The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภารกิจสำคัญของกรมการพัฒนาชุมชน_พช. เล่มมอบนโยบาย ๔ เม.ย. ๖๔ NEW EDITED

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kmcdd2564, 2021-05-08 03:10:02

ภารกิจสำคัญของกรมการพัฒนาชุมชน

ภารกิจสำคัญของกรมการพัฒนาชุมชน_พช. เล่มมอบนโยบาย ๔ เม.ย. ๖๔ NEW EDITED

Keywords: ภารกิจสำคัญ,กรมการพัฒนาชุมชน

๙๓

กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ

1. ความเป็นมา
กรมการพัฒนาชุมชน โดยสำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน มีการส่งเสริมและสนับสนุน

การจัดตั้งกองทุนชมุ ชนต่าง ๆ ขนึ้ เพอื่ แก้ไขปัญหาด้านการเงิน การลงทุนประกอบอาชีพ และการจัดสวัสดิการ
ซ่ึงส่วนใหญ่ได้รับการจัดต้ังมาเป็นระยะเวลานาน ปัจจุบันกองทุนชุมชนเติบโตขึ้นมากท้ังจำนวนเงินทุนและ
จำนวนสมาชิก กจิ กรรมเครือข่ายท่ีลงทุนโดยกองทุนชุมชนสามารถต่อยอดในเชิงธรุ กิจของชุมชนเองได้ อีกท้ังมี
สมาชิกกองทุนกู้ยืมไปเป็นจำนวนมาก และหากมีการบริหารจัดการที่ไม่เข้มแข็งอาจก่อให้เกิดปัญหาในการ
ชำระหนีข้ องสมาชิกรวมทั้งปัญหาการทุจริตได้ ปี 2560 - 2562 กรมการพัฒนาชุมชน ไดด้ ำเนินการส่งเสริม
การบรหิ ารจัดการการเงินชุมชน โดยส่งเสริมการออม การสร้างวินัยทางการเงิน และการบริหารจัดการหน้ีของ
ประชาชน สร้างกลไกการพฒั นาศกั ยภาพกองทุนชมุ ชน

กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต กรมการพัฒนาชุมชน สนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการ
ผลิตกว่า 45 ปี โดยใช้แนวคิด “เงินเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคน” โดยยึดหลักคุณธรรม 5 ประการ คือ
ซือ่ สัตย์ เสียสละ ความรับผดิ ชอบ ความเหน็ อกเห็นใจ และความไวว้ างใจซึ่งกันและกัน

2. ขนั้ ตอน/วิธกี ารดำเนนิ งาน
สำหรบั พัฒนากรเก่ยี วกับการดำเนนิ งานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ
2.1 จดั ทำแผนตดิ ตาม ปฏิทนิ กำหนดการ การปฏิบัตงิ านของพัฒนากร
2.2 สำรวจจัดทำฐานข้อมูลกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตในพื้นท่ีตำบลหมู่บ้านและประเมินศักยภาพกลุ่มฯ

ภายในวันท่ี 31 มนี าคม ของทุกปี
2.3 ลงพนื้ ท่ีเขา้ รว่ มประชุมทกุ คร้งั ในวนั ทีม่ ีการจดั เก็บเงินสัจจะสะสม
2.4 ร่วมประชุมคณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นประจำทุกเดือน และกำกับดูแล

ใหก้ ารส่งใช้เงนิ คนื ของสมาชกิ ตลอดจนการนำเงนิ ฝากเข้าบญั ชธี นาคารให้ถูกต้อง
2.5 ตดิ ตามและส่งเสริมการจดั ทำบัญชี รวมทัง้ การตรวจสอบบัญชอี ย่างนอ้ ยเดือนละ ๑ คร้งั
2.6 เข้าร่วมประชุมใหญ่ประจำปีของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เพื่อให้คำแนะนำปรึกษาและ

ตรวจสอบการดำเนินงานการจดั งบดุลกำไร – ขาดทุน
2.7 กำหนดให้กลุ่มมีการรายงานสถานะทางการเงิน โดยเฉพาะการรายงานยอดเงินสัจจะ

สะสมใหเ้ ป็นประจำทุกเดือน
2.8 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมเครือข่ายของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในเชิงธุรกิจสอดคล้องกับ

ความต้องการของสมาชกิ และชมุ ชนเชื่อมโยงนโยบายของรฐั บาล กรมการพฒั นาชมุ ชน และภาคีการพัฒนา
2.๙ ประเมนิ ศกั ยภาพของกล่มุ ออมทรัพย์เพื่อการผลติ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๒๑ ตวั ชว้ี ัด
2.๑๐ รายงานผลการดำเนินงานกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลติ ให้พฒั นาการอำเภอทราบเป็นประจำทุกเดือน
ปัจจุบันมีกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต จำนวน 19,646 กลุ่ม สมาชิก 2,975,567 คน มีเงิน

สัจจะสะสม 30,532,053,717.25 บาท สมาชิกกลุ่มฯ ได้รับประโยชน์ในการกู้ยืมเงินเพื่อประกอบอาชีพ โดยไม่
ต้องอาศัยแหล่งทุนภายนอก จำนวน 1,580,348 คน จำนวนเงนิ 23,360,738,679.92 บาท นอกจากน้ี
กลุ่มสามารถลงทุนต่อยอดเป็นกิจกรรมเครือข่ายหลากหลายรูปแบบ เพ่ือเป็นการเพิ่มเงนิ ทุนและสร้างกิจกรรม
สนับสนุนการประกอบอาชีพของสมาชิก เช่น ศูนย์สาธิตการตลาด ปั๊มน้ำมัน โรงสีชุมชน ลานตากผลผลิต ยุ้งฉาง
เปน็ ตน้

๙๔

3. ผลการดำเนินงาน
ปัจจุบันมีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 19,646 กลุ่ม สมาชิก 2,975,567 คน มีเงินสัจจะสะสม

30,532,053,717.25 บาท สมาชิกกลุ่มฯ ได้รบั ประโยชน์ในการกู้ยืมเงนิ เพื่อประกอบอาชีพ โดยไมต่ ้องอาศัย
แหล่งทุนภายนอก จำนวน 1,580,348 คน จำนวนเงิน 23,360,738,679.92 บาท นอกจากน้ี
กลุ่มสามารถลงทุนต่อยอดเป็นกิจกรรมเครือข่ายหลากหลายรูปแบบ เพื่อเป็นการเพ่ิมเงนิ ทุนและสร้างกจิ กรรม
สนับสนุนการประกอบอาชีพของสมาชิก เช่น ศูนย์สาธิตการตลาด ปั๊มน้ำมัน โรงสีชุมชน ลานตากผลผลิต
ยุง้ ฉาง เป็นต้น

การดำเนนิ งานในการสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการกลุม่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ ผา่ นกิจกรรมดังนี้
1. การตรวจสุขภาพทางการเงิน 19,646 กลุ่ม โดยจัดทำแบบประเมินกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต
ตามหลักธรรมาภิบาล มีผลการประเมินจัดระดับการพัฒนา ดังน้ี ระดับ 3 ผลงานดี 3,830 กลุ่ม ระดับ 2
ผลงานพอใช้ 7,935 กล่มุ ระดบั 1 ผลงานปรับปรงุ 7,881 กลุม่
2. พัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสู่มาตรฐาน SMART SAVING GROUP (SSG) จำนวน 1,500 กลุ่ม
และรกั ษามาตรฐานการดำเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต จำนวน 3,000 กลมุ่
3. เพิ่มศักยภาพคณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โดยโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
เพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้ และเช่ือมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 8 แห่ง 2 หลักสูตร ๆ ละ 3 วัน
โดยมีผเู้ ขา้ รบั การอบรม 480 แห่ง จาก 76 จังหวดั
4. การส่งเสรมิ การดำเนนิ งานกจิ กรรมเครือข่ายกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต

4.1 สง่ เสรมิ การดำเนินงานธุรกิจชุมชน จงั หวัดละ 1 แห่ง รวม 76 กล่มุ
4.2 พฒั นาศูนย์สาธติ การตลาด ๖๙๓ แหง่ โดยลงนามความร่วมมือกบั ภาคเอกชน ในการยกระดับ
ปรับปรุงศูนย์ฯ ให้มีความทันสมัยและพัฒนาสู่การเป็น Trader ชุมชน จำนวน 6 แห่ง (ข้อมูล ณ วันท่ี ๒๙ พ.ย.
๒๕๖๓)

ปญั หาอุปสรรค
1) การดำเนินงานของคณะกรรมการไม่เป็นไปตามแนวทางของกรมฯ เช่น ไม่นำเงินเข้า

ธนาคารกอ่ นปลอ่ ยกู้ ทำบัญชีไมค่ รบ ไมเ่ ปน็ ปัจจุบัน ไมม่ กี ารประชุมสามัญประจำปี ทำให้เกิดความเส่ียงในการ
บรหิ ารจัดการกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลิต

2) กลุ่มออมทรัพย์เพอื่ การผลติ บางกล่มุ ไมใ่ หเ้ จา้ หน้าที่เขา้ ไปตรวจสอบการดำเนินงาน
3) เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ไม่เข้าใจการใช้เครื่องมือในการประเมินผลกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการ
ผลิต ไม่เห็นประโยชน์ในการใช้เคร่ืองมือในแต่ละประเภท และไม่มีการกำกับติดตามการดำเนินงานของกลุ่ม
ออมทรัพย์เพอื่ การผลิต
4) คณะกรรมการกลมุ่ ฯ ไม่ทำตามบทบาทหน้าท่ี
5) การดำเนินงานของกลุ่มส่วนใหญ่เน้นการปล่อยกู้เพียงกิจกรรมเดียวไม่มีการลงทุน
เชิงธุรกจิ

๙๕

4. แนวทางการดำเนินงานในระยะตอ่ ไป
เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนชุมชนเกิดประสิทธิภาพและสามารถเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง

ตามประเด็นการพัฒนา ส่งเสริมกองทุนชุมชนให้มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์
เศรษฐกิจฐานรากมัง่ คง ชุมชนพ่ึงตนเองได้ โดยดำเนนิ งานดังนี้

4.4 สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจแกพ่ ฒั นากรทกุ คน ในเร่อื งการขบั เคลอ่ื นกองทุนชุมชน ในปีงบประมาณ 2564
4.2 ปรับปรุงและพัฒนาฐานข้อมูลในระบบออนไลน์ให้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้น ในปงี บประมาณ 2564
4.3 ส่งเสริมให้มีการขับเคล่ือนกิจกรรมเครือข่ายการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ท้ังทางด้าน
ธุรกจิ ชุมชน ศูนยส์ าธิตการตลาด ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นตน้ แบบ และตอบสนองความต้องการของชมุ ชนได้
4.4 สง่ เสริมใหป้ ระชาชนในหมบู่ า้ นสามารถเข้าถงึ แหลง่ ทุนทม่ี ีอยู่ในชุมชนใหม้ ากขน้ึ
4.5 แนวทางการสง่ เสรมิ การดำเนินงาน (Change)

1) จดั ทำฐานขอ้ มลู กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิตใหเ้ ปน็ ปจั จุบนั
2) ให้มีการประเมินผลการจัดระดบั การพัฒนากลุ่มฯ ตามแนวทางที่กรมฯ กำหนดเปน็ ประจำ
ทกุ ปี รวมท้ังใหม้ ีการประเมินผลการตรวจสขุ ภาพทางการเงนิ ของกล่มุ ปลี ะ 1 คร้ัง
3) ปรับปรงุ ระบบบญั ชีให้เปน็ มาตรฐานสากล
4) เจ้าหน้าท่ีพฒั นาชมุ ชนต้องติดตามให้คำแนะนำการดำเนนิ งานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
อยา่ งตอ่ เน่อื งสม่ำเสมอ
5) ส่งเสริมการจัดต้ังกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตใหม่ โดยใช้ฐานข้อมูลหมู่บ้านท่ีตกเกณฑ์
จปฐ. หมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ฐานในการจดั ต้ังกลุ่มฯ
6) สง่ เสริมความรคู้ วามเข้าใจในแนวคิด หลกั การ ด้วยจิตวญิ ญาณใหพ้ ัฒนากรก่อนประจำการ
7) ขยายผลการดำเนินงานโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตให้ครอบคลุมทุกเขตตรวจ
ราชการ (จำนวน 18 เขตตรวจ)
8) ปรับปรุงหลักสูตรสำหรับโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตให้สอดรับกับสถานการณ์
ปัจจุบัน โดยผนวกหลักสูตรการบริหารจัดการกับเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตไว้ด้วยกัน และเพ่ิม
หลกั สูตรการบรหิ ารจัดการหน้ไี วใ้ นหลักสตู ร
9) พัฒนาศูนย์สาธิตการตลาดเป็นสถานท่ีรวมกันซื้อรวมกันขายผลิตภัณฑ์และบริการ
ของชมุ ชน
10) พัฒนาศูนย์สาธติ การตลาดให้เป็นตวั กลาง (Trader) ของชุมชนในการจำหนา่ ยผลิตภัณฑ์
ของชมุ ชน (เกษตร, แปรรปู , ท่องเท่ยี วฯ)

5. ประเด็นขอความร่วมมือ
5.1 ขอความร่วมมือส่งเสริมสนับสนุนบูรณาการร่วมกับธนาคาร ธกส. จัดทำกองทุนต้นไม้ชุมชน

เพอ่ื เป็นหลักประกนั การขอสินเชอ่ื
5.2 ร่วมกบั ธนาคารออมสิน สง่ เสรมิ ให้กล่มุ สามารถเปน็ สถาบันการเงินประชาชน

๙๖

โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)

1. ความเป็นมา
ในชว่ งปี พ.ศ. 2533 พบว่า ปัญหาความยากจนของประชาชนในชนบทไทยมีจำนวนมาก โดยผลจาก

การสำรวจรายได้ของครัวเรอื นทัว่ ประเทศของสำนักงานสถิติแห่งชาติ และสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ
พบว่า คนจนมีรายไดต้ ่ำกว่าเส้นความยากจน ไดเ้ พิม่ ขึน้ ค่อนขา้ งมากในเขตชนบท และจากขอ้ มูลพ้ืนฐานระดับ
หมู่บ้าน (กชช. 2ค) ยังบ่งบอกว่ามีหมู่บ้านล้าหลัง หรือหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 อยู่จำนวน 11,608
หมู่บ้าน กระทรวงมหาดไทยจึงได้กำหนดดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจนขึ้น โดยคณะรัฐมนตรีมี
มติเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2536 เห็นชอบให้กระทรวงมหาดไทยดำเนินงานโครงการ กข.คจ. ระยะที่ 1
ระหว่าง ปี 2536 – 2540 จำนวน 11,608 หมู่บ้าน โดยมอบให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงาน
รับผดิ ชอบดำเนนิ การ เพอ่ื ตอบสนองนโยบายการกระจายรายไดแ้ ละความเจริญไปสสู่ ว่ นภูมภิ าค

ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 1 ประสบความสำเร็จระดับหนึ่ง คนยากจนได้มีโอกาสสร้างอาชีพ
สร้างรายได้ และสามารถบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพได้ด้วยตนเอง อาจกล่าวได้ว่าเป็นการ
ดำเนินงานกองทุนชมุ ชนของชมุ ชน โดยชมุ ชน และเพ่ือชุมชน อย่างแทจ้ รงิ อย่างไรกด็ ีพบว่า จำนวนคนยากจน
ยังกระจายตัวอยู่ในหมู่บ้านชนบทอีกจำนวนมาก คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2540
เห็นชอบในหลักการโครงการ กข.คจ. ระยะที่ 2 (ปี 2540 – 2544) จำนวน 28,038 หมู่บ้าน
โดยดำเนินการในหมู่บ้านที่มีครัวเรือนยากจนมีรายได้เฉลี่ต่ำกว่าเกณฑ์ 15,000 บาท/คน/ปี ตามข้อมูล
ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี พ.ศ. 2539 เพื่อขยายการดำเนินงานให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านที่ยัง
ไม่ได้ดำเนินการในระยะที่ 1 เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาดำเนินงาน ในปี 2544 ดำเนินการได้ทั้งสิ้น จำนวน
29,234 หมู่บ้าน

กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ร่วมดำเนินการเพื่อขจัดปัญหาความยากจน โดยการใช้
กระบวนการให้การศึกษาชุมชน และยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้วย “การดำเนินงานโครงการแก้ไข
ปญั หาความยากจน” หรอื โครงการ กข.คจ. ซึง่ โครงการน้เี ร่ิมดำเนนิ การมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 จนถึงปัจจุบัน
โดยมุ่งเป้าหมายไปที่ครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ตามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ด้วยการ
สนับสนุนเงินทุนในระดับหมู่บ้าน ๆ ละ 280,000 บาท เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนให้ครัวเรือนยากจน
เป้าหมายยืมไปลงทุนประกอบอาชีพ เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น รวมทั้งมีการ
ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจดั ต้ังกองทนุ ชุมชนต่าง ๆ ขึน้ เพอื่ แก้ไขปัญหาดา้ นการเงิน การลงทนุ ประกอบอาชีพ
และการจัดสวัสดิการ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับการจัดต้ังมาเป็นระยะเวลานาน ปัจจุบันกองทุนชุมชนเติบโตขึ้นมาก
ทั้งจำนวนเงินทุนและจำนวนสมาชิก กิจกรรมเครือข่ายที่ลงทุนโดยกองทุนชุมชนสามารถต่อยอดในเชิงธุรกิจ
ของชุมชนเองได้ อีกทั้งมีสมาชิกกองทุนกู้ยืมไปเป็นจำนวนมาก และหากมีการบริหารจัดการที่ไม่เข้มแข็ง
อาจก่อให้เกิดปัญหาในการชำระหนี้ของสมาชิก รวมทั้งปัญหาการทุจริตได้ ซึ่งในปี 2560 - 2562
กรมการพฒั นาชมุ ชน ได้ดำเนนิ การส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการการเงินชุมชน โดยส่งเสริมการออม การสร้างวินัย
ทางการเงนิ และการบริหารจดั การหน้ขี องประชาชน สรา้ งกลไกการพฒั นาศักยภาพกองทนุ ชมุ ชน

๙๗

2. ข้ันตอน/วิธกี ารดำเนนิ งาน
ข้ันตอนการบรหิ ารเงินทุนโครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (กข.คจ.)
การดำเนินงานโครงการ กข.คจ. ภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงิน

โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน พ.ศ.2553 มขี นั้ ตอนการบรหิ ารเงินทนุ กข.คจ. ดังนี้
1) ครวั เรือนเปา้ หมายเสนอโครงการและคำขอยืมเงนิ กับคณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บา้ น โดยประเภท

อาชีพที่สามารถเสนอขอยืมเงินได้ ได้แก่ อุตสาหกรรมในครัวเรือน ค้าขาย งานช่าง เกษตรกรรม และอาชีพอื่น ๆ
ตามท่ีคณะกรรมการ กข.คจ. หมบู่ า้ น เห็นชอบใหท้ ำได้ เช่น รับจ้างซักรีด รับซ้ือของเก่า เปน็ ตน้

2) คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการและพิจารณาอนุมัติเงินยืม
ให้แกค่ รัวเรือนเป้าหมาย โดยพิจารณาจากความสามารถในการส่งใช้เงินยืม ประเภทอาชีพตามความเหมาะสม
และเป็นไปได้รวมถึงระยะเวลาที่จะก่อให้เกิดรายได้ โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากพัฒนากรผู้รับผิดชอบ
ประจำตำบล

3) เลขานุการคณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน แจ้งให้หัวหน้าครัวเรือนเป้าหมายหรือผู้แทนที่ได้รับ
อนุมัติโครงการและเงินยืม ทำสัญญายืมเงินภายใน 3 วัน นับแต่วันที่รับแจ้งการอนุมัติโครงการและเงินยืม
โดยให้ประธานคณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บา้ น และหัวหนา้ ครวั เรอื นเปา้ หมายหรอื ผ้แู ทนเป็นคู่สัญญา มอี ำนาจ
ลงนามในสัญญา (ประธานคณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้รองประธานหรือ
กรรมการที่คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน มอบหมายเป็นผู้ลงนามยืมเงินแทน) โดยทำสัญญายืมเงินทุ น
กข.คจ. ตามแบบที่กำหนด จำนวน 3 ชุด ดังนี้ หัวหน้าครัวเรือนเป้าหมายผู้ยืมเงิน คณะกรรมการ กข.คจ.
หมู่บ้าน และนายอำเภอ (มอบให้สำนักงานพฒั นาชมุ ชนอำเภอ)

- หากผ้ยู ืมผิดสัญญา ยนิ ยอมให้ผู้ใหย้ ืมดำเนนิ การตามกฎหมายกับผยู้ ืมตอ่ ไปได้
- สญั ญานีท้ ำไว้สามชดุ เก็บรักษาไว้ทผ่ี ู้ใหย้ มื ผยู้ ืม และส่งให้อำเภอเกบ็ ไวฝ้ า่ ยละ 1 ชดุ
- ผู้ให้ยืมและผู้ยืมได้อ่านและเข้าใจข้อความในสัญญานี้โดยตลอดแล้วจึงลงลายมือชื่อไว้เป็น
หลกั ฐานตอ่ หน้าพยาน
4) คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของหัวหน้าครัวเรือนเป้าหมายที่ได้รับ
อนุมตั ใิ ห้ยมื และออกใบรบั เงินยืมของครัวเรือนเป้าหมายตามแบบท่ีกำหนด
5) ครัวเรือนเปา้ หมายทไ่ี ด้รบั อนุมัตเิ งนิ ยมื เบกิ /ถอน เงนิ ไปประกอบอาชพี ตามโครงการ
6) คณะกรรมการ กข.คจ. หมูบ่ า้ นร่วมกบั พฒั นากร ตดิ ตามสนับสนนุ การประกอบอาชีพของครัวเรือน
เป้าหมายภายหลังจากที่ได้รับเงินยืมไปแล้วว่าผลการประกอบอาชีพเป็นอย่างไร ได้ผลหรือไม่ มีปัญหา
ต้องช่วยเหลือแก้ไขอย่างไร และความพร้อมในการคืนเงินยืมตามระยะเวลาที่กำหนด รวมถึงตรวจสอบ
การบันทึกขอ้ มูลของครัวเรือนในสมุดบันทึกครวั เรือนเป้าหมายโครงการ กข.คจ. (เลม่ สีแดง) ถูกต้องหรือไม่อย่างไร
7) ครัวเรือนเป้าหมายส่งใช้เงินยืมตามกำหนดสัญญา (ไม่เกิน 3 ปี) คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน
ออกใบรับคืนเงินยืมให้ครัวเรือนเป้าหมายไว้เป็นหลักฐาน พร้อมนำเงินยืมฝากเข้าบัญชีโครงการ กข.คจ. หมู่บ้าน
ภายใน 3 วันทำการ
8) คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน จัดประชุมครัวเรือนเป้าหมาย เพื่อแจ้งผลการรับคืนเงินยืม
พรอ้ มแสดงหลักฐานการนำเงนิ ท่ีรับคืนฝากเขา้ บัญชโี ครงการ กข.คจ. หม่บู า้ น ภายใน 7 วันทำการ นับจากวัน
รับคืนเงินยืมจากครัวเรือนเป้าหมาย และแจ้งครัวเรือนเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับเงินยืมตามบัญชีรายชื่อให้เสนอ
โครงการและยืน่ แบบขอยืมเงนิ โครงการ กข.คจ.

๙๘

3. ผลการดำเนินงาน
ปัจจุบันมีหมู่บ้านโครงการ กข.คจ. จำนวน 29,231 หมู่บ้าน เงินทุนโครงการ จำนวน

8,915,012,290.30 บาท มกี ารบรหิ ารจดั การเงนิ ทนุ โครงการ ดังนี้
- จำนวนครัวเรอื นทไี่ ด้รับเงนิ ยืม 1,237,286 ครัวเรือน
- จำนวนเงินท่ีครัวเรอื นไดร้ ับเงนิ ยมื 7,605,591,140 บาท
- เงนิ ทุนทีฝ่ ากธนาคาร 793,800,541.30 บาท
- เงนิ ทนุ ทอ่ี ย่รู ะหวา่ งเรง่ รัดติดตาม จำนวน 3,590 กองทนุ รวมเป็นเงนิ 515,620,609 บาท

การดำเนินงานการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานหมูบ่ า้ นโครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (กข.คจ.)
1) ส่งเสริมสุขภาพทางการเงินโครงการ กข.คจ. โดยจัดทำเครื่องมือในการตรวจสุขภาพทางการเงิน
และประเมินผลการพัฒนากจิ กรรม มีผลการจัดระดับการพฒั นา ดังนี้

ระดับ 3 ผลงานดี 12,148 หมู่บ้าน
ระดับ 2 ปานกลาง 11,897 หมู่บ้าน
ระดบั 1 ปรับปรงุ 5,186 หมบู่ ้าน
2) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ กข.คจ. และกลไกการขับเคลื่อนทุนชุมชนในพื้นที่ โดยการสร้าง
ความรู้ ความเขา้ ใจและทบทวนการดำเนนิ งานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เพือ่ ให้มีการบริหาร
จดั การตามหลักธรรมาภิบาล และเป็นไปตามแนวทางท่ีกรมฯ ได้ส่งเสรมิ สนับสนุน จำนวน 76 จงั หวดั
3) จัดทำแบบประเมินศักยภาพโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ตามหลักธรรมาภิบาล
จำนวน 18 ตัวชี้วัด เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาและป้องกันความเสียหายในการบริหารจัดการและ
ส่งเสรมิ สนบั สนุนการดำเนนิ งานโครงการ กข.คจ. ให้มกี ารบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมภบิ าล
4) ลงพื้นที่ติดตาม สนับสนุนการบริหารจัดการเงินทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)
ในพื้นที่ 18 จงั หวดั 18 เขตตรวจราชการ

4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงานโครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน (กข.คจ.)
๑) คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน บางคน ไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ อย่างเคร่งครัด กระทำการ

ในลักษณะแสวงหาประโยชนจ์ ากเงินทุน กข.คจ.
๒) ครัวเรือนเป้าหมายที่ยืมเงินไม่นำเงินมาคืนตามกำหนดระยะเวลาในสัญญา หรือส่งคืนล่าช้ากว่า

ทก่ี ำหนด
๓) คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน ได้รับชำระหนี้จากครัวเรือนเป้าหมายแล้ว ไม่นำเงินฝากเข้าบัญชี

กข.คจ. แตก่ ลับเบยี ดบงั เงินไปเปน็ ของตนเอง
๔) ครัวเรือนเป้าหมายที่ยืมเงินไปไม่ชำระหนี้ เสียชีวิต หรือย้ายออกนอกพื้นที่ ทำให้ไม่สามารถ

ติดตามการสง่ ใชค้ ืนเงนิ ยมื ได้

๕. แนวทางการดำเนินงานในระยะต่อไป
๑) ประเมินผลการดำเนินงานและจัดระดับการพัฒนาหมู่บ้าน กข.คจ. โดยใช้แบบประเมินศักยภาพ

โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ตามหลักธรรมาภิบาล จำนวน ๑๘ ตัวชี้วัด เพื่อให้พัฒนากร
ผู้รับผิดชอบประจำตำบลเป็นผู้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลหมู่บ้านเป้าหมายโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน
(กข.คจ.) โดยจัดเก็บข้อมูลเป็นรายหมบู่ า้ น ปีละ ๑ ครง้ั

๙๙

๒) การรายงานภาวะหนี้สินและฐานะการเงินของหมู่บ้านเป้าหมายโครงการ กข.คจ. โดยให้
คณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน รายงานฐานข้อมูลและสถานภาพของเงินทุนคงเหลือในปัจจุบันของหมู่บ้าน
กข.คจ. โดยรายงานขอ้ มลู ให้อำเภอปีละ ๒ คร้ัง และจงั หวัดรายงานข้อมลู ให้กรมการพฒั นาชมุ ชน ปลี ะ ๑ ครง้ั

๓) ติดตาม สนับสนุน ตรวจสอบ และกำกับดูแล หมู่บ้าน กข.คจ. ที่มีปัญหา/เสียหายกับเงินทุน
โครงการ กข.คจ. โดยเครง่ ครดั

๔) จัดอบรม/ประชุมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระเบียบ/ข้อกฎหมาย โครงการแก้ไขปัญหา
ความยากจน (กข.คจ.) กับคณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บา้ น และครวั เรอื นเปา้ หมาย อยา่ งต่อเนือ่ ง สม่ำเสมอ

๖. แนวทางการบรู ณาการเพอ่ื การขับเคล่อื นงาน
1) เครอื ข่ายหมู่บ้าน กข.คจ.ระดับตำบล (นายอำเภอเป็นผู้แต่งตั้ง) ประกอบด้วย ประธานคณะกรรมการ

กข.คจ.หมู่บา้ น ทุกหมูบ่ า้ น
2) เครือข่ายหมู่บ้าน กข.คจ.ระดับอำเภอ (นายอำเภอเป็นผู้แต่งตั้ง) ประกอบด้วย ประธานเครือข่าย

หมูบ่ า้ น กข.คจ.ระดบั ตำบล ทุกตำบล ผ้แู ทนเครอื ข่ายหมบู่ ้าน กข.คจ.ระดบั ตำบล ๆ ละ 1 คน
3) เครือข่ายหมู่บ้าน กข.คจ.ระดับจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แต่งตั้ง) ประกอบด้วยประธาน

เครือขา่ ยหมบู่ า้ น กข.คจ.อำเภอ ทุกอำเภอ ผแู้ ทนเครือขา่ ยหมูบ่ ้าน กข.คจ.ระดับอำเภอ ๆ ละ 1 คน
อำนาจหน้าที่
1) ให้คณะกรรมการเครือข่ายหมู่บ้าน กข.คจ. มีหน้าที่ในการส่งเสริมความเข้มแข็งของหมู่บ้าน กข.คจ.

สนับสนนุ และประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง
2) รายงานผลการดำเนินงาน โดยคณะกรรมการเครือข่ายหมู่บ้าน กข.คจ.ระดับตำบล และอำเภอ

รายงานให้นายอำเภอทราบ
3) คณะกรรมการเครือข่ายหม่บู า้ น กข.คจ. ระดับจังหวัด รายงานใหผ้ ู้วา่ ราชการจังหวดั ทราบ
4) ปฏิบตั ิหนา้ ที่อน่ื ๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

๗. ประเด็นขอความร่วมมือ
๗.1 จงั หวดั สนบั สนนุ คณะกรรมการเครือขา่ ยหมู่บ้าน กข.คจ. ในการสรา้ งความเข้มแข็ง
๗.2 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ประสานงาน การดำเนนิ งานบูรณาการ กบั หน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง

๑๐๐

กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี
กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

1. ความเปน็ มา

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จัดตั้งตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำ ปีงบประมาณ

พ.ศ. 2555 ดำเนินการในระยะแรกภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

พ.ศ. 2555 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2558 และฉบับที่ 4 พ.ศ. 2558 และให้มีสำนักงาน

คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ (สกพส.) อยู่ในสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

สำนักนายกรัฐมนตรี ตอ่ มาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มมี ติเม่ือวันที่ 29 กรกฎาคม 2557 เห็นชอบ

ให้โอนย้ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ

(สกพส.) ไปอยู่กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย โดยคณะรัฐมนตรมี มี ติเม่ือวนั ที่ 23 มถิ นุ ายน 2558

ให้จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีขึ้นในกรมการพัฒนาชุมชน โดยได้รับงบประมาณตามพระราชบัญญัติ

งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 จำนวน 100,000,000 บาท (หน่งึ ร้อยลา้ นบาทถ้วน)

เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งกองทุน และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2559 อนุมัติให้ควบรวม

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (สลน.) และกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรมการ

พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เข้าเป็นทุนหมุนเวียนเดียวกัน โดยมีผลควบรวมตั้งแต่วันแรกของเดือน

ถดั จากเดือน ที่คณะรฐั มนตรีมีมติใหค้ วามเหน็ ชอบการควบรวมกองทุนฯ เป็นต้นไป เพื่อประโยชน์ในการสะสางบัญชี

และการเริ่มต้นของรอบบัญชีกองทุนหลังควบรวม จึงมีผลให้กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอยู่ในความรับผิดชอบ

ของกรมการพัฒนาชุมชน โดยมีผลตง้ั แต่วันท่ี 1 พฤษภาคม 2559

กรมการพัฒนาชุมชน ได้รับโอนเงินสด หนี้สิน จากสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (สลน.)

ณ วนั ที่ 30 เมษายน 2559 ดงั นี้

- เงินสด 6,128,571,872.00 บาท

- หนสี้ ิน 2,716,901,648.00 บาท

รวมเงินสดและหน้สี นิ 8,845,473,520.00 บาท

2. วัตถุประสงค์
2.1 เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ ในการสร้างโอกาสให้สตรีเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำหรับการ

ลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพสร้างงาน สร้างรายได้ หรือเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจให้แก่สตรีและ
องคก์ รของสตรี

2.2 เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการส่งเสริมบทบาทและพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือข่ายสตรีในการ
เฝ้าระวังดูแลและแก้ไขปญั หาของสตรี การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของสตรีนำไปสู่การสร้างสวสั ดิภาพ
หรือสวัสดกิ ารเพอื่ คุม้ ครองและพทิ ักษ์สิทธขิ องสตรีและผดู้ ้อยโอกาสอนื่ ๆ ในสังคม

2.3 เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรี การสร้าง
ภาวะผู้นำการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสังคมให้แก่สตรีและองค์กรของสตรี

2.4 เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อสนับสนุนโครงการอื่น ๆ ที่เป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสตรีตาม
ทคี่ ณะกรรมการพิจารณาเหน็ สมควร

๑๐๑

3. ขน้ั ตอน/วธิ ีการ
๓.๑ การเพ่มิ จำนวนสมาชกิ กองทุนพฒั นาบทบาทสตรีประเภท บุคคลธรรมดาและประเภทองคก์ ร
๓.๒ การสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้กู้แก่สมาชิกตามโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อ

การประกอบอาชีพ การสรา้ งงาน การสร้างรายได้ หรือการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ
3.๓ การสนับสนนุ เงนิ อุดหนุนเพอื่ การส่งเสรมิ บทบาทและพฒั นาศักยภาพสตรแี ละเครอื ขา่ ย การส่งเสริม

สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมในการพัฒนาบทบาทสตรี และการสนับสนนุ โครงการท่ีแก้ไขปัญหาและพัฒนาสตรี
๓.๔ การบรหิ ารจัดการหน้เี กนิ กำหนดชำระ ปี 2556 – 2563 ตอ้ งบริหารจัดการหนใี้ ห้ลดเหลือรอ้ ยละ 5

ภายในเดอื นกนั ยายน 2564
๓.๕ ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนพฒั นาบทบาทสตรี เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขเก่ียวกบั การ

ลดอตั ราดอกเบ้ียเงนิ กู้และอตั ราดอกเบยี้ ผิดนัดกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2563 (ฉบับท่ี 3)
๓.๖ ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี เรอ่ื ง มาตรการชัว่ คราว : พักชำระหนใ้ี ห้แก่

สมาชกิ ลกู หน้กี องทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(ฉบับที่ 2)

๓.๗ ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
การพจิ ารณาลดหรอื งดเบี้ยปรับ/ดอกเบี้ยผดิ นดั ตามสัญญากู้ยืมเงินของกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี
4. ผลการดำเนินงาน

4.1 จำนวนสมาชกิ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี ๒๙ มีนาคม 2564

- สมาชิกประเภทบคุ คลธรรมดา รวมทง้ั ส้ิน 14,๕๘๑,๙๑๓ คน

- สมาชกิ ประเภทองค์กรสตรี รวมท้ังสน้ิ 6๕,4๗๕ องค์กร

4.2 การบรหิ ารจดั การเงนิ ทนุ หมนุ เวียนและเงนิ อุดหนนุ (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 เมษายน 2564)

ที่ งบประมาณ วงเงนิ ท่ีอนมุ ตั ิ (บาท) รับชำระคืน (บาท) ร้อยละ
1 เงินทุนหมุนเวียน ๑,๔๗๘,๐๐๐,๐๐๐.00 856,962,069.00 57.98
2 เงินอุดหนุน 55,376,803.00 25.40
218,000,000.00

4.3 การบรหิ ารหน้เี กนิ กำหนดชำระปี 2556 – 2563
กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีสามารถบริหารจัดการหนี้ที่อนุมัติ พ.ศ. 2556 – 2564 เงินต้น

จำนวน 15,375,233,703.69 บาท ชำระคืน จำนวน 10,249,448,961.73 บาท ลูกหนี้คงเหลือ
จำนวน 5,125,784,741.96 บาท หน้ที ี่ยงั ไม่ถึงกำหนดชำระ จำนวน 4,401,329,166.99 บาท หน้เี กิน
กำหนดชำระ จำนวน 724,455,574.97 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 14.13 ของหน้ีคงเหลือ ดงั นี้

จำนวน เงินทอ่ี นุมัติ 2556 - ชำระคนื ลกู หนค้ี งเหลือ หนี้ทีย่ ังไม่ถงึ กำหนด หนีเ้ กนิ กำหนดชำระ รอ้ ยละ
จังหวัด 2564 10,249,448,961.73 5,125,784,741.96 ชำระ 724,455,574.97 ของหน้ี
เกนิ
77 15,375,233,703.69 4,401,329,166.99 กำหนด
ชำระ

14.13

๑๐๒

4.4 ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข

เก่ียวกับการลดอัตราดอกเบี้ยเงนิ กแู้ ละอัตราดอกเบี้ยผิดนัดกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2563 (ฉบับที่ 3)

ระยะเวลาตงั้ แต่วนั ท่ี 27 พฤศจิกายน 2563 – 26 มนี าคม 2564 รวม 120 วนั เป็นการช่วยเหลือกล่มุ สตรี
ที่ยังไม่ได้มาแสดงตนใช้สิทธิ์การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้และอัตราดอกเบี้ยผิดนัด ให้มาแสดงตนเพื่อรับสิทธิ์ลด
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ (เงินทุนหมุนเวียน) กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และให้สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ที่ผิดนัดชำระได้รับสิทธิปรับลดอัตราดอกเบี้ยปกติ ร้อยละ 3 เหลือร้อยละ 0.10 บาท และอัตราดอกเบี้ยผิด
นัดร้อยละ 7.5 เป็นร้อยละ 1 ใน 3 เดือนแรก และเดือนที่ 4 เป็นต้นไป เหลือร้อยละ 0.10 ต่อปี (ข้อมูล
ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2564)
ผลการดำเนินงานตามมาตรการฯ

สมาชกิ ลกู หน้ี จำนวนโครงการ เงนิ ตน้ ดอกเบยี้
(โครงการ) (บาท) (บาท)

รายใหม่ 5,965 734,824,028.06 899,713.15

รายเดมิ -ไมผ่ ดิ นดั 10,718 772,378,296.28 1,935,621.88

รายเดิม-ผิดนัด 4,811 389,179,223.72 70,049,784.54

4.5 ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เร่ือง มาตรการชว่ั คราว : พักชำระ
หนี้ให้แก่สมาชิกลูกหนี้กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) (ฉบับที่ 2) ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 1 พฤษภาคม 2564 รวม 90 วัน เพื่อเป็น
การบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกลูกหนี้กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี โดยมหี ลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือ
ดงั น้ี 1. ลูกหนีท้ ่ีเคยใช้สิทธพิ ักชำระหน้ี จะได้รับการขยายระยะเวลาการพักชำระหนี้ต่อไปอีก 12 เดอื น
2. ลูกหนี้ที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิพักชำระหนี้ จะได้รับการพิจารณาดำเนินการพักชำระหนี้ให้เป็นระยะเวลา
12 เดือน ในระหว่างที่ลูกหนี้ได้รับอนุมัติให้พักชำระหนี้ ลูกหนี้จะได้รับสิทธิพักชำระหนี้ทั้งเงินต้น ดอกเบ้ีย
ตามสัญญา ดอกเบี้ยผดิ นัด และเบี้ยปรับ (ถ้ามี) ทั้งงวดที่ค้างชำระก่อนหน้า และงวดที่อยูร่ ะหว่างการพักชำระ
หนจ้ี นกว่าจะครบระยะเวลาการพักชำระหน้ี (ข้อมูล ณ 30 มนี าคม 2564)
ผลการดำเนินงาน
ลูกหนี้ที่มาเข้า จำนวน จำนวนเงนิ ตน้ ดอกเบี้ยตาม ดอกเบย้ี ผิดนัด เบ้ยี ปรับ
รว่ มมาตรการ โครงการ (บาท) สัญญา (บาท) (บาท) (บาท)
ลกู หน้ีทเ่ี คยใช้ 4,373 506,617,008.63 387,180.60 3,430,477.66 65,070.28
สทิ ธิพกั ชำระ
หน้ี
ลูกหนที้ ยี่ ังไม่ 4,551 473,101,396.52 140,193.59 5,232,493.84 8,515.58
เคยใช้สทิ ธพิ ัก
ชำระหน้ี
รวม 8,924 797,718,405.15 527,374.19 8,662,971.50 73,585.86

5.๓ ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขการพิจารณาลดหรืองดเบีย้ ปรบั /ดอกเบี้ยผิดนดั ตามสัญญากู้ยืมเงินของกองทุนพฒั นาบทบาทสตรี
เพือ่ ให้สำนกั งานเลขานุการคณะอนกุ รรมการบรหิ ารกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรไี ด้ยดึ ถอื เปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ติ ่อไป

๑๐๓

6. ประเด็นขอความร่วมมือ
6.1 วิเคราะห์สถานการณก์ ารดำเนนิ งานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรีในระดับจงั หวดั
6.2 สนบั สนุนการดำเนินงานของคณะทำงานขบั เคลือ่ นระดับจังหวดั
6.3 กำกบั ติดตาม ลดหนีเ้ กนิ ชำระเหลือไม่เกินรอ้ ยละ 5
6.4 ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมของสมาชกิ สตรี

๑๐๔

รางวัลเลศิ รฐั ประจำปี พ.ศ. 2564
สาขารางวลั การบรหิ ารราชการแบบมีส่วนรว่ ม และสาขารางวลั บริการภาครัฐ

1. ความเปน็ มา
รางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม เป็นรางวัลที่มอบให้กับหน่วยงานภาครัฐ

เพื่อสร้างแรงจูงใจ และสร้างขวัญกำลังใจในการเชิดชูผลการปฏิบัติราชการ โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิด
กระบวนการมีส่วนร่วม ตั้งแต่การให้ข้อมูลข่าวสาร (Inform) การรับฟังความคิดเห็น (Consult) การเข้ามา
เก่ียวข้อง (Involve) ไปจนถงึ การสร้างความรว่ มมือ (Collaboration) รวมทง้ั สรา้ งความภาคภูมิใจของผู้ท่ีเข้า
มามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหรือผลักดันการดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จ อันนำไปสู่การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบริหารราชการที่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงและการ
นำไปสู่แนวปฏิบัติหรือต้นแบบที่ดี (Best Practice) โดยมุ่งเน้นทั้งกระบวนการ (Process) และผลลัพธ์
(Result)การบรหิ ารราชการแบบมีสว่ นรว่ ม

รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ เป็นรางวัลที่แสดงให้เห็นว่าผลการทำงานของหน่วยงานของรัฐ
เป็นที่ยอมรับ และเป็นสิ่งยืนยันความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการว่าสามารถดำเนินการได้อย่าง
มีประสิทธิภาพสามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้แก่หน่วยงานอื่น ๆ ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการให้บริการ
และระบบการบรหิ ารของหนว่ ยงานใหด้ ยี ิ่งขึ้นตอ่ ไป

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาคุณภาพงานของหน่วยงานราชการทุกแห่งอันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนให้ได้รับ

บรกิ ารทด่ี เี พม่ิ มากข้ึน
2.2 เพื่อเผยแพร่ผลสำเร็จจากการดำเนินงานพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชนให้เป็นที่ปรากฏ

ต่อสาธารณชน
2.3 สรา้ งขวญั กำลังใจแกผ่ ้ปู ฏบิ ตั ิงานของกรมการพัฒนาชมุ ชนในระดับพื้นที่
2.4 การเสริมสร้างภาพลกั ษณท์ ีด่ ขี องหน่วยงานราชการและรว่ มฉลองครบรอบ 60 ปี กรมการพฒั นาชุมชน

3. ปฏิทนิ การเปิดรบั สมัครรางวัลเลิศรฐั ประจำปี พ.ศ. 2564

๑๐๕

๔. ประเดน็ ขอความรว่ มมอื
๔.1 ขอความร่วมมือเป็นประธานการประชุม เพื่อเตรียมเสนอผลงานเพื่อสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ

ประจำปี พ.ศ. 2564 ของสำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั
๔.2 จัดต้งั คณะทำงานสง่ เสริม สนับสนนุ การเสนอผลงานเพ่ือขอรับรางวัลเลศิ รัฐ ประจำปี พ.ศ. 2564
๔.3 ประชาสัมพันธ์ให้ทุกหน่วยงาน เสนอผลงานอย่างน้อย 1 หน่วยงาน/1 ผลงาน ในสาขา

การบริหารราชการแบบมสี ว่ นร่วม และสาขาบริการภาครัฐ

๑๐๖

๕. รายชื่อหน่วยงานในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชนที่เสนอผลงานสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔
สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนรว่ ม และสาขาบริการภาครัฐ

1. สาขาการบริหารราชการแบบมสี ่วนรว่ ม จำนวน 99 ผลงาน

1) ประเภทเปิดใจใกลช้ ิดประชาชน จำนวน 1 ผลงาน

ลำดับ รายชอ่ื หน่วยงาน ชือ่ ผลงาน

1 กลุม่ พฒั นาระบบบรหิ าร กรมการพัฒนาชุมชน เปดิ ใจใกล้ชดิ ประชาชน

2) ประเภทสัมฤทธิผลประชาชนมสี ่วนร่วม จำนวน 67 ผลงาน

ลำดบั รายชื่อหน่วยงาน ช่อื ผลงาน

1 สพจ.ชัยนาท โครงการพิชติ ความยากไรค้ นชยั นาท ด้วยปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

2 สพจ.พระนครศรีอยุธยา การพฒั นาผลิตภณั ฑช์ มุ ชนแบบครบวงจร

3 สพจ.ลพบุรี ปลกู พชื ปลกู ผกั ปลูกรัก เมอื งลพบุรี

4 สพจ.สระบรุ ี หนง่ึ อำเภอ หน่งึ วดั ปฏบิ ัตธิ รรมในแปลงผกั

5 สพจ.อา่ งทอง ส่งเสรมิ ชอ่ งทางการตลาด OTOP 100 ร้าน OTOP ไทยยิ้ม

6 สพจ.นครปฐม สรา้ งชุมชนเข้มแข็ง ดว้ ยกระบวนการกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน

7 สพจ.นนทบรุ ี OTOP Network: นนทบุรีร่วมใจ สรา้ งรายไดใ้ หช้ ุมชน

8 สพจ.ปทมุ ธานี โครงการพฒั นาเส้นใยกลว้ ยเป็นผลติ ภัณฑ์เครือ่ งแตง่ กายและเคหะ

สง่ิ ทอ

9 สพจ.สมทุ รปราการ การบริหารราชการแบบมสี ว่ นร่วมชมุ ชนทอ่ งเทยี วบางกะอ่ี

10 สพจ.กาญจนบรุ ี ความสำเร็จการบรหิ ารงานพัฒนาสตรอี ำเภอท่ามว่ ง

โดยใชโ้ มเดล สร้างพลังสตรี ใชพ้ ลังสตรี ในการพฒั นาสตรี

๑๐๗

2) ประเภทสัมฤทธผิ ลประชาชนมีส่วนรว่ ม จำนวน 67 ผลงาน (ต่อ)

ลำดับ รายช่อื หน่วยงาน ช่อื ผลงาน

11 สพจ.ราชบรุ ี 3 สรา้ ง รว่ มสรา้ งคุณภาพชวี ติ ชมุ ชนทอ้ งถ่ินตามหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งและวถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal)

12 สพจ.สุพรรณบุรี Happy Village โพธิ์ศรีมสี ขุ ปลูกผักกินเอง

13 สพจ.ประจวบครี ขี นั ธ์ พ่อให้ แม่ก่อ สานตอ่ ภูมิปัญญาผา้ ไทย

14 สพจ.เพชรบุรี หนองประดู่ Happy Capital จดั การดี ชีวีมสี ขุ

15 สพจ.สมุทรสงคราม หมู่บ้านเก้ือกูล เพ่ิมพนู สามัคคี วถิ ีพอเพียง:

บ้านบางแสมน้อย ตำบลทา้ ยหาด อำเภอเมืองสมุทรสงคราม

16 สพจ.สมทุ รสาคร แผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลกู ผกั สวนครวั เพ่ือสรา้ งความมั่นคงทาง

อาหาร

17 สพจ.ชมุ พร โครงการพัฒนาหมบู่ ้าน OTOP นวตั วถิ บี ้านปากตะโกมนั่ คง ย่งั ยืน

18 สพจ.นครศรีธรรมราช นครศรี นครแหง่ อาหารปลอดภัย

19 สพจ.พัทลงุ โครงการขยายผลสัมมาชีพเต็มพ้นื ท่ี สร้างวถิ ีเมืองลุงพอเพยี งตาม

รอยเท้าพ่อ

20 สพจ.สงขลา เศรษฐกจิ ฐานรากก้าวไกล ด้วยหัวใจการมสี ่วนร่วม

2) ประเภทสัมฤทธิผลประชาชนมีส่วนรว่ ม จำนวน 67 ผลงาน (ตอ่ )

ลำดบั รายชื่อหน่วยงาน ช่อื ผลงาน

21 สพจ.สุราษฎร์ธานี โครงการ “สรุ าษฎรธ์ านีชนะ” มาตรการในการชว่ ยเหลอื บรรเทา

22 สพจ.กระบี่ ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
การดำเนนิ งาน OTOP สนามบนิ ฯ กระบ่ี

23 สพจ.ตรัง บ้านเขาหลกั ชมุ ชนต้นแบบการมีส่วนรว่ มสู่การพฒั นาท่ียง่ั ยนื

24 สพจ.พังงา คลงั อาหารตำบล ครัวชุมชน สรา้ งความมนั่ คงทางอาหารแบบบูรณา
การอยา่ งย่ังยืน

25 สพจ.ภเู กต็ โครงการเครือขา่ ยออนไลน์ “สร้างรายได้ สรา้ งสขุ ”

26 สพจ.สตูล สานพลังสตรีสโตย สร้างสุขชมุ ชน

27 สพจ.ปตั ตานี กองทุนสตรสี ร้างสขุ ชุมชน

28 สพจ.ยะลา โครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีสู่สถาบนั การศึกษา
(Women Fund to Academy)

29 สพจ.ฉะเชิงเทรา ชมุ ชนทอ่ งเทีย่ ว อสี านบรู พาสู่ความย่งั ยนื
30 สพจ.ชลบุรี
การมีส่วนรว่ มของพหภุ าคีในการปรับวธิ ชี ุมชนใหอ้ ยกู่ บั ชา้ ง
อย่างสมดุลและยง่ั ยืน

31 สพจ.ระยอง ระยองสร้างสุข ผา่ นยคุ โควดิ ไปด้วยกัน

32 สพจ.ตราด ทอ่ งเท่ยี วนวตั วิถีตราด

33 สพจ.นครนายก ฝายมชี วี ิต "สามัคคี สรา้ งสรรค์ แบ่งปัน" เพ่ือคนนครนายก

34 สพจ.ปราจีนบรุ ี โครงการกองทุนเมล็ดพนั ธ์ุ เพ่ือการพัฒนาท่ีย่งั ยืน

๑๐๘

2) ประเภทสัมฤทธผิ ลประชาชนมีสว่ นร่วม จำนวน 67 ผลงาน (ต่อ)

ลำดบั รายชื่อหน่วยงาน ชื่อผลงาน

35 สพจ.สระแกว้ รา้ นค้าประชารัฐกองทุนชมุ ชน ตำบลฟากหว้ ย อำเภออรญั ประเทศ

จังหวดั สระแก้ว “สร้างเศรษฐกิจชมุ ชนใหม้ ั่นคง ด้วยพลังชุมชน”

36 สพจ.บงึ กาฬ เครือข่ายการเรียนรศู้ ูนย์พฒั นาพืน้ ท่ีต้นแบบ (ศพต.) โคก หนอง นา

โมเดล จังหวดั บึงกาฬ

37 สพจ.หนองคาย พลงั สตรี เสรมิ สรา้ งกองทุน สรา้ งสุขชุมชน

38 สพจ.อดุ รธานี อดุ รมรี ัก ปลูกผักกินเอง

39 สพจ.นครพนม รอ้ ยหลาก พรรณราย ผ้าไทนครพนม ส่สู ังคมอุดมสขุ

“ร้ือฟนื้ ภมู ิปญั ญา ด้วยกระบวนการมสี ่วนร่วม ส่รู ายได้ชมุ ชน”

40 สพจ.สกลนคร พฒั นาชุมชนทอ่ งเท่ยี วบ้านดงคำโพธิ์ หาดสวนหิน ถิ่นวาริช

41 สพจ.กาฬสินธ์ุ ธนาคารเมลด็ พันธ์ุกาสนิ ปนั รกั แบง่ ใจ สู้ภยั โควดิ (seed banks)

42 สพจ.ขอนแก่น เซินเหนือ : จากนวัตวถิ ีไทภู สู่วิถีพอเพยี ง

43 สพจ.มหาสารคาม ขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานรากโดยกลไกประชารัฐจังหวัด

มหาสารคาม

44 สพจ.รอ้ ยเอ็ด เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงทางดา้ นอาหารเพ่ือปฏิบตั ิบชู าตามหลกั

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

45 สพจ.ชัยภมู ิ ปลกู ผกั สวนครวั แบบมสี ่วนรว่ ม สรา้ งความม่นั คงทางอาหาร

และวฒั นธรรมการแบง่ ปนั

46 สพจ.นครราชสมี า การขบั เคล่ือนหม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ ในเขตชานเมอื ง

47 สพจ.บุรรี มั ย์ สารชั ไรซ์ แบรนด์ ขับเคลื่อนสู่ บรุ รี มั ย์ โมเดล

48 สพจ.ศรีสะเกษ การขบั เคล่ือนผ้าอัตลักษณ์จงั หวดั ศรสี ะเกษ ธานีผา้ ศรี......แสว่

49 สพจ.เชยี งใหม่ โครงการพัฒนาตำบลเข้มแข็ง “มน่ั คง มงั่ คั่ง ย่ังยนื ” ดว้ ยศาสตร์

พระราชา

50 สพจ.แมฮ่ ่องสอน การบริหารจดั การกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแบบมสี ่วนรว่ ม

"มอื ถึง ทีมถงึ ทุนได้"

51 สพจ.ลำปาง แกจ้ นคนลำปาง

52 สพจ.ลำพนู ลำพูนรวมพลงั สร้างสรรค์ชมุ ชน: Lamphun Go Strong

53 สพจ.เชียงราย ตำบลเขม้ แข็ง

54 สพจ.น่าน การพฒั นาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงตน้ แบบ

55 สพจ.แพร่ สร้างสรรคเ์ ศรษฐกิจชุมชนบนผืนผา้ หม้อห้อม@แพร่

(Purse : Change for Good)

56 สพจ.ตาก โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ "ตาก สวรรค์บน

ดนิ "

57 สพจ.เพชรบูรณ์ เพชรบรู ณพ์ อเพียง

58 สพจ.สุโขทยั โครงการ สโุ ขทัยพอเพยี ง

๑๐๙

2) ประเภทสัมฤทธิผลประชาชนมีสว่ นร่วม จำนวน 67 ผลงาน (ต่อ)

ลำดับ รายชื่อหน่วยงาน ช่ือผลงาน

59 สพจ.อตุ รดิตถ์ การขบั เคล่ือนเศรษฐกิจฐานรากประชารัฐเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

และเศรษฐกิจชมุ ชนคนอตุ รดิตถ์

60 สพจ.กำแพงเพชร กำแพงเพชร ตา่ งวถิ ีมสี ขุ บนความพอเพยี ง

61 สพจ.นครสวรรค์ บ้านทา่ จันทนส์ รา้ งสรรค์พนั ลานสรา้ งสขุ

62 กองการเจา้ หน้าที่ ทีมผนู้ ำอาสาพัฒนาบา้ นเกิด

63 สำนกั สง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญา เสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตวั ด้วยภูมปิ ญั ญาผ้าไทย

ทอ้ งถ่ินและวิสาหกจิ ชุมชน

64 สำนักส่งเสริมภูมิปัญญา การขับเคล่อื นการแก้ไขปัญหาชา้ งป่าพืน้ ท่รี อยตอ่ 5 จังหวัด ภาค

ทอ้ งถน่ิ และวิสาหกจิ ชุมชน ตะวันออก พนื้ ท่จี งั หวัดจันทบุรี (ด้านที่ 3 การจดั การพื้นท่ชี ุมชน)

65 กองแผนงาน โครงการส่งเสริมความเป็นผูป้ ระกอบการชมุ ชน (Project for

Community-Based Entrepreneurship Promotion)

66 สำนักเสริมสร้างความเขม้ แข็ง ปลกู พชื ปลูกผกั ปลูกรัก กบั พช.

ชุมชน

67 สำนกั งานกองทนุ พัฒนา สตรแี บง่ ปันรัก ปลกู พืชผกั ปลอดภัย

บทบาทสตรี

3) ประเภทผนู้ ำหุน้ สว่ นความร่วมมือ จำนวน 14 ผลงาน

ลำดบั รายชอ่ื หน่วยงาน ชอ่ื ผลงาน

1 สพจ.สระบุรี คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดสระบรุ ี

2 สพจ.อ่างทอง นางสาวยรุ าวัลย์ ขันทอง

3 สพจ.ปทมุ ธานี นางสาวบญุ นภา บัวหลวง

4 สพจ.กาญจนบุรี นางสาวสรุ ีย์ แมน้ ทิม

5 สพจ.ราชบรุ ี นายสมบัติ เทพรส

6 สพจ.ตรงั กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนลอ่ งแก่งบ้านเขาหลัก

7 สพจ.ฉะเชงิ เทรา นายทองพนู คุชติ า

8 สพจ.นครนายก พระครูโสภณนาคกิจ

9 สพจ.ปราจนี บุรี นางสวาท เจรญิ สขุ

10 สพจ.มหาสารคาม บริษทั ประชารัฐรกั สามัคคีมหาสารคาม (วิสาหกจิ เพอ่ื สังคม) จำกัด

11 สพจ.นครราชสีมา นายอรุณ ขนั โคกสูง

12 สพจ.นครสวรรค์ นายสาโรจน์ หลมิ่ ยอม

13 สำนักส่งเสริมภูมิปัญญา นายอภชิ าติ พลบวั ไข

ทอ้ งถนิ่ และวิสาหกิจชุมชน

14 สำนักส่งเสริมภูมิปัญญา คณะกรรมการชุมชนคชานรุ กั ษ์ (บ้านเนนิ จำปา หมู่ 3 ตำบลพวา

ทอ้ งถิ่นและวิสาหกจิ ชมุ ชน อำเภอแกง่ หางแมว จังหวดั จนั ทบุรี)

๑๑๐

4) ประเภทร่วมใจแกจ้ น จำนวน 17 ผลงาน

ลำดบั รายชือ่ หน่วยงาน ชอ่ื ผลงาน

1 สพจ.สงิ ห์บรุ ี ลูกผ้วู ่า หลานนายอำเภอ (แก้ไขปัญหาเด็กยากจนแบบบูรณาการ)

2 สพจ.ระนอง ร่วมใจแก้จนคนระนอง

3 สพจ.นราธวิ าส พหวุ ฒั นธรรม คนนรา แก้จน

4 สพจ.เลย โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ

(โปรตนี ติดปีก แกจ้ นคนปากชม) อำเภอปากชม จงั หวดั เลย

5 สพจ.หนองบัวลำภู โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ (หนองบัวลำภู

สู้จน)

6 สพจ.มกุ ดาหาร มกุ ดาหารรว่ มใจ แกไ้ ขความยากจน เชงิ บรู ณการตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

7 สพจ.สกลนคร แก้ไขปญั หาความยากจนเชิงบรู ณาการจงั หวัดสกลนคร

8 สพจ.นครราชสีมา ร่วมใจแก้จน คนโคราช

9 สพจ.สรุ นิ ทร์ ปฏิบัติการการแก้จนคนสุรนิ ทร์

10 สพจ.ยโสธร โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดับครัวเรือนแบบบรู ณาการเชิงพื้นท่ี

“จบั คู่ผกู มิตรพชิ ิตความยากจน คนยโสธรไมท่ อดทงิ้ กัน”

11 สพจ.อำนาจเจริญ เพิม่ พูนทักษะอาชีพแก่ครัวเรอื นยากจน เพ่ือสรา้ งความมัน่ คง

ในชีวติ “อำนาจเจริญ ตอ้ งเจริญ”

12 สพจ.อุบลราชธานี การจัดทำระบบข้อมูลสนับสนุนการแก้ไขปญั หาความยากจน

แบบบูรณาการ

13 สพจ.เชียงใหม่ โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงบรู ณาการ แก้จนคน

เชยี งใหม่ ดว้ ยกลไกประชารฐั

14 สพจ.พะเยา รว่ มใจแกจ้ น คนพะเยา (Phayao Wellnees by TPMAP

Logbook)

15 สพจ.พษิ ณโุ ลก การแก้ไขปัญหาความยากจน และยกระดับรายได้ของประชากร

ของจงั หวัดพิษณุโลก (พิษณโุ ลกโมเดล แก้จนคนสองแคว)

16 สพจ.พจิ ติ ร พฒั นาชีวติ พชิ ิตความยากจนคนพจิ ติ ร ตามแนวคดิ เศรษฐกิจ

พอเพียงภายใต้กระบวนการประชารฐั

17 สพจ.อุทยั ธานี แก้จนคนอทุ ยั ไม่ทิง้ ใครไว้ขา้ งหลงั

๑๑๑

2. สาขาบริการภาครฐั จำนวน 10 ผลงาน

ประเภทพฒั นาการบรกิ าร จำนวน 10 ผลงาน (ตอ่ )

ลำดบั รายชอ่ื หน่วยงาน ชือ่ ผลงาน

1 สพจ.จนั ทบุรี "เพื่อนชา้ ง" จันทบุรโี มเดล

2 สำนักงานเลขานุการกรม เสริมสรา้ งประสิทธภิ าพและภาพลกั ษณ์งานพัฒนาชมุ ชน

ด้วย LINE@กรมการพัฒนาชุมชน

3 ศูนย์สารสนเทศเพื่อการ พัฒนาการใหบ้ ริการสารสนเทศ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของ

พัฒนาชุมชน ประชาชน

4 สถาบนั การพัฒนาชุมชน เรยี นรูศ้ าสตรพ์ ระราชา ดว้ ยการเขยี นตำราบนดิน

5 สำนักพัฒนาทุนและองค์กร การแก้ไขปญั หาหนีส้ นิ ภาคครัวเรือน โดยศนู ยจ์ ัดการกองทุนชุมชน

การเงินชมุ ชน

6 กองคลัง การพัฒนาระบบการติดตามและบริหารงบประมาณ

ประเภทงบลงทนุ กรมการพัฒนาชุมชน

7 กลุ่มงานคุ้มครองจรยิ ธรรม จัดทำสือ่ รณรงคส์ ่งเสรมิ จริยธรรมขา้ ราชการกรมการพัฒนาชุมชน
ขา้ ราชการ

8 กล่มุ ตรวจสอบภายใน แนวทางการควบคุมภายในการปฏิบตั งิ าน การเงนิ การคลัง
และการพัสดุ

9 กองนิติการ การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ทางเพจเฟซบุ๊กกองนิติการ
10 สำนักตรวจราชการ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการตรวจราชการแบบบูรณาการ


Click to View FlipBook Version