The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนหลักวิชาภาษาไทย ม.๖ เทอม๒

แผนหลักและ-Test-blueprint-2ปรับ๖๒

แผนหลกั เพ่อื การจดั การเรียนรู (Master plan for Learning Management)
วชิ า (Courses)ภาษาไทย รหสั วิชา (Courses Code) ท๓๓๑๐๒
ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

โดย
๑.นายธีระพล ศรวี งษช ัย ตําแหนง ครู
2. นางอุไรรตั น ศรวี งษช ัย ตําแหนง ครู

กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย
โรงเรียนพทุ ไธสง

อําเภอพทุ ไธสง จงั หวดั บรุ ีรัมย
สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 32
(The Secondary Educational Service Office 32)

บันทึกขอความ

สวนราชการ กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย โรงเรียนพทุ ไธสง อาํ เภอพุทไธสง จังหวดั บุรรี ัมย

ที่ วก. /2562 วันท่ี ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
เรือ่ ง สง แผนหลักเพื่อการจัดการเรยี นรู

เรยี น ผอู ํานวยการโรงเรียนพุทไธสง

ตามที่โรงเรยี นพุทไธสง สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 32 ไดม ีนโยบายใหค ณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษาจัดทําแผนหลักเพื่อจัดการเรียนรู ใชเปนแนวทาง
ในการกาํ หนดทิศทางการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่รับผิดชอบ ดังนั้น เพอ่ื ใหสอดคลอ งกบั นโยบายขางตน ผูจัดทําไดจัดทําแผนหลักเพื่อการจัดการเรียนรูในรายวิชาภาษาไทย
(ท๓๐๒๐๒) ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖ เรยี บรอ ยแลว จึงขอสงแผนหลกั เพือ่ การจัดการเรียนรูเสนอตอฝายบรหิ ารรายละเอียดตามเอกสารน้ี

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงช่ือ
ลงช่อื (นายธรี ะพล ศรวี งษชยั )
(นางอุไรรัตน ศรีวงษชยั ) ตําแหนง ครู
ตาํ แหนง ครู

ความเห็นของหวั หนากลมุ สาระการเรยี นรู ความเห็นของรองผูอํานวยการฝายบริหารวชิ าการ

(นางอุไรรตั น ศรีวงษช ยั ) ความเหน็ ของผูอ ํานวยการโรงเรยี น (นายชาญ สวิ่ ไธสง)
หัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย รองผูอาํ นวยการฝายบรหิ ารงานวชิ าการ

............/..................../................ ............/..................../................

(นายประชยั พรสงา กลุ )
ผูอ ํานวยการโรงเรยี นพุทไธสง
............/..................../................

จุดหมายหลักสตู ร (Goals)

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปน คนดี มีปญ ญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชพี จงึ กําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเ กิดกบั
ผเู รยี น เม่อื จบการศึกษาข้นั พื้นฐาน ดังนี้

1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคา นิยมท่ีพึงประสงค เหน็ คุณคาของตนเอง มีวนิ ัยและปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือ ยดึ หลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. มคี วามรู ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกป ญหา การใชเทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวติ
3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี มีสขุ นสิ ัย รกั การออกกําลังกาย
4. มีความรกั ชาติ มจี ิตสาํ นึกในความเปน พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่ันในวถิ ชี วี ิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข
5. มีจิตสํานึกในการอนรุ กั ษวัฒนธรรมและภมู ปิ ญ ญาไทย และการอนุรักษและพัฒนาสง่ิ แวดลอม มีจติ สาธารณะทีม่ ุงทาํ ประโยชนและสรางสง่ิ ท่ีดงี ามในสังคม และอยูร วมกัน
ในสังคมอยา งมีความสุข

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (Desired Characteristics)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มงุ พฒั นาผูเ รียนใหม คี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหส ามารถอยูร วมกบั ผูอื่นในสังคมไดอยา งมีความสุข ในฐานะ
เปน พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย (Love of nation, religion and the King)
2. ซื่อสตั ยสจุ รติ (Honesty and integrity)
3. มีวินยั (Self-discipline)
4. ใฝเรยี นรู (Avidity for learning)
5. อยูอยา งพอเพยี ง (Observance principles of Sufficiency Economy Philosophy in one’s of life)
6. มงุ ม่ันในการทํางาน (Dedication and commitment to work)
7. รกั ความเปน ไทย (Cherishing Thai nationalism)
8. มจี ิตสาธารณะ (Public - mindedness)

คณุ ภาพผเู รียน (Learners Quality) เมื่อเรยี นจบช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี ๖ ของกลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย (Learning Areas Of Thai Major)

 อานออกเสยี งบทรอยแกว และบทรอยกรองเปนทาํ นองเสนาะไดถกู ตองและเขาใจ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อานได วิเคราะหวจิ ารณเ ร่อื งท่ีอา น
แสดงความคดิ เห็นโตแ ยงและเสนอความคิดใหมจากการอานอยางมเี หตุผล คาดคะเนเหตกุ ารณจากเรอ่ื งทอ่ี าน เขยี นกรอบแนวความคิด บนั ทึก ยอความ และเขียนรายงานจากส่ิง
ทีอ่ าน สังเคราะห ประเมนิ คา และนําความรูความคดิ จากการอา นมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพฒั นาความรูทางอาชีพ และ นาํ ความรูความคิดไปประยกุ ตใ ชแกปญหาใน
การดําเนินชวี ิต มีมารยาทและมนี สิ ยั รกั การอาน

 เขียนสือ่ สารในรปู แบบตางๆ โดยใชภ าษาไดถ ูกตอ งตรงตามวัตถปุ ระสงค ยอ ความจากส่อื ท่ีมรี ปู แบบและเนื้อหาทหี่ ลากหลาย เรยี งความแสดงแนวคดิ เชิงสรา งสรรค
โดยใชโ วหารตา งๆ เขยี นบันทกึ รายงานการศึกษาคนควาตามหลกั การเขยี นทางวิชาการ ใชขอมลู สารสนเทศในการอางอิง ผลติ ผลงานของตนเองในรูปแบบตา งๆ ท้งั สารคดีและ
บนั เทงิ คดี รวมทัง้ ประเมนิ งานเขียนของผอู ่ืนและนํามาพัฒนางานเขยี นของตนเอง

 ตั้งคําถามและแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับเรือ่ งที่ฟงและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่อง ทีฟ่ ง และดู วเิ คราะหว ัตถุประสงค แนวคดิ การใชภาษา ความนาเช่ือถือ
ของเรื่องที่ฟง และดู ประเมินส่ิงทฟี่ งและดแู ลว นําไปประยุกตใชใ นการดําเนนิ ชีวติ มที ักษะการพูดในโอกาสตางๆ ทั้งท่เี ปนทางการและไมเปนทางการโดยใชภาษาทถี่ ูกตอง พูดแสดง
ทรรศนะ โตแยง โนม นาว และเสนอแนวคิดใหมอยางมีเหตผุ ล รวมท้งั มมี ารยาทในการฟง ดู และพูด

 เขา ใจธรรมชาตขิ องภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใชค ําและกลุมคําสรางประโยคไดตรงตามวัตถุประสงค แตงคําประพันธประเภท กาพย โคลง
รา ยและฉันท ใชภ าษาไดเ หมาะสมกบั กาลเทศะและใชคําราชาศพั ทและคาํ สภุ าพไดอยางถกู ตอง วิเคราะหหลกั การ สรางคําในภาษาไทย อทิ ธิพลของภาษาตางประเทศใน
ภาษาไทยและภาษาถ่นิ วเิ คราะหแ ละประเมนิ การใชภาษาจากสือ่ ส่ิงพิมพและสื่ออิเล็กทรอนกิ ส

 วิเคราะหว ิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณวรรณคดีเบ้ืองตน รูแ ละเขาใจลกั ษณะเดนของวรรณคดี ภมู ิปญ ญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้ืนบา น
เชอ่ื มโยงกบั การเรียนรูท างประวัตศิ าสตรแ ละวิถไี ทย ประเมินคุณคา ดานวรรณศิลป และนาํ ขอคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมไปประยุกตใชในชีวติ จรงิ

สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน (Learners’ key Competencies)

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน มงุ พฒั นาผูเ รยี นใหม ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู ซ่ึงการพัฒนาผูเ รยี นใหบรรลมุ าตรฐานการเรียนรูท ่กี ําหนดน้ัน จะชว ยใหผ ูเ รียน
เกดิ สมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการส่ือสาร (Communication Capacity) เปนความสามารถในการรบั และสง สาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษาถา ยทอดความคิด ความรู ความเขา ใจ
ความรสู ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอมลู ขาวสารและประสบการณอนั จะเปนประโยชนตอ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลดปญหา
ความขัดแยงตางๆ การเลอื กรับหรอื ไมร ับขอมลู ขา วสารนนั้ ดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลอื กใชว ธิ กี ารสื่อสารทม่ี ีประสิทธิภาพโดยคํานงึ ถึงผลกระทบทีม่ ีตอตนและ
สงั คม

2. ความสามารถในการคิด (Thinking Capacity) เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมวี จิ ารณญาณและการคดิ เปน ระบบ เพอ่ื นําไป
สูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป ญหา (Problem – solving capacity) เปน ความสามารถในการแกป ญหาและอปุ สรรคตางๆ ท่ีเผชิญไดอยา งถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของ
หลกั เหตุผล คณุ ธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธแ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสงั คม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรูมาใชใ นการปองกนั และแกไขปญ หา
และมกี ารตดั สนิ ใจท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคํานึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ตอตนเอง สังคม และสงิ่ แวดลอม

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ (Capacity for Applying Life skills) เปนความสามารถในการนาํ กระบวนการตา งๆไปใชในการดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วนั การเรียนรดู ว ย
ตนเอง การเรยี นรูอยางตอเนื่อง การทํางานและการอยรู ว มกนั ในสังคมดว ยการสรางเสริมความสมั พันธอ ันดีระหวางบุคคล การจดั การปญหาและความขัดแยงตา งๆ อยา งเหมาะสม
การปรับตวั ใหทันกับการเปลย่ี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอม และการรจู ักหลกี เลยี่ งพฤติกรรมไมพ ึงประสงคท สี่ งผลกระทบตอตนเองและผูอ่ืน

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี (Capacity for Technological Application) เปนความสามารถในการเลือกและใชเ ทคโนโลยีดานตา งๆและมีทักษะกระบวนการ
เทคโนโลยี เพอ่ื การพัฒนาตนเองและสงั คม ในดานการเรียนรู การสือ่ สาร การทาํ งาน การแกป ญ หาอยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมคี ุณธรรม

คําอธิบายรายวชิ า (Course description) ภาษาไทย รหัสวชิ า (Courses Code) ท๓๓๑๐๒

คําอธบิ ายรายวิชา

กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย สาระการเรียนรูพน้ื ฐาน

รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ จาํ นวน ๑.๐ หนว ยกิต

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

................................................................................................................................................................................

ศกึ ษาการอา น การเขียน การฟง การดู และการพูด หลักการใชภาษา และวรรณคดีวรรณกรรม เก่ยี วกับการ วิเคราะห วจิ ารณ แสดงความคดิ เห็นโตแยงกบั เรอ่ื งท่ีอาน
และเสนอความคิดใหมอ ยางมีเหตุผล ตอบคําถามจากการอานประเภทตา งๆ ภายในเวลาทก่ี ําหนด อา นเรื่องตางๆ แลวเขยี นกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ยอความ และรายงาน
สงั เคราะหค วามรจู ากการอา น สือ่ ส่ิงพมิ พ สือ่ อิเล็กทรอนกิ สแ ละแหลง เรยี นรูตา งๆ มาพัฒนาตน พฒั นาการเรยี น และพฒั นาความรูทางอาชีพ เขียนสื่อสารในรปู แบบตางๆได ตรง
ตามวัตถปุ ระสงค โดยใชภาษาเรยี บเรียงถกู ตอง มีขอ มลู และสาระสําคญั ชัดเจน เขยี นยอความจากส่ือที่มีรูปแบบและเน้ือหาหลากหลาย ผลติ งานเขยี นของตนเองในรปู แบบตางๆ
ประเมนิ งานเขยี นของผอู ่นื แลวนํามาพัฒนางานเขยี นของตนเอง เขียนรายงานการศกึ ษาคน ควา เรือ่ งท่สี นใจตามหลักการเขียนเชงิ วิชาการ และใชขอ มูลสารสนเทศอางอิงอยาง
ถกู ตอง บันทกึ การศึกษาคนควาเพื่อนําไปพฒั นาตนเองอยางสมา่ํ เสมอ มมี ารยาทในการเขยี น ประเมนิ เรื่องท่ีฟงและดู แลว กําหนดแนวทางนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นการดําเนนิ ชวี ติ มี
วิจารณญาณในการเลอื กเร่ืองท่ฟี ง และดู มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู วเิ คราะหอิทธพิ ลของภาษาตา งประเทศและภาษาถนิ่ วเิ คราะหแ ละประเมนิ การใชภ าษาจากสื่อ
สง่ิ พิมพแ ละส่ืออิเล็กทรอนิกส วเิ คราะหและวจิ ารณว รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณเบอ้ื งตน วเิ คราะหลักษณะเดนของวรรณคดเี ชอื่ มโยงกบั การเรยี นรทู างประวตั ศิ าสตร
และวถิ ชี ีวติ ของสงั คมในอดตี วเิ คราะหแ ละประเมินคณุ คา ดานวรรณศิลปของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะทเี่ ปน มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมเพื่อนําไปประยุกตใชในชวี ิตจรงิ รวบรวมวรรณกรรมพื้นบานและอธบิ ายภมู ิปญญาทางภาษา

โดยใชท กั ษะกระบวนการทางภาษาฟง พูด อา นและเขียน เพื่อฝกทักษะอา นออกเสียง จับใจความ วเิ คราะหวิจารณ โตแ ยง ตอบคําถาม สงั เคราะหค วามรู เขียนสื่อสาร
บันทกึ ประเมินงานเขยี น ฟง ดอู ยางมวี จิ ารณญาณ วิเคราะหหลกั การใชภ าษา รวมทง้ั วิเคราะห วจิ ารณ ประเมนิ คา วรรณคดแี ละวรรณกรรม

เพอ่ื ใหเ กดิ ความรูความเขา ใจทกั ษะกระบวนการทางภาษาไดอ ยางถูกตองเหมาะสม อยา งมเี หตุผล นําไปประยุกตใชในชีวติ มีมารยาทในการอา น การเขียน การฟง ดู
และพูด และเหน็ คุณคา ของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ตลอดจนรกั ษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ เกิดความสามารถในการคดิ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถใน
การแกป ญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิต และความสามารถในการใชเทคโนโลยีไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั จํานวน ๒๑ ตัวชว้ี ัด

สาระที่ ๑ การอา น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนาํ ไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดาํ เนินชวี ติ และมีนสิ ัยรักการอา น

ตัวชีว้ ัด ม.๔-๖/๕ วิเคราะห วจิ ารณ แสดงความคิดเหน็ โตแยงกบั เรื่องท่ีอา น และเสนอความคดิ ใหมอยางมีเหตุผล

ตัวช้ีวดั ม.๔-๖/๖ ตอบคําถามจากการอา นประเภทตางๆ ภายในเวลาท่ีกาํ หนด

ตวั ชว้ี ัด ม.๔-๖/๗ อานเรือ่ งตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิดผงั ความคิด บนั ทึก ยอความ และรายงาน

ตวั ชว้ี ดั ม.๔-๖/๘ สังเคราะหความรจู ากการอา น ส่ือสิ่งพมิ พ สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ สแ ละแหลง เรยี นรูตา งๆ มาพฒั นาตน พัฒนาการเรยี น และพัฒนาความรูทางอาชีพ

สาระที่ ๒ การเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรูปแบบตางๆ เขยี นรายงานขอ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษา

คน ควา อยางมีประสิทธภิ าพ
ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๑ เขยี นสื่อสารในรปู แบบตา งๆได ตรงตามวัตถปุ ระสงค โดยใชภาษาเรียบเรยี งถกู ตอง มีขอ มลู และสาระสาํ คญั ชดั เจน

ตัวชว้ี ดั ม.๔-๖/๓ เขียนยอ ความจากสือ่ ท่ีมรี ปู แบบและเนื้อหาหลากหลาย

ตวั ชว้ี ัด ม.๔-๖/๔ ผลิตงานเขียนของตนเองในรปู แบบตางๆ

ตวั ชีว้ ัด ม.๔-๖/๕ ประเมนิ งานเขียนของผูอ ื่น แลวนาํ มาพัฒนางานเขยี นของตนเอง

ตวั ช้วี ัด ม.๔-๖/๖ เขียนรายงานการศึกษาคน ควา เรอ่ื งท่สี นใจตามหลักการเขยี นเชงิ วิชาการ และใชข อ มลู สารสนเทศอา งองิ อยา งถูกตอง

ตัวช้วี ัด ม.๔-๖/๗ บันทึกการศกึ ษาคน ควาเพ่ือนาํ ไปพัฒนาตนเองอยา งสมาํ่ เสมอ

ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๘ มมี ารยาทในการเขียน

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟง และดูอยางมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตา งๆ อยา งมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตวั ชี้วัด ม.๔-๖/๓ ประเมินเร่ืองที่ฟงและดู แลวกําหนดแนวทางนําไปประยกุ ตใชในการดาํ เนินชีวติ

ตวั ชี้วัด ม.๔-๖/๔ มวี จิ ารณญาณในการเลือกเร่อื งทีฟ่ งและดู

ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๖ มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระท่ี ๔ หลักการใชภ าษา

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปน สมบตั ิ

ของชาติ ตวั ชี้วัด ม.๔-๖/๕ วิเคราะหอิทธพิ ลของภาษาตา งประเทศและภาษาถ่ิน

ตวั ชี้วดั ม.๔-๖/๗ วเิ คราะหและประเมนิ การใชภ าษาจากส่ือสิ่งพิมพแ ละสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคณุ คาและนํามาประยุกตใ ชใ นชีวติ จรงิ
ตัวช้วี ดั ม.๔-๖/๑ วเิ คราะหและวจิ ารณว รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณเ บ้ืองตน
ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๒ วเิ คราะหลักษณะเดนของวรรณคดเี ชือ่ มโยงกบั การเรียนรูทางประวัติศาสตรและวถิ ชี วี ติ ของสงั คมในอดตี
ตวั ชว้ี ดั ม.๔-๖/๓ วเิ คราะหแ ละประเมนิ คุณคาดา นวรรณศิลปข องวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะทีเ่ ปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
ตัวชวี้ ดั ม.๔-๖/๔ สังเคราะหขอ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมเพอื่ นําไปประยกุ ตใชใ นชีวิตจริง
ตวั ชี้วัด ม.๔-๖/๕ รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บา นและอธิบายภูมปิ ญญาทางภาษา

รวมท้ังหมด ๒๑ ตวั ชี้วัด

ผังมโนทศั น(Mind Map) ของการเรียนรู หนว ยท่ี ๒
ผลติ งานเขียนสรา งสรรค
วชิ า(Course ) ภาษาไทย ท๓๓๑๐๒
จาํ นวน ๑๒ ช่วั โมง
หนวยที่ ๑
การอานวเิ คราะหวิจารณ

จํานวน ๘ ชว่ั โมง

หนวยที่ ๕ ผงั หนวยการเรียนรแู ละจํานวนชวั่ โมง
พิจารณาวรรณคดีไทย วชิ าภาษาไทย รหัส ท๓๓๑๐๒
จาํ นวน ๑๒ ชว่ั โมง
หนวยท่ี ๔
เรียนรหู ลกั ภาษา หนวยที่ ๓
จํานวน ๔ ชัว่ โมง รเู ทา ทนั การฟง ดู
จํานวน ๔ ชั่วโมง

ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะหม าตรฐาน ตวั ชว้ี ัดกับพุทธพิ สิ ัย ทกั ษะพิสัยและจิตพิสัย
สาระที่ (Strand) ๑ การอา น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอา นสรา งความรูแ ละความคิดเพื่อนําไปใชต ัดสนิ ใจ แกปญหาในการดาํ เนินชวี ิตและมนี สิ ยั รักการอาน

พทุ ธิพิสัย Cognitive Domain)/ ทักษะพสิ ัย จิตพิสยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตัวชว้ี ัด คําสําคญั ความรู/มิติของกระบวนการทางสติปญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคิดของบลมู ฉบบั Domain)
(Indicator) หรอื ผลการเรียนรู (Key Word) Domain)
(Learning Outcome) ปรับปรุงใหม(Revised Bloom’s Taxonomy) ทกั ษะกระบวนการ ดา นคณุ ลักษณะ
(Process skill)
การจาํ การเขา ใจ การประยกุ ตใ ช การวเิ คราะห การประเมนิ คา การสรา งสรรค (Attribute)
( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) 
(Remembering) (Understanding) (Applying) 

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ 

วเิ คราะห วจิ ารณ แสดงความ วเิ คราะห   

คดิ เหน็ โตแยง กบั เรื่องท่ีอาน และ วิจารณ
แสดงความ
เสนอความคิดใหมอยางมเี หตุผล คดิ เห็นโตแ ยง

เสนอความคิด

ใหม

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ตอบคาํ ถาม 

ตอบคําถามจากการอานประเภท

ตางๆ ภายในเวลาท่กี ําหนด

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อา นแลวเขยี น   
อา นเร่อื งตา งๆ แลว เขียนกรอบ กรอบแนวคิด  
แนวคิดผงั ความคิด บันทึก ยอ บันทกึ
ความ และรายงาน ยอ ความ
รายงาน
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘
สงั เคราะหความรจู ากการอา น สอ่ื สังเคราะห
สงิ่ พิมพ สอื่ อิเล็กทรอนิกสแ ละแหลง
เรยี นรตู า งๆ มาพัฒนาตน พฒั นาการ
เรียน และพฒั นาความรูท างอาชพี

ตารางที่ 1 ตารางวเิ คราะหมาตรฐาน ตวั ช้ีวัดกับพุทธิพิสัย ทกั ษะพสิ ัยและจิตพิสัย (ตอ)

สาระท่ี (Strand) ๒ การเขียน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขียนเรยี งความ ยอ ความ และเขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบตา งๆ เขยี นรายงานขอมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษา

คนควา อยางมีประสิทธภิ าพ พุทธพิ สิ ัย Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสัย จิตพิสยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตัวชว้ี ดั คาํ สาํ คญั ความรู/มิติของกระบวนการทางสตปิ ญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคิดของบลูมฉบบั Domain)
(Indicator) หรอื (Key Word) Domain)
ปรบั ปรงุ ใหม(Revised Bloom’s Taxonomy) ดา นคณุ ลักษณะ
ทักษะกระบวนการ
การจาํ การเขา ใจ การประยกุ ตใ ช การวเิ คราะห การประเมนิ คา การสรา งสรรค (Process skill) (Attribute)

(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขยี นสอ่ื สาร

เขยี นส่อื สารในรปู แบบตา งๆได ตรง ใชภาษา   

ตามวัตถปุ ระสงค โดยใชภ าษาเรียบ

เรยี งถกู ตอง มีขอ มูล และ

สาระสําคญั ชดั เจน

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ เขียนยอ ความ  

เขยี นยอความจากส่ือทมี่ ีรูปแบบ

และเน้ือหาหลากหลาย

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ผลติ งานเขยี น

ผลิตงานเขยี นของตนเองในรูปแบบ  
 
ตา งๆ

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕

ประเมินงานเขียนของผอู ืน่ แลว ประเมิน
นํามาพฒั นางานเขยี นของตนเอง พฒั นา

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ เขยี นรายงาน   
ใชข อ มูลอางองิ
เขยี นรายงานการศึกษาคนควา เรอ่ื งทส่ี นใจตาม
หลกั การเขยี นเชิงวชิ าการ และใชข อมลู
สารสนเทศอา งอิงอยางถูกตอ ง

ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะหมาตรฐาน ตวั ชว้ี ัดกบั พุทธพิ ิสัย ทักษะพสิ ัยและจติ พิสัย (ตอ)
สาระที่ (Strand) ๒ การเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก ระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ยอความ และเขียนเรอื่ งราวในรปู แบบตา งๆ เขยี นรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษา

คนควาอยางมีประสิทธิภาพ

มาตรฐาน (Standard) และ พุทธิพสิ ยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสยั จติ พสิ ยั
ตัวชีว้ ัด(Indicator) หรือ (Psychomotor (Effective
คาํ สาํ คญั ความรู/มิติของกระบวนการทางสตปิ ญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลมู ฉบับปรบั ปรุงใหม Domain)
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ (Key Word) Domain)
บนั ทกึ การศกึ ษาคนควา เพื่อ (Revised Bloom’s Taxonomy) ดานคณุ ลักษณะ
นาํ ไปพัฒนาตนเองอยา ง บันทกึ ทกั ษะกระบวนการ
สมา่ํ เสมอ การจาํ การเขาใจ การประยุกตใ ช การวเิ คราะห การประเมนิ คา การสรางสรรค (Process skill) (Attribute)
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาท (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)
มีมารยาทในการเขยี น
  

 

ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะหมาตรฐาน ตวั ชี้วัดกบั พุทธิพสิ ัย ทักษะพิสัยและจติ พิสยั (ตอ)

สาระท่ี (Strand) ๓ การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรา งสรรค

มาตรฐาน (Standard) และ พุทธิพิสยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสัย จติ พิสัย
ตวั ชี้วัด(Indicator) หรอื (Psychomotor (Effective
คาํ สําคญั ความรู/มิติของกระบวนการทางสตปิ ญ ญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคิดของบลมู ฉบบั ปรบั ปรุงใหม Domain)
(Key Word) Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy) ดา นคณุ ลักษณะ
ทักษะกระบวนการ
การจาํ การเขาใจ การประยุกตใช การวเิ คราะห การประเมนิ คา การสรา งสรรค (Process skill) (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ประเมิน

ประเมินเรื่องท่ีฟง และดู แลว ประยกุ ตใช  

กาํ หนดแนวทางนําไป

ประยุกตใชในการดาํ เนนิ ชวี ิต

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ มวี ิจารณญาณ 

มีวิจารณญาณในการเลือก

เรื่องท่ีฟงและดู

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖ มมี ารยาท  
มมี ารยาทในการฟง การดู
และการพูด

ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะหมาตรฐาน ตัวชีว้ ัดกับพุทธพิ ิสัย ทกั ษะพสิ ัยและจติ พิสัย (ตอ)

สาระท่ี (Strand) ๔ หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบัตขิ องชาติ

มาตรฐาน (Standard) และ พทุ ธพิ ิสยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพสิ ยั จิตพิสัย
ตวั ชี้วัด(Indicator) หรือ (Psychomotor (Effective
คําสาํ คญั ความรู/มิตขิ องกระบวนการทางสติปญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลูมฉบับปรบั ปรงุ ใหม Domain)
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ (Key Word) Domain)
วเิ คราะหอ ิทธิพลของ (Revised Bloom’s Taxonomy) ดานคณุ ลกั ษณะ
วิเคราะห ทักษะกระบวนการ
การจาํ การเขาใจ การประยกุ ตใ ช การวเิ คราะห การประเมนิ คา การสรา งสรรค (Process skill) (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)





ภาษาตา งประเทศและภาษา

ถน่ิ

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗ วเิ คราะห  

วเิ คราะหแ ละประเมนิ การใช ประเมนิ

ภาษาจากส่อื สง่ิ พิมพแ ละส่ือ

อิเล็กทรอนิกส

ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะหมาตรฐาน ตวั ชี้วัดกบั พุทธพิ ิสัย ทกั ษะพิสัยและจติ พิสยั (ตอ)

สาระที่ (Strand) ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา งเหน็ คณุ คาและนํามาประยกุ ตใชในชีวิตจรงิ

มาตรฐาน (Standard) และ พุทธิพิสยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสัย จิตพิสัย
ตัวชี้วดั (Indicator) หรอื (Psychomotor (Effective
คาํ สําคญั ความรู/มิตขิ องกระบวนการทางสตปิ ญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคิดของบลูมฉบับปรับปรุงใหม Domain)
(Key Word) Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy) ดานคุณลกั ษณะ
ทักษะกระบวนการ
การจาํ การเขา ใจ การประยุกตใช การวเิ คราะห การประเมนิ คา การสรา งสรรค (Process skill) (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วิเคราะห 

วเิ คราะหและวจิ ารณวรรณคดีและ วิจารณ 

วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ

เบื้องตน

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ วเิ คราะห 

วเิ คราะหล ักษณะเดนของวรรณคดี เช่อื มโยง

เชอ่ื มโยงกบั การเรียนรทู าง

ประวัตศิ าสตรและวถิ ชี วี ิตของ

สังคมในอดีต

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ วเิ คราะห 

วิเคราะหแ ละประเมินคุณคา ประเมินคา 

ดา นวรรณศิลปข องวรรณคดี

และวรรณกรรมในฐานะทเี่ ปน

มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ สงั เคราะห   
  
สังเคราะหข อคดิ จากวรรณคดี นําไปใช

และวรรณกรรมเพื่อนาํ ไป

ประยกุ ตใชใ นชวี ิตจรงิ

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ รวบรวม

รวบรวมวรรณกรรมพน้ื บานและ อธบิ าย

อธิบายภูมปิ ญ ญาทางภาษา

ตารางท2่ี ตารางวิเคราะหค วามเช่ือมโยงของมาตรฐานและตัวชี้วัด กับพฤติกรรมการเรียนรู

มาตรฐาน (Standard) คําสําคญั สาระการเรียนรู พฤติกรรมการการเรียนรู
และตัวช้วี ัด(Indicator) (Key Word) แกนกลาง (Core
Content) /สาระการ ดา นความรู ดานทักษะกระบวนการ ดา นสมรรถนะตามหลักสตู ร ดานคณุ ลักษณะอันพึง
เรยี นรู (Content) (Knowledge) ( K) ประสงค (Attribute) ( A)
(Process) (P) (Competencies) (C)
(รูอ ะไร) (เปน คนอยา งไร)
(ทาํ อะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)
ใฝเรียนรู
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ การอา นจบั ใจความ รหู ลกั การแสดงความคิดเหน็ ๑. วิเคราะห วิจารณเรื่อง - ความสามารถดานการ มงุ มั่นในการทํางาน

วิเคราะห วิจารณ แสดง วิเคราะห จากส่ือตางๆ โตแยงซง่ึ เกิดจากผอู า นมี ที่อาน สอ่ื สาร
ความคิดเหน็ โตแ ยงกับ วิจารณ - บทความ สารคดี พ้ืนฐานการตีความ แปล ๒. แสดงความคิดเห็น - ความสามารถในการคดิ
แสดงความ บนั เทิงคดี ขา ว ความ และขยายความ - ความสามารถในการ
เร่ืองท่ีอาน และเสนอ คิดเห็นโตแ ยง วเิ คราะห วจิ ารณ คาดคะเน โตแ ยงและเสนอ แกป ญหา
ความคิดใหมอยา งมีเหตุผล เสนอความคิด - วรรณคดใี นบทเรยี น และประเมนิ คา พรอม ความคิดใหมอยา งมี
เหตุผลกับเรอื่ งท่ีอาน

ใหม นําเสนอความคิดใหมจาก

เรอื่ งท่ีอา นอยาง

มีเหตผุ ล

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ตอบคาํ ถาม การอานจบั ใจความ มคี วามรู ความเขา ใจ และรู ตอบคําถามจากการอาน - ความสามารถดานการ ใฝเ รยี นรู
ตอบคาํ ถามจากการอา น จากสื่อตางๆ หลักการสรุปใจความ ซึ่งจะ ภายในเวลาท่ีกาํ หนด สอ่ื สาร มงุ ม่นั ในการทาํ งาน
ประเภทตางๆ ภายใน ทําใหม ีความคลองแคลว เพ่ือ - ความสามารถในการคดิ
เวลาท่ีกาํ หนด - วรรณคดีใน ตอบคาํ ถามไดตามเวลาที่ - ความสามารถในการ มีวนิ ยั
บทเรยี น กําหนด แกปญ หา ใฝเรียนรู
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ มงุ มั่นในการทํางาน
อานเรื่องตา งๆ แลว เขยี น อา นแลวเขยี น การอานจบั ใจความ - สรุปใจความสาํ คญั ได ๑. จบั ประเดน็ และสรุป - ความสามารถดานการ
กรอบแนวคิดผงั ความคดิ กรอบแนวคิด จากส่อื ตางๆ - อธบิ ายหลักการเขียน เรอ่ื งที่อาน สอ่ื สาร
บนั ทกึ ยอ ความ และ บันทึก กรอบแนวคิด ผงั ความคดิ ๒. เขยี นกรอบแนวคิด - ความสามารถในการคิด
รายงาน ยอความ - บันเทงิ คดี สารคดี บันทึก ยอความและรายงาน ผงั ความคิด บนั ทึก ยอ - ความสามารถในการใช
รายงาน - วรรณคดีใน ความ และรายงานจาก เทคโนโลยี
บทเรยี น เร่อื งท่ีอา น - ความสามารถในการ
แกป ญ หา

ตารางท2ี่ ตารางวเิ คราะหค วามเชื่อมโยงของมาตรฐานและตัวชี้วัด กับพฤตกิ รรมการเรียนรู (ตอ)

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู พฤติกรรมการการเรียนรู
และตัวชว้ี ดั (Indicator)
คาํ สําคญั แกนกลาง (Core ดา นความรู ดา นทักษะกระบวนการ ดา นสมรรถนะตามหลกั สูตร ดา นคุณลกั ษณะอนั พงึ
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘ (Key Word) Content) /สาระการ (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) ประสงค (Attribute) ( A)
สังเคราะหความรจู ากการ เรยี นรู (Content) (ทาํ อะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)
อาน สือ่ สิง่ พิมพ สื่อ (รูอ ะไร) (เปน คนอยา งไร)
อิเลก็ ทรอนิกสและแหลง
เรียนรูต างๆ มาพัฒนาตน สังเคราะห การอา นจับใจความ - อธบิ ายหลักการสังเคราะห ๑. เขยี นสรุปจากเรือ่ งท่ี - ความสามารถดา นการ มวี นิ ยั
พัฒนาการเรียน และ ใฝเรียนรู
พัฒนาความรูทางอาชพี จากส่อื ตา งๆ ความรไู ด กาํ หนด สอ่ื สาร มงุ มนั่ ในการทาํ งาน
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ๒.บันทึกขอมลู จากการ - ความสามารถในการคิด
เขยี นส่ือสารในรูปแบบ - บนั เทิงคดี สารคดี อาน แลวสังเคราะหมาใช - ความสามารถในการใช ใฝเ รยี นรู
ตา งๆได ตรงตาม พฒั นาตน พฒั นาการ เทคโนโลยี มงุ มน่ั ในการทาํ งาน
วตั ถปุ ระสงค โดยใชภาษา - วรรณคดีในบทเรียน
เรียบเรยี งถูกตอง มีขอ มูล ใฝเรยี นรู
และสาระสําคัญชดั เจน เรยี นและพฒั นาความรู - ความสามารถในการ มงุ ม่ันในการทาํ งาน

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ ทางอาชีพ แกป ญหา
เขียนยอความจากส่ือทมี่ ี
รูปแบบและเนื้อหา เขยี นสอ่ื สาร การเขียนสอ่ื สารใน บอกหลกั การเขียน เขยี นส่อื สารในรปู แบบ - ความสามารถในการ
หลากหลาย ใชภาษา รูปแบบตางๆ เชนอธิบาย การใชภาษา การใชขอมลู ตา งๆ ไดตรงตาม สอ่ื สาร
บรรยาย พรรณนา ประกอบการเขยี นได วตั ถปุ ระสงค โดยใชภาษา - ความสามารถในการคิด
เขียนยอ ความ แสดงทรรศนะ โตแยง เรยี บเรียงถูกตอง มขี อมูล - ความสามารถในการใช
โนมนา ว เชญิ ชวน อธบิ ายหลกั การเขียนยอ และสาระสําคัญชัดเจน เทคโนโลยี
ประกาศ จดหมายกิจ ความได
ธรุ ะ โครงการและ เขียนยอ ความจากเรื่องท่ี - ความสามารถในการ
รายงานการดาํ เนิน อา นได สื่อสาร
โครงการ รายงานการ - ความสามารถในการคิด
ประชมุ การกรอกแบบ - ความสามารถในการ
รายการตา งๆ แกปญหา

การเขียนยอ ความ

ตารางท2่ี ตารางวเิ คราะหค วามเชื่อมโยงของมาตรฐานและตัวชี้วดั กับพฤตกิ รรมการเรยี นรู (ตอ)

มาตรฐาน (Standard) คาํ สาํ คญั สาระการเรยี นรู พฤติกรรมการการเรยี นรู
และตัวช้ีวดั (Indicator) (Key Word) แกนกลาง (Core
Content) /สาระการ ดานความรู ดา นทักษะกระบวนการ ดา นสมรรถนะตามหลกั สตู ร ดานคุณลักษณะอนั พึง
เรยี นรู (Content) (Knowledge) ( K) ประสงค (Attribute) ( A)
(Process) (P) (Competencies) (C)
การเขยี นในรูปแบบ (รอู ะไร) (เปน คนอยา งไร)
(ทําอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)
ตางๆ เชน บนั เทิงคดี อธบิ ายหลักการเขียนสารคดี ใฝเรยี นรู
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ผลิตงานเขยี น และบันเทงิ คดไี ด ผลิตงานเขียนบันเทิงคดี ความสามารถในการ มุง มน่ั ในการทํางาน
ผลติ งานเขยี นของตนเอง และสารคดี อยูอ ยางพอเพียง
ในรูปแบบตา งๆ หรอื สารคดีได สอ่ื สาร การคดิ การ
ใฝเ รียนรู
แกปญหาและการใช มุงมั่นในการทํางาน

เทคโนโลยี มวี นิ ัย
ใฝเ รียนรู
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ การประเมนิ คุณคางาน ระบเุ กณฑก ารประเมนิ งาน ๑. ประเมนิ งานเขยี น ความสามารถในการ มงุ ม่ันในการทํางาน
ประเมินงานเขียนของผอู ืน่ ประเมนิ เขียนดานตา งๆ การใช เขยี นได สือ่ สาร
แลวนาํ มาพัฒนางานเขียน พฒั นา ๒.พฒั นางานเขยี น ความสามารถในการคิด มีวนิ ัย
ใฝเรยี นรู
ของตนเอง ถอ ยคาํ สาํ นวนโวหาร มงุ มนั่ ในการทาํ งาน

การเรียบเรียงและ ใฝเรียนรู

กลวิธีในการเขียน

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ เขียนรายงาน  การเขียนรายงาน - อธบิ ายหลักการเขยี น เขยี นรายงานทางวิชาการ ความสามารถในการคดิ
เขียนรายงานการศกึ ษา ใชข อ มูล เชิงวชิ าการ รายงานทางวชิ าการได และใชขอมลู อางอิงได การสือ่ สาร การแกป ญ หา
คนควา เร่ืองทสี่ นใจตาม อางอิง  การเขยี นอา งองิ - บอกหลกั การเขียนอางอิง ถูกตอง และการใชเทคโนโลยี
หลกั การเขยี นเชิงวชิ าการ ขอ มูลสารสนเทศ ได
และใชข อมูลสารสนเทศ บันทึก
อา งอิงอยา งถูกตอ ง การเขียนบนั ทกึ ความรู บอกวธิ ีจดบันทกึ ความรูไ ด ๑. เขยี นบันทกึ จาก ความสามารถในการคดิ
จากแหลงเรียนรูท ี่ การสอื่ สาร การแกปญ หา
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ หลากหลาย การศึกษาคนควา
บันทึกการศึกษาคนควา ๒. นําความรูท ีไ่ ดไป และการใชเ ทคโนโลยี
เพอ่ื นาํ ไปพัฒนาตนเอง มารยาทในการเขียน บอกมารยาทในการเขียนได
อยางสมํา่ เสมอ พฒั นาตนและประยุกตใ ช

ในโอกาสตางๆ

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทใน มีมารยาทในการเขยี น - ความสามารถในการ
มมี ารยาทในการเขียน การเขียน
ส่ือสาร

- ความสามารถในการคดิ

ตารางท2ี่ ตารางวิเคราะหความเชื่อมโยงของมาตรฐานและตวั ช้ีวดั กับพฤตกิ รรมการเรียนรู (ตอ)

มาตรฐาน (Standard) คาํ สาํ คัญ สาระการเรยี นรู พฤติกรรมการการเรยี นรู
และตวั ชี้วดั (Indicator) (Key Word) แกนกลาง (Core
Content) /สาระการ ดานความรู ดานทกั ษะกระบวนการ ดานสมรรถนะตามหลกั สูตร ดานคุณลักษณะอันพึง
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ประเมนิ เรียนรู (Content) (Knowledge) ( K) ประสงค (Attribute) ( A)
ประเมนิ เรื่องที่ฟงและดู ประยกุ ตใ ช (Process) (P) (Competencies) (C)
แลวกําหนดแนวทางนําไป การประเมนิ เรื่องทีฟ่ ง (รูอะไร) (เปน คนอยางไร)
ประยุกตใชในการดําเนิน และดเู พ่อื กาํ หนด (ทําอะไร) (เกิดสมรรถนะใด)
ชวี ติ แนวทางนําไป กาํ หนดเกณฑการประเมนิ ท่ี ใฝเ รียนรู
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ ประยุกตใช มีคณุ ภาพ นา เชื่อถือ ๑. ประเมินเรอื่ งท่ฟี งและดู ความสามารถในการ มงุ ม่ันในการทาํ งาน
มีวจิ ารณญาณในการเลอื ก ๒. นาํ เรอื่ งที่ฟง และดูไป ส่อื สาร การคดิ การ
เร่ืองท่ีฟงและดู ระบุพฤติกรรมของผูมี แกป ญ หา การใช ใฝเรียนรู
วจิ ารณญาณในการเลอื ก ประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจาํ วนั เทคโนโลยี มุงมน่ั ในการทํางาน
เรื่องท่ีฟงและดูได
มวี จิ ารณญาณ การเลือกเร่ืองท่ีฟง พจิ ารณาเร่ืองที่ฟงและดู ความสามารถในการ มุงมน่ั ในการทํางาน
และดอู ยางมี อยางมีวิจารณญาณ สอ่ื สาร
ใฝเรียนรู
วิจารณญาณ ความสามารถในการคดิ มุงม่ันในการทํางาน

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖ มมี ารยาท มารยาทในการฟง บอกมารยาทในการฟงการดู แสดงออกอยางมีมารยาท ความสามารถในการคดิ
มมี ารยาทในการฟง การดู วเิ คราะห การดู และพดู
และการพูด และพูดได ในการฟง ดู และพูด

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ ภาษาตา งประเทศและ บอกอิทธิพลของ วเิ คราะหอ ิทธพิ ลของ ความสามารถในการ
วเิ คราะหอ ิทธิพลของ ภาษาถน่ิ ในภาษาไทย ภาษาตางประเทศและภาษา ภาษาตา งประเทศและ สื่อสาร
ภาษาตา งประเทศและ ถ่ินท่ีมตี อภาษาไทยได ภาษาถ่ินท่มี ีตอ ภาษาไทย ความสามารถในการคดิ
ภาษาถ่ิน ความสามารถในการ
แกปญหา

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗ วิเคราะห การประเมินการใช อธิบายหลักการวเิ คราะห ๑.วเิ คราะหก ารใชภ าษา ความสามารถในการ ใฝเรยี นรู
วเิ คราะหและประเมนิ การ ประเมิน ภาษาจากสื่อสิ่งพมิ พ และประเมนิ การใชภ าษาได จากสอ่ื ส่ิงพิมพส ่ือ สื่อสาร การคิด การ มงุ ม่ันในการทํางาน
ใชภาษาจากสื่อส่งิ พิมพ และ สือ่ อเิ ล็กทรอนิกสได แกป ญ หา การใช
และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส อเิ ล็กทรอนกิ ส ๒.ประเมินการใชภ าษาจากส่ือ เทคโนโลยี
ส่ิงพมิ พสื่ออิเลก็ ทรอนกิ สได

ตารางท2่ี ตารางวิเคราะหความเช่ือมโยงของมาตรฐานและตัวชี้วัด กับพฤติกรรมการเรยี นรู (ตอ )

มาตรฐาน (Standard) คาํ สําคัญ สาระการเรียนรู พฤติกรรมการการเรียนรู
และตัวชีว้ ดั (Indicator) (Key Word) แกนกลาง (Core
Content) /สาระการ ดา นความรู ดานทักษะกระบวนการ ดานสมรรถนะตามหลกั สูตร ดา นคุณลักษณะอันพึง
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วิเคราะห เรียนรู (Content) (Knowledge) ( K) ประสงค (Attribute) ( A)
วเิ คราะหแ ละวิจารณ วิจารณ (Process) (P) (Competencies) (C)
วรรณคดแี ละวรรณกรรม หลักการวิเคราะหแ ละ (รูอะไร) (เปนคนอยางไร)
ตามหลักการวจิ ารณ วเิ คราะห (ทําอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)
เบื้องตน เช่อื มโยง วิจารณวรรณคดีและ - อธิบายหลักการวิเคราะห มงุ มัน่ ในการทาํ งาน
และวจิ ารณวรรณคดีและ วเิ คราะหและวิจารณ ความสามารถในการ ใฝเ รยี นรู
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ วรรณกรรมเบ้ืองตน วรรณกรรมเบอ้ื งตน วรรณคดเี ร่ืองสามกก สอื่ สาร การคิด และการ รกั ความเปนไทย
วเิ คราะหล กั ษณะเดนของ - บอกจดุ มงุ หมายการแตง ไตรภูมิพระรวงและราช แกป ญหา
วรรณคดีเช่อื มโยงกับการ - จดุ มุง หมายการแตง ลักษณะคําประพันธ นสิ ัย ใฝเรยี นรู
เรยี นรูทางประวตั ิศาสตร ตวั ละคร ขอ คิดจาก พันธบริรักษ มงุ มนั่ ในการทํางาน
และวิถชี ีวิตของสงั คมใน - การพจิ ารณารูปแบบ วรรณคดีเร่ืองสามกก รกั ความเปน ไทย
อดีต ไตรภูมพิ ระรว งและ วเิ คราะหล ักษณะเดนของ ความสามารถในการ
- การพจิ ารณาเนอื้ หา ราชพันธบริรกั ษ วรรณคดเี ร่ืองสามกก ส่อื สาร การคิด การ
แกป ญ หา ทกั ษะชีวิต
และกลวิธี บอกสภาพสงั คมและ ไตรภมู พิ ระรว งและราช และการใชเทคโนโลยี
- การวเิ คราะหแ ละ พันธบรริ ักษเชอ่ื มโยงกบั
การวิจารณวรรณคดี วฒั นธรรมท่ีปรากฏใน
และวรรณกรรม เหตุการณท าง
วรรณคดีเรื่องสามกก
การวเิ คราะหล ักษณะ ไตรภูมพิ ระรว งและราชพนั ธ
เดนของวรรณคดีและ บริรักษ
วรรณกรรมเกีย่ วกบั
เหตุการณ ประวตั ิศาสตรและวถิ ีชีวิต
ประวัตศิ าสตรและวถิ ี
ชีวติ ของสังคมในอดีต

ของสงั คมในอดตี

ตารางท2ี่ ตารางวเิ คราะหค วามเช่ือมโยงของมาตรฐานและตัวชี้วดั กับพฤตกิ รรมการเรียนรู (ตอ)

มาตรฐาน (Standard) คาํ สําคญั สาระการเรยี นรู พฤติกรรมการการเรียนรู
และตัวชว้ี ดั (Indicator) (Key Word) แกนกลาง (Core
Content) /สาระการ ดานความรู ดา นทกั ษะกระบวนการ ดานสมรรถนะตามหลักสตู ร ดานคุณลักษณะอันพึง
เรียนรู (Content) ประสงค (Attribute) ( A)
การวเิ คราะหและ (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C)
ประเมินคุณคา (เปนคนอยา งไร)
วรรณคดีและ (รูอะไร) (ทาํ อะไร) (เกิดสมรรถนะใด)
วรรณกรรม ใฝเ รยี นรู
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ วเิ คราะห - ดา นวรรณศิลป อธิบายหลักการวิเคราะห วิเคราะหและประเมนิ ความสามารถในการ มุงม่ันในการทํางาน
- ดานสงั คมและ
วิเคราะหแ ละประเมินคุณคา ประเมินคา วฒั นธรรม และประเมินคุณคา ดา น คุณคา ดานวรรณศิลป สอ่ื สาร ใฝเรยี นรู
การสงั เคราะห วรรณศิลป ดา นสังคมและ และดา นสังคมและ ความสามารถในการคดิ มงุ ม่ันในการทํางาน
ดา นวรรณศิลปของวรรณคดี วรรณคดีและ วฒั นธรรมของวรรณคดเี รื่อง วัฒนธรรมจากวรรณคดี ความสามารถในการ
วรรณกรรม สามกก ไตรภมู ิพระรว งและ เรือ่ งสามกก ไตรภูมิพระ แกปญหา ใฝเ รยี นรู
และวรรณกรรมในฐานะที่ รักความเปนไทย
วรรณกรรมพื้นบานที่
เปน มรดกทางวฒั นธรรมของ แสดงถงึ - ภาษากับ
วัฒนธรรม
ชาติ - ภาษาถ่นิ ราชพันธบริรกั ษ รว งและราชพนั ธบรริ ักษ

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ สังเคราะห อธบิ ายหลกั การสังเคราะห ๑. สงั เคราะหส ถานการณ ความสามารถในการ
สงั เคราะหข อ คดิ จาก นําไปใช วรรณคดีและวรรณกรรมได จากวรรณคดีและวรรณกรรม สื่อสาร
วรรณคดีและวรรณกรรม ความสามารถในการคดิ
เพื่อนาํ ไปประยุกตใชใ นชีวติ บอกความสําคัญของ ในบทเรียนเร่ืองวรรณคดี ความสามารถในการ
จริง วรรณกรรมพื้นบานและภมู ิ เรอ่ื งสามกก ไตรภูมิพระ แกป ญ หา
ปญญาทางภาษาได รวงและราชพันธบรริ กั ษไ ด
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ รวบรวม ความสามารถในการ
รวบรวมวรรณกรรม อธิบาย ๒. นาํ ขอ คดิ จากการ สอื่ สาร
พน้ื บานและอธบิ ายภูมิ สังเคราะหว รรณคดี ความสามารถในการคดิ
ปญ ญาทางภาษา
วรรณคดีเรอื่ งสามกก
ไตรภูมพิ ระรวงและราช
พันธบริรกั ษมาประยกุ ตใช

ในชวี ิตจริงได

๑.รวบรวมวรรณกรรม
พื้นบานและจัดเปน
หมวดหมู
๒.อธิบายภูมปิ ญญาทาง
ภาษาจากวรรณกรรม
พื้นบาน

ตารางท่ี 3 ตารางกําหนดกาํ หนดหนว ยการเรียนรู (Unit) และการกําหนดนํ้าหนักคะแนนการวัด และประเมินผล

วิชา (Course ) ภาษาไทย รหัสวชิ า(Course Code) รหัสวชิ า ท๓๓๑๐๒

ํจานวน ั่ชวโมง คะแนนตามชวงเวลาการวดั และประเมินผล
ํน้าหนักคะแนน
สาระการเรียนรู คะแนน ระหวางเรยี น กลาง ปลาย
ตามพิสัย (F)
หนวยที่ รหัสตัวชว้ี ดั /ตวั ชี้วดั (Content) ภาค ภาค รวม
(S1) (S2 )

การอาน KPACKPAC K K
วิเคราะห
วิจารณ การอานจับใจความจากสือ่ ตา งๆ
๑. วเิ คราะห วิจารณ แสดงความคดิ เห็นโตแ ยง กับเรือ่ ง เชน - ขาวสารจากสอ่ื สิ่งพิมพ สอ่ื
๒ ทอ่ี าน และเสนอความคดิ ใหมอ ยางมีเหตผุ ล
ผลติ งาน อิเลก็ ทรอนิกสและแหลงเรยี นรู
เขียนอยา ง
สรา งสรรค ๒. ตอบคาํ ถามจากการอา นประเภทตางๆ ภายใน ตา ง ๆ ในชุมชน
- บทความ นิทาน เรอ่ื งสัน้
เวลาทก่ี าํ หนด
นวนยิ าย วรรณกรรมพนื้ บา น
๓. อานเร่ืองตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิดผงั ความคดิ วรรณคดใี นบทเรยี น บทโฆษณา ๘ ๒๘ ๒๐ ๔ ๒ ๒ ๖ ๔ ๒ ๒ ๑๐ ๔ ๒๘
บันทึก ยอ ความ และรายงาน สารคดี บนั เทิงคดี ปาฐกถา
๔. สังเคราะหค วามรูจากการอา น ส่อื สิง่ พมิ พ สือ่ พระบรมราโชวาท เทศนา คํา

อเิ ล็กทรอนกิ สและแหลง เรยี นรตู า งๆ มาพัฒนาตน บรรยาย คาํ สอน บทรอยกรอง

พฒั นาการเรยี น และพฒั นาความรทู างอาชพี รวมสมัย บทเพลง คําขวญั
บทอาเศียรวาท

๕. เขียนส่อื สารในรปู แบบตางๆได ตรงตาม การเขยี นสื่อสารในรปู แบบ

วัตถปุ ระสงค โดยใชภ าษาเรียบเรยี งถกู ตอง มีขอ มูล ตางๆ

และสาระสําคญั ชดั เจน การเขียนยอความจากสอ่ื ตา งๆ

๖. เขยี นยอ ความจากสื่อทมี่ ีรูปแบบและเนื้อหาหลากหลาย การเขียนในรูปแบบตา งๆ

๗. ผลิตงานเขยี นของตนเองในรปู แบบตางๆ การประเมนิ คณุ คางานเขยี นใน

๘. ประเมนิ งานเขยี นของผูอ่นื แลว นาํ มาพัฒนางาน ดานตา งๆ
การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ
เขียนของตนเอง การเขยี นอา งอิงขอ มลู ๑๒ ๓๐ ๑๖ ๑๐ ๒ ๒ ๖ ๑๐ ๒ ๒ ๕ ๕ ๓๐
๙. เขยี นรายงานการศกึ ษาคนควา เร่อื งที่สนใจตาม สารสนเทศ
หลักการเขยี นเชิงวชิ าการ และใชขอมูลสารสนเทศ การเขยี นบนั ทกึ ความรจู าก
อางอิงอยางถกู ตอ ง แหลง เรยี นรทู ่หี ลากหลาย
๑๐. บนั ทกึ การศกึ ษาคนควาเพ่ือนาํ ไปพัฒนาตนเอง มารยาทการเขียน
อยา งสม่ําเสมอ

๑๑. มมี ารยาทในการเขยี น

ตารางที่ 3 ตารางกําหนดกาํ หนดหนวยการเรยี นรู (Unit) และการกาํ หนดนํา้ หนักคะแนนการวัด และประเมินผล

วิชา (Course ) ภาษาไทย รหัสวิชา(Course Code) รหสั วชิ า ท๓๓๑๐๒ (ตอ)

ํจานวน ั่ชวโมง คะแนนตามชวงเวลาการวัดและประเมินผล
ํน้าห ันกคะแนน
หนวยท่ี รหสั ตวั ชว้ี ัด/ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู คะแนน ระหวางเรียน กลาง ปลาย
(Content) ตามพสิ ยั (F)
ภาค ภาค รวม
(S1) (S2 )

KPACKPAC K K

๓ ๑๒. ประเมนิ เรอ่ื งทฟี่ งและดู แลว กาํ หนดแนวทางนาํ ไป - การเลือกเรอ่ื งทีฟ่ ง และดูอยางมวี จิ ารณญาณ ๔ ๘ ๓๑๒๒๑๑๒๒ - ๒๘
รเู ทา ทนั การ ประยกุ ตใ ชใ นการดาํ เนินชวี ิต - การประเมินเรือ่ งทฟี่ ง และดูเพอ่ื กาํ หนด
๑๓. มวี จิ ารณญาณในการเลอื กเรื่องทฟี่ งและดู แนวทางนําไปประยุกตใ ช
ฟงดู ๑๔. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

๑๕. วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของภาษาตา งประเทศและภาษา

๔. เรยี นรู ถนิ่ - อทิ ธิพลของภาษาตา งประเทศและภาษาถนิ่ ๔ ๘ ๓๑๒๒๑๑๒๒ - ๒๘
หลักภาษา ๑๖. วเิ คราะหแ ละประเมินการใชภ าษาจากสอ่ื ส่งิ พิมพ - การประเมินการใชภ าษาจากส่อื สิง่ พมิ พและ
และส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส

๕. พิจารณา ๑๗. วเิ คราะหแ ละวจิ ารณว รรณคดแี ละวรรณกรรมตาม หลกั การวิเคราะหและวจิ ารณว รรณคดีและ
วรรณคดีไทย หลักการวิจารณเบือ้ งตน
๑๘. วิเคราะหล กั ษณะเดน ของวรรณคดเี ชอื่ มโยงกับการ วรรณกรรมเบอื้ งตน
เรียนรทู างประวตั ศิ าสตรและวิถชี วี ติ ของสงั คมในอดตี ๑๒ ๒๖ ๑๘ ๔ ๒ ๒ ๖ ๔ ๒ ๒ - ๑๒ ๒๖
๑๙. วเิ คราะหแ ละประเมินคณุ คา ดา นวรรณศิลปข อง - จดุ มงุ หมายการแตง การพจิ ารณารูปแบบ ๑๕ ๒๕ ๑๐๐
วรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะที่เปน มรดกทาง
วัฒนธรรมของชาติ เนอื้ หา และกลวธิ ใี นวรรณคดีและวรรณกรรม
๒๐. สงั เคราะหขอคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพือ่ - การวิเคราะหแ ละการวิจารณวรรณคดีและ
นําไปประยกุ ตใ ชใ นชีวติ จริง วรรณกรรม
๒๑. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบานและอธิบายภูมปิ ญ ญา การวิเคราะหลกั ษณะเดนของวรรณคดีและ
วรรณกรรมเกยี่ วกบั เหตกุ ารณป ระวตั ิศาสตร
ทางภาษา และวถิ ชี วี ติ ของสังคมในอดีต
การวิเคราะหแ ละประเมินคุณคาวรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
- ดา นวรรณศลิ ป ดา นสังคมและวัฒนธรรม
- การสงั เคราะหว รรณคดแี ละวรรณกรรมเร่ือง
สามกก ไตรภมู พิ ระรวง ราชพนั ธบรริ กั ษ
วรรณกรรมพ้นื บา นท่ีแสดงถึง ภาษากบั
วฒั นธรรม และภาษาถิน่

คะแนนรวม ๔๐ ๑๐๐ ๖๐ ๒๐ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๑๐
๖๐

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรยี นรู(Learning Assessment Plan)

หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ ีการและเครื่องมือการวดั และประเมนิ ผล(Learning

หนวย Assessment)
ที่
ตัวช้วี ดั (Indicator) คําสาํ คญั หลกั ฐานการเรียนรู/แนวทางการวัด วธิ ีการและเครื่องมือการวดั
ประเมนิ ผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ขอความใน Columน้ใี หค ัดลอก

ไปใสต ารางท่ี9)

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ วเิ คราะห ดา นความรู (K) - ชิ้นงานการวเิ คราะหว จิ ารณเรอื่ งสัน้ - สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจสมุดการวเิ คราะหว จิ ารณ
วเิ คราะห วจิ ารณ แสดงความ วิจารณ - รหู ลกั การแสดงความคดิ เห็นโตแ ยงซึง่ เกิดจาก พระบรมราโชวาท กวนี ิพนธ บทเพลง เรอื่ งสั้น พระบรมราโชวาท
๑ คดิ เหน็ โตแ ยงกบั เร่ืองท่ีอาน แสดงความ ผูอา นมีพนื้ ฐานการตีความ แปลความ และขยาย กวนี ิพนธ และบทเพลง
คิดเหน็ ความ วเิ คราะห วิจารณ คาดคะเน และประเมนิ
และเสนอความคดิ ใหมอ ยางมี โตแ ยง คา พรอ มนาํ เสนอความคดิ ใหมจ ากเร่ืองท่ีอาน
เหตุผล เสนอ อยางมีเหตผุ ล

ความคดิ ใหม ทกั ษะกระบวนการ (P)

- วเิ คราะห วิจารณเ รื่องท่ีอาน
- แสดงความคิดเห็นโตแ ยง และเสนอความคิด
ใหมอยา งมเี หตุผลกบั เรื่องที่อานผลได
ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกป ญหา
ดา นคุณลักษณะอนั พึงประสงค (A)

- มีมารยาทในการอาน
- ใฝเ รียนรู
- รกั ความเปน ไทย

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ ีการและเครื่องมือการวัดและประเมนิ ผล(Learning

หนวย ตัวชี้วดั (Indicator) คําสําคญั Assessment) หลกั ฐานการเรียนรู/แนวทางการวดั ประเมินผล วธิ กี ารและเครื่องมือการวัด
ท่ี (Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) (ขอความใน Columนใี้ หคดั ลอกไปใสตารางท9ี่ ) ประเมินผล

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ตอบคําถาม ดานความรู (K) - นกั เรียนทําใบงานการตอบคําถามจากการ - ใบงาน

๑ ตอบคาํ ถามจากการอา น - มีความรู ความเขาใจ และรูหลกั การสรปุ อา นเรอ่ื งสั้น และพระบรมราโชวาท - สังเกตพฤติกรรม

ประเภทตา งๆ ภายในเวลาท่ี ใจความ ซงึ่ จะทําใหมีความคลองแคลวเพื่อตอบ

กําหนด คาํ ถามไดต ามเวลาทกี่ าํ หนด
ทักษะกระบวนการ (P)

- ตอบคาํ ถามจากการอานภายในเวลาที่กาํ หนด
ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด แกปญ หา
ดานคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- ใฝเรียนรู - มุงมนั่ ในการทํางาน

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อา นแลว ดานความรู (K) - สังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน การสรุปขา ว การทําผัง
อา นเรอ่ื งตา งๆ แลวเขียน เขียนกรอบ - สรปุ ใจความสาํ คัญได - การสรุปขาว พระบรมราโชวาท ความคิด
๑ กรอบแนวคิดผังความคิด แนวคิด - อธิบายหลักการเขียนกรอบแนวคิด ผงั - การทําผังความคิดจากเรื่องทอี่ าน

บันทกึ ยอความ และรายงาน บันทกึ ความคิด บนั ทึก ยอ ความและรายงาน
ยอ ความ ทักษะกระบวนการ (P)
๑. จับประเด็นและสรปุ เร่อื งที่อาน
รายงาน

๒. เขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ บนั ทึก

ยอความ และรายงานจากเรื่องท่ีอา น

ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถดา นการส่อื สาร การคิด และใช
เทคโนโลยี และความสามารถในการแกป ญหา
ดานคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค (A)

- ใฝเรยี นรู - มงุ มน่ั ในการทํางาน

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรยี นรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หลกั ฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเครอ่ื งมือการวัดและประเมนิ ผล(Learning

หนว ย Assessment)
ที่
ตัวช้วี ดั (Indicator) คาํ สําคญั หลกั ฐานการเรยี นรู/แนวทางการวัด วิธกี ารและเคร่ืองมือการวดั
ประเมินผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ขอความใน Columน้ีใหค ัดลอก

ไปใสต ารางที่9)

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘ สงั เคราะห ดานความรู (K) - สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจใบงาน
สงั เคราะหค วามรจู ากการอา น - อธิบายหลักการสงั เคราะหค วามรไู ด
๑ สื่อส่ิงพิมพ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส
ทกั ษะกระบวนการ (P)

และแหลงเรยี นรูตางๆ มา ๑. เขียนสรุปจากเรอื่ งที่กาํ หนด - ใบงานศึกษาศาสตรพระราชาสกู ารปฏิบตั ิใน
พฒั นาตน พฒั นาการเรียน
และพัฒนาความรูท างอาชีพ ๒. บันทกึ ขอมูลจากการอาน แลว สงั เคราะหม าใช ชีวิตจริง
พฒั นาตน พัฒนาการเรยี นและพฒั นาความรู

ทางอาชีพ

ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถดา นการสอ่ื สาร
- ความสามารถในการคิด

- ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
- ความสามารถในการแกปญหาดาน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- มวี นิ ัย

- ใฝเรียนรู

- มงุ มน่ั ในการทํางาน

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร(ู Learning Assessment Plan) (ตอ)

หลักฐานการเรยี นรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ กี ารและเครื่องมือการวัดและประเมินผล(Learning

หนว ย Assessment)
ที่
ตัวชวี้ ดั (Indicator) คําสาํ คญั หลักฐานการเรยี นรู/แนวทางการวัด วิธีการและเคร่ืองมือการวดั
ประเมินผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ขอความใน Columนใี้ หคดั ลอก

ไปใสต ารางท่ี9)

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขยี นสื่อสาร ดา นความรู (K) - สังเกตพฤติกรรม
๒ เขยี นสอื่ สารในรปู แบบตางๆ ใชภ าษา - บอกหลกั การเขียน การใชภาษา การใหขอมูล การเขยี นรายงานโครงการ ประเมินชน้ิ งานการเขยี น

ได ตรงตามวัตถปุ ระสงค โดย ประกอบการเขยี นได การเขียนรายงานการประชมุ
ใชภ าษาเรยี บเรียงถกู ตอ ง มี ทกั ษะกระบวนการ (P)

ขอ มลู และสาระสาํ คัญชดั เจน - เขยี นสือ่ สารในรปู แบบตา งๆ ไดต รงตาม
วัตถุประสงค โดยใชภ าษาเรียบเรียงถูกตอง มี

ขอ มลู และสาระสําคัญชัดเจนดานสมรรถนะ
(C)

- ความสามารถในการสือ่ สาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
ดานคุณลักษณะอนั พึงประสงค (A)

- ใฝเ รยี นรู - มุงมั่นในการทํางาน

๒ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ เขยี นยอ ดานความรู (K) ตรวจใบงานการยอความ
เขยี นยอ ความจากสื่อทม่ี ี ความ - อธิบายหลกั การเขียนยอความได
รปู แบบและเน้ือหา ทักษะกระบวนการ (P) ใบงานการยอความจากเรื่องท่ีอาน
หลากหลาย
- เขียนยอ ความเร่ืองที่อานได
ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการแกปญ หา
ดา นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- ใฝเ รียนรู - มุงมน่ั ในการทํางาน

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หนว ย หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ กี ารและเครื่องมือการวดั และประเมินผล(Learning
ที่ Assessment)

ตัวช้วี ัด(Indicator) คาํ สาํ คญั หลกั ฐานการเรยี นรู/แนวทางการวัด วธิ ีการและเคร่ืองมือการวัด
ประเมนิ ผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ขอความใน Columนใ้ี หคัดลอก

ไปใสตารางที่9)

๒ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ผลติ งาน ดานความรู (K) - การเขียนรายงานโครงการ - สังเกตพฤติกรรม
ผลิตงานเขยี นของตนเองใน เขียน - อธิบายหลักการเขียนสารคดีและบนั เทงิ คดไี ด - การเขยี นรายงานการประชุม - ประเมนิ ชน้ิ งานเขียนสรางสรรค
รูปแบบตางๆ ทักษะกระบวนการ (P) - การเขียนสรางสรรค

- ผลิตงานเขียนบนั เทิงคดีหรือสารคดีไดด าน
สมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการส่อื สาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ
- ความสามารถการใชเ ทคโนโลยี
ดานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A)

- ใฝเรียนรู
- มงุ มั่นในการทาํ งาน
- อยูอยา งพอเพยี ง

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หนว ย หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเครื่องมือการวดั และประเมนิ ผล(Learning
ที่ Assessment)

ตวั ชีว้ ัด(Indicator) คําสาํ คญั หลักฐานการเรยี นรู/แนวทางการวัด วิธีการและเครื่องมือการวดั
ประเมินผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ขอความใน Columน้ีใหค ัดลอก

ไปใสตารางที่9)

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ ประเมินงาน ดา นความรู (K) - สงั เกตพฤติกรรม
๒ ประเมนิ งานเขยี นของผูอ ื่น เขียน - อธิบายเก่ยี วกับประเมินคณุ คาของงานเขยี นได การประเมนิ เร่ืองสั้น ตรวจผลงานการประเมนิ เร่ืองสัน้
พฒั นางาน กระบวนการ (P)
แลวนํามาพฒั นางานเขียน เขียน - ประเมินงานเขยี นได
ของตนเอง
ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการแกปญ หา
ดา นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- ใฝเรยี นรู
- มุงมั่นในการทํางาน

๒ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ เขียน ดานความรู (K) ช้ินงานการทํารายงานทางวิชาการ - สังเกตพฤติกรรมกลมุ
เขียนรายงานการศึกษา รายงาน ตรวจผลงานกลุมการทํารายงาน
ใชข อ มูล - อธบิ ายหลกั การเขยี นรายงานทางวชิ าการได วชิ าการ
คน ควาเรื่องท่ีสนใจตาม อา งอิง ทักษะกระบวนการ (P)
หลักการเขียนเชงิ วิชาการ
- เขียนรายงานทางวชิ าการและใชขอมลู อา งองิ ได
และใชขอมูลสารสนเทศ
ถกู ตองดา นสมรรถนะ (C)
อางอิงอยางถูกตอ ง
- ความสามารถในการสอื่ สาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถการใชเทคโนโลยี
ดานคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค (A)

- มวี ินัย - ใฝเรียนรู - มงุ ม่ันในการทํางาน

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หนวย หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วิธกี ารและเคร่อื งมือการวดั และประเมินผล(Learning
ท่ี Assessment)

ตวั ชี้วดั (Indicator) คาํ สาํ คญั หลกั ฐานการเรยี นรู/แนวทางการวัด วธิ ีการและเคร่ืองมือการวดั
ประเมนิ ผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ขอความใน Columนใี้ หค ัดลอก

ไปใสต ารางที่9)

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ บันทึก ดา นความรู (K) ตรวจงานการเขยี นบนั ทึกความรู

๒ บันทึกการศึกษาคน ควา เพื่อ - บอกวธิ ีจดบันทกึ ความรูได ใบงานการบันทกึ ความรจู ากการศึกษาเรอ่ื งที่
นาํ ไปพัฒนาตนเองอยา ง ทักษะกระบวนการ (P)
ตนสนใจ
สมํา่ เสมอ ๑. เขยี นบันทึกจากการศกึ ษาคนควา

๒. นาํ ความรูท ไ่ี ดไปพัฒนาตนและประยุกตใ ชใน

โอกาสตา งๆ

ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสือ่ สาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกป ญหา
- ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
ดา นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- มวี ินยั - ใฝเรยี นรู - มงุ ม่ันในการทาํ งาน

๒ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทใน ดา นความรู (K) นักเรียนระบมุ ารยาทในการเขียนลงในสมุด ตรวจสมุดนกั เรยี น
มมี ารยาทในการเขียน การเขยี น - บอกมารยาทในการเขยี นได

ทักษะกระบวนการ (P)

- มมี ารยาทในการเขยี น
ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสือ่ สาร
- ความสามารถในการคิด
ดา นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- ใฝเ รียนรู

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรยี นรู(Learning Assessment Plan) (ตอ )

หลกั ฐานการเรยี นรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ ีการและเครอ่ื งมือการวัดและประเมินผล(Learning

หนวย ตวั ชว้ี ดั (Indicator) คาํ สาํ คญั Assessment) หลกั ฐานการเรยี นรู/แนวทางการวดั ประเมนิ ผล วธิ ีการและเครื่องมือการวดั
ที่ (Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) (ขอ ความใน Columนใี้ หค ัดลอกไปใสตารางท9่ี ) ประเมนิ ผล

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ประเมิน ดา นความรู (K) ใบงานการประเมินเร่ืองที่ฟงและดู ตรวจใบงาน
สงั เกตพฤตกิ รรม
๓ ประเมินเรื่องท่ีฟงและดู แลว ประยุกตใ ช - กําหนดเกณฑการประเมินที่มีคุณภาพ
กาํ หนดแนวทางนาํ ไป นาเชอ่ื ถอื
ประยุกตใชในการดําเนินชีวติ ทักษะกระบวนการ (P)

๑. ประเมนิ เรื่องที่ฟง และดู

๒. นําเรื่องท่ีฟง และดูไป ประยกุ ตใชใน

ชีวิตประจาํ วนั ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกป ญหา
- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
ดา นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค (A)

- ใฝเ รยี นรู -มุงมั่นในการทาํ งาน

๓ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ มี ดา นความรู (K) - สังเกตพฤติกรรม
มีวิจารณญาณในการเลอื ก วจิ ารณญาณ - ระบพุ ฤติกรรมของผมู ีวิจารณญาณในการเลือก - การอภิปรายการเลือกเรือ่ งท่ีฟง อยางมี - ทาํ แบบทดสอบ
เรือ่ งท่ีฟง และดู วิจารณญาณ
เรือ่ งท่ีฟง และดไู ด
ทักษะกระบวนการ (P)

- พจิ ารณาเร่ืองท่ีฟง และดอู ยางมวี จิ ารณญาณ
ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสอ่ื สาร
- ความสามารถในการคดิ
ดา นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค (A)

- ใฝเ รยี นรู และมุงมั่นในการทาํ งาน

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ ีการและเคร่อื งมือการวัดและประเมินผล(Learning

หนว ย ตวั ชว้ี ัด(Indicator) คาํ สําคญั Assessment) หลักฐานการเรยี นรู/แนวทางการวดั ประเมนิ ผล วิธีการและเคร่ืองมือการวดั
ที่ (Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) (ขอ ความใน Columนีใ้ หคดั ลอกไปใสตารางท9ี่ ) ประเมนิ ผล

๓ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖ มีมารยาท ดานความรู (K) นักเรยี นระดมสมองคดิ มารยาทในการฟงการ ตรวจสมดุ นักเรียน
มีมารยาทในการฟง การดู - บอกมารยาทในการฟง การดู และการพูด ดู และการพดู พรอมสรุปลงในสมุด
และการพดู
ทักษะกระบวนการ (P)

- แสดงออกอยางมมี ารยาท
ในการฟง การดู และการพูด
ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสอ่ื สาร
- ความสามารถในการคดิ
ดานคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- ใฝเ รียนรู

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ วเิ คราะห ดานความรู (K) ตรวจใบงาน

วเิ คราะหอิทธิพลของ - บอกอทิ ธิพลของภาษาตา งประเทศและภาษา ทําใบงานภาษาตา งประเทศในภาษาไทย
ภาษาตางประเทศและภาษา ถนิ่ ท่ีมีตอภาษาไทยได
ถิ่น ทักษะกระบวนการ (P)

- วิเคราะหอิทธิพลของภาษาตา งประเทศและ

๔ ภาษาถ่นิ ท่ีมีตอ ภาษาไทย
ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกปญหา
ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A)

- ใฝเรียนรู - มงุ มัน่ ในการทํางาน

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมินผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หลกั ฐานการเรยี นรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ กี ารและเครอื่ งมือการวัดและประเมนิ ผล(Learning

หนวย Assessment)
ท่ี
ตัวชวี้ ดั (Indicator) คาํ สําคญั หลักฐานการเรยี นรู/แนวทางการวัด วธิ ีการและเครื่องมือการวดั
ประเมนิ ผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ขอความใน Columน้ีใหค ัดลอก

ไปใสตารางท่ี9)

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗ วิเคราะห ดานความรู (K) ใบงานการวิเคราะหป ระเมนิ การใชภาษาจาก ตรวจใบงานนกั เรยี น
สื่อส่ิงพมิ พส่อื อิเลก็ ทรอนิกส
วิเคราะหแ ละประเมนิ การใช ประเมนิ - อธบิ ายหลกั การวเิ คราะหและประเมนิ การใช
ภาษาจากส่ือส่ิงพมิ พแ ละสอื่ ภาษาได
๔ อเิ ล็กทรอนกิ ส ทกั ษะกระบวนการ (P)

๑. วเิ คราะหก ารใชภ าษาจากสอ่ื สิ่งพิมพส่อื

อเิ ล็กทรอนิกสได

๒. ประเมินการใชภาษาจากส่ือสิ่งพมิ พสื่อ

อิเล็กทรอนิกสได

ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการแกป ญหา

- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
ดานคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- ใฝเรยี นรู
- มุงมนั่ ในการทํางาน

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมินผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ )

หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ กี ารและเครือ่ งมือการวดั และประเมนิ ผล(Learning

หนวย Assessment)
ที่
ตัวชว้ี ดั (Indicator) คาํ สาํ คญั หลักฐานการเรยี นรู/แนวทางการวัด วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวัด
ประเมนิ ผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ขอความใน Columน้ใี หคดั ลอก

ไปใสต ารางที่9)

๕ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วิเคราะห ดา นความรู (K) - นักเรียนศึกษาหลักการวเิ คราะหวจิ ารณ - ใบงาน

วิเคราะหแ ละวจิ ารณว รรณคดี วจิ ารณ - อธิบายหลักการวิเคราะหแ ละวิจารณวรรณคดี วรรณคดีเบ้อื งตน แลวรว มอธิบาย - แบบทดสอบ

และวรรณกรรมตามหลกั การ และวรรณกรรมเบ้ืองตน - นักเรยี นทําผงั ความคดิ สรปุ จดุ มุง หมาย - แบบสังเกตพฤติกรรม
วิจารณเบือ้ งตน
- บอกจดุ มุงหมายการแตง ลักษณะคาํ ประพนั ธ ลักษณะคาํ ประพนั ธ และขอคดิ จากวรรณคดี

นิสัยตวั ละคร ขอคิดจากวรรณคดเี ร่ืองสามกก - นกั เรียนฝก วิเคราะหว จิ ารณตวั ละครใน

ไตรภมู พิ ระรว งและราชพนั ธบรริ ักษ เรือ่ งสามกก แลว นําเสนอใหเพื่อนฟง
ดา นทกั ษะกระบวนการ (P)
- นักเรยี นคน คาํ ศัพทย ากจากบทเรยี น

- วเิ คราะหและวจิ ารณวรรณคดเี ร่อื งสามกก

ไตรภูมพิ ระรว ง และราชพนั ธบริรักษ
ดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการแกปญหา
ดา นคุณลักษณะอนั พึงประสงค (A)

-มุงม่นั ในการทาํ งาน

- ใฝเรยี นรู
- รกั ความเปนไทย

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมินผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หลกั ฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธีการและเครอ่ื งมือการวดั และประเมนิ ผล(Learning

หนว ย Assessment)
ท่ี
ตัวชวี้ ดั (Indicator) คําสาํ คญั หลกั ฐานการเรียนรู/แนวทางการวดั วธิ ีการและเครื่องมือการวัด
ประเมินผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ขอความใน Columนีใ้ หคดั ลอก

ไปใสต ารางท่ี9)

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ วเิ คราะห ดานความรู (K) - นกั เรยี นศึกษาสภาพสงั คมและวัฒนธรรมที่ - ใบงาน
๕ วเิ คราะหลกั ษณะเดนของ เชอื่ มโยง - บอกสภาพสงั คมและวฒั นธรรมและภาษาท่ี ปรากฏในวรรณคดี ๓ เรอ่ื ง ท้ังจากหนังสือ - แบบสงั เกตพฤติกรรม
และสื่อออนไลน เชื่อมโยงกับการเรยี นรทู าง
วรรณคดีเช่ือมโยงกับการ ปรากฏในบทเสภาเร่ือง สามกก ไตรภมู พิ ระรวง ประวัติศาสตรแ ละวถิ ชี ีวิตของสังคมในอดีต
พรอ มรว มกนั อภิปรายส่ิงท่ีเหมอื นและ
เรียนรูท างประวัติศาสตรแ ละ และราชพนั ธบรริ ักษได แตกตางจากอดีตสปู จ จุบัน
- นักเรยี นทาํ ผงั ความคดิ การกําเนิดมนุษย
วถิ ชี วี ติ ของสังคมในอดีต ดา นทักษะกระบวนการ (P) จากเรอ่ื งไตรภูมิพระรวง

- วเิ คราะหล กั ษณะเดน ของวรรณคดเี ร่ือง สามกก

ไตรภมู ิพระรว ง และราชพันธบริรักษ เชอื่ มโยง

กบั เหตุการณท างประวตั ิศาสตรแ ละวถิ ีชีวิตของ
สงั คมในอดตี
ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสอ่ื สาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการแกปญหา
- ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ

- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

ดานคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A)

- มุง มนั่ ในการทํางาน

- ใฝเรียนรู
- รักความเปน ไทย

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หนว ย หลักฐานการเรยี นรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ กี ารและเคร่อื งมือการวัดและประเมินผล(Learning
ที่ Assessment)

ตวั ชี้วดั (Indicator) คาํ สําคญั หลักฐานการเรียนรู/แนวทางการวัด วิธีการและเคร่ืองมือการวัด
ประเมนิ ผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ขอความใน Columนี้ใหคัดลอก

ไปใสตารางท่ี9)

๕ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ วเิ คราะห ดานความรู (K) - นกั เรยี นบอกคณุ คาดา นวรรณศิลปของ - ใบงาน
วิเคราะหและประเมนิ คุณคา ประเมินคา - อธิบายหลักการวิเคราะหแ ละประเมินคณุ คา วรรณคดที ่ีอาน - สังเกตพฤติกรรม
ดานวรรณศลิ ปข องวรรณคดี - ทําใบงานเรอ่ื งการวเิ คราะหและประเมิน - ทาํ แบบทดสอบ
และวรรณกรรมในฐานะท่ีเปน ดา นวรรณศิลป ดา นสังคมและวัฒนธรรมได
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ คณุ คาดานวรรณศลิ ปจ ากวรรณคดเี รื่อง
ทกั ษะกระบวนการ (P) สามกก ไตรภมู ิพระรว ง และราชพนั ธบริรักษ

- วเิ คราะหแ ละประเมิน คุณคาดา นวรรณศลิ ป - ทาํ แบบทดสอบ
และดา นสังคมและวฒั นธรรมจากวรรณคดเี ร่ือง
สามกก ไตรภูมิพระรวง และราชพันธบริรักษ

ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการแกปญหา
ดา นคุณลักษณะอันพึงประสงค (A)

- มุง ม่นั ในการทํางาน

- ใฝเ รยี นรู

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู(Learning Assessment Plan) (ตอ)

หนว ย หลกั ฐานการเรยี นรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ ีการและเครื่องมือการวดั และประเมินผล(Learning
ที่ Assessment)

ตัวชีว้ ัด(Indicator) คําสาํ คญั หลักฐานการเรียนรู/แนวทางการวัด วิธีการและเครื่องมือการวดั
ประเมินผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ขอความใน Columนีใ้ หค ัดลอก

ไปใสตารางท่ี9)

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ สงั เคราะห ดานความรู (K) - สังเกตพฤติกรรม
๕ สงั เคราะหข อคิดจากวรรณคดี นาํ ไปใช - อธบิ ายหลักการสังเคราะหว รรณคดแี ละ - นกั เรียนรวมอภิปรายขอคิดจากวรรณคดี - ทําใบงาน
เรอื่ ง สามกก ไตรภูมิพระรวง และราชพนั ธ
และวรรณกรรมเพอ่ื นาํ ไป วรรณกรรมได
ประยกุ ตใ ชในชวี ติ จริง
ทักษะกระบวนการ (P) บรริ กั ษพรอมทัง้ บอกการนําไปประยุกตใชได

๑. สงั เคราะหสถานการณจ ากวรรณคดแี ละ - นกั เรียนทําใบงาน
วรรณกรรมในบทเรยี นเรื่อง สามกก ไตรภมู ิพระ

รว ง และราชพนั ธบริรักษได

๒. นาํ ขอ คดิ จากการสังเคราะหวรรณคดีเรอื่ ง
สามกก ไตรภมู ิพระรว ง และราชพนั ธบริรักษม า

ประยุกตใชในชีวิตจรงิ ได
ดา นสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการแกปญหา
ดา นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค (A)

- ใฝเรยี นรู

- มงุ มน่ั ในการทํางาน

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมินผลการเรยี นร(ู Learning Assessment Plan) (ตอ)

หนวย หลักฐานการเรียนรู(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธีการและเคร่ืองมือการวดั และประเมนิ ผล(Learning
ที่ Assessment)

ตัวชีว้ ดั (Indicator) คําสาํ คญั หลักฐานการเรียนรู/แนวทางการวดั วิธีการและเคร่ืองมือการวดั
ประเมินผล
(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ขอความใน Columน้ีใหคดั ลอก

ไปใสตารางท่ี9)

๕ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ รวบรวม ดานความรู (K) - การเลา เร่ืองวรรณกรรมพน้ื บานในทอ งถ่นิ - สงั เกตพฤติกรรม
รวบรวมวรรณกรรมพื้นบา น อธบิ าย - บอกความสาํ คญั ของวรรณกรรมพน้ื บา นและ - การอภปิ รายถึงภูมิปญญาทางภาษาท่ี - ทาํ แบบทดสอบ
และอธิบายภูมปิ ญ ญาทาง ปรากฏในวรรณกรรมทองถิ่น
ภาษา ภมู ิปญ ญาทางภาษาได

ทักษะกระบวนการ (P)

๑. รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บา นและจดั เปน
หมวดหมู
๒. อธิบายภูมปิ ญ ญาทางภาษาจากวรรณกรรม
พ้นื บานดานสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการส่อื สาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกปญหา
ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A)

- ใฝเรียนรู

- รกั ความเปนไทย

ตารางท่ี ๕ โครงสรางขอ สอบระหวางเรียน(Formative Assessment) (F)

หนว ย รหสั ตวั ช้ีวัด/ คําสําคญั คะแนน จํานวนขอ สอบจาํ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ญญา รวม จํานวนขอ สอบ
ที่ ผลการเรียนรู (Key ระหวา ง
Word) เรยี น ดานความรู(K)และดา นทักษะกระบวนการคิด จํานวน จาํ แนกตามรูปแบบขอ สอบ

๒ จาํ เขา ใจ ประยุกตใช วเิ คราะห ประเมนิ คา สรา งสรรค ขอ สอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๑ ๑. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ วิเคราะห ๒ ๒๒ ๔๔ ๔

วเิ คราะห วิจารณ แสดง วิจารณ ๑
ความคดิ เหน็ โตแยงกบั เร่ือง แสดงความ
คิดเหน็ โตแยง
ทอี่ าน และเสนอความคดิ เสนอความคดิ
ใหม
ใหมอยา งมีเหตุผล

๒. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ตอบคําถาม ๔ ๔๓ ๑ ๔

ตอบคาํ ถามจากการอา น

ประเภทตางๆ ภายในเวลา

ทกี่ ําหนด

๓. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อา นแลว ๑๑ ๑๑
อา นเร่อื งตางๆ แลวเขียน เขยี นกรอบ
กรอบแนวคิดผงั ความคิด แนวคิด
บนั ทกึ ยอ ความ และ บนั ทึก
รายงาน ยอ ความ
รายงาน

๔. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘ สงั เคราะห ๑ ๑๑ ๑๑
สังเคราะหค วามรูจ ากการ
อา น สอ่ื สง่ิ พิมพ ส่ือ
อิเล็กทรอนกิ สและแหลง
เรียนรตู า งๆ มาพัฒนาตน
พฒั นาการเรยี น และพัฒนา
ความรูท างอาชีพ

ตารางที่ ๕ โครงสรา งขอสอบระหวางเรียน(Formative Assessment) (F) (ตอ )

หนว ย รหสั ตัวชี้วดั / คําสาํ คญั คะแนน จํานวนขอ สอบจาํ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ญ ญา รวม จาํ นวนขอ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู (Key ระหวาง
Word) เรียน ดานความรู(K)และดา นทกั ษะกระบวนการคิด จํานวน จําแนกตามรูปแบบขอ สอบ

๑ จาํ เขา ใจ ประยกุ ตใช วเิ คราะห ประเมินคา สรางสรรค ขอสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๒ ๕. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขียนสอื่ สาร ๑ ๑๑ ๑๑

เขยี นสอ่ื สารในรูปแบบตางๆ ใชภ าษา ๑

ได ตรงตามวัตถุประสงค

โดยใชภ าษาเรียบเรยี ง

ถูกตอง มีขอมลู และ

สาระสําคญั ชัดเจน

๖. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ เขียนยอ ๑๑ ๑๑
๑๑ ๑๑
เขียนยอความจากสื่อทมี่ ี ความ ๑ ๑๑ ๑
๑๑
รูปแบบและเน้ือหา ๑๑

หลากหลาย

๗. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ผลิตงาน

ผลิตงานเขียนของตนเองใน เขยี น

รปู แบบตา งๆ

๘. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ ประเมนิ
ประเมินงานเขียนของผอู ื่น พัฒนา
แลว นํามาพฒั นางานเขยี น

ของตนเอง

๙. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ เขยี น
รายงาน
เขยี นรายงานการศกึ ษาคน ควา ใชขอมลู
เร่ืองท่ีสนใจตามหลักการเขียน อา งอิง
เชงิ วชิ าการ และใชขอ มูล

สารสนเทศอางองิ อยางถกู ตอ ง

ตารางท่ี ๕ โครงสรางขอ สอบระหวางเรียน(Formative Assessment) (F) (ตอ)

หนวย รหัสตัวชวี้ ัด/ คาํ สาํ คญั คะแนน จาํ นวนขอ สอบจาํ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ญ ญา รวม จาํ นวนขอสอบ
ที่ ผลการเรยี นรู (Key ระหวาง จาํ นวน จาํ แนกตามรูปแบบขอ สอบ
Word) เรียน ดานความรู(K)และดานทักษะกระบวนการคิด

๑ จํา เขา ใจ ประยกุ ตใ ช วิเคราะห ประเมนิ คา สรา งสรรค ขอสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๒ ๑๐. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ บันทึก ๐ ๑๑ ๑๑

บนั ทกึ การศกึ ษาคน ควา เพ่อื

นาํ ไปพฒั นาตนเองอยาง

สม่าํ เสมอ

๑๑. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทใน ๐๐
๐ ๐๐
มีมารยาทในการเขยี น การเขียน

๓ ๑๒. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ประเมิน

ประเมนิ เร่อื งที่ฟงและดู แลว ประยุกตใช

กําหนดแนวทางนําไป

ประยกุ ตใชใ นการดําเนนิ ชวี ติ

๑๓. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ มีวิจารณญาณ ๑ ๑๑ ๑

มวี จิ ารณญาณในการเลอื กเรื่องที่

ฟงและดู

๑๔. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖ มมี ารยาท ๐๐

มีมารยาทในการฟง การดู และ

การพูด

๔ ๑๕. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ วเิ คราะห ๒ ๒๑ ๑ ๒

วเิ คราะหอ ทิ ธิพลของ

ภาษาตา งประเทศและภาษาถิน่

๑๖. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗ วิเคราะห ๐ ๐๐ ๐
วเิ คราะหแ ละประเมนิ การใช ประเมิน
ภาษาจากส่ือสง่ิ พมิ พแ ละส่ือ
อิเล็กทรอนิกส

ตารางที่ ๕ โครงสรา งขอสอบระหวา งเรยี น(Formative Assessment) (F) (ตอ)

หนว ย รหสั ตัวชว้ี ัด/ คําสําคญั คะแนน จาํ นวนขอสอบจําแนกตามกระบวนการทางสตปิ ญญา รวม จํานวนขอ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู (Key ระหวาง
Word) เรยี น ดา นความรู(K)และดานทกั ษะกระบวนการคิด จํานวน จําแนกตามรูปแบบขอ สอบ

จํา เขา ใจ ประยกุ ตใช วิเคราะห ประเมนิ คา สรางสรรค ขอ สอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๕ ๑๗. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วิเคราะห ๑ ๒ ๒๒ ๒

วเิ คราะหและวิจารณวรรณคดี วิจารณ

และวรรณกรรมตามหลกั การ

วิจารณเ บื้องตน

๑๘. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ วิเคราะห ๑ ๒ ๒๒ ๒
วิเคราะหล ักษณะเดนของ เชือ่ มโยง

วรรณคดเี ช่ือมโยงกับการเรียนรู

ทางประวัติศาสตรและวิถชี วี ติ

ของสังคมในอดตี

๑๙. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ วเิ คราะห ๒ ๔ ๔๒ ๒ ๔
วิเคราะหแ ละประเมินคณุ คา ประเมินคา

ดา นวรรณศลิ ปของวรรณคดีและ

วรรณกรรมในฐานะท่เี ปนมรดก

ทางวฒั นธรรมของชาติ

๒๐. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ สังเคราะห ๑ ๑๑ ๑๑

สงั เคราะหขอคดิ จากวรรณคดี นาํ ไปใช

และวรรณกรรมเพ่ือนําไป

ประยกุ ตใชใ นชวี ติ จริง

๒๑. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ รวบรวม ๑ ๑ ๑๑ ๑

รวบรวมวรรณกรรมพื้นบานและ อธิบาย

อธิบายภมู ปิ ญญาทางภาษา

รวมคะแนนและจาํ นวนขอสอบ ๒๐ ๗ ๑๓ ๑ ๘ ๒๙ ๑๗ ๔ ๔ ๔ ๒๙

หมายเหตุ ตวั ช้วี ัดใดจะออกขอ สอบ วัด จาํ /ใจ/ใช/ว/ิ ประ/สรา ง ใหดู ผลการวิเคราะหเ ชอ่ื มโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวัดดว ยขอ สอบแบบใด(MC=แบบคําตอบเดียว/MS=แบบ
หลายคาํ ตอบ/ CM=แบบเชงิ ซอน/Rr=แบบกลมุ คําสมั พนั ธ/rr=แบบจาํ กดั คําตอบ/er=แบบขยายคําตอบหรอื ไมจาํ กัดคาํ ตอบ)แบบละกข่ี อในแตละตัวช้วี ัดหรือผลการเรยี นรู

ตารางท่ี ๖ โครงสรา งขอ สอบกลางภาค(Summative Assessment)(S1)

หนว ย รหสั ตวั ชวี้ ดั / คาํ สําคัญ คะแนน จาํ นวนขอสอบจําแนกตามกระบวนการทางสตปิ ญญา รวม จํานวนขอ สอบ
ที่ ผลการเรียนรู (Key กลางภาค
Word) ดา นความรู(K)และดา นทกั ษะกระบวนการคิด จํานวน จาํ แนกตามรปู แบบขอสอบ

จํา เขา ใจ ประยุกตใ ช วเิ คราะห ประเมนิ คา สรา งสรรค ขอสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๑ ๑. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ วเิ คราะห ๔ ๔๔ ๘๘ ๘

วเิ คราะห วิจารณ แสดง วิจารณ
ความคดิ เห็นโตแยงกับเรอ่ื ง แสดงความ
คิดเหน็ โตแยง
ที่อาน และเสนอความคดิ เสนอความคดิ
ใหม
ใหมอ ยา งมีเหตผุ ล

๒. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ตอบคําถาม ๔ ๘ ๘๘ ๘

ตอบคําถามจากการอา น

ประเภทตางๆ ภายในเวลา

ทก่ี าํ หนด

๓. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อานแลว ๒ ๔ ๔๔ ๔
อานเร่ืองตา งๆ แลว เขียน เขยี นกรอบ
กรอบแนวคิดผังความคดิ แนวคดิ
บันทึก ยอ ความ และ บนั ทึก
รายงาน ยอความ
รายงาน

๔. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘ สังเคราะห ๐ ๐๐
สงั เคราะหความรูจากการ
อาน สื่อส่งิ พิมพ สื่อ
อิเล็กทรอนกิ สและแหลง
เรียนรูตา งๆ มาพฒั นาตน
พัฒนาการเรียน และพัฒนา
ความรทู างอาชพี

ตารางที่ ๖ โครงสรางขอสอบกลางภาค(Summative Assessment)(S1) (ตอ)

หนวย รหสั ตวั ช้วี ัด/ คําสาํ คัญ คะแนน จาํ นวนขอ สอบจาํ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ญ ญา รวม จํานวนขอ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู (Key กลางภาค
Word) ดานความรู(K)และดา นทักษะกระบวนการคิด จาํ นวน จําแนกตามรปู แบบขอสอบ

จาํ เขา ใจ ประยุกตใช วิเคราะห ประเมินคา สรา งสรรค ขอสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๕. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขยี นสื่อสาร ๓ ๖ ๖๖ ๖

๒ เขียนสือ่ สารในรูปแบบตางๆ ใชภ าษา

ได ตรงตามวตั ถุประสงค

โดยใชภาษาเรียบเรยี ง

ถกู ตอง มขี อมลู และ

สาระสาํ คญั ชัดเจน

๖. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ เขยี นยอ

เขียนยอความจากส่ือทม่ี ี ความ

รูปแบบและเนื้อหา

หลากหลาย

๗. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ผลติ งาน

ผลิตงานเขยี นของตนเองใน เขยี น

รปู แบบตางๆ

๘. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕

ประเมนิ งานเขยี นของผอู ่ืน แลว ประเมนิ
นํามาพัฒนางานเขยี นของตนเอง พฒั นา

๙. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ เขยี น ๒ ๒๒ ๔๔ ๔
เขยี นรายงานการศึกษาคน ควา รายงาน
เรือ่ งท่ีสนใจตามหลกั การเขียน ใชข อมลู
เชิงวชิ าการ และใชข อ มลู อา งอิง
สารสนเทศอา งอิงอยา งถกู ตอง

ตารางที่ ๖ โครงสรา งขอสอบกลางภาค(Summative Assessment)(S1) (ตอ )

หนว ย รหัสตัวชี้วัด/ คาํ สาํ คญั คะแนน จํานวนขอ สอบจําแนกตามกระบวนการทางสติปญญา รวม จํานวนขอสอบ
ที่ ผลการเรียนรู (Key กลางภาค
Word) ดา นความรู(K)และดานทักษะกระบวนการคิด จาํ นวน จาํ แนกตามรูปแบบขอสอบ

จาํ เขา ใจ ประยกุ ตใช วิเคราะห ประเมนิ คา สรางสรรค ขอสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๒ ๑๐. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ บันทกึ

บนั ทกึ การศกึ ษาคนควาเพ่ือ

นาํ ไปพัฒนาตนเองอยาง

สมาํ่ เสมอ

๑๑. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทใน

มีมารยาทในการเขียน การเขียน

รวมคะแนนและจาํ นวนขอ สอบ ๑๕ ๒๔ ๒ ๔ ๓๐ ๓๐ ๓๐

หมายเหตุ ตัวชว้ี ัดใดจะออกขอสอบ วดั จํา /ใจ/ใช/ว/ิ ประ/สราง ใหด ู ผลการวเิ คราะหเชอ่ื มโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวดั ดวยขอสอบแบบใด(MC=แบบคาํ ตอบเดียว/MS=แบบ
หลายคาํ ตอบ/ CM=แบบเชิงซอ น/Rr=แบบกลุมคําสมั พนั ธ/rr=แบบจํากดั คาํ ตอบ/er=แบบขยายคาํ ตอบหรอื ไมจ ํากัดคาํ ตอบ)แบบละกขี่ อในแตละตวั ชีว้ ัดหรือผลการเรียนรู

ตารางที่ ๗ โครงสรา งขอ สอบปลายภาค(Summative Assessment)(S2)

หนวย รหัสตวั ช้วี ดั / คาํ สําคญั คะแนน จาํ นวนขอสอบจําแนกตามกระบวนการทางสตปิ ญ ญา รวม จาํ นวนขอสอบ
ท่ี ผลการเรยี นรู (Key ปลายภาค จาํ นวน จําแนกตามรูปแบบขอสอบ
Word) ดานความรู(K)และดานทักษะกระบวนการคดิ

จํา เขาใจ ประยกุ ตใช วิเคราะห ประเมินคา สรางสรรค ขอ สอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๑ ๑. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ วิเคราะห ๒ ๒๒ ๔๔ ๔

วิเคราะห วิจารณ แสดง วิจารณ
ความคิดเห็นโตแ ยง กับเรือ่ ง แสดงความ
คิดเหน็ โตแ ยง
ทีอ่ าน และเสนอความคิด เสนอความคดิ
ใหม
ใหมอ ยางมีเหตผุ ล

๒. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ตอบคาํ ถาม ๒ ๔ ๔๔ ๔

ตอบคําถามจากการอา น

ประเภทตา งๆ ภายในเวลา

ท่กี าํ หนด

๓. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อา นแลว

อานเรื่องตา งๆ แลว เขียน เขียนกรอบ
กรอบแนวคิดผงั ความคดิ แนวคิด
บันทึก ยอ ความ และ บันทกึ
รายงาน ยอ ความ
รายงาน

๔. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘ สังเคราะห

สังเคราะหค วามรจู ากการอา น

สอ่ื สงิ่ พิมพ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส

และแหลง เรยี นรูต า งๆ มาพฒั นา

ตน พฒั นาการเรยี น และพัฒนา

ความรูทางอาชีพ

ตารางที่ 8 โครงสรางขอสอบปลายภาค(Summative Assessment)(S2) (ตอ)

หนวย รหสั ตวั ชว้ี ดั / คําสําคัญ คะแนน จํานวนขอสอบจาํ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ญ ญา รวม จํานวนขอ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู (Key ปลายภาค
Word) ดานความรู(K)และดานทกั ษะกระบวนการคิด จาํ นวน จําแนกตามรปู แบบขอ สอบ

จํา เขาใจ ประยุกตใช วิเคราะห ประเมินคา สรา งสรรค ขอ สอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๒ ๕. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขียนสื่อสาร ๒ ๔ ๔๔ ๔

เขยี นส่อื สารในรปู แบบตา งๆ ใชภ าษา

ได ตรงตามวัตถปุ ระสงค

โดยใชภาษาเรียบเรียง

ถูกตอง มีขอมลู และ

สาระสาํ คญั ชัดเจน

๖. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ เขียนยอ ๑ ๒ ๒๒ ๒
๑๑ ๑๑ ๑๑
เขียนยอ ความจากส่ือทีม่ ี ความ

รปู แบบและเน้ือหา

หลากหลาย

๗. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ผลิตงาน ๑

ผลิตงานเขยี นของตนเองใน เขยี น

รปู แบบตา งๆ

๘. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕

ประเมินงานเขียนของผูอ นื่ แลว ประเมนิ
นาํ มาพฒั นางานเขียนของตนเอง พฒั นา

๙. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ เขียน ๑ ๒๑ ๑ ๒
เขียนรายงานการศกึ ษาคนควา รายงาน
เร่อื งทส่ี นใจตามหลกั การเขยี น ใชข อมูล
เชงิ วชิ าการ และใชขอมูล อา งองิ
สารสนเทศอา งอิงอยา งถูกตอง

ตารางที่ 8 โครงสรางขอสอบปลายภาค(Summative Assessment)(S2) (ตอ)

หนว ย รหสั ตัวชว้ี ดั / คําสาํ คญั คะแนน จํานวนขอสอบจาํ แนกตามกระบวนการทางสตปิ ญญา รวม จํานวนขอ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู (Key ปลายภาค
Word) ดานความรู(K)และดานทกั ษะกระบวนการคิด จาํ นวน จําแนกตามรูปแบบขอ สอบ

จาํ เขาใจ ประยุกตใ ช วิเคราะห ประเมินคา สรางสรรค ขอ สอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๒ ๑๐. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ บนั ทึก

บนั ทึกการศึกษาคนควา เพ่ือ

นาํ ไปพัฒนาตนเองอยาง

สมํา่ เสมอ

๑๑. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทใน

มมี ารยาทในการเขยี น การเขยี น

๓ ๑๒. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ประเมิน ๑ ๒ ๒๒ ๒
๑ ๒ ๒๒ ๒
ประเมนิ เร่ืองท่ฟี ง และดู แลว ประยกุ ตใช

กําหนดแนวทางนําไป ๒

ประยกุ ตใ ชในการดาํ เนินชีวติ

๑๓. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ มี

มวี ิจารณญาณในการเลือกเร่อื งที่ วิจารณญาณ

ฟงและดู

๑๔. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖ มมี ารยาท

มีมารยาทในการฟง การดู และ

การพูด

๔ ๑๕. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ วเิ คราะห ๑ ๒ ๒๒
๑๑ ๒๒
วเิ คราะหอ ิทธิพลของ

ภาษาตางประเทศและภาษาถ่นิ

๑๖. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗ วิเคราะห ๑
วเิ คราะหและประเมนิ การใช ประเมนิ
ภาษาจากสอื่ สิง่ พมิ พแ ละส่อื
อิเล็กทรอนิกส

ตารางท่ี 8 โครงสรา งขอ สอบปลายภาค(Summative Assessment)(S2) (ตอ )

หนวย คําสาํ คญั คะแนน จํานวนขอ สอบจําแนกตามกระบวนการทางสตปิ ญ ญา รวม จํานวนขอ สอบ
ท่ี รหสั ตัวชวี้ ดั (Key ปลายภาค
Word) ดานความรู(K)และดา นทกั ษะกระบวนการคิด จาํ นวน จําแนกตามรปู แบบขอ สอบ

จาํ เขา ใจ ประยุกตใช วิเคราะห ประเมนิ คา สรางสรรค ขอสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๕ ๑๗. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วเิ คราะห ๓ ๓ ๓ ๖๖ ๖

วเิ คราะหและวิจารณว รรณคดี วจิ ารณ

และวรรณกรรมตามหลักการ

วิจารณเ บอ้ื งตน

๑๘. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ วิเคราะห ๑ ๒ ๒๒ ๒

วเิ คราะหล กั ษณะเดน ของ เช่อื มโยง

วรรณคดเี ชื่อมโยงกบั การเรียนรู

ทางประวตั ิศาสตรและวิถชี วี ติ

ของสังคมในอดีต

๑๙. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ วเิ คราะห ๔ ๓๑ ๔ ๑๓ ๔

วิเคราะหแ ละประเมินคณุ คา ประเมินคา

ดานวรรณศลิ ปข องวรรณคดแี ละ

วรรณกรรมในฐานะทเี่ ปนมรดก

ทางวฒั นธรรมของชาติ

๒๐. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ สงั เคราะห ๓ ๑ ๒๓ ๓๒
สงั เคราะหขอคดิ จากวรรณคดี นําไปใช
และวรรณกรรมเพอื่ นาํ ไป

ประยกุ ตใชใ นชวี ิตจริง

๒๑. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ รวบรวม ๑ ๒ ๒๒ ๒

รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บานและ อธบิ าย

อธิบายภมู ิปญญาทางภาษา

รวมคะแนนและจํานวนขอสอบ ๒๕ ๑๘ ๖ ๑๕ ๒ ๓ ๔๒ ๓๓ ๒ ๓ ๔ ๔๒

หมายเหตุ ตวั ชีว้ ัดใดจะออกขอ สอบ วดั จาํ /ใจ/ใช/ว/ิ ประ/สราง ใหด ู ผลการวิเคราะหเ ชอื่ มโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวัดดว ยขอ สอบแบบใด(MC=แบบคาํ ตอบเดยี ว/MS=แบบ
หลายคําตอบ/ CM=แบบเชงิ ซอ น/Rr=แบบกลุม คาํ สมั พนั ธ/rr=แบบจาํ กดั คําตอบ/er=แบบขยายคําตอบหรอื ไมจาํ กดั คําตอบ)แบบละกข่ี อในแตล ะตวั ชี้วดั หรือผลการเรยี นรู

ตารางท่ี ๘ การออกแบบ/การวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู(Learning Management Plan)

แผน ี่ท ตัวชว้ี ัด(Indicator) /ผลการเรียนรู หลกั ฐานการเรยี นรู/แนว คําสําคัญ กระบวนการจดั การเรียนรแู ละ สือ่ /นวัตกรรม/ จํานวน
สัปดาห ี่ท
ชอ่ื หนว ย (Learning Outcome) ทางการวดั ประเมินผล (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรียนรู ทรัพยากร ชั่วโมง

๑-๘ ๑-๔ การอาน ๑. วเิ คราะห วจิ ารณ แสดง - ชิน้ งานการวเิ คราะหวิจารณ วเิ คราะห ชั่วโมงที่ ๑ - ๔ - แบบฝก ทักษะ ๘
วิเคราะห ความคิดเหน็ โตแ ยงกบั เรอ่ื งที่ เร่ืองสัน้ พระบรมราโชวาท วิจารณ
วิจารณ อาน และเสนอความคิดใหม กวีนิพนธ บทเพลง - ครูนําพระบรมราโชวาทให การอา น
อยางมีเหตผุ ล - ใบงานการตอบคําถามจาก ตอบคาํ ถาม
๒. ตอบคําถามจากการอา น แบบฝก ทักษะการอา น นกั เรยี นอา นแลวถามใจความหลัก วิเคราะหว จิ ารณ
ประเภทตา งๆ ภายในเวลาที่ วิเคราะหว จิ ารณ เขียนกรอบ
กําหนด - การสรุปขา ว พระบรม แนวคิด จากพระบรมราโชวาท ระดับ ม.๖
๓. อานเรอ่ื งตางๆ แลว เขยี น ราโชวาท ยอ ความ
กรอบแนวคิดผังความคิด - การทําผังความคิดจากเร่ือง รายงาน - นกั เรียนศกึ ษาหลักการอาน - หนังสอื เรียน
บันทกึ ยอความ และรายงาน ทีอ่ าน สังเคราะห วิเคราะหว จิ ารณจ ากหนังสอื เรยี น - ใบงาน
๔. สงั เคราะหค วามรจู ากการ - หนังสือเรียน
อาน สือ่ ส่งิ พิมพ ส่ือ ครอู ธิบายเพ่ิมเติมและใหนักเรยี น หลักการใช
อเิ ลก็ ทรอนิกสแ ละแหลง สรปุ สาระสาํ คัญ ทําเปน ผัง ภาษาไทยม.๖
เรยี นรตู า งๆ มาพัฒนาตน ความคิดลงในสมุด - แบบทดสอบ
พฒั นาการเรียน และพฒั นา - นักเรียนทําใบงานหลักการ
ความรทู างอาชพี
วิเคราะหว ิจารณ และใบงานการ

วิเคราะหเรอื่ งสนั้ กวีนิพนธ นิทาน

จากแบบฝก ทกั ษะการวิเคราะห

วิจารณ

- ครตู รวจงานพรอมใหคาํ แนะนํา

ชวั่ โมงที่ ๕ - ๘

- ครทู บทวนความรเู ร่ืองการวิเคราะห

วิจารณ จากนน้ั ใหน ักเรียน

- นักเรยี นสรปุ ความรจู ากการอานขา ว

หรอื พระบรมราโชวาท จากส่อื

ออนไลน หรือนิตยสารสกลุ ไทย เขยี น

บันทึกสรปุ การตอบคาํ ถาม ลงในสมุด

- ครมู อบหมายงานใหน กั เรยี น

ศกึ ษาศาสตรพ ระราชาจากสื่อออนไลน

แลวใหนกั เรยี นสรุป และยอความรูใน

ประเดน็ ศาสตรท ่ีนักเรยี นสนใจสกู าร

ปฏิบตั ไิ ดจ ริง


Click to View FlipBook Version