3 สารจากอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นองค์กรหลักด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้นมา 81 ปี มีองค์ความรู้ที่ส าคัญสะสมมาอย่างต่อเนื่อง มีบทบาทในการพัฒนานวัตกรรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์การเฝ้าระวังเตือนภัยสุขภาพ การก าหนดมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข พร้อมทั้งมีสายงานสนับสนุน ประกอบด้วยระบบคุณภาพ การพัฒนาบุคลากร การพัฒนากลยุทธ์ และงบประมาณ การคลังและพัสดุรวมถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งองค์ประกอบทั้งหมดนี้ล้วนเป็นปัจจัย ขับเคลื่อนให้องค์การสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่ก าหนด นอกจากบทบาทหลักดังข้างต้นแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนางานประจ าสู่งานวิจัย (Routine to Research) หรือ R2R ซึ่งเป็นเครื่องมือส าคัญที่จะน าองค์ความรู้ที่สะสมไว้มาพัฒนาและสร้างนวัตกรรมได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ความรู้ที่เกิดจาก R2R เป็นความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติงานจริง สะสมประสบการณ์ จากการปฏิบัติงานซึ่งไม่มีในต าราเล่มใด ดังนั้น การที่ได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ R2R โดยเฉพาะการแลกเปลี่ยน ระหว่างหน่วยงานภายในสังกัดกรมและภายนอกกรม จึงเป็นการจัดการความรู้เพื่อให้บุคลากรสามารถพัฒนา ต่อยอดได้และเกิดการแบ่งปันต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด การประชุมมหกรรม DMSc R2R Forum 2023: R2R to Health for Wealth นี้ได้จัดในรูปแบบ Hybrid ทั้ง Onsite และ Online มีการน าเสนอประกวดผลงาน R2R ที่น่าสนใจและมีประโยชน์อย่างยิ่ง ในด้านความก้าวหน้าทางวิชาการที่ผู้น าเสนอสามารถน าไปประยุกต์เพื่อสนับสนุนส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาทาง การแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ในนามกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ผู้น าเสนอผลงาน ผู้เข้าร่วมประชุม ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการประชุมวิชาการR2R ครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ทุกท่านต่อไป (นายศุภกิจ ศิริลักษณ์) อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
4 ค าน า กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีบทบาทหน้าที่ด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ การพัฒนา และรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ การพัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิง ให้เกิดองค์ความรู้และเทคโนโลยีส าหรับ เฝ้าระวัง ประเมิน สื่อสารแจ้งเตือนภัย และก าหนดมาตรการการจัดการความเสี่ยงจากโรคและภัยสุขภาพอย่าง เหมาะสม ซึ่งในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามที่ได้กล่าวมา จ าเป็นอย่างยิ่งต้องมีการประสานการ ด าเนินการร่วมกันในหลายภาคส่วน ทั้งในสายงานภารกิจหลักทางด้านวิชาการและสายงานสนับสนุนทางด้าน บริหารจัดการ โดยมีแนวคิดการพัฒนางานประจ าสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) ซึ่งถือเป็นอีก แนวคิดหนึ่งในการส่งเสริมให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานเรียนรู้และต่อยอดการพัฒนาคุณภาพโดยประยุกต์ใช้ กระบวนการวิจัย ดังนั้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จึงได้มีการก าหนดให้มีการจัดงานมหกรรม DMSc R2R Forum 2023 : R2R to Health for Wealth ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งบุคลากรของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และบุคลากร จากหน่วยงานเครือข่ายต่างๆ เช่น โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย เป็นต้น ท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มี ความหลากหลายช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้น าความรู้ที่ได้ไปพัฒนาประสิทธิภาพ ในการท างาน ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองและน าไปสู่การพัฒนาองค์กรจนเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) อย่างยั่งยืน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กรกฎาคม 2566
5 สารบัญ หน้า สารจากอธิบดีกมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ค าน า สารบัญ ด้านที่ 1 รังสีและเครื่องมือแพทย์ การน าเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) O1-1 นางพนอจิตต์ สุนทะโร การพัฒนาระบบการเข้าถึงข้อมูลภาพถ่ายทางรังสี เพื่อการวินิจฉัยโรงพยาบาลก าแพงเพชร 2 O1-2 นางสาวบริพัฒน์ กัดมั่น การออกแบบและพัฒนารถเข็นนั่งปรับนอนส าหรับการถ่ายภาพเอกซเรย์ในผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ป่วยโควิด-19 3 O1-3 นางสาวศิลปลักษณ์ พงษ์ทองเจริญ การศึกษาคุณสมบัติจอภาพวินิจฉัยคุณลักษณะที่ส่งผลต่อการอ่านแปลผลวินิจฉัยโรค 4 O1-4 นายสุภักดิ์ อินทรก าแหง การประเมินค่าดัชนีชี้วัดปริมาณและการเบี่ยงเบนรังสี ในภาพถ่ายรังสีทรวงอกระบบ ดิจิทัล โรงพยาบาลสูงเนิน นครราชสีมา 5 O1-5 นายจารึก ก้านเพ็ชร การประเมินค่าความคลาดเคลื่อนของ calibration factor (Nd,w) ในหัววัดรังสี โดยใช้ข้อมูลย้อนหลังระยะเวลา 10 ปี 6 O1-6 นายอิโณทัย ด ารงวุฒิ นวัตกรรมการจัดการระบบเครื่องมือแพทย์มีความเสี่ยงสูง ในโรงพยาบาลบ้านหมี่ 7 O1-7 นายทรงธรรม ทุมดี การจัดท าอุปกรณ์ทดสอบการเหลื่อมล้ าระหว่างล ารังสีกับล าแสงไฟ ส าหรับรถเอกซเรย์ เคลื่อนที่ 8 O1-8 นางเฉลิมวรรณ รุ่งเรืองกิจพัฒนา เครื่องบันทึกเสียงหลายภาษา บอกขั้นตอนการถ่ายภาพทรวงอก 9 O1-9 นางวิมลพรรณ บุญซุ่นหลี กล่องเสียงบันทึกความพึงพอใจ 10 O1-10 นางนัฐิกา จิตรพินิจ คุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 11 O1-11 นางสาวนันทิยา วงศ์ปัญญาทรัพย์ ปริมาณรังสีที่ผิวผู้ป่วย Entrance Surface Air Kerma (ESAK) ของเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัย ทั่วไป แบบดิจิตอล (Diagnostic reference levels in Digital radiography: DR) เทคนิค Chest PA ของโรงพยาบาลห้วยกระเจาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ปี 2566 12
6 สารบัญ หน้า O1-12 นางอาระญา มิ่งมงคลชัย ปริมาณรังสีคงเหลือและปัจจัยที่สัมพันธ์ของผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์แบบนอนโรงพยาบาล 13 O1-13 นายนาวิน ชุมแวงวาปี การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าหรับประเมินผลการตรวจติดตามภายใน ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยของโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข 14 ด้านที่ 2 คุ้มครองผู้บริโภค การน าเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) O2-1 นางจามรี ไตรจันทร์ การเสริมสร้างความเข็มแข็งการด าเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคโดยเครือข่ายบวร.ร ชุมชนวัด ห้วยแตน 16 O2-2 นางสาวนิรันดร แร่กาสินธุ์ การลดฟอร์มาลีนในหมึกกรอบ 17 O2-3 นายจิรพงษ์ อติชาต การพัฒนาวิธีการเตรียมตัวอย่างในงานประจ าส าหรับวิเคราะห์หาปริมาณเคอร์คูมินอยด์ ในขมิ้นชัน ด้วยวิธีอัลตราโซนิคทดแทนวิธีการแช่ 18 O2-4 นายอภิชาติ โชติชูศรี รายงานสถานการณ์การปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับจังหวัด 19 O2-5 นางสาวกีรติ มะลิกอง การเปรียบเทียบความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารส าหรับผู้ประกอบการอาหาร ร้านอาหารแผงลอย และ อาสาสมัครสาธารณสุข ต าบลไก่เส่า อ าเภอหนองแซง จังหวัด สระบุรี 20 O2-6 นางสาวกนกวรรณ ไชยสิงห์ ขวดส าหรับปั่นเหวี่ยงช่วยลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสสารเคมีและง่ายต่อการทดสอบ THC และ CBD ในเครื่องส าอาง 21 O2-7 นางสาววรีรัตน์ หิรัณยวุฒิกุล ห้องแลปพอเพียง 22 O2-8 นายโสมนัส ศิริจารุกุล ผลการติดตามเฝ้าระวังผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่ได้รับน้ ามัน กัญชาต ารับหมอเดชา 23 O2-9 นางสาวชุลีพร จันทรเสนา การลดต้นทุนการบรรจุวัตถุทดสอบ แผนทดสอบความช านาญห้องปฏิบัติการ การทดสอบสารพิษตกค้างในผัก ผลไม้สดด้วยชุดทดสอบ 24
7 สารบัญ หน้า O2-10 นายศุภกร จันทร์จอม การศึกษาเปรียบเทียบวิธีหาความหนาแน่นของผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ส าหรับท าความ สะอาดมือชนิดเจล 25 O2-11 นางสาวอนัญญา ยิ่งเจริญธนา การพัฒนาศักยภาพการจ าแนกสิ่งแปลกปลอมและการจัดท าฐานข้อมูล 26 O2-12 นางสาวปานแก้ว รัตนศิลป์กัลชาญ ศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมป้องกันโรคโรคไข้หูดับของเกษตรกรหมูหลุม ที่ขับเคลื่อนด้วยเครือข่ายภาครัฐและเอกชน ต าบลบ้านหัน อ าเภอโนนศิลา จังหวัด ขอนแก่น 27 O2-13 นางสาวพัชราภรณ์ นพปรางค์ การพัฒนาวิธีตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อ Mycoplasma ในตัวอย่างเซลล์ต้นก าเนิด สู่ ผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง โดยวิธี PCR 28 O2-14 นางสาววิทิตา ไปบน การพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ปริมาณปรอทในผลิตภัณฑ์ เครื่องส าอาง โดยเทคนิคการวิเคราะห์ปรอทโดยตรง ด้วยการสลายตัวด้วยความร้อน 29 O2-15 ว่าที่ ร.ต.หญิงสิราวรรณ อ้นเกตุ การพัฒนาวิธีทดสอบประสิทธิภาพการลดเชื้อของผลิตภัณฑ์ท าความสะอาดมือแบบใช้น้ า ล้างออก 30 O2-16 นายอนัตตา การุณ การออกแบบการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการตัวอย่างด้านอาหาร 31 O2-17 นายพงศ์พันธุ์ วัชรวิชานันท์ ความชุกของเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ที่แยกได้จากน้ าบริโภคในเขตสุขภาพที่ 9 32 O2-18 นางสาวอ าไพ ทองเจริญ การประยุกต์ใช้เครื่องกลั่นโปรตีน KjeltecTM ในการเตรียมตัวอย่างขนมอบ เพื่อตรวจ วิเคราะห์ปริมาณกรดโพรพิโอนิก 33 O2-19 นายสิทธิศานติ์ทรัพย์สิริโสภา รูปแบบการให้บริการวัคซีน COVID-19 เพื่อเร่งรัดความครอบคลุมเข็มกระตุ้น ใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล อ าเภอเมืองหนองคาย 34 ด้านที่ 3 ชันสูตร การน าเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) O3-1 นายชานนท์ นัยจิตร ปริมาณไมโครพลาสติกในระบบบ าบัดน้ าเสีย กรณีศึกษาบ่อบ าบัดแบบตะกอนเร่ง 36 O3-2 นางสาววรรณวนิดา จันทร์พันธ์ การเปรียบเทียบระดับเอนไซม์ G6PD ในเลือดของทารกแรกเกิดกับระยะเวลาการเก็บรักษา 37 O3-3 นางศิริวรรณ วันหนุน การตรวจคัดกรองและการให้เลือดแก่ผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย รพ.ตะกั่วป่า จ.พังงา 38
8 สารบัญ หน้า O3-4 นางสาวจิตราภา ยินดี การประเมินประสิทธิภาพเพื่อลดขั้นตอนในกระบวนการตรวจวินิจฉัยระบุชนิดแบคทีเรีย ด้วย matrix-assisted laser desorption and ionization time-of-flight mass spectrometry (MALDI-TOF MS) และการทดสอบความไวรับต่อยาต้านจุลชีพ 39 O3-5 นายชาคริต เชาวฤทธิ์ การประเมินประสิทธิภาพของ EE score ในการแยก β0-thalassemia/HbE และ Homozygous HbE จากข้อมูลย้อนหลัง 8 ปี เพื่อประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการเทคนิค การแพทย์ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 40 O3-6 นายปรีชา ชาลีท า HIV Alert 41 O3-7 นายเชาวลิต แจ่มพิจิตร ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของค่าการทดสอบความสมบูรณ์ของเม็ด เลือดในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ COVID–19 ในโรงพยาบาลค าม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ 42 O3-8 นางเสาวนีย์ แปลกล ายอง การลดอุบัติการณ์ในการเจาะเลือดผิด 43 O3-9 นางสาวกนกวรรณ เงื่อนจันทร์ทอง การพัฒนาวัสดุทดสอบชนิดแห้งจากน้ าเพาะเลี้ยงเซลล์ 8E5 ส าหรับตรวจหาปริมาณเชื้อ เอชไอวีในกระแสเลือดด้วยเครื่องตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติ 44 O3-10 นางสาวรดา เตร์ยาซิงห์ การจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการอณูชีววิทยา ศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ที่ 6 ชลบุรี 45 O3-11 นางสาวกัตติกา ราชนิยม การศึกษาปริมาณโลหิตส ารองที่เหมาะสมของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 46 O3-12 นางสาวนิตยา สอาด การพัฒนากระบวนงานตรวจวิเคราะห์ Methamphetamine ในปัสสาวะ 47 O3-13 นายภัทร วงษ์เจริญ พัฒนาการตรวจไวรัสชิคุนกุนยาวิธีเรียล-ไทม์ อาร์ที-พีซีอาร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงาน บริการตรวจวิเคราะห์ 48 O3-14 นางสาวคณิศร ลาภอดิศร การประเมินภาวะความดันโลหิตสูง และ Thai CV risk score ของบุคลากรที่เข้ารับ บริการตรวจสุขภาพที่สถานพยาบาล กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ช่วงปี 2563-2566 49 03-15 นายวรวิทย์ ไชยชอุ่ม การใช้ Monocyte distribution width (MDW) เพื่อบ่งชี้การติดเชื้อในกระแสเลือด 50 03-16 นางสาวกอบแก้ว บ ารุงไทย การเพิ่มฤทธิ์การฆ่าเชื้อ Methicillin-resistance staphylococcus aureus ของเซลล์ ต้นก าเนิด mesenchymal stem cell โดยวิธี 3D culture 51
9 สารบัญ หน้า 03-17 นางเสาวนีย์ แปลกล ายอง การลดอุบัติการณ์การเตรียมวัคซีนโควิดผิด โดยใช้หลัก 10 R 52 ด้านที่ 4 ภารกิจสนับสนุน การน าเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) O4-1 รองศาสตราจารย์ปรวัฒน์ วิสูตรศักดิ์ การตรวจจับและประเมินท่าทางการออกก าลังกายท่าร าไทเก๊กที่ถูกต้องส าหรับผู้สูงอายุ 54 O4-2 นางสาวสุธาริณี จันทร สถานปฏิบัติการที่ด าเนินงานกับเชื้อโรค กลุ่มที่ 3 ในประเทศไทย 55 O4-3 นายสุพิสิฐ วงศ์พุทธิสิน ใบประกาศนียบัตรอิเล็กทรอนิกส์ E-Certificate 56 O4-4 นางสาวพัชรี มีอนันต์ การวิเคราะห์ข้อมูลการแนบเอกสารหลักฐานประกอบการขอรับหนังสือรับรองการแจ้ง และใบอนุญาต ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558 57 O4-5 นางสาวปรมินทร์ตรา จิตมณี โครงการพัฒนาระบบคลินิกตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลราชบุรี 58 O4-6 นางสาวพนิดา สมนันท์ ผลการพัฒนารูปแบบการบริการพยาบาลดูแลผู้สูงอายุในชุมชน : Seamless Care model 59 O4-7 นายสุรสิทธิ์ คุ้มสุวรรณ การพัฒนาแนวทางการลดต้นทุนค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ 60 O4-8 นางสาวกอบกาญจน์ ชูปาน ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาก่อนการจ่ายยาฉีดผู้ป่วยในของโรงพยาบาลบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี 61 O4-9 นางสาวอริญาภรณ์ พัฒนสิงห์ แวะหาหนูสักนิด เมื่อท่านคิดใช้เงิน 62 O4-10 นางสาวภัทรีญา ชุมชิต การพัฒนากระบวนการระบบการส่งสิ่งส่งตรวจในขั้นตอน Pre analytical งานห้อง ฉุกเฉิน ศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง 3 วัดบูรพ์ สังกัดโรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา 63 O4-11 นางกิตติพร อิงคนินันท์ วิเคราะห์ข่าวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อสื่อสารประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้แก่ประชาชน 64 O4-12 นายธนะวรรธน์ รัตนวิทูรย์ การพัฒนาระบบงาน Routine to Research (R2R) กองโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค 65 O4-13 นางสาวพรทิพย์ หลวงวิชา การพัฒนารูปแบบกระบวนการติดตามหนี้ค้างช าระเชิงรุก 66
10 สารบัญ หน้า O4-14 นายสีหนาท ศิวเสน การพัฒนาระบบลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (E-Signature) ส าหรับการขออนุญาตการ เผยแพร่ข้อมูลวิชาการ การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ครั้งที่ 31 67 O4-15 นางสาวอัจฉราพร ด าบัว การจัดการเอกสารการบันทึกสภาวะแวดล้อมห้องคลีนรูมในรูปแบบเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ 68 O4-16 นางขวัญเรือน ทองรักษ์ การจัดท า Web Application เพื่อจัดการวัสดุสิ้นเปลืองของ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 9 นครราชสีมา 69 O4-17 นางวิภาวดี รากแก่น การปรับปรุงกระบวนงานการแจ้งหนี้ ของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 อุบลราชธานี 70 O4-18 นายจิระเดช นาสุข การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของนักวิจัยรุ่นใหม่ในการด าเนินงานโครงการวิจัย ของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา 71 O4-19 นางทับทรวง ยอดเมือง โปรแกรม Smart TB DOT โดยการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย โรงพยาบาลสันก าแพง จังหวัดเชียงใหม่ 72 O4-20 นางจุฑาภรณ์ หมอนสีหา การน าเสนอโปรแกรม “ระบบสืบค้นน าส่งทางไปรษณีย์” 73 O4-21 นางสาววชิราภา เขียวรอด การประยุกต์ใช้ Google Workspace apps และ Line notify ในการควบคุมคุณภาพ ภายในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา 74 O4-22 นายกนกพิชญ์ จันทร์สุวรรณ การศึกษาเปรียบเทียบซอฟต์แวร์ส าหรับการประชุมทางไกล 75
DMSc R2R Forum 2023 2 R2R to Health for Wealth 2 O1-1 การพัฒนาระบบการเข้าถึงข้อมูลภาพถ่ายทางรังสีเพื่อการวินิจฉัย โรงพยาบาลก าแพงเพชร (Developing a diagnostic radiographic data access system at Kamphaeng Phet Hospital) พนอจิตต์ สุนทะโร* กลุ่มงานรังสีวิทยา โรงพยาบาลก าแพงเพชร จังหวัดก าแพงเพชร เบอร์โทรศัพท์ 064 356 7736 E-mail: khunphanor@gmail.com บทคัดย่อ ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีเทคโนโลยีและโรคระบาดเพิ่มมากขึ้น ภาพถ่ายทางรังสีจึงมีความจ าเป็นในการ ช่วยวิเคราะห์โรค จากการส ารวจแนวทางการปฏิบัติงาน,ปัญหาต่างๆ ในการใช้งาน จึงมีการปรับปรุงแนวการ เข้าถึงข้อมูลภาพในระบบ PACS ทั้งในและนอกโรงพยาบาลก าแพงเพชร เพื่อพัฒนาระบบการเข้าถึงข้อมูล ภาพถ่ายทางรังสีที่มีความปลอดภัยมากขึ้นและสามารถตรวจสอบได้ของกลุ่มงานรังสีวิทยาโรงพยาบาล ก าแพงเพชร ก าหนดกลุ่มประชากรเฉพาะผู้เกี่ยวข้องและผ่านเกณฑ์เท่านั้น เป็นการศึกษาแบบเก็บข้อมูลย้อนหลังและ เดินหน้า ได้น าแพลตฟอร์ม NGINX และ Docker มาใช้ และใช้โปรแกรมของบริษัท PACS ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลและสถิติต่างๆ มีการใช้งานภายในโรงพยาบาล ทั้งสิ้น 119 Users ,การใช้งานภายนอกโรงพยาบาลผ่าน ระบบอินเตอร์เน็ต ให้สิทธิ์เฉพาะแพทย์เท่านั้น มีจ านวน 83 Users,ใช้งานจริง 43 Users โดยใช้งานผ่าน https://pacs.kph.go.th มีการตรวจสอบและเก็บบันทึกสถิติการเข้าใช้งานทุก Users แพทย์ใช้งานจากภายใน และภายนอกโรงพยาบาลได้ 100%, ไม่พบการเข้าระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต 0%,เก็บบันทึกข้อมูลการเข้าใช้ งานได้ทุก Users 100%,ตรวจสอบกิจกรรมการเข้าใช้งานได้ 100%,ผลการประเมินความพึงพอใจ อยู่ในระดับ พึงพอใจมากที่สุด ≥ 90% ด้วยวิธีการพัฒนาระบบนี้ สามารถประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม ทั้งเป็นการ ประหยัดงบประมาณอีกด้วย ค าส าคัญ : ระบบ PACS,ภาพถ่ายทางรังสี,โรงพยาบาลก าแพงเพชร,ระบบอินเตอร์เน็ต
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 3 3 O1-2 การออกแบบและพัฒนารถเข็นนั่งปรับนอนส าหรับการถ่ายภาพเอกซเรย์ ในผู้ป่วยสูงอายุและผู้ป่วยโควิด-19 The Design and Development of a Stretcher Cum Wheelchair for Radiographic Purposes in Elderly Patients and COVID-19 Patients ศุภวิทู สุขเพ็ง1 , บริพัฒน์ กัดมั่น1* , ดนุ พรหมมินทร์2 และ ปริญญา จันทร์หุณีย์2 1 ภาควิชารังสีเทคนิค คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000 2 ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี 12120 เบอร์โทรศัพท์ 087 202 5010 E-mail: bouripatk@nu.ac.th บทคัดย่อ ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Aged Society) แล้ว การเตรียมความพร้อมด้านนวัตกรรมการแพทย์ เพื่อรองรับสังคมสูงอายุ จึงมีบทบาทส าคัญต่อระบบบริการสาธารณสุขของประเทศ การถ่ายภาพเอกซเรย์เป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการตรวจวินิจฉัยโรค โดยการจัดท่าถ่ายภาพเอกซเรย์ผู้สูงอายุที่มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับการ เคลื่อนไหว หรือผู้ป่วยที่มาด้วยรถเข็นนั่ง เปลนอน เมื่อต้องการถ่ายภาพเอกซเรย์ จ าเป็นต้องเคลื่อนย้าย ผู้สูงอายุมายังเตียงเอกซเรย์เพื่อการถ่ายภาพ และต้องเคลื่อนย้ายผู้สูงอายุกลับไปยังรถเข็นอีกครั้ง ซึ่งอาจท าให้ เกิดการบาดเจ็บเพิ่มเติม นอกจากนี้สถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนาหรือโควิด-19 ท าให้เกิดการปรับตัว ด้านรูปแบบการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชนด้วยวิทยาการใหม่ๆ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและพัฒนารถเข็นนั่งปรับนอนส าหรับการถ่ายภาพเอกซเรย์ (Radiological Technology : RT Wheelchair) สามารถถ่ายเอกซเรย์ได้ทุกส่วนของร่างกาย โดยไม่จ าเป็นต้องย้ายผู้ป่วยไปเตียงเอกซเรย์เพื่อท า การถ่ายภาพ โดยขั้นตอนการวิจัยประกอบด้วย การออกแบบและพัฒนา การประเมินคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์ ตามมาตรฐาน การทดลองใช้งานภาคสนาม และประเมินความพึงพอใจ โดยวัสดุหลักของแผ่นรองรับตัวผู้ป่วย มีคุณสมบัติลดทอนรังสีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับการถ่ายภาพแบบปกติทั้งนี้ไม่กระทบต่อคุณภาพ ของภาพและไม่ส่งผลให้ต้องเพิ่มค่าปริมาณรังสีที่ใช้ในการถ่ายภาพ ด้านผลประเมินความพึงพอใจโดยรวมอยู่ใน ระดับ ปานกลางถึงมากที่สุด และทางคณะผู้วิจัยได้น าผลประเมินและข้อเสนอแนะจากตัวต้นแบบ (Prototype) มาพัฒนาต่อยอด เพื่อผลักดันให้ได้ RT wheelchair ที่มีความสมบูรณ์ และมีความพร้อมในการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ผู้ประกอบการหรือการเข้าสู่เชิงพาณิชย์ต่อไป ค าส าคัญ: การถ่ายภาพเอกซเรย์, รถเข็นนั่งปรับนอน, ผู้สูงอายุ, ผู้ป่วยโควิด-19
DMSc R2R Forum 2023 4 R2R to Health for Wealth 4 O1-3 การศึกษาคุณสมบัติจอภาพวินิจฉัยคุณลักษณะที่ส่งผลต่อการแปลผลวินิจฉัยโรค A study of the diagnostic monitors properties, the characteristics that affected to interpretation. ศิลปลักษณ์ พงษ์ทองเจริญ* โรงพยาบาลโกสุมพิสัย ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม เบอร์โทรศัพท์ 086 398 9563 E-mail: Sillauisin@gmail.com บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติจอวินิจฉัยคุณลักษณะที่ส่งผลกระทบต่อการแปลผล วินิจฉัยโรค เนื่องจากจอภาพวินิจฉัยที่ดีต้องสามารถแสดงรายละเอียดของรอยโรคและพยาธิสภาพได้อย่าง สมบูรณ์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่ม A จอวินิจฉัยที่ความละเอียดมากกว่า 2 ล้านพิกเซล 12 จอ และกลุ่ม B จอ วินิจฉัยที่ความละเอียดต่ ากว่า 2 ล้านพิกเซล 15 จอ คุณสมบัติที่ควบคุมคือ ค่า Aspect Ratio 16:9, Image brightness 200-250 cd/m2 , Contrast Ratio 600:1 ทดสอบโดยใช้โปรแกรม TG-18-QC ใน 8 คุณลักษณะ และทดสอบผลต่อการแปลผลวินิจฉัย โดยใช้ภาพทรวงอกแสดงพยาธิสภาพนิวโมทอแร็กซ์ในการทดสอบ และ ใช้แบบประเมินนิวโมทอแร็กซ์ 9 ข้อ ใช้สถิติ Mann-Whitney U Test ผลทดสอบ TG-18 ผลไม่ผ่านกลุ่ม A 6 จอ, กลุ่ม B 8 จอ การทดสอบคุณสมบัติของจอวินิจฉัย A, B กับคะแนนการทดสอบ TG-18 พบมีมัธยฐานค่า คะแนนการทดสอบเท่ากัน เมื่อทดสอบความละเอียดของจอวินิจฉัยต่อค่าคะแนนการอ่านแปลผลพยาธิสภาพ นิวโมทอแร็กซ์ พบทั้งสองกลุ่มมีค่ามัธยฐานคะแนนการแปลผลพยาธิสภาพนิวโมทอแร็กซไม่เท่ากัน แสดงว่า ค่ามัธยฐานคะแนนการแปลผลพยาธิสภาพนิวโมทอแร็กซ์ที่ไม่เท่ากันมีผลมาจากคุณสมบัติความละเอียดของ จอภาพ เมื่อศึกษาเฉพาะคุณลักษณะที่ส่งผลกระทบต่อการแปลผล พบว่าในคุณลักษณะที่ 4 มีค่ามัธยฐานของ คะแนนไม่เท่ากัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ Sig = 0.021 ดังนั้นจอทีค่าความละเอียดมากกว่า 2 ล้านพิกเซล แต่เสื่อมสภาพขาดคุณสมบัติไม่ควรน ามาใช้เป็นจอวินิจฉัย จึงควรมีการเปลี่ยนจอวินิจฉัยให้มีคุณสมบัติที่ ถูกต้องเพื่อการวินิจฉัยที่แม่นย า ค าส าคัญ : จอวินิจฉัย; การควบคุมคุณภาพจอภาพ
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 5 5 O1-4 การประเมินค่าดัชนีชี้วัดปริมาณและการเบี่ยงเบนรังสี ในภาพถ่ายรังสีทรวงอก ระบบดิจิทัล โรงพยาบาลสูงเนิน นครราชสีมา Assessment of Exposure Index and Radiation Deviation in digital chest radiographs Sungnoen Hospital สุภักดิ์ อินทรก าแหง* โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา เบอร์โทรศัพท์ 081 266 0498 E-mail: supak.xray@gmail.com บทคัดย่อ เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง (retrospective study) เพื่อประเมินค่าดัชนีชี้วัดปริมาณรังสี (Exposure index:EI) และ ดัชนีชี้วัดการเบี่ยงเบนปริมาณรังสี (Deviation index :DI) อิงเกณฑ์เหมาะสมตามเกณฑ์ที่ บริษัทผู้ผลิตระบบสร้างภาพดิจิทัลก าหนด จากภาพรังสีทรวงอกระบบดิจิทัล ระหว่างเดือน มีนาคม-สิงหาคม 2565 จ านวน 4,577 ภาพ ผลการศึกษาพบว่าภาพรังสีที่คุณภาพอยู่ในช่วงเกณฑ์เหมาะสม จ านวน 300 ภาพ (ร้อยละ 6.55) และอยู่นอกช่วงเกณฑ์ เหมาะสมโดยอยู่ต่ ากว่าค่าเหมาะสม จ านวน 2,889 ภาพ (ร้อยละ 63.11) และสูงกว่าค่าเหมาะสมจ านวน 1,388 ภาพ ( ร้อยละ30.32) ค าส าคัญ: Exposure index :EI, Deviation index :DI
DMSc R2R Forum 2023 6 R2R to Health for Wealth 6 O1-5 การประเมินค่าความคลาดเคลื่อนของ calibration factor (Nd,w) ในหัววัดรังสี โดยใช้ข้อมูลย้อนหลังระยะเวลา 10 ปี The error determination of calibration factor (Nd,w) in dosimeter by using data over the period of 10 years จารึก ก้านเพ็ชร* ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เบอร์โทรศัพท์ 081 934 3386 E-mail: aruek2525@gmail.com บทคัดย่อ ค่า calibration factor (Nd,w) เป็นค่าที่มีความส าคัญเพราะมีความสัมพันธ์กับปริมาณรังสีที่ให้แก่ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีฉายรังสี ค่า Nd,w นี้จะได้จากการส่ง หัววัดรังสี (ionization chamber) ไปสอบ เทียบที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณะสุข ซึ่งจะส่งไปสอบเทียบประมาณ 2-3 ปีต่อครั้ง แต่ เนื่องจากสถานการณ์ระบาดของโรค COVID19 ท าให้การนัดหมายในการสอบเทียบมีความล่าช้าออกไป ซึ่ง อาจจะส่งผลต่อปริมาณรังสีที่ให้ผู้ป่วยได้ ท าให้ต้องพิจารณาถึงค่าความคลาดเคลื่อนของค่า calibration factor ที่อาจเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ยังไม่ได้ส่งไปสอบเทียบ การศึกษานี้ได้ท าการพิจารณาค่าความคลาดเคลื่อนย อ้นหลังของค่า Nd,w ตลอดระยะเวลา 10 ปี ของ ionization chamber 2 ชนิดคือ FC65G และ FC65P รวม ทั้งหมด 4 หัววัด ที่ใช้งานมากที่สุดของทางรังสีรักษา พบว่า ความเปลี่ยนแปลงของค่า Nd,w อยู่ภายในช่วง <±3% ท าให้เรามั่นใจได้ว่าตลอด 10 ปี หัววัดรังสีมีเสถียรภาพค่อนข้างสูงจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส าคัญในการ พิจารณาใช้วัดปริมาณรังสีของเครื่องฉายที่จะยังคงความถูกต้องในช่วงที่ยังไม่ได้ส่งสอบเทียบจากสถานการณ์ COVID19 เพื่อให้เกิดความถูกต้องต่อปริมาณรังสีที่ให้ต่อผู้ป่วยได้ ค าส าคัญ : calibration factor, Nd,w, สอบเทียบ, หัววัดรังสี, ionization chamber
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 7 7 O1-6 นวัตกรรมการจัดการระบบเครื่องมือแพทย์มีความเสี่ยงสูง ในโรงพยาบาลบ้านหมี่ Innovation management Systems of Medical Equipment in Banmi Hospitals อิโณทัย ด ารงค์วุฒิ* โรงพยาบาลบ้านหมี่ อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี เบอร์โทรศัพท์ 0863081804 E-mail: ainothai41@gmail.com บทคัดย่อ โรงพยาบาลบ้านหมี่ ขนาด 260 เตียง ได้ Re-accredit HA 4 มีประเด็นส่วนเครื่องมือแพทย์มีความ เสี่ยงสูง โดยให้ทีมเครื่องมือแพทย์ ร่วมกันออกแบบการท างานใหม่ให้ชัดเจน ทั้งการตรวจสอบความพร้อมใช้ การบ ารุงรักษา/การสอบเทียบ ก าหนดวัตถุประสงค์เพื่อระบบตรวจสอบความพร้อมใช้ การบ ารุงรักษาเชิง ป้องกันทุก 6 เดือน ระบบการยืมคืนระหว่างตึก มีการสอบเทียบและรายงานสถานะสอบเทียบ และมีรายงาน การตรวจสอบการซ่อมแซม การตรวจสอบจะต้องเป็นระบบออนไลน์ การศึกษาได้ก าหนดขอบเขตเฉพาะ เครื่องมือฯ เนื่องจากจ านวนและชนิดของเครื่องมือฯ ในโรงพยาบาลมีจ ากัด ท าให้ต้องมีนวัตกรรมการจัดการ เครื่องมือแพทย์ฯ ผู้ศึกษาได้ใช้google platform ซึ่งประกอบด้วย google appsheet , google sheet , google looker studio ทั้ง 3 platform เชื่อมโยงผ่านGmail ผลการศึกษาโปรแกรมสามารถใช้งาน การ รับเข้า-จ่ายออกทางในและนอกเวลา online ,Scan QR Code, timestamp การบ ารุงรักษาเชิงป้องกัน (IPM)สามารถแสดงสถานะความไม่พร้อมและความพร้อมใช้ปัจจุบันได้ หอผู้ป่วยตรวจสอบสถานะเองได้บันทึก ข้อมูลIPMครบถ้วน ผู้บริหารสามารถรู้ต้นทุนค่าใช้จ่ายจากระบบรายงานได้ การแจ้งซ่อมมีระบบรายงาน ปัญหาและการซ่อม ต้นทุนค่าใช้จ่าย สถานะซ่อม ระบบการยืมเครื่องมือกันระหว่างตึกและตรวจสอบความ พร้อมใช้ก่อนให้ยืมและบันทึกผู้ยืม และตรวจสอบการสอบเทียบซึ่งใช้ timestamp เวลาตั้งแต่วันที่สอบเทียบ ล่าสุด มีความคล่องตัวสูง Dashboard แสดงแบบ visualization และ Download ได้ ค าส าคัญ: เครื่องมือแพทย์มีความเสี่ยงสูง, google platform
DMSc R2R Forum 2023 8 R2R to Health for Wealth 8 O1-7 การจัดท าอุปกรณ์ทดสอบการเหลื่อมล้ าระหว่างล ารังสีกับล าแสงไฟ ส าหรับรถเอกซเรย์เคลื่อนที่ Collimator Test Tool for X-ray vehicles ทรงธรรม ทุมดี* ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11/1 ภูเก็ต กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 080 882 4048 E-mail: songtum.t@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ การทดสอบการเหลื่อมล้ าระหว่างล ารังสีกับล าแสงไฟ ในแต่ละด้านของอุปกรณ์จ ากัดล ารังสีเป็น รายการทดสอบหนึ่งในการทดสอบมาตรฐานคุณภาพเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทั่วไปที่ติดตั้งบนรถเอกซเรย์ ตาม ประกาศกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง มาตรฐานคุณภาพเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทางการแพทย์ พ.ศ.2562 ส าหรับวิธีการทดสอบการเหลื่อมล้ าระหว่างล ารังสีกับล าแสงไฟของเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทั่วไปที่ติดตั้งบนรถ เอกซเรย์ ที่นักฟิสิกส์รังสีปฏิบัติ คือ จะน าแผ่น Collimator Test Tool ไปติดกับพื้นผิวด้านหน้าของ Bucky Stand แต่เนื่องจากระนาบของพื้นผิว Bucky Stand อยู่ในแนวดิ่ง จึงเป็นอุปสรรคในการจัดต าแหน่งแผ่น Collimator Test Tool ให้ล าแสงไฟตรงกับต าแหน่งอ้างอิงบนแผ่น Collimator Test ส่งผลให้ใช้เวลานานใน การทดสอบดังกล่าว จึงเกิดแนวคิดที่จะจัดท าอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการเหลื่อมล้ าระหว่างล ารังสีกับล าแสงไฟของ เครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทั่วไปที่ติดตั้งบนรถเอกซเรย์ ที่สะดวกในการติดตั้งใช้งานและประหยัดเวลาในการ ทดสอบ โดยน าแผ่นทองแดงมาตัดเพื่อท าเป็นแท่งทดสอบความเหลื่อมล้ าของล ารังสีฯในแต่ละด้าน และน า แผ่นทองแดงดังกล่าวติดกับแผ่นสติ๊กเกอร์แม่เหล็ก โดยขั้นตอนการทดสอบความเหลื่อมล้ าของล ารังสีฯ สามารถน าแท่งทดสอบความเหลื่อมล้ าของล ารังสีฯไปติดตั้งบนพื้นผิว Bucky Stand ท าให้สะดวกในการจัด ต าแหน่งล าแสงไฟตรงกับต าแหน่งอ้างอิงบนแท่งทดสอบความเหลื่อมล้ าของล ารังสีฯ ส่งผลให้ประหยัดเวลาใน การทดสอบ ค าส าคัญ: ล ารังสี, ล าแสงไฟ,การเหลื่อมล้ า
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 9 9 O1-8 เครื่องบันทึกเสียงหลายภาษา บอกขั้นตอนการถ่ายภาพทรวงอก Lung Xray voice record เฉลิมวรรณ รุ่งเรืองกิจพัฒนา*, และ วิมลพรรณ บุญซุ่นหลี รังสีวิทยา รพ.บ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เบอร์โทรศัพท์ 080 641 9951 E-mail : wanwan152506@gmail.com บทคัดย่อ การประเมินคะแนนความพึงพอใจของผู้รับบริการซึ่งเป็นตัวชี้วัดหลักของงานหน่วยงานรังสีวิทยา เดิม หน่วยงานใช้เจ้าหน้าที่ห้องเอกซเรย์เก็บแบบประเมินความพึงพอใจโดยใช้เอกสาร ซึ่งต่อมาทางโรงพยาบาลใช้ นักศึกษาที่มาฝึกงานเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อความมีมาตรฐานในภาพรวม 30 ชุด หน่วยงานได้คะแนนการ ประเมินความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ82 ซึ่งท าให้ตกเกณฑ์ตัวชี้วัด หน่วยงานจึงต้องประชุมภายในเพื่อทบทวน คุณภาพบริการและหาสาเหตุว่ามาตรฐานด้านใดของหน่วยงานที่มีมาตรฐานลดน้อยลง เช่น เรื่องพฤติกรรม บริการของเจ้าหน้าที่, ขั้นตอนบริการ, หรือความรวดเร็ว หน่วยงานรังสีวิทยาจึงท าการเก็บแบบประเมินความ พึงพอใจใหม่เพื่อหาค่าประเมินความพึงพอใจก่อนที่จะมีการตรวจประเมิน external audit ห้องปฏิบัติการรังสี และHA เข้าเยี่ยมประเมิน ซึ่งถ้าใช้เจ้าหน้าที่เก็บแบบสอบถามแบบเดิมอาจล่าช้าเนื่องจากเจ้าหน้ามีไม่ เพียงพอและท าให้เสียเจ้าหน้าที่ไปเก็บแบบประเมินท าให้บริการผู้รับบริการล่าช้าถ้ามีผู้รับบริการต่อเนื่อง หน่วยงานจึงคิดประดิษฐ์กล่องเสียงบันทึกความพึงพอใจ ซึ่งเป็นโปรแกรมค านวณส าเร็จรูปและรวบรวมคะแนน การประเมินความพึงพอใจในแต่ละวันจากการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคม 2566- พฤษภาคม 2566อัตรา ความพึงพอใจของผู้รับบริการคิดเป็นร้อยละ95.94 ค าส าคัญ : นวัตกรรม ตัวชี้วัด ความพึงพอใจ
DMSc R2R Forum 2023 10 R2R to Health for Wealth 10 O1-9 กล่องเสียงบันทึกความพึงพอใจ Satisfaction voice box วิมลพรรณ บุญซุ่นหลี*, และ เฉลิมวรรณ รุ่งเรืองกิจพัฒนา รังสีวิทยา รพ.บ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา โทรศัพท์ 086-1644511 E-mail : seehanart.s@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ การประเมินคะแนนความพึงพอใจของผู้รับบริการซึ่งเป็นตัวชี้วัดหลักของงานหน่วยงานรังสีวิทยา เดิมหน่วยงานใช้เจ้าหน้าที่ห้องเอกซเรย์เก็บแบบประเมินความพึงพอใจโดยใช้เอกสาร ซึ่งต่อมาทางโรงพยาบาล ใช้นักศึกษาที่มาฝึกงานเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อความมีมาตรฐานในภาพรวม 30 ชุด หน่วยงานได้คะแนน การประเมินความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ82 ซึ่งท าให้ตกเกณฑ์ตัวชี้วัด หน่วยงานจึงต้องประชุมภายในเพื่อ ทบทวนคุณภาพบริการและหาสาเหตุว่ามาตรฐานด้านใดของหน่วยงานที่มีมาตรฐานลดน้อยลง เช่น เรื่องพฤติกรรมบริการของเจ้าหน้าที่, ขั้นตอนบริการ, หรือความรวดเร็ว หน่วยงานรังสีวิทยาจึงท าการเก็บแบบ ประเมินความพึงพอใจใหม่เพื่อหาค่าประเมินความพึงพอใจก่อนที่จะมีการตรวจประเมิน external audit ห้องปฏิบัติการรังสี และ HA เข้าเยี่ยมประเมิน ซึ่งถ้าใช้เจ้าหน้าที่เก็บแบบสอบถามแบบเดิมอาจล่าช้าเนื่อง จากเจ้าหน้ามีไม่เพียงพอและท าให้เสียเจ้าหน้าที่ไปเก็บแบบประเมินท าให้บริการผู้รับบริการล่าช้า ถ้ามีผู้รับบริการต่อเนื่อง หน่วยงานจึงคิดประดิษฐ์กล่องเสียงบันทึกความพึงพอใจ ซึ่งเป็นโปรแกรมค านวณ ส าเร็จรูปและรวบรวมคะแนนการประเมินความพึงพอใจในแต่ละวันจากการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือน มีนาคม 2566 - พฤษภาคม 2566 อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการคิดเป็นร้อยละ 95.94 ค าส าคัญ : นวัตกรรม ตัวชี้วัด ความพึงพอใจ
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 11 11 O1-10 คุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 Quality of Non-invasive Automated Sphygmomanometers in District Health Promoting Hospitals Regional Health 2 นัฐิกา จิตรพินิจ* อโณทัย ศรีตนไชย, กฤติยาณี วงษ์อุปรี, ปิยวัฒน์ บุญศรี และ พิชญาภา สุวรรณเจริญ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 พิษณุโลก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 099 182 3110 E-mail: natika.j@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ การทดสอบคุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติโดยใช้ชุดทดสอบ BP Sure เขตสุขภาพที่ 2 ภายใต้ต าบลจัดการคุณภาพชีวิต เพื่อให้เครื่องวัดความดันโลหิตที่ใช้งานเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพและผ่านการ ทดสอบคุณภาพใช้คัดกรองประชาชนที่พบความดันโลหิตสูงได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ที่ 2 พิษณุโลก จึงได้ด าเนินการระหว่างตุลาคม 2565 - มิถุนายน 2566 ในจังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุโขทัย และตาก โดยใช้ชุดทดสอบ BP Sure กับแอพพลิเคชั่นช่วยประมวลผลการทดสอบมีการทดสอบ 2 แบบ คือ กรณีเข้าโหมดทดสอบได้ด าเนินการทดสอบ 2 รายการคือทดสอบการรั่วและทดสอบความแม่น กรณีไม่สามารถเข้าโหมดทดสอบได้ใช้วิธีวัดเทียบค่าจริงกับคน โดยทดสอบคุณภาพจ านวนรวมทั้งหมด 273 เครื่อง พบไม่ผ่านเกณฑ์ จ านวน 8 เครื่อง (ร้อยละ 2.9) โดยมีสาเหตุรายการที่ไม่ผ่านคือการทดสอบการรั่ว จ านวน 6 เครื่อง (ร้อยละ 2.2) พบค่าการรั่วสูงสุด 18 mmHg และค่าความแม่น จ านวน 2 เครื่อง (ร้อยละ 0.7) พบค่า ความผิดพลาดสูงสุด -5 mmHg ผลการทดสอบคุณภาพสามารถน าไปก ากับดูแลเครื่องวัดความดันโลหิตที่ใช้งาน กับประชาชนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานให้ผลการวัดที่น่าเชื่อถือช่วยในการวินิจฉัยโรคและติดตาม ผลการรักษาได้แม่นย า ค าส าคัญ: ความดันโลหิตแบบอัตโนมัติ, ความดันโลหิตสูง, ทดสอบ Bp Sure
DMSc R2R Forum 2023 12 R2R to Health for Wealth 12 O1-11 ปริมาณรังสีที่ผิวผู้ป่วย Entrance Surface Air Kerma (ESAK) ของเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทั่วไป แบบดิจิตอล (Diagnostic reference levels in Digital radiography: DR) เทคนิค Chest PA ของ โรงพยาบาลห้วยกระเจาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ปี 2566 Entrance Surface Air Kerma (ESAK) in Digital radiography: DR Chest PA Position of Huai Krachao Chaloem Phrakiat Hospital 80th Birthday Anniversary in 2023 นันทิยา วงศ์ปัญญาทรัพย์1 * และ ศุภวัฒน์ ทัพสุริย์2 1 โรงพยาบาลห้วยกระเจาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดกาญจนบุรี, 2 ส านักรังสีและเครื่องมือแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 089 5462583 E-mail : nun17052512@gmail.com บทคัดย่อ เพื่อศึกษาค่าปริมาณรังสีที่ผิวผู้ป่วย Entrance Surface Air Kerma ของเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทั่วไป แบบดิจิตอล (Diagnostic reference levels in Digital radiography: DR) Chest PA ของโรงพยาบาลห้วย กระเจาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา เปรียบเทียบกับค่า Thailand DRLs 2023 เป็นการวิจัยเชิงส ารวจและ ทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่มาถ่ายภาพรังสี Chest PA ที่ระยะจากแหล่งก าเนิดรังสีถึงตัวรับภาพ 180 เซนติเมตร อายุ 18–60 ปี น้ าหนัก 60 ± 15 กิโลกรัม เก็บข้อมูลวันที่ 15 พค.–14 มิย.66 จ านวน 150 ราย วัดค่าปริมาณรังสีใช้ข้อมูล 2 ส่วน ส่วนแรกได้จากเครื่องวัดปริมาณรังสีโดยเก็บข้อมูลจากเครื่องเอกซเรย์ ซึ่งค่า ปริมาณรังสีต้องมีค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 20 เปอร์เซ็นต์ จากค่าที่ได้ เทียบกับค่าที่แสดงที่หน้าจอแสดงผล ของเครื่องเอกซเรย์ ตั้งค่าเทคนิคการถ่ายภาพรังสี ในช่วง 50-100 kVp จ านวน 3 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ย น ามา แก้ค่าจากการสอบเทียบและสภาวะแวดล้อม และค านวณด้วยสมการปริมาณรังสีที่ผิวผู้ป่วย (Entrance Surface air kerma: ESAK) สัญลักษณ์ คือ ESAK มีหน่วย mGy. และค่าปริมาณรังสีเชิงพื้นที่ (Kerma Area Product: KAP) สัญลักษณ์ คือ PKA มีหน่วย mGy.cm2 และส่วนที่สองได้จากการบันทึกการตั้งค่าเทคนิคการ ถ่ายภาพรังสีจากผู้ป่วย ในการถ่ายภาพรังสี น าข้อมูลจากเครื่องมือวัดไปค านวณกับข้อมูลค่าเทคนิคการ ถ่ายภาพรังสีของผู้ป่วย แล้วค านวณสถิติ หาค่า min, max, mean, median, third quartile และ sd ของกลุ่มประชากร ผลการศึกษาพบว่า ค่าปริมาณรังสีอ้างอิง (Entrance- surface air kerma) (ESAK) จากการ ถ่ายภาพรังสีวินิจฉัยจากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปแบบดิจิตอล (Diagnostic reference levels in Digital radiography: DR) เทคนิค Chest PA ของโรงพยาบาลห้วยกระเจาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา มีค่า Median 0.061 mGy. น้อยกว่าค่า Thailand DRLs 2023 ค าส าคัญ: ปริมาณรังสีที่ผิวผู้ป่วย ,Entrance Surface Air Kerma (ESAK)
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 13 13 O1-12 ปริมาณรังสีคงเหลือและปัจจัยที่สัมพันธ์ของผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์แบบนอนโรงพยาบาล Residual of radiation dose and related factors among thyroid cancer patient admission อาระญา มิ่งมงคลชัย* งานเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพมหานคร เบอร์โทรศัพท์087 682 9400 E-mail : araya.mmkc@gmail.com บทคัดย่อ การวิจัยนี้เพื่อศึกษาปริมาณรังสีคงเหลือในผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยทางคลินิกกับปริมาณรังสีคงเหลือในผู้ป่วยกิน I-131 แบบนอนโรงพยาบาล ข้อมูลย้อนหลังจากแฟ้ม ประวัติการรักษางานเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลราชวิถี ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2563 – มิถุนายน 2565 180 ราย ผู้ป่วยนอนห้องแยก 3 วันรักษาด้วยปริมาณรังสี 100-200 mCi อ้างอิงปริมาณรังสีค่าน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 70 μSv/hr ที่ระยะ 1 เมตร ตาม IAEA Safety Report Series No 63 (2019) authorized by The US Nuclear Regulatory Commission(NRC) วิเคราะห์ปริมาณรังสีคงเหลือและข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยที่ สัมพันธ์กับปริมาณรังสีคงเหลือวันที่3 พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 69.4 %อายุเฉลี่ย 50.72±16.62 ปี ส่วนใหญ่มีภูมิล าเนาต่างจังหวัด 63.9% เป็นชาวไทย95% และปริมาณรังสีคงเหลือที่วัดได้ วันที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 27.37±30.34 μSv/hr คงเหลือน้อยกว่า10 μSv/hrn 37.2% และพบว่ามีปริมาณรังสีที่วัด ได้ที่อยู่ในช่วงที่เป็นอันตรายคือค่ามากกว่า 70 μSv/hr 7.8 % เท่านั้น โดยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับเชิงบวก ปริมาณรังสีคงเหลือของผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ อายุ (p=0.019) Tumor size (p=0.035) TG(Thyroglobulin) (p =0.015) BUN (p<0.001) Creatinine (p<0.001) แ ล ะ Radioactive ablation Iodine (RAI) (p=0.003) โดยเมื่อค่ามากขึ้น ปริมาณรังสีคงเหลือก็จะมากขึ้น ส่วนใน ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงลบอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติได้แก่ ค่า GFR (p <0.001) โดยพบว่าเมื่อค่ามากขึ้น ปริมาณรังสีคงเหลือก็จะน้อยลง สรุปผลวิจัย ปริมาณรังสีคงเหลือในช่วงที่เป็นอันตรายอยู่ในระดับน้อย เพียง ร้อยละ 7.8 และปัจจัยที่สัมพันธ์กับปริมาณรังสีคงเหลือ คือผู้ที่อายุมาก ระยะของโรคสูง ขนาดก้อนเนื้องอก ใหญ่ ค่าผลเลือดไตที่ผิดปกติ ดังนั้นจึงควรมีการให้ค าแนะน าในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันอันตรายจากรังสีที่แก่ ผู้ป่วยและญาติทุกราย โดยเน้นย้ าให้มีความเข้าใจ และตระหนักในการปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง สามารถใช้ข้อมูล จากการศึกษาครั้งนี้ ในการวางแผนเชิงนโยบาย เกี่ยวกับระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่เพิ่มมากกว่า 3 วัน ในกลุ่มผู้ป่วยที่พบว่ามีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปริมาณรังสีคงเหลือ ค าส าคัญ: Thyroid cancer, Radioactive I-131, Residual dose
DMSc R2R Forum 2023 14 R2R to Health for Wealth 14 O1-13 การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าหรับประเมินผลการตรวจติดตามภายในห้องปฏิบัติการ ทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข Development of a program for evaluating the results of internal audits for Medical laboratories and Radiography laboratories of hospitals. Ministry of Public Health (Labxtrar7) นาวิน ชุมแวงวาปี* ธีรวัฒน์ สุภาวัฒนพันธ์ และพรทิพย์ ลัภนะกุล ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 043-240800 ต่อ 334 E-mail:navin.c@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Labxtrar7 เพื่อใช้บันทึกการตรวจติดตามภายในของเครือข่าย ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ส าหรับโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยบันทึกผลและข้อบกพร่องที่พบจากการตรวจติดตามภายในของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ได้ครบทั้ง 3 ม า ต ร ฐ าน ไ ด้ แ ก่ LA, ISO 15189 ISO 15190 แ ล ะ ม า ต ร ฐ าน ก ร ะท ร วง ส า ธ า รณ สุ ข (MOPH) ส่วนห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ได้แก่ MOPH เป็นต้น ซึ่ง Labxtrar7 มีความสามารถสรุปจ านวน ห้องปฏิบัติการที่ด าเนินการตรวจติดตามพร้อมสรุปข้อมูลข้อบกพร่องในรูปแบบตารางและแผนภูมิตามที่ตรวจ พบเป็นปัจจุบัน โดยสามารถแยกเป็น รายโรงพยาบาล รายเขตสุขภาพ และภาพรวมได้อย่างถูกต้อง พร้อม ช่องทางในการแจ้งปัญหา ข้อเสนอแนะของระบบผ่าน LINE Open Chat รวมถึงการเก็บข้อมูลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้งานโปรแกรม ได้แก่ คู่มือการใช้งาน การท างานได้ตามฟังก์ชัน ความสะดวกและง่ายต่อ การใช้งานอีกด้วย การพัฒนาโปรแกรมใช้ MySQL Version 5.0.11 ส าหรับการจัดการฐานข้อมูล และภาษา โปรแกรม PHP Version 5.6.15 โดยประโยชน์สูงสุดเพื่อน าข้อมูลจากการตรวจติดตามภายในมาใช้ในการ ปรับปรุงพัฒนาตามข้อบกพร่อง ข้อสังเกตที่ตรวจพบในแต่ละเขตสุขภาพรวมถึงการน ามาสู่นโยบาย ระดับประเทศ ค าส าคัญ: ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์, ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย, การตรวจติดตามภายใน, Labxtrar7
DMSc R2R Forum 2023 16 R2R to Health for Wealth 16 O2-1 การเสริมสร้างความเข็มแข็ง การด าเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค โดยเครือข่าย บวร.ร ชุมชนวัดห้วยแตน Strengthening Network Consumer Protection Operations Wat HuayTan Community จามรี ไตรจันทร์* โรงพยาบาลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เบอร์โทรศัพท์ 089 293 3592 E-mail: jampharmacy@hotmail.com บทคัดย่อ การศึกษาการเสริมสร้างความเข็มแข็ง การด าเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคโดยเครือข่าย บวร.ร ชุมชน วัดห้วยแตน เพื่อแก้ปัญหาด้านคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยในชุมชน ที่พบในโรงพยาบาล จากการ เยี่ยมบ้าน การตรวจร้านช า โดยน าต้นทุนเครือข่าย บวร.ร คือ บ้าน วัด โรงเรียน รพสต.ที่เข็มแข็งมาร่วม ด าเนินการ ตั้งแต่ ร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมท า ร่วมติดตามผล ใช้วงล้อเดิมมิ่งพัฒนางาน เก็บรวบรวมข้อมูลจาก google form application ร้านช า D application ตาไว ผลปัญหาการใช้ยาผู้ป่วยลดลงจาก 41.83% เป็น 30.39% ผู้ป่วยที่ อสม. แก้ไม่ได้ส่งต่อมายังเภสัชกรและแก้ปัญหาได้ทุกคน ร้านช าจ าหน่ายยาที่ถูกต้องทุก ร้าน อาหารจากปิ่นโตสุขภาพเพิ่มขึ้นจาก 15.63% เป็น 26.67% การค้นหาความไม่ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ สุขภาพเชิงรุก 7 ตัวอย่าง เก็บข้อมูลการถอดบทเรียนในเวทีประชาคม เครือข่ายบวร.ร ห้วยแตนเป็นต้นแบบ การแก้ปัญหาด้านคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน มีข้อตกลงของชุมชน การน าปิ่นโตลดหวาน มันเค็มไปวัด การใช้ นวัตกรรม 3 ต.(ติดอาวุธ ติดตาม ติดตู้ยาสามัญประจ าบ้าน)ในวงล้อเดิมมิ่ง แผนพัฒนาคือ ความรู้ อสม. เรื่องเครื่องปรุงอาหารลดโรคและน าไปใช้ในการติดตาม แก้ปัญหาพร้อมกับการติดตามการใช้ยา พระรณรงค์ลด หวาน มัน เค็ม โดยใช้ตาลปัตร เพิ่มภาคีเครือข่าย service plan สาขา NCDs จ.พัทลุง สร้างความเข้าใจ เรื่องโรค การใช้ยา การกินอาหารให้กับผู้ป่วย รณรงค์สื่อสาร การใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยใน ชุมชน โดยใช้ศิลปะประจ าถิ่นคือ มโนราห์ ค าส าคัญ : การสร้างความเข็มแข็ง, การด าเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค , เครือข่าย บวร.ร
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 17 17 O2-2 การลดฟอร์มาลีนในหมึกกรอบ The reduction of formalin in pickled squid นิรันดร แร่กาสินธุ์* จรรยา บุญวิจิตร และกนกวรรณ เทพเลื่อน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทรศัพท์/โทรสาร 077-355301-6 ต่อ 216/077-355300 E-mail: nirundorn.r@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ ฟอร์มาลีน เป็นสารห้ามใช้ในอาหาร และเป็นสารก่อมะเร็งต่อมนุษย์ แต่มีโอกาสเจอได้จากธรรมชาติ หรือการจงใจเติมลงไปในอาหารเพื่อป้องกันการเน่าเสีย จากการศึกษาของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี เมื่อปี 2563 และ 2564 พบว่าหากตรวจพบการปนเปื้อนฟอร์มาลีนในหมึกกรอบ มั่นใจได้ว่า ฟอร์มาลีนดังกล่าว มาจากการจงใจเติมปริมาณสูงในหมึกสด หรือหมึกกรอบ ในขั้นตอนรอจ าหน่าย ในช่วงเดือนธันวาคม 2565 มีข่าวการตรวจพบฟอร์มาลีนในหมึกกรอบที่จ าหน่ายในท้องตลาด ศูนย์ฯ จึงศึกษา แนวทางการลดปริมาณฟอร์มาลีนในหมึกกรอบ จากคุณสมบัติการละลายน้ าของฟอร์มาลีน โดยศึกษาการล้าง ด้วยสารเคมีในครัวเรือน จากนั้นทดสอบการปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบฟอร์มาลีนขององค์การเภสัชกรรม พบว่า เมื่อน าหมึกกรอบมาแช่สารเคมีในครัวเรือน ได้แก่ เกลือแกง (1 ช้อนโต๊ะต่อน้ าสะอาด 1 ลิตร) หรือ น้ าส้มสายชู เทียม (20 มิลลิลิตรต่อน้ าสะอาด 1 ลิตร) หรือ เบคกิ้งโซดา (1 ช้อนชาต่อน้ าสะอาด 1 ลิตร) และล้างต่อด้วยน้ า สะอาด จะสามารถลดการปนเปื้อนของฟอร์มาลีนในหมึกกรอบได้ประมาณร้อยละ 80 หลังจากนั้น สื่อสาร ค าแนะน าในการบริโภคหมึกกรอบอย่างปลอดภัยด้วยการล้างด้วยน้ าสะอาด หรือน้ าส้มสายชูเทียม หรือ เบคกิ้ง โซด า ก่อนป รุงอาห า ร ผ่ านสื่อ social media อย่ างไรก็ตาม เพื่อให้ก ารสื่อส ารมีป ระสิทธิภ าพ และยั่งยืน เข้าถึงประชาชน ควรเพิ่มช่องทางการสื่อสาร เช่น เพิ่มหัวข้อที่ได้ศึกษาในหลักสูตรของ อสม. นักวิทย์ เป็นต้น ค าส าคัญ: ฟอร์มาลีน, หมึกกรอบ, การลดฟอร์มาลีน
DMSc R2R Forum 2023 18 R2R to Health for Wealth 18 O2-3 การพัฒนาวิธีการเตรียมตัวอย่างในงานประจ าส าหรับวิเคราะห์หาปริมาณเคอร์คูมินอยด์ ในขมิ้นชันด้วยวิธีอัลตราโซนิคทดแทนวิธีการแช่ Development of routine work on sample preparation method for determination of curcuminoids content in turmeric by ultrasonic instead of maceration method จิรพงษ์ อติชาต* และพงษ์ธร ทองบุญ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 07 735 5301-6 ต่อ 219 E-mail: jirapong.a@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ ขมิ้นชันเป็นสมุนไพรที่ได้รับความนิยมทั่วโลก ได้รับสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย (GI) ล าดับที่ 5 ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นเมืองสมุนไพรและแหล่งปลูกที่ส าคัญของประเทศ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 11 สุ ร าษฎ ร์ ธ านี ท าหน้ าที่ต ร ว จคุณภ าพของ วัต ถุดิบแ ล ะผลิต ภัณฑ์ขมิ้นชันอย่ างต่ อเนื่อง การตรวจวิเคราะห์ปริมาณเคอร์คูมินอยด์ในวัตถุดิบขมิ้นชันและยาขมิ้นชันแคปซูล ตามต ารามาตรฐานยา สมุนไพรไทย (Thai Herbal Pharmacopoeia, THP) ต้องสกัดตัวอย่างด้วยวิธีการแช่ในเมทานอลนานถึง 6 ชั่วโมง ซึ่งไม่สะดวกในงานประจ า วิธีอัลตราโซนิคเป็นอีกเทคนิคที่นิยมในการเตรียมตัวอย่าง จึงได้พัฒนา วิธีการเตรียมตัวอย่างขมิ้นชันเพื่อหาปริมาณเคอร์คูมินอยด์ที่สกัดได้ด้วยวิธีอัลตราโซนิคในเมทานอลเป็นเวลา 30 นาที เทียบกับการแช่ตามวิธีมาตรฐานของ THP แบบดั้งเดิม โดยศึกษาในตัวอย่างผงขมิ้นชัน 7 ตัวอย่าง ผลศึกษาพบว่าการสกัดทั้งสองวิธีได้สารสกัดที่มีปริมาณเคอร์คูมินอยด์ไม่แตกตางกันอยางมีนัยส าคัญทางสถิติ (P > 0.05) ปัจจุบันศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี ได้ประยุกต์ใช้วิธีอัลตราโซนิคมาใช้เตรียม ตัวอย่างวัตถุดิบและยาแคปซูลขมิ้นชันเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณเคอร์คูมินอยด์ส าหรับงานประจ าเรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สะดวกกว่า ผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจ ค าส าคัญ : เคอร์คูมินอยด์, การสกัด, อัลตราโซนิค
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 19 19 O2-4 รายงานสถานการณ์การปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับจังหวัด Situation report on Alcoholic beverage control at provincial level. อภิชาติ โชติชูศรี* ส านักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 096 892 6461 E-Mail: kpvalc3@gmail.com บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานสถานการณ์ประเทศไทยเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค และระดับประเทศโดยการวิเคราะห์ข้อมูลของ ส านักงานสถิติแห่งชาติ การส ารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร (สพบส.) ปี พ.ศ. 2560 โดยใช้ข้อมูลตัวอย่างที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป และเป็นผู้ดื่มสุราใน 12 เดือนที่แล้ว และใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ข้อมูลแสดงจ านวนและร้อยละ จังหวัดที่มีการละเมิดหรือเคยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ บึงกาฬ, นราธิวาส, เลย, ตรัง, นครพนม, สงขลา, ร้อยเอ็ด, อุบลราชธานี, พัทลุง, ขอนแก่น และเพชรบูรณ์ ร้อยละ 8.3, 6.8, 6.5, 5.6, 5.6, 4.8, 4.6, 4.4, 4.3, 4.2, และ 4.2 ตามล าดับ ถ้าจ าแนกเป็น ภูมิภาค ได้แก่ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร ในส่วนของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่ที่มีประชาชนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ มากที่สุดร้อยละ 3.5 ในส่วนของภาพรวม ของประเทศ เพศชายจะไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ มากกว่าเพศหญิง ร้อยละ 3.0 และ 1.5 ตามล าดับ ในส่วน ของช่วงอายุประชาชนในช่วงอายุ 15 – 19 ปี มีการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ที่สุด ร้อยละ 3.3 และหากจ าแนกตามระดับการศึกษา ผู้ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดที่เรียนจบ ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนปลาย สายอาชีพ มีการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ มากที่สุด ร้อยละ 3.0 เท่ากัน เมื่อจ าแนก ตามเขตการปกครอง นอกเขตการปกครองมีการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายฯ มากกว่าในเขตการปกครอง ร้อยละ 3.0 และ 2.4 ตามล าดับ จากผลการวิจัยในการปฏิบัติตามกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ท าให้ทราบ พื้นที่ที่เคยละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย จากข้อมูลที่ได้สามารถน ามาค้นหาพื้นที่เป้าหมายและ กลุ่มเป้าหมายในการลงไปสนับสนุนให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมายให้มากยิ่งขึ้น สามารถน าไปใช้เป็น แบบจ าลองส าหรับพื้นที่อื่นๆ นอกจากนี้การศึกษายังแสดงสถานการณ์และปัญหาของแต่ละพื้นที่ซึ่งเป็น ประโยชน์ในการปรับปรุง น าไปสู่การสร้างแรงจูงใจการบังคับใช้กฎหมายในประชาชนพื้นที่ต่างๆ การควบคุม และลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ตลอดจนการน าไปสู่การวางแผนการด าเนินการและจัดท า ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อไป ค าส าคัญ : กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, ระดับจังหวัด
DMSc R2R Forum 2023 20 R2R to Health for Wealth 20 O2-5 การเปรียบเทียบความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารส าหรับผู้ประกอบการอาหาร ร้านอาหารแผงลอย และ อาสาสมัครสาธารณสุข ต าบลไก่เส่า อ าเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี A comparison of food sanitation knowledge for food operators. Food stalls and public health volunteers, Kai Sao Subdistrict, Nong Saeng District, Saraburi Province กีรติ มะลิกอง* กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลหนองแซง เบอร์โทรศัพท์ : 065 928 5887, 094 047 3970 E-mail : erati_yamee@hotmail.com บทคัดย่อ การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุส าคัญของการเกิดการเจ็บป่วยเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย จ าเป็นต้องมีการควบคุมคุณภาพของอาหาร เพื่อจัดหาอาหารที่ปลอดภัยมาบริโภค ดังนั้น การส่งเสริมความรู้ ด้านสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร และ อสม.เป็นสิ่งจ าเป็นที่จะสามารถไปใช้ในการเฝ้า ระวังความปลอดภัยของอาหารและสถานที่จ าหน่ายอาหารได้ รูปแบบการศึกษาที่ใช้แบบกึ่งทดลอง (Experimental Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จ านวน 75 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย ชุดความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร และแบบสอบถาม ความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวหลักการสุขาภิบาลอาหาร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการท าแบบสอบถามทั้งก่อนและหลังการอบรม วิเคราะห์สถิติพรรณนาได้แก่ จ านวน ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน โดยใช้ Paired sample T- test ทดสอบโดย ก าหนดระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการท าแบบทดสอบก่อนและหลังการเข้ารับอบรม (Pre-test / Post-test) ของผู้เข้ารับการอบรม ที่ท าแบบทดสอบ พบว่า ร้อยละ ๕๕.๘๘ ของผู้เข้าร่วมรับการอบรมมี คะแนนการท าแบบทดสอบหลังเข้ารับการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรม และเมื่อทดสอบค่าความ แตกต่างของคะแนนก่อนและหลังการอบรมด้วยสถิติ Paired Samples T-test พบว่า ผลการท าแบบทดสอบ หลังการเข้ารับการอบรมสูงกว่าก่อนการเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ ๐.๐๕ ควรจัดอบรมให้ ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร อยู่สม่ าเสมอเป็นประจ าทุกปี หรือจัดท าสื่อความรู้ต่างๆไว้ในชุมชน และสนับสนุนการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับงานสุขาภิบาลอาหารและสุขวิทยาส่วนบุคคล เพื่อสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ค าส าคัญ : ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร, มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร, สุขวิทยา, การอบรม, อาสาสมัคร สาธารสุขประจ าหมู่บ้าน
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 21 21 O2-6 ขวดส าหรับปั่นเหวี่ยงช่วยลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสสารเคมี และง่ายต่อการทดสอบ THC และ CBD ในเครื่องส าอาง (Centrifuge bottle reduce the risk of chemical exposure and make it easy to test for THC and CBD in cosmetics) กนกวรรณ ไชยสิงห์* และพชรมน ทาขุลี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 099 241 5195 E-mail: kanokwan.c@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ การทดสอบหาสาร THC และ CBD ในตัวอย่างเครื่องส าอางประเภทครีมและโลชั่นจะมีความยุ่งยากใน การเตรียมอย่าง โดยขั้นตอนการชั่งตัวอย่างเครื่องส าอางลงในขวดวัดปริมาตร ยุ่งยากเนื่องจากคอขวดแคบ และต้องท าการถ่ายเทตัวอย่างที่สกัดแล้วลงในขวดส าหรับปั่นเหวี่ยงเพื่อน าไปปั่นให้ตกตะกอนเพื่อน า สารละลายมาใช้ ห้องปฏิบัติการเคมี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น จึงได้น าขวดส าหรับปั่นเหวี่ยง มาใช้ในการเตรียมตัวอย่างทดแทนการใช้ขวดวัดปริมาตร พบว่าสามารถช่วยลดระยะเวลาในการชั่งตัวอย่าง ขั้นตอนการทดสอบ และช่วยลดความเสี่ยงจากการได้รับสัมผัสจากการเคมีที่ใช้ในการสกัด ซึ่งจากการ เปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการซึ่งจัดโดยส านักเครื่องส าอางและวัตถุอันตรายในปี 2565 พบว่าผลการ ทดสอบสาร THC และ CBD อยู่ในเกณฑ์ที่พึงพอใจโดยมีค่า Z-Score ของผลการทดสอบ THC และ CBD น้อย กว่า 2 ทั้งสองรายการ ดังนั้น การน าขวดส าหรับปั่นหมุนเหวี่ยงมาใช้ทดแทนขวดวัดปริมาตรดังกล่าวสามารถ ช่วยลดระยะเวลาในการทดสอบท าให้งานทดสอบสะดวกและรวดเร็วขึ้น และเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติงาน ที่ต้องสัมผัสกับสารเคมีเป็นประจ า ค าส าคัญ ขวดส าหรับปั่นเหวี่ยง,THC, CBD, เครื่องส าอาง
DMSc R2R Forum 2023 22 R2R to Health for Wealth 22 O2-7 ห้องแลปพอเพียง Sufficiency Laboratory วรีรัตน์ หิรัณยวุฒิกุล*, นิธิศา แย้มเนตร และจิราภรณ์ เพชรรักษ์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 077-355301-6 ต่อ 216 E-mail: wareerat.h@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ จากรายงานการพบเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปนเปื้อนในอาหารทะเลและบรรจุภัณฑ์ และหลาย ประเทศมีการก าหนดมาตรฐานการปนเปื้อนเชื้อในอาหารและบรรจุภัณฑ์ที่จะน าเข้าประเทศ รวมทั้งข้อมูล สถานการณ์ผู้ป่วยโรคติดต่อทางอาหารและน้ า พบหนึ่งในสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส ซึ่งปัจจุบันมีเพียง ส านักคุณภาพและความปลอดภัยอาหารที่เปิดให้บริการตรวจวิเคราะห์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สุราษฎร์ธานี เล็งเห็นความส าคัญในการพัฒนาศักยภาพการตรวจวิเคราะห์ไวรัสในอาหารและน้ าด้วยเทคนิค ทางชีวโมเลกุล ซึ่งต้องใช้งบประมาณที่ค่อนข้างสูง จึงเกิดแนวคิดการจัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ไวรัส ในอาหารด้วยหลักการทางวิชาการในเชิงบูรณาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ โดยการศึกษาข้อมูลการ จัดตั้งห้องปฏิบัติการตามการแนะน าของ WHO ส ารวจความพร้อมและวางแนวทางการปฏิบัติงานในการบูรณา การใช้เครื่องมือและพื้นที่ร่วมกันกับห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิก ปรึกษาหารือและรับฟังข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น จากผู้เกี่ยวข้องและเจาหนาที่ความปลอดภัยทางหองปฏิบัติการทดลองปฏิบัติงาน และวิเคราะห์ผล หลังการปฏิบัติงาน ปัจจุบันศูนย์ฯ สามารถจัดตั้งห้องปฏิบัติการต รวจวิเคราะห์ไวรัสในอาหา ร โดยการบูรณาการพื้นที่และเครื่องมือร่วมกับห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิก และสามารถเปิดให้บริการการ ตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร ซึ่งเป็นการน าทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้อย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด ค าส าคัญ: ห้องปฏิบัติการ, ไวรัสในอาหาร, บูรณาการ
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 23 23 O2-8 ผลการติดตามเฝ้าระวังผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วย ที่ได้รับน้ ามันกัญชาต ารับหมอเดชา The results of follow-up and surveillance of laboratory analysis in patients receiving Mordecha cannabis oil. โสมนัส ศิริจารุกุล* โรงพยาบาลราชบุรี จังหวัดราชบุรี เบอร์โทรศัพท์ 0891487364, E-mail: 9popso@gmail.com บทคัดย่อ ในปี พ.ศ. 2562 โรงพยาบาลราชบุรีได้เป็นโรงพยาบาลน าร่องของเขตบริการสุขภาพที่ 5 ในการเปิด ให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แพทย์แบบบูรณาการ ต่อมาในปี พ. ศ. 2563 ได้เริ่มมีการน าน้ ามันกัญชา ต ารับหมอเดชาเข้ามาใช้ในโรงพยาบาลราชบุรี โดยน้ ามันกัญชาต ารับหมอเดชาจัดเป็นยาใหม่ในโรงพยาบาล ซึ่งยังเคยไม่มีรายงานข้อมูลความปลอดภัยในด้านผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการมาก่อน ดังนั้น เพื่อเป็นการติดตามความปลอดภัยจากการใช้ยาโรงพยาบาลราชบุรีจึงได้มีการตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่ได้รับน้ ามันกัญชาต ารับหมอเดชา ก่อนและหลังได้รับยาเป็นระยะ ๆ ตามแนวทาง การจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แพทย์แบบบูรณาการ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เก็บข้อมูล ย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลราชบุรีที่ได้รับน้ ามันกัญชาต ารับหมอเดชาและมีผล การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการก่อนได้รับยาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ตั้งแต่ 1 มี.ค. 2563 – 28 ก.พ. 2566 น าเสนอข้อมูลเป็นค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ าสุดและสูงสุด ติดตามผลการเจาะเลือดตรวจวัดระดับ AST, ALT, BUN, creatinine, eGFR, sodium และ potassium ก่อนและหลังได้รับยาเป็นระยะ ๆ จากกลุ่มตัวอย่าง 93 ราย เพศชาย 43 ราย เพศหญิง 50 ราย อายุ 25 – 85 ปี ได้รับน้ ามันกัญชาต่ าสุด 1 หยด/วัน สูงสุด 9 หยด/วัน ระยะเวลาในการใช้ต่ าสุด 20 วัน สูงสุด 898 วัน ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการรวม 372 ครั้ง พบว่าระดับ BUN, creatinine, eGFR, sodium และ potassium หลังได้รับยาอยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 100 ระดับ AST, ALT หลังได้รับยาอยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 97.8 ในส่วนของระดับ AST, ALT ที่สูงขึ้นจากเกณฑ์ปกติเกิดจาก ผู้ป่วยไม่ได้ใช้ยาตามขนาดและวิธีที่แพทย์แผนไทยสั่ง 1 ราย และเกิดจากอันตรกิริยาระหว่างน้ ามันกัญชากับยา simvastatin 1 ราย จากผลการศึกษาท าให้ทราบว่าน้ ามันกัญชาต ารับหมอเดชาเป็นยาที่มีความปลอดภัย ไม่ท าให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบการท างานของตับ ไต และไม่มีผลรบกวนระดับ sodium และ potassium ในเลือด ดังนั้น การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจึงอาจไม่จ าเป็นในผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับ น้ ามันกัญชาต ารับหมอเดชา แต่ยังมีความจ าเป็นในผู้ป่วยบางรายที่ต้องติดตามการเกิดอันตรกิริยาระหว่าง น้ ามันกัญชากับยาอื่นที่ใช้ร่วม และในผู้ป่วยที่สงสัยว่าไม่ได้ใช้ยาตามแพทย์สั่ง ค าส าคัญ : น้ ามันกัญชาต ารับหมอเดชา, การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ, cannabis oil
DMSc R2R Forum 2023 24 R2R to Health for Wealth 24 O2-9 การลดต้นทุนการบรรจุวัตถุทดสอบ แผนทดสอบความช านาญห้องปฏิบัติการ การทดสอบสารพิษตกค้างในผัก ผลไม้สดด้วยชุดทดสอบ Reducing the cost of packing test objects laboratory proficiency test plan Pesticide Residue Testing in Vegetables fresh fruit with test kit ชุลีพร จันทรเสนา*, มณีวรรณ ผุยเดชา และ อัจจิมา ทองบ่อ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 086 459 0758 E-mail: chuleeporn.j@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี เป็นผู้จัดท าแผนทดสอบความช านาญห้องปฏิบัติการ การทดสอบสารพิษตกค้างในผัก ผลไม้สดด้วยชุดทดสอบ โดยมีสมาชิกเครือข่ายจ านวน 46 แห่ง การส่ง ตัวอย่างมีความจ าเป็นต้องใช้ Ice pack เพื่อรักษาความคงตัวของวัตถุทดสอบ จากปัจจัยการขนส่งมีค่าใช้จ่าย ในการจัดซื้อ Ice pack ต่อปีจ านวน 6,000 บาท จึงท าการศึกษาหาวัสดุทดแทน โดยใช้ขวดน้ าดื่มพลาสติกที่ใช้ แล้ว ขนาด 350 มิลลิลิตร มาล้างและเติมน้ าประปาน าไปแช่แข็ง แบ่งการทดลองเป็น ชุดที่ 1 ใช้ Ice pack ขนาด (กว้างxยาวxหนา) 13x19x2.3 เซนติเมตร 2 อัน ชุดที่ 2 ขวดน้ าแข็ง 2 ขวด บรรจุในกล่องโฟมขนาด (กว้างxยาวxสูงxหนา) 18x24x20x1.5 เซนติเมตร วางกล่องโฟมที่อุณหภูมิ 25-27 องศาเซลเซียส วัดอุณหภูมิ ภายในกล่องโฟมด้วย Digital thermometer ที่เวลา 24 48 และ 72 ชั่วโมง พบว่า Ice pack มีอุณหภูมิ 9.5 , 23.9 และ 27.4 องศาเซลเซียส ตามล าดับ ส าหรับขวดน้ าดื่มพลาสติกแช่แข็ง มีอุณหภูมิ 13.2, 23.5 และ 25.9 องศาเซลเซียส ตามล าดับ แสดงว่าสามารถใช้ขวดน้ าดื่มพลาสติกแช่แข็งทดแทน Ice pack เพื่อรักษาความคง ตัวอย่างทดสอบได้ ภายใน 72 ชั่วโมงหรือ 3 วัน ลดต้นทุนต่อหน่วยในการจัดส่งตัวอย่างจาก130 บาทต่อแห่ง เหลือ 10 บาทต่อแห่ง ค าส าคัญ: ต้นทุน,วัตถุทดสอบ,วัสดุทดแทน,ขวดน้ าแข็ง
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 25 25 O2-10 การศึกษาเปรียบเทียบวิธีหาความหนาแน่นของผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ ส าหรับท าความสะอาดมือชนิดเจล Comparative study on method for density examination of alcohol gel for hand sanitizer ศุภกร จันทร์จอม* และชัยพัฒน์ ธิตะจารี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 1 เชียงใหม่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 086-7296960 E-mail : supakorn.j@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ได้ก าหนดให้ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ส าหรับท าความสะอาดมือ ต้อง มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ชนิด เอทานอล หรือไอโซโพรพานอล หรือเอ็น-โพรพานอล เพียงสารเดียว หรือผสมรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 โดยปริมาตร แต่วิธีทดสอบหาปริมาณแอลกอฮอล์ของศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ที่ 1 เชียงใหม่ มีผลลัพธ์เป็นร้อยละโดยน้ าหนัก ท าให้ห้องปฏิบัติการต้องหาความหนาแน่นของ ตัวอย่างในการค านวณเปลี่ยนหน่วยปริมาณแอลกอฮอล์ให้สอดคล้องกับข้อก าหนด ซึ่งข้อจ ากัดส าคัญของ ตัวอย่างรูปแบบเจล คือ ลักษณะทางกายภาพที่ข้นหนืดและมีฟองอากาศปะปนง่าย ห้องปฏิบัติการจึงได้ ท าการศึกษาเปรียบเทียบวิธีในการหาความหนาแน่นของผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ส าหรับท าความสะอาดมือชนิด เจลด้วยการใช้เครื่องมือ 3 ชนิด ได้แก่ พิคโนมิเตอร์ ขวดวัดปริมาตรและปิเปตแบบขับออก ร่วมกับการใช้ เทคนิคการไล่ฟองอากาศด้วยการหมุนเหวี่ยง พบว่าเมื่อใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับแต่ละวิธี ค่าความหนาแน่นที่ ค านวณได้จากการใช้เครื่องมือทั้ง 3 ชนิดข้างต้น ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ( p>0.05) โดยมีค่า %RSD สูงสุดของแต่ละเครื่องมือ เท่ากับ 0.10%, 0.83% และ0.43% ตามล าดับ หากแต่จะมี รายละเอียดของการท างานที่แตกต่างกัน เช่น ระยะเวลาในการท างาน ข้อควรระวัง และเทคนิคที่ใช้ร่วม กล่าวคือในภาพรวม การใช้ปิเปตแบบขับออกเป็นวิธีที่ง่ายและใช้เวลาน้อยที่สุดโดยต้องใช้ร่วมกับเทคนิคการชั่ง น้ าหนักในภาชนะปิด แต่อย่างไรก็ตามทางห้องปฏิบัติการสามารถเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมกับศักยภาพและ ทรัพยากรที่มีอยู่ ค าส าคัญ: ความหนาแน่น, ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์, แอลกอฮอล์เจล, การเปรียบเทียบวิธี
DMSc R2R Forum 2023 26 R2R to Health for Wealth 26 O2-11 การพัฒนาศักยภาพการจ าแนกสิ่งแปลกปลอมและการจัดท าฐานข้อมูล Development of competency filth identification and database preparation อนัญญา ยิ่งเจริญธนา*, วนิดา ยุรญาติ, พรนภา เนตรจุฬารัตน์, ประภัสรา บุตรพรม และ ทิวา เขียนวงษ์ ส านักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 080-5763664 E-mail: ananya.y@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ การตรวจวิเคราะห์สิ่งแปลกปลอมในอาหาร เป็นการทวนสอบระบบการควบคุมคุณภาพกระบวนการ ผลิตอาหาร แม้ว่ายังไม่มีข้อก าหนดเฉพาะของสิ่งแปลกปลอมในกฎหมายเนื่องจากผลกระทบต่อสุขภาพยังไม่ ชัดเจนแต่เมื่อมีการตรวจพบการปนเปื้อนสิ่งแปลกปลอม สามารถส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือและแสดงให้ เห็นว่ากระบวนการผลิตอาหารไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การปฏิบัติด้านสุขลักษณะที่ดี (Good Manufacturing Practice : GMP) เกิดการร้องเรียนเป็นอาหารไม่บริสุทธิ์จากผู้บริโภคได้ สิ่งแปลกปลอมที่ปนมาในอาหารมี ตั้งแต่ขนาดเล็กที่ระบุชนิดได้จากการดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ที่ก าลังขยายสูงจนถึงขนาดใหญ่ที่สามารถระบุ ชนิดได้ด้วยตาเปล่า เช่น ขนหนู ขาแมลง เบ็ดตกปลา หรือชิ้นส่วนพลาสติก เป็นต้น ซึ่งการระบุชนิดของสิ่ง แปลกปลอมที่ปนมาในอาหาร สามารถน ามาใช้ทวนสอบกระบวนการผลิตได้ว่าปนเปื้อนจากขั้นตอนไหน การตรวจวิเคราะห์สิ่งแปลกปลอมในอาหารเป็นการตรวจทางกายภาพโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีก าลังขยายสูง แต่ด้วยสิ่งแปลกปลอมมีหลากหลายชนิด ท าให้ไม่สามารถระบุชนิดได้ชัดเจน ดังนั้นเพื่อให้การตรวจวิเคราะห์ น าไปแก้ไขปัญหาของผู้ประกอบการ จึงได้ด าเนินการรวบรวมตัวอย่างต่างๆที่สามารถปนเปื้อนในกระบวนการ ผลิตอาหารมาท าเป็นฐานข้อมูลรูปภาพโครงสร้าง ส าหรับใช้ในการเปรียบเทียบเมื่อมีตัวอย่างสิ่งแปลกปลอม มาตรวจพิสูจน์ตั้งแต่ปี 2564 ถึง 2566 จ านวน 122 ชนิด พบว่าสามารถระบุชนิดสิ่งแปลกปลอม ที่ปนเข้ามาในอาหารได้อย่างถูกต้องแม่นย ามากขึ้น ผู้ประกอบการสามารถน าผลวิเคราะห์ไปแก้ไขปัญหา และทวนสอบกระบวนการผลิตให้ได้ความปลอดภัยมากขึ้น นับว่าเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมงานด้าน การคุ้มครองผู้บริโภค ค าส าคัญ : สิ่งแปลกปลอม, สิ่งปนเปื้อน, โครงสร้างภายใต้กล้องจุลทรรศน์
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 27 27 O2-12 ศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมป้องกันโรคโรคไข้หูดับของเกษตรกรหมูหลุมที่ ขับเคลื่อนด้วยเครือข่ายภาครัฐและเอกชน ต าบลบ้านหัน อ าเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น Health Literacy and Behaviors Preventives of Streptococcus suis disease of pit pigs farmers driven by public and private networks in Ban Han Subdistrict, Non Sila District, Khon Kaen Province.sepsis ปานแก้ว รัตนศิลป์กัลชาญ*, อรุณธิดา จารุพันธ์งาม และ แหลมทอง ศรีพนามน้อย ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น เบอร์โทรศัพท์ 081-939 6639 E-mail: pankaewr@yahoo.com บทคัดย่อ ชุมชนบ้านหันอยู่ในเขตปฏิรูปที่ดิน อ.โนนศิลา จ.ขอนแก่น ไม่เหมาะต่อการเพาะปลูก การแพรระบาด ของโรคโควิด19 บุตรหลานเกษตรกรกลับสู่ถิ่นฐานจ านวนมาก และโรคระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ท าให้ราคาหมูสูงขึ้น ในป 2564 ส านักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดขอนแกนร่วมกับเกษตรกร 48 ราย รวมกลุ่ม เลี้ยงหมูหลุมหรือหมูออแกนนิคโดยมีหนวยงานเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมเป็นเครือข่าย อบต.บ้านหัน ได้อนุมัติในรูปแบบวิสาหกิจหมูหลุม ส่งเสริมด้านการตลาด ปศุสัตว์อ าเภอดูแลมาตรฐานGFM ส านักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จ.ขอนแก่น เป็นเครือข่ายสนับสนุนความรู้และการป้องกันโรคไข้หูดับ การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมป้องกันโรคไข้หูดับในเกษตรกรหมูหลุมที่ ขับเคลื่อนด้วยเครือข่ายภาครัฐและเอกชน เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 64.5 อายุ 31-50 ปี ร้อยละ 56.4 ความรอบรู้ด้านสุขภาพของการป้องกันโรคไข้หูดับ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับระดับพอเพียง ร้อยละ73.3 ความรู้ในการป้องกันโรคส่วนใหญ่อยู่ระดับสูงร้อยละ 50 พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หูดับส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ71 ยังมีผู้รับประทานเนื้อหมูดิบ ไม่แยก เขียง สัมผัสเนื้อหมูดิบด้วยมือเปล่าถึงแม้มือจะมีแผล และช่องทางการรับข่าวสารส่วนใหญ่ ใช้ไลน์กลุ่ม ไลน์ชุมชน ร้อยละ 66.7 ข้อเสนอแนะ ควรมีการสร้างพฤติกรรมการป้องกันโรคที่ถูกต้องในเยาวชนครอบครัว หมูหลุมและในโรงเรียนเด็กเล็ก ค าส าคัญ: ติดเชื้อในกระแสเลือด, โมโนไซด์, ความไว, ความจ าเพาะ
DMSc R2R Forum 2023 28 R2R to Health for Wealth 28 O2-13 การพัฒนาวิธีตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อ Mycoplasma ในตัวอย่างเซลล์ต้นก าเนิด สู่ผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง โดยวิธี PCR Development of mycoplasma detection by using PCR in stem cell product transfer to Advanced Therapy Medicinal Products. พัชราภรณ์ นพปรางค์*1 , สิริภากร แสงกิจพร2 , อารีรัตน์ ขอไชย3 , อัจฉราพร ด าบัว1 , พัชราภรณ์ บุญชู1 และคณะ สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์1 , ส านักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์2 และโรงพยาบาลสุรินทร์3 เบอร์โทรศัพท์ 99394 E-mail: phatcharaphon.n@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ การตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อไมโคพลาสม่าเป็นหนึ่งในการกระบวนการควบคุมคุณภาพการ จัดเตรียมและเพาะเลี้ยงผลิตเซลล์ตามข้อก าหนดสากล เนื่องจากเชื้อไมโคพลาสม่าเป็นจุลชีพที่มีขนาดเล็ก มีการปนเปื้อนในกระบวนการเตรียมผลิตภัณฑ์การแพทย์ที่พบได้บ่อยและปัญหาส าคัญในการควบคุมคุณภาพ ท าให้เซลล์เจริญเติบโตช้า คุณภาพและคุณสมบัติของเซลล์เปลี่ยนไปจากเดิม และอาจถูกท าลายในที่สุด คณะผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อไมโคพลาสมา ด้วยวิธี PCR ในผลิตภัณฑ์ การแพทย์ขั้นสูงและวัสดุน้ ายาที่ใช้ในกระบวนการผลิต อาศัยการออกแบบไพรเมอร์ที่จ าเพาะกับเชื้อไมโค พลาสมาในระดับคลาส และระดับสปีชีย์ จ านวน 9 สายพันธุ์ จากเดิมที่สามารถให้บริการตรวจในผลิตภัณฑ์ เซลล์ต้นก าเนิดขยายไปสู่การตรวจในผลิตภัณฑ์การแพทย์ชนิดอื่น ได้แก่ เซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน (Dendritic cell) และ ผลิตภัณฑ์ยีนบ าบัด (Gene therapy) โดยด าเนินการทบทวนวิธีวิเคราะห์ เปรียบเทียบผลทาง ห้องปฏิบัติการ และตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อไมโคพลาสมาในตัวอย่างเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน ผลิตภัณฑ์ยีน บ าบัด รวมวัสดุน้ ายาที่ใช้ในกระบวนการผลิต จ านวน 110 ตัวอย่าง พบว่าวิธีการตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อ ไมโคพลาสมา ในตัวอย่างผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง ด้วยวิธี PCR ผ่านการประเมินตามระบบคุณภาพ การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการให้ผลสอดคล้องกัน และไม่พบการปนเปื้อนเชื้อไมโคพลาสมาทั้ง 110 ตัวอย่าง นับว่าวิธีที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ สามารถน าไปใช้ในการให้บริการตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูงได้ และเป็นการเพิ่มศักยภาพการบริการทางห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมคุณภาพ ผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตลอดจนเป็นที่พึ่งให้กับห้องปฏิบัติการอื่นในการ ควบคุมคุณภาพก่อนน าไปใช้ประโยชน์ ค าส าคัญ : ไมโคพลาสมา, PCR, ผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 29 29 O2-14 การพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ปริมาณปรอทในผลิตภัณฑ์เครื่องส าอาง โดยเทคนิคการวิเคราะห์ปรอทโดยตรง ด้วยการสลายตัวด้วยความร้อน Method development and validation for determination of Mercury contents in cosmetic products by direct thermal decomposition mercury analyzer วิทิตา ไปบน*, ปิ่นฑนา ดวงสมบัติ และ อมรรัตน์ ทัศนกิจ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 พิษณุโลก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เบอร์โทรศัพท์ 088 280 5517 E-mail: witita17nan@gmail.com บทคัดย่อ สารปรอทเป็นโลหะหนักที่อาจปนเปื้อนจากธรรมชาติและกระบวนการผลิตในผลิตภัณฑ์เครื่องส าอาง ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไตและระบบประสาท หรืออันตรายต่อสุขภาพ ในปี 2565 ศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ที่ 2 พิษณุโลก พัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ปริมาณปรอทในผลิตภัณฑ์ เครื่องส าอาง โดยเทคนิคการวิเคราะห์ปรอทโดยตรง ด้วยการสลายตัวด้วยความร้อน ซึ่งเทคนิคนี้ไม่มีขั้นตอน การเตรียมตัวอย่าง เพียงแต่ชั่งน้ าหนักตัวอย่างและน าไปวิเคราะห์ปรอทโดยตรง ลดมลพิษจากของเสียที่ใช้ใน การเตรียมตัวอย่าง ประหยัดเวลาและพลังงานที่ใช้ในการย่อยตัวอย่างผลิตภัณฑ์เครื่องส าอาง มีประสิทธิภาพ ในการหาปริมาณปรอทในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เครื่องส าอาง ผลการตรวจสอบความถูกต้องของวิธี พบมีค่าความ เป็นเส้นตรงอยู่ในช่วง 0.5-1.2 µg/ml มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ของกราฟมาตรฐาน ระหว่างค่าการ ดูดกลืนแสงของปรอทในรูปความสูงพีคและน้ าหนักของสารมาตรฐานปรอท ≥ 0.99 ร้อยละการได้กลับคืนอยู่ ในช่วง (%Recovery) 98.0-103.0% ผลทดสอบความแม่นย าและความเที่ยงที่ความเข้มข้น 0.6, 1.0 และ 1.1 µg/ml พบว่าอยู่ในช่วงเกณฑ์การยอมรับ ขีดจ ากัดการตรวจวัด (LOD) เท่ากับ 0.12 µg/ml ขีดจ ากัดการวัด เชิงปริมาณ (LOQ) เท่ากับ 0.5 µg/ml วิธีวิเคราะห์ที่ตรวจสอบความถูกต้องสามารถน ามาใช้ในการตรวจหา ปริมาณปรอทในผลิตภัณฑ์เครื่องส าอาง เพื่อการเฝ้าระวังความปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภค ค าส าคัญ: ปรอท, ผลิตภัณฑ์เครื่องส าอาง, การวิเคราะห์ปรอทโดยตรง
DMSc R2R Forum 2023 30 R2R to Health for Wealth 30 O2-15 การพัฒนาวิธีทดสอบประสิทธิภาพการลดเชื้อของผลิตภัณฑ์ท าความสะอาดมือแบบใช้น้ าล้างออก Development of quantitative suspension test of handwashes สิราวรรณ อ้นเกตุ*, ประทุมพร จุไรพันธ์, เบญจพร สุทธิอาจ และคณะ ส านักเครื่องส าอางและวัตถุอันตราย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 092 703 3313 E-mail: sirawan.o@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ ตามประกาศส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง แนวทางการทดสอบประสิทธิภาพของ เครื่องส าอางท าความสะอาดผิวหนังที่ใช้แล้วล้างออก ณ วันที่ 4 ตุลาคม 2565 และวิธี BS EN 1276 : 2019 เพื่อให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน และสอดคล้องกับสากล ส านักเครื่องส าอางและวัตถุอันตรายจึงพัฒนาวิธี ทดสอบประสิทธิภาพการลดเชื้อของผลิตภัณฑ์ท าความสะอาดมือแบบใช้น้ าล้างออก โดยทดสอบกับแบคทีเรีย 4 ช นิ ด ไ ด้ แ ก่ Staphylococcus aureus ATCC 6538, Pseudomonas aeruginosa ATCC 15442, Escherichia coli K12 NCTC 10538 และ Enterococcus hirae ATCC 10541 ที่อุณหภูมิ34±1 องศา เซลเซียส สภาวะสกปรก และระยะเวลาสัมผัส 60 วินาที นอกจากนี้ได้สุ่มผลิตภัณฑ์ท าความสะอาดมือที่ผสม สาร Anti-bacterial จากห้างสรรพสินค้า จ านวน 5 ตัวอย่างทดสอบที่ความเข้มข้น 3 ระดับ พบว่ามีเพียง 1 ตัวอย่าง (ร้อยละ 20) สามารถลดปริมาณแบคทีเรียทั้ง 4 ชนิดได้มากกว่า 3 log ที่ความเข้มข้นของตัวอย่าง ร้อยละ 30 และ 50 ซึ่งผ่านเกณฑ์ทดสอบ จากผลการด าเนินงานข้างต้น ส านักเครื่องส าอางและวัตถุอันตราย ได้จัดท ามาตรฐานการปฏิบัติงาน เรื่อง การทดสอบประสิทธิภาพการลดเชื้อของผลิตภัณฑ์ท าความสะอาดมือ แบบใช้น้ าล้างออก พร้อมให้บริการแก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ค าส าคัญ : สบู่เหลวล้างมือ, ลดเชื้อแบคทีเรีย, ประสิทธิภาพลดเชื้อ
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 31 31 O2-16 การออกแบบการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการตัวอย่างด้านอาหาร Design for Development of Food Sample Management อนัตตา การุณ* และคณะ ส านักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร โทรศัพท์ 02 951000 ต่อ 99564 E-mail: anatta.k@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ ส านักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร (สคอ.) มีภารกิจหลักให้บริการตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการด้านอาหาร และแบ่งเป็น 12 ห้องปฏิบัติการ จากข้อมูลจ านวนตัวอย่างด้านอาหารที่ส่งตรวจ วิเคราะห์ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563-2565 จ านวน 11,485 10,820 และ12,872 ตัวอย่างตามล าดับ นอกจากนี้ ตัวอย่างที่ส่งตรวจวิเคราะห์ยังมีความหลากหลาย มีรายละเอียดปลีกย่อย และข้อก าหนดทางกฎหมายที่ แตกต่างกัน ท าให้ยังพบมีความเสี่ยงต่อการปฏิบัติงานตามระเบียบราชการ และการตรวจวิเคราะห์ เช่น การคิดอัตราค่าบริการ การตรวจสอบรายละเอียดตัวอย่างไม่ถูกต้อง ดังนั้นทีมบริหารของ สคอ. จึงได้มีการ ประชุมวางแผนร่วมกัน เพื่อออกแบบและจัดท าต้นแบบการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการตัวอย่างส่งตรวจ วิเคราะห์ด้านอาหาร โดยประยุกต์ใช้รูปแบบจุดรวมและกระจายตัวอย่างภายในส านัก และปรับปรุง ห้องรับตัวอย่างรวมขึ้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว และเริ่มด าเนินการตามแผนงานที่ก าหนด เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2566 โดยมีการใช้ทรัพยากรร่วมกันตั้งแต่การเตรียมตัวอย่าง การเก็บรักษา มีการน าเทคโนโลยีเข้ามาช่วย และการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ปัจจัยความส าเร็จ และปัญหาอุปสรรคและได้ถูกน าเข้า เป็นข้อมูลย้อนกลับเป็นปัจจัยน าเข้าของการออกแบบและพัฒนากระบวนการและพัฒนาต่อยอดการจัดท า QR code ส าหรับการบริหารจัดการแบบครบวงจร ก่อให้เกิดความสามัคคี ส่งเสริมให้มีการท างานอย่างเป็น ระบบและเป็นต้นแบบของงานด้านอื่นๆ จะเป็นการยกระดับองค์กรสู่ความเป็นเลิศด้านบริการตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการต่อไป ค าส าคัญ: การบริหารจัดการตัวอย่าง
DMSc R2R Forum 2023 32 R2R to Health for Wealth 32 O2-17 ความชุกของเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ที่แยกได้จากน้ าบริโภคในเขตสุขภาพที่ 9 Prevalence of Pseudomonas aeruginosa bacteria isolated from in Drinking Water of Health Region 9 พงศ์พันธุ์ วัชรวิชานันท์*, พัชรี อินธิยศ, กนกวรรณ แก้วเสนา และ วัชรพล กาพย์พิมาย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 044 346005-13 ต่อ 334 E-mail: pongpan.w@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ P. aeruginosa เป็นแบคทีเรียก่อโรคที่พบได้บ่อยและเป็นสาเหตุส าคัญของโรคติดเชื้อฉวยโอกาสใน โรงพยาบาล โดยที่เชื้อจะมีการเจริญและเพิ่มจ านวนอยู่ในบริเวณที่มีความชื้น หรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ ทั้งนี้ เชื้ออาจเกาะติดพื้นผิวภายในท่อส่งน้ าจนเกิดการสร้างไบโอฟิล์มและเพิ่มจ านวนจนท าให้ประสิทธิภาพการฆ่า เชื้อของคลอรีนและแสงยูวีลดลง และมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของเชื้อ P. aeruginosa ที่แยกได้จาก น้ าบริโภคในเขตสุขภาพที่ 9 งานวิจัยนี้ได้ท าการตรวจวิเคราะห์ P. aeruginosa ในตัวอย่างน้ าบริโภคที่ส่งตรวจ วิเคราะห์ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา ในช่วงเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม 2565 โดยเพาะ แยกเชื้อและทดสอบทางชีวเคมีตามวิธีมาตรฐาน ISO 16266: 2006 ผลการศึกษาพบว่าตรวจพบการปนเปื้อน เชื้อ P. aeruginosa จ านวน 50 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 19.46 จากจ านวนตัวอย่างน้ าบริโภคทั้งหมด จ านวน 257 ตัวอย่างที่ส่งตรวจวิเคราะห์ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา ดังนั้นผู้บริโภคที่มีภูมิคุ้มกันต ่า ทารก เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วย อาจจะสามารถติดเชื้อ P. aeruginosa จากการบริโภคน้ าดื่มได้ จึงควรมี การเฝ้าระวังเชื้อ P. aeruginosa เพื่อป้องกันการเกิดโรค โดยหน่วยงานของรัฐ เช่น ส านักงานสาธารณสุข จังหวัดในพื้นที่ท าการเก็บตัวอย่างน้ าบริโภคตรวจเฝ้าระวัง การปนเปื้อนเชื้อ P. aeruginosaเพื่อให้ทราบถึง ความชุกของแบคทีเรียชนิดนี้อันจะน าไปสู่อันตรายต่อผู้บริโภคได้ และเป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพ และบ ารุงรักษาของน้ าบริโภคต่อไป ค าส าคัญ : Pseudomonas aeruginosa, น้ าบริโภค
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 33 33 O2-18 การประยุกต์ใช้เครื่องกลั่นโปรตีน KjeltecTM ในการเตรียมตัวอย่างขนมอบ เพื่อตรวจวิเคราะห์ปริมาณกรดโพรพิโอนิก Utilizing KjeltecTM Protein Distillation for Sample Preparation of Bakery Products in Propionic Acid Analysis อ าไพ ทองเจริญ*, กิ่งแก้ว กาญจนรัตน์ และ สุดชฎา ศรประสิทธิ์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เบอร์โทรศัพท์ 086 852 0427 E-mail: ampai.t@dmsc.mail.go.th บทคัดย่อ กรดโพรพิโอนิกเป็นกรดอินทรีย์มีคุณสมบัติยับยั้งการเจริญของราได้ดี นิยมใช้เป็นสารกันเสียในเบเกอรี่ เนื่องจากอุปกรณ์ชุดกลั่นส าหรับการกลั่นเตรียมตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ช ารุด ไม่สามารถเตรียมตัวอย่าง ตามวิธีมาตรฐานก าหนด ห้องปฏิบัติอาหาร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา จึงได้พัฒนาวิธีการ เตรียมตัวอย่างในการวิเคราะห์โดยการสกัดตัวอย่างขนมอบด้วยเครื่อง KjeltecTM 8100/8200 ซึ่งเป็นเครื่อง กลั่นโปรตีน ทดแทนชุดกลั่นตามวิธีมาตรฐาน แล้วตรวจวัดด้วย HPLC โดยใช้คอลัมน์ชนิด Hypersil C18 ตรวจวัดที่ความยาวคลื่น 210 นาโนเมตร เฟสเคลื่อนที่เป็นสารผสม 4 mM phosphoric acid : 10% acetonitrile ในอัตราส่วน 1:1 ด้วยอัตราการไหล 1.0 มิลลิลิตร/นาที เวลาในการวิเคราะห์ 32 นาที โดยผล การทดสอบความใช้ได้ของวิธีการวิเคราะห์กรดโพรพิโอนิกโดยเตรียมตัวอย่างด้วยเครื่อง KjeltecTM 8100/8200 พบว่ามีช่วงความเป็นเส้นตรง 200–6,000 มก./กก. ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจมากกว่า 0.999 ปริมาณต่ าสุดที่ตรวจพบและวิเคราะห์ได้ถูกต้องและความแม่นย า 60 และ 200 มก./กก. ตามล าดับ มีร้อยละ การคืนกลับเฉลี่ยอยู่ในช่วง 90–100 หลังจากทดสอบความใช้ได้ของวิธีแล้ว ห้องปฏิบัติการอาหารได้เข้าร่วม แผนทดสอบความช านาญกรดโพรพิโอนิกในอาหาร ค่า Z-score ของผลการท าสอบน้อยกว่า 1 จึงน าวิธีการ ที่ปรับปรุง มาใช้ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างขนมอบของห้องปฏิบัติการอาหาร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา ขนมอบ 130 ตัวอย่าง พบขนมปังปอนด์ 1 ตัวอย่าง เกินมาตรฐานก าหนด มีปริมาณ 2,006 มล./กก. จากการศึกษาท าให้ได้วิธีที่เหมาะสมส าหรับตรวจวิเคราะห์กรดโพรพิโอนิกในขนมอบ ใช้ประโยชน์ในการเฝ้า ระวังและคุ้มครองผู้บริโภค ห้องปฏิบัติการใช้เครื่องมือได้ที่มีอยู่ได้อย่างคุ้มค่าและคุ้มทุน โดยไม่ต้องจัดหา เครื่องมือใหม่ ค าส าคัญ: กรดโพรพิโอนิก, พัฒนาวิธีวิเคราะห์, ขนมอบ
DMSc R2R Forum 2023 34 R2R to Health for Wealth 34 O2-19 รูปแบบการให้บริการวัคซีน COVID-19 เพื่อเร่งรัดความครอบคลุมเข็มกระตุ้น ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล อ าเภอเมืองหนองคาย สิทธิศานติ์ทรัพย์สิริโสภา1*, กฤษณา ทรัพย์สิริโสภา2 และ สุรสิทธิ์ คนขยัน1 1 ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอเมืองหนองคาย 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี เบอร์โทรศัพท์ 081 670 7390 E-mail: voravith_chai@yahoo.com บทคัดย่อ บทน า โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัส โคโรนา ท าให้เกิดอาการระบบทางเดินหายใจ และเป็นสาเหตุให้เสียชีวิตได้ พบผู้ป่วยครั้งแรกใน เดือนธันวาคม ค.ศ. 2019 และระบาดอย่างรวดเร็วในทุกภูมิภาคของโลก ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างมากทุกด้าน พบว่า มีการ กลายพันธุ์หลายสายพันธุ์ การฉีดวัคซีนเป็นแนวทางที่ส าคัญในการป้องกันควบคุมโรค COVID-19 ผู้วิจัยจึงได้ ท าการศึกษาเรื่อง “รูปแบบการให้บริการวัคซีน COVID-19 เพื่อเร่งรัดความครอบคลุมเข็มกระตุ้น ใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล อ าเภอเมืองหนองคาย” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริการ วัคซีน COVID-19 ให้มีความครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยง วิธีการศึกษา ใช้วิธีการศึกษาเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยใช้หลักการ P D C A ในการด าเนินการ ประชากรในการศึกษาเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบล (รพ.สต.) 17 แห่ง ใช้กระบวนการจัดการความรู้ (KM) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการ ปฏิบัติจริง ในระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2565 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ร่วมกับการสังเคราะห์ และถอดบทเรียนในระหว่างการด าเนินงานและเมื่อสิ้นสุดการ ด าเนินงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถน าผลที่ได้ไปประยุกต์ใช้และพัฒนาต่อยอดงานของตนต่อไปได้ ผลการศึกษา พบว่า จากการให้บริการวัคซีน COVID-19 โดยจัดให้มีแพทย์และทีมสหวิชาชีพออกให้บริการใน ทุก รพ.สต. และในชุมชน เพื่อลดการนัดกลุ่มเป้าหมายเข้าไปรับบริการที่ศูนย์ฉีดวัคซีนหรือโรงพยาบาล มีผลท าให้อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน COVID-19 ในกลุ่มเป้าหมายของอ าเภอเมืองหนองคาย มี อัตราความครอบคลุมเข็มกระตุ้น (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565) ดังนี้ ประชากรกลุ่ม 608 ร้อยละ 48.14 กลุ่ม อสม. ร้อยละ 83.74 (โดยมี อสม. ต.บ้านเดื่อ ได้รับวัคซีน ร้อยละ 100 ทั้งเข็มที่ 1, 2 และ 3) และประชากรรวมทุกกลุ่ม ร้อยละ 46.17 เมื่อพิจารณาความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในแต่ละเข็ม พบว่า มีผู้ ได้รับวัคซีนเข็มที่ 1 มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.22 ได้รับเข็มที่ 2 ร้อยละ 89.77 นอกจากนี้การให้บริการ วัคซีนใน รพ.สต. หรือในชุมชน ยังสามารถลดปัญหาอุปสรรคการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย ด้วยการลด ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปรับบริการ ลดระยะเวลารอคอยการให้บริการ และเป็นการลดความแออัด ในโรงพยาบาลได้อีกประการหนึ่ง สรุปและวิจารณ์ เป็นรูปแบบการให้บริการที่ท าให้อัตราความครอบคลุมการ ได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นการจัดให้บริการแบบใกล้บ้าน ส าหรับผู้รับบริการยังได้รับความสะดวก ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ลดระยะเวลาการรอรับบริการ และสามารถน าไปปรับประยุกต์ใช้ในสถานบริการ อื่นได้ ซึ่งจะเป็นการเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการ ลดภาระค่าใช้จ่ายและระยะเวลารอรับบริการของผู้รับบริการ ส่งเสริมการให้บริการตามรูปแบบ “3 หมอ” ได้อย่างเป็นรูปธรรม ข้อเสนอแนะ หน่วยบริการ ควรจัดท า แผนการให้บริการวัคซีน COVID-19 ในในชุมชน อย่างต่อเนื่อง และสม่ าเสมอ เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงวัคซีน อย่างทั่วถึง และเป็นการให้บริการที่เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน ค าส าคัญ: รูปแบบการให้บริการวัคซีน COVID-19, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล, อ าเภอเมืองหนองคาย
DMSc R2R Forum 2023 36 R2R to Health for Wealth 36 O3-1 ปริมาณไมโครพลาสติกในระบบบ าบัดน้ าเสีย กรณีศึกษาบ่อบ าบัดแบบตะกอนเร่ง Abundance of Microplastics in Waste Water Treatment Plants A Case Study of an Activated Sludge System ชานนท์ นัยจิตร* ห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เบอร์โทรศัพท์ 063 268 9587 E-mail: tuangongzi@gmail.com บทคัดย่อ ไมโครพลาสติก (Microplastics) เป็นมลพิษใหม่ที่คุกคามระบบนิเวศทั่วโลก จากแนวโน้มการเพิ่มขึ้น ของผู้รับบริการในโรงพยาบาลท าให้มีการใช้เวชภัณฑ์และน้ ายาส าหรับตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ซึ่งเป็นต้นก าเนิดของไมโครพลาสติกเพิ่มสูงขึ้น ระบบบ าบัดน้ าเสียของโรงพยาบาลจึงเป็นแหล่งก าเนิดไมโคร พลาสติกที่ส าคัญแหล่งหนึ่ง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปริมาณไมโครพลาสติก และประเมินประสิทธิภาพ เบื้องต้นของการบ าบัดไมโครพลาสติกในระบบบ าบัดน้ าเสียของโรงพยาบาล โดยท าการสุ่มเก็บตัวอย่าง ทั้งในบ่อน้ าเข้าก่อนบ าบัด และบ่อน้ าออกหลังบ าบัด โดยวิธีจ้วงตักด้วยถังน้ าสแตนเลสรวมปริมาตร 5 ลิตร ย่อยสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนด้วย 20 M NaOH และระบุชนิดของไมโครพลาสติกด้วย micro-Fourier-transform infrared spectroscopy (µFT-IR) ผลการศึกษาพบปริมาณไมโครพลาสติกก่อนและหลังบ าบัดเท่ากับ 91.0 ชิ้น/ลิตร และ 25.8 ชิ้น/ลิตร ตามล าดับ ไมโครพลาสติกที่พบทั้งหมดเป็นชนิดทุติยภูมิ รูปร่างที่พบมากที่สุด คือเส้นใยคิดเป็นร้อยละ 73.21 สีน้ าเงินเป็นสีไมโครพลาสติกที่พบมากที่สุดร้อยละ 39.89 และไมโครพลาสติก ชนิดโพลีเอไมด์เป็นชนิดที่พบมากที่สุดร้อยละ 60 การประเมินประสิทธิภาพระบบบ าบัดน้ าเสียในการบ าบัด ไมโครพลาสติกคิดเป็นร้อยละ 71.65 การศึกษานี้เป็นประโยชน์ในการบริหารจัดการระบบบ าบัดน้ าเสียส าหรับ ไมโครพลาสติก อย่างไรก็ตามการศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว เพื่อความถูกต้องของข้อมูลควรมี การเก็บข้อมูลเพิ่มเติม ค าส าคัญ: ไมโครพลาสติก, ระบบบ าบัดน้ าเสีย, µFT-IR, โรงพยาบาล
DMSc R2R Forum 2023 R2R to Health for Wealth 37 37 O3-2 การเปรียบเทียบระดับเอนไซม์ G6PD ในเลือดของทารกแรกเกิดกับระยะเวลาการเก็บรักษา สิ่งส่งตรวจที่แตกต่างกัน Comparison of neonatal blood G6PD enzyme levels with storage period วรรณวนิดา จันทร์พันธ์* โรงพยาบาลมะการักษ์ จังหวัดกาญจนบุรี เบอร์โทรศัพท์095 563 1914 E-mail: benjawanj1936@gmail.com บทคัดย่อ เนื่องจากการตรวจหาภาวะพร่อง G6PD ด้วย Biosensor G6PD strip ในงานประจ ามีการเก็บรักษา สิ่งส่งตรวจไว้ในอุณหภูมิ 4 ºC และน ามาทดสอบในวันอังคารและพฤหัสบดีของสัปดาห์ ขั้นตอนเก็บตัวอย่าง ในระยะเวลา 1 - 3 วันส่งผลต่อระดับเอนไซม์ G6PD ที่อาจะได้ผลที่แท้จริง จากปัญหาที่พบดังกล่าว ท าการ เปรียบเทียบระดับเอนไซม์ G6PD ในเลือดของทารกแรกเกิดกับระยะเวลาการเก็บรักษาสิ่งส่งตรวจ จากการ วิจัยครั้งนี้เก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนทารกแรกเกิด ของโรงพยาบาลมะการักษ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยเก็บข้อมูลเปรียบ เทียบค่าเอนไซม์ G6PD ในเลือดของทารกแรกเกิด จ านวน 30 คน ในเดือนธันวาคม พ.ศ 2565 ซึ่งเป็นวัดค่าเอนไซม์ G6PD โดยเก็บรักษาสิ่งส่งตรวจตู้เย็นอุณหภูมิ 4 ºC ที่ระยะเวลา 0, 1, 3 และ 5 วัน ท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดย สถิติพรรณนา descriptive statistics และเปรียบเทียบความแตกต่าง ค่าเอนไซม์ G6PD โดยใช้การวิเคราะห์การแปรปรวนแบบวัดซ้ า (Repeated Measurement ANOVA) ก าหนด ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ P< 0.05 พบว่าเพศหญิงร้อยละ 50 และเพศชายร้อยละ 50 ส าหรับผลการวิเคราะห์ กา รแป รป รวนแบบวัดซ้ า เป รียบเทียบค่ าเอนไซม์ G6PD ในท า รกแ รกเกิดมีคว ามแตกต่ างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติระดับ P= 0.000 เฉลี่ยลดลงต่างจากวันแรกที่ตรวจค่าได้ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ P < 0.05 จากผลการวิจัยที่ได้ ท าให้ทางห้องปฏิบัติการน าไปสู่การเก็บรักษาตัวอย่างเลือดได้อย่างถูกต้อง ที่ส่งผลต่อค่าเอนไซม์ G6PD ที่วัดค่าผลตรวจได้แม่นย าถูกต้องในการตรวจมากขึ้น และน ามาสร้าง protocol ในการท างานใหม่ โดยก าหนดการตรวจเอนไซม์ G6PD ในทารกแรกเกิด ในช่วงเวลา 08.00 – 16.00 น. ในทุกวัน เพื่อลดความคลาดเคลื่อนของค่าที่ได้ และไม่ส่งผลต่อการรักษาผู้ป่วย ค าส าคัญ: ค่าเอนไซม์ G6PD, ระยะเวลาการเก็บรักษา, สิ่งส่งตรวจ, ทารกแรกเกิด
DMSc R2R Forum 2023 38 R2R to Health for Wealth 38 O3-3 การตรวจคัดกรองและการให้เลือดแก่ผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย รพ.ตะกั่วป่า จ.พังงา Blood screening and transfusion for patient thalassemia at Takuapa hospital, Phang-Nga ศิริวรรณ วันหนุน* โรงพยาบาลตะกั่วป่า จังหวัดพัทลุง เบอร์โทรศัพท์ 087 273 4147 E-mail: siriwan.wn@gmail.com บทคัดย่อ การจัดเตรียมโลหิตส าคัญยิ่งกับผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียที่ต้องรับเลือดเป็นประจ า เมื่อมีอุบัติการณ์ มีไข้หนาวสั่นจากการรับเลือด และถูกกระตุ้นให้สร้างแอนติบอดีต่อหมู่โลหิตบนผิวเม็ดเลือดแดงจึงทบทวน หาสาเหตุ แก้ไข โดยเลือกเลือด Leukocyte Poor Packed Red Cells (LPRC) และ Antigen specific blood เพื่อพัฒนาการตรวจคัดกรองและการเลือกเลือด LPRC ที่มี Minor blood group E, c, Mia ตรงกับผู้ป่วย วิจัย เชิงปฏิบัติการ ใช้วงจรคุณภาพ PDCA รวม 4 วงรอบ ผู้ป่วยธาลัสซีเมียที่รับเลือด 32 ราย มีหมู่โลหิต O, A, B ร้อย ละ 53.1, 25.0, 21.9 ทุกรายมี Ag D + (Rh Positive) พบ Ag E-, Ag c-, Mia– ร้อยละ 59.4, 53.1, 68.7 ใน 2 ปี มีขอโลหิตรวม 357 ถุง โลหิตที่ตรวจให้ตรง 580 ถุง พบ Ag E-, Ag c-, Ag Mia- ร้อยละ 69.7, 86.0, 89.7 อัตราส่วนการสุ่ม คือ 3 ต่อ 2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหมู่โลหิต ABO group กับ Minor blood group ใน Donor ด้วยสถิติchi-square ไม่พบความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p-value = 0.188, 0.135, 0.957) ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างเพศชาย-หญิง กับ Minor blood group ในผู้ป่วย ด้วยสถิติ Fisher’s Exact ไม่พบความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p-value = 0.141, 0.712, 0.440) สรุปการตรวจคัดกรอง และเลือกเลือด LPRC ที่มี Minor blood group ตรงกับผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียทุกคน (100 %) ท าให้ ผู้ป่วยที่รับเลือดประจ า ไม่มีไข้และ ไม่ถูกกระตุ้นสร้าง alloantibody ค าส าคัญ: โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย, Minor blood group, Leukocyte Poor Packed Red Cells (LPRC)