ์. กรุงเทพฯ:
สุรวัฒน์. (พิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศลในงานพระราชทานเพลิงศพ พระเทพวัชรธรรมาภรณ์ สุรพงศ์
ฐานวโร เจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพ ณ เมรุหลวงพลับพลา อิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรนิ ทราวาส ๒๖ ม.ี ค. ๒๕๔๐.
หน้า ๘๑) ดงั นัน้ จานวนตวั เลขน้ผี ้ศู ึกษาจะใชฉ้ บบั ของประภาส สุระเสน

๑๒๓

ตารางที่ ๒ (ตอ่ ) ไตรภูมิฉบบั พระอนาคต อมตรสธารา
เน้ือหา หอสมดุ วงศ์ ฎกี าอนาคต

แห่งชาติกรงุ วงศ์
ปารสี

ไมท้ ่ตี รสั รู้ กากะทิง กากะทิง กากะทงิ

พระชนมายุ ๘๐,๐๐๐ ปี (ไม่ปรากฏ) ๘๐,๐๐๐ ปี

อายุพระศาสนา ๑๘๐,๐๐๐ ปี (ไม่ปรากฏ) ๑๘๐,๐๐๐ ปี
๒. ดอกบัวรองรบั
พระบาทยาม เมือ่ พระศรีอารยิ เมอ่ื พระศรี เม่อื พระศรีอาริย
พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ เมตไตรยจะเสดจ็ อารยิ เมตไตรย เมตไตรยจะเสดจ็
ไปท่ีใดจะมีดอกบวั จะเสดจ็ ไปทใี่ ด
ขนาดใหญ่ผุดขน้ึ จะมดี อกบวั ไปทใ่ี ดจะมี
จากแผน่ ดนิ มา ขนาดใหญผ่ ดุ ดอกบวั ขนาด
รองรบั ฝา่ พระบาท ขึ้นจากแผน่ ดนิ ใหญ่ผุดขึน้ จาก
มารองรบั ฝ่า แผน่ ดินมารองรับ
ทุกยา่ งกา้ ว พระบาททกุ ฝา่ พระบาททกุ

ยา่ งก้าว ยา่ งก้าว

๑๒๔

ตารางท่ี ๒ (ตอ่ ) ไตรภมู ิฉบบั พระอนาคต อมตรสธารา
เนื้อหา หอสมดุ แหง่ ชาติ วงศ์ ฎกี าอนาคตวงศ์

๓. ความพเิ ศษ กรุงปารีส (ไมป่ รากฏ) ดอ ก ก าก ะทิ งจ ะ
ของดอก บ า น ต้ั งแ ต่ วั น ท่ี
กากะทงิ ดอกกากะทิงจะบาน พระพุทธเจ้าตรัสรู้
จนถึงวันท่ีพระองค์
ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ ปรนิ ิพพาน
พ ร ะ พุ ท ธ เจ้ า ต รั ส รู้
จนถึงวันที่พระองค์
ปรนิ พิ พาน

๔. มณฑป ยามพระพุทธเจ้าจะ (ไม่ปรากฏ) ยามพระพทุ ธเจา้ จะ
พิเศษ เส ด็ จ ไป ที่ ใด จ ะ มี เสด็จไปท่ีใด จะมี
มณฑปแก้วซึ่งเหล่า มณฑปแก้วผุดข้ึน
เทวดาครุฑ นาคราช จาก แผ่น ดิน เพื่ อ
เนรมิตถวายเพื่อเป็น เปน็ พาหนะ
พาหนะ

๑๒๕

ตารางท่ี ๒ (ต่อ) ไตรภมู ิฉบบั หอสมดุ คมั ภรี ์พระสาวกนพิ พาน๑๕
เนอื้ หา แหง่ ชาตกิ รุงปารสี
ในอนาคตข้างหน้า พระศรีอาริย
๕. บพุ กรรม ยามเม่ือพระพุทธเจ้าจะ เมตไตรยจะเสด็จมาพรอ้ มกับเหล่า
ระหวา่ งพระศรี เ ส ด็ จ ป ริ นิ พ พ า น บรรดาภิกษุสาวก พระองค์จะมา
อาริยเมตไตรย พระองค์จะเสด็จไปนา นาร่างของพระมหากัสสปะเถระ
กับพระ ศพพระมหากัสสปเถระ และทรงกล่าวว่า “สังขารน้ีคือ
มหากัสสป ในศาสนาพระพุทธเจา้ โค พี่ชายของอาตมา” พร้อมท้ังกล่าว
ดมมาปลงศพในฝ่าพระ ย ก ย่ อ งค ว า ม เป็ น เลิ ศ ข อ ง พ ร ะ
หัตถข์ องพระองค์ มหากัสสปะเถระในด้านถือธุดงค
วัตร ๑๓ ประการอย่างเคร่งครัด
ตลอดชีวิต หลังจากนั้นจึงบังเกิด
เปลวไฟเผาศพของพระมหากัสสป
สนิ้ ไป

จากตารางดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า เนื้อหาเร่ืองพระศรีอาริย
เมตไตรยในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสมีเน้ือหาร่วมกับคัมภีร์
อนาคตวงศ์ คัมภีร์อมตรสธารา ฎีกาอนาคตวงศ์และคมั ภีรพ์ ระสาวกนิพพาน
ดังน้ี

๑๕ เน่ืองจากคัมภรี ์อนาคตวงศ์ไม่ปรากฏเน้ือหาเร่ืองพระมหากัสสปะ ผู้ศึกษาจึงนาเร่อื งพระ
มหากสั สปะเถระนิพพานมาจากคัมภรี ์พระสาวกนพิ พาน

๑๒๖

๑. เรื่องพระศรีอาริยเมตไตรยในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุง
ปารีสมีเนื้อหาร่วมกับ คัมภีรอ์ นาคตวงศ์และคัมภีรอ์ มตรสธารา ฎีกาอนาคต
วงศ์ เช่น พระนามของพระพุทธเจ้า (อาริยไมตรี-อาริยเมตไตรย) พระนาม
พทุ ธบิดา (สพุ รหมา-สพุ รหมพราหมณ)์ ไมท้ พี่ ระพทุ ธเจ้าทรงตรสั รู้ (กากะทิง)
แต่ต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย เช่น ระยะเวลาครองเพศฆราวาส ไตรภูมิ
ฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสว่า ๘,๐๐๐ ปี แต่ไม่ปรากฏในคัมภีร์อมตรส
ธารา หรือนามของอัครสาวก ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสกลา่ วถึง
โลกภเถระองค์เดียว แต่คัมภีร์อนาคตวงศ์และคัมภีร์อมตรสธาราว่า อโสก
และพรหมเทพเถระ

๒. เรื่องดอกบัวพิเศษท่ีเกิดขึ้นเมื่อพระพุทธเจ้าจะเสด็จในไตรภูมิ
ฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสมีเนื้อหาร่วมกับคัมภีร์อนาคตวงศ์และคัมภีร์
อมตรสธารา ฎกี าอนาคตวงศ์ คือ เมอื่ พระพุทธเจ้าจะเสด็จพระราชดาเนนิ ไป
ทีใ่ ดจะมีดอกบัวใหญผ่ ดุ ข้ึนจากแผน่ ดนิ มารองรับฝ่าพระบาท

๓. เร่ืองความพิเศษของดอกกากะทิงในไตรภูมิฉบับหอสมุด
แห่งชาติกรุงปารีสมีเน้ือหาร่วมกับคัมภีร์อมตรสธารา ฎีกาอนาคตวงศ์ คือ
ด อ ก ก า ก ะ ทิ ง จ ะ บ า น ต้ั ง แ ต่ วั น ท่ี พ ร ะ พุ ท ธ เจ้ า ท ร ง ต รั ส รู้ จ น ถึ ง วั น ที่ จ ะ
ปรินิพพาน ดอกกากะทิงก็จะหลน่ ลงไปตกยังเชิงตะกอนท่ีพระพุทธเจ้าเสด็จ
ปรินิพพาน

๔. เรื่องมณฑปพิเศษในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสมี
เน้ือหาร่วมกับคัมภีร์อมตรสธารา ฎีกาอนาคตวงศ์ คือ เมื่อพระพุทธเจ้าจะ
เสด็จไปที่ใด พระองค์จะทรงมณฑปแก้วเป็นพาหนะ แตต่ ่างกันทรี่ ายละเอียด
คือ ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสว่า มณฑปแก้วนี้เกิดจากเหล่า
เทวดา ครุฑ และนาคเนรมติ ถวาย แต่คมั ภีร์อมตรสธาราว่า มณฑปแก้วน้ีผุด
ขนึ้ จากแผน่ ดิน

๑๒๗

๕. เรอื่ งบุพกรรมระหวา่ งพระศรีอารยิ เมตไตรยกบั พระมหากัสสปะ
เถระในไตรภูมิฉบบั หอสมุดแห่งชาติกรงุ ปารสี มเี นือ้ หารว่ มกบั คมั ภรี พ์ ระสาวก
นิพพาน คือ พระศรีอาริยเมตไตรยจะเสด็จมานาร่างของพระมหากัสสปะ
เถระสมัยศาสนาพระพุทธเจ้าโคดมเพ่ือปลงสังขาร แต่ในคัมภีร์พระสาวก
นพิ พานให้รายละเอียดของบุพกรรม คือ พระมหากัสสปะเคยเป็นเชษฐาของ
พระองค์ อีกทง้ั พระศรอี ารยิ เมตไตรยยังทรงปรารภถงึ คณุ งามความดีของพระ
มหากัสสปะเถระในเร่ืองความเป็นเลิศในด้านการถือธุดงควัตร ๑๓
ประการ๑๖ด้วย

บทสรปุ
เหตุการณ์สัตถันตรกัลป์และยุคพระศรีอาริยเมตไตรยในไตรภูมิ

ฉบบั หอสมุดแห่งชาตกิ รุงปารีสมีเน้ือหารว่ มกับคัมภรี ท์ างพระพทุ ธศาสนา คือ
พระไตรปฎิ ก คมั ภรี ์พระอนาคตวงศ์และคมั ภีรพ์ ระสาวกนพิ พานอยา่ งชดั เจน
ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีสจงึ ถือเป็นหลักฐานสาคัญอย่างยิ่งท่ีทา
ใหเ้ หน็ ว่า ในสมัยอยธุ ยายังคงปรากฏความเช่ือเร่ืองสตั ถันตรกัลป์และยคุ พระ
ศรีอาริยเมตไตรยอันเป็นเหตุการณ์ท่ีจะเกิดขึ้นในภายภาคหน้า อีกทั้งยัง
แสดงให้เหน็ ถึงการสนิ้ ยคุ พระศาสนาของพระพุทธเจา้ โคดม พระพทุ ธเจา้ องค์
ปัจจุบนั ซง่ึ ตรงกับหลกั ไตรลกั ษณ์ คือ อนจิ จัง ทกุ ขัง และอนตั ตา (การเกดิ ขึ้น

๑๖ คือ ๑. ถือใช้แต่ผ้าบังสุกุล ๒. ใช้ผ้าเพียงสามผืน ๓. เท่ียวบิณฑบาตเป็นประจา ๔.
บณิ ฑบาตตามลาดับบ้าน ๕. ฉันมื้อเดียว ๖. ฉนั เฉพาะในบาตร ๗. ลงมือฉันแลว้ ไม่ยอมรับเพ่ิม ๘. ถืออยู่ป่า
๙. อยู่โคนไม้ ๑๐. อยู่กลางแจ้ง ๑๑. อยู่ป่าช้า ๑๒. อยู่ในที่แล้วแต่เขาจัดให้ ๑๓. ถือน่ังอย่างเดียวไม่นอน
(พระพรหมคุณาภรณ์. ๒๕๕๑. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพฯ:
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . หน้า ๑๕๔)

๑๒๘

ตั้งอยู่ ดับไป) อันเป็นแนวคิดหลักทางพระพุทธศาสนา ไตรภูมิฉบับหอสมุด
แห่งชาติกรงุ ปารีสจึงถือเป็นกุญแจสาคัญทางวรรณกรรมไทยท่ีทาให้เข้าใจถึง
แนวคิดเกี่ยวกับความเช่ือเร่ืองสัตถันตรกัลป์และแสดงให้เห็นถึงอนาคต คือ
ยคุ พระศรีอารยิ เมตไตรยในสมยั อยธุ ยาโดยเฉพาะยุคของสมเดจ็ พระนารายณ์
มหาราชเพ่ิมมากยง่ิ ขึน้ อีกดว้ ย

บรรณานกุ รม

กรมศิลปากร. ๒๕๑๕. ประชุมจารึกภาคท่ี ๑ จารึกกรุงสุโขทัย. กรุงเทพฯ:
คุรุสภาพระสุเมร.ุ (พมิ พเ์ ป็นอนุสรณง์ านพระราชทานเพลงิ ศพ พระ
ราชประสทิ ธิคณุ ณ สสุ านวัดราชธานี จ.สโุ ขทัย).
. ๒๕๒๐. ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ฉบับที่ ๒ (ไตรภูมิฉบับหลวง)
เลม่ ๒. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
. ๒๕๓๕. ไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วง. พิมพ์คร้ังท่ี ๒.
กรงุ เทพฯ: ครุ ุสภา.
. ๒๕๕๔. ไตรภูมิเอกสารจากหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส.
กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร.

คณะสงฆ์แห่งประเทศไทย. ๒๕๑๕. พระสาวกนิพพาน. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
(พิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศลในงานพระเมรุพระศพ สมเด็จ
พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (จวน อุฏฺฐายี) ณ เมรุวัด
เทพศิรินทราวาส วันท่ี ๑๗ มิถุนายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๕).

๑๒๙

บาเพ็ญ ระวิน. ๒๕๔๒. ประชุมพงศาวดารฉบับราษฎร์ ภาค ๓ พระ
อนาคตวงศ.์ กรุงเทพฯ: อัมรนิ ทรว์ ชิ าการ.

ประภาส สุระเสน (ปริวรรต). ๒๕๔๐. พระคัมภีร์อนาคตวงศ์. กรุงเทพฯ:
สุรวัฒน.์ (พิมพ์โดยเสด็จพระราชกศุ ลในงานพระราชทานเพลิงศพ
พระเทพวัชรธรรมาภรณ์ สรุ พงศ์ ฐานวโร เจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพ
ณ เมรุหลวงพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ๒๖ มี.ค.
๒๕๔๐).

พระพรหมคุณาภรณ์. ๒๕๕๑. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์.
พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑๗. กรงุ เทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั .

ภัครพล แสงเงิน. ๒๕๕๗. ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส:
การศึกษาเชิงวิเคราะห์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหา
บัณฑติ สาขาวรรณคดไี ทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์

สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ. ๒๕๔๙. พระบาลีสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม ๑๐. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์
พับลชิ ชง่ิ .
-------------------------------------------------------------------

๑๓๐

ประวตั แิ ละผลงานผู้ตรวจสอบการปรวิ รรตและจัดทาคาอธิบายศัพท์
หนังสือมาลัยสูตร พ.ศ. ๒๔๒๕ (ฉบบั นายเสง็ และนางขา ถวาย)

ช่อื -นามสกลุ (ไทย) : ภัครพล แสงเงิน

(องั กฤษ) : Phakphon Sangngern

ตาแหนง่ ทางวชิ าการ : อาจารย์

วัน-เดอื น-ปเี กิด : ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๓๐

ที่อยู่ท่ีตดิ ตอ่ ไดส้ ะดวก : เลขท่ี ๑๕๖ หมู่ ๕ ตาบลพลายชุมพล อาเภอ

เมืองพิษณโุ ลก จังหวดั พิษณุโลก ๖๕๐๐๐

ประวัติการศกึ ษา

วุฒิการศึกษา จากสถาบนั ปีท่จี บ

ศศ.ม. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ๒๕๕๗
(วรรณคดีไทย)

ศศ.บ. ๒๕๕๔

(ภาษาไทย) มหาวิทยาลยั นเรศวร

เกยี รตนิ ยิ ม

อนั ดบั ๑

ปัจจุบันกาลังศึกษาระดับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจารึก

ภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

สาขาวชิ าการทม่ี คี วามชานาญพเิ ศษ
วรรณคดีพุทธศาสนา, ภาษาไทย, วรรณกรรมตารายา, วรรณกรรมทอ้ งถิ่น

๑๓๑

ผลงานทางวชิ าการ รายการบรรณานกุ รม
ลาดับ ประเภท ภั ค รพ ล แส งเงิน . (๒ ๕ ๖ ๔ ). เอกส าร
๑. เอกสาร ประกอบการสอนวิชาวรรณกรรมเอกของ
ไทย. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
ประกอบ สงคราม.
การสอน บุญลดา คุณาเวชกิจ, ณรกมล เลาห์รอดพันธ์
๒. วจิ ยั และภัครพล แสงเงิน. (๒๕๖๓). การศึกษา
ศักยภาพบุคลากรเพ่ือเตรียมพร้อมเข้าสู่
๓. วจิ ยั องค์ กรแห่ งค วาม สุขในกลุ่ม คลัสเต อร์
ภ าค เห นื อต อน ล่ าง (พิ ษ ณุ โล ก พิ จิต ร
๔. วิจยั เพชรบูรณ์และสุโขทัย). วารสารการเมืองการ
ปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๑๐(๑),
น. ๑๙๑-๒๒๓.
ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๖๒). ลักษณะสาคัญ
ของพระมาไลยฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุง
ปารีส. วารสารมนุษยศาสตร์วชิ าการ, ๒๖(๒),
น. ๒๘๕-๓๑๕.
ธีรพัฒ น์ พูลทองและภัครพล แสงเงิน.
(๒๕๖๐). ตานานวัดจากมุขปาฐะ: ความเช่ือ
จากปราชญ์ชมุ ชนในตาบลวัดโบสถ์ อาเภอวัด
โบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก. ในรายงานสืบเน่ือง
การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงคราม
วิจัย คร้ังท่ี ๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล

๑๓๒

ลาดับ ประเภท รายการบรรณานกุ รม

สงคราม วันท่ี ๒๓-๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐. น.

(๕๘๑-๕๙๑). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราช

ภฏั พบิ ลู สงคราม.

๕. บทความ ภัครพล แสงเงินและกังวล คัชชิมา. (๒๕๖๓).

วิชาการ แนวทางการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตารายา

โบ ร าณ ใน ไท ย .วา ร ส าร ม นุ ษ ย ศ าส ต ร์ แ ล ะ

สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๓๙

(๔), น. ๖๔-๘๑.

๖. บทความ ภัครพล แสงเงินและอุเทน วงศ์สถิตย์.

วิชาการ (๒๕๖๓). นรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัย:

ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ คั ม ภี ร์ ส า คั ญ ท า ง

พระพุทธศาสนา. วารสารธรรมธารา, ๖(๒),

น. ๖๑-๑๐๔.

๗. บทความ ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๖๐). คติพระพุทธเจ้า

วิชาการ ๕ พระองค์ในไตรภูมฉิ บบั หอสมดุ แหง่ ชาติกรงุ

ปารีส. วารสารรมยสาร, ๑๕(๒), น. ๑๒๕-

๑๓๖.

๘. บทความ ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๕๙). จากอวสานถึง

วิชาการ เริ่มใหม่: ยุคพระศรีอาริยเมตไตรยในไตรภูมิ

ฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส. วารสารไทย

ศึกษา, ๑๒(๒), น. ๑-๑๕.

ภาคผนวก
ภาพต้นฉบบั หนงั สอื มาลัยสูตร พ.ศ. ๒๔๒๕

(ฉบบั นายเส็งและนางขา ถวาย)

๑๓๔

๑๓๕

๑๓๖

๑๓๗

๑๓๘

๑๓๙

๑๔๐


Click to View FlipBook Version