The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรอบการจำแนกปริมาณสำรองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ 2009 ของสหประชาชาติ
และข้อกำหนดร่วมสำหรับการประยุกต์ใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kkpracha, 2019-09-17 01:23:43

กรอบการจำแนก 2009 ของสหประชาชาติ

กรอบการจำแนกปริมาณสำรองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ 2009 ของสหประชาชาติ
และข้อกำหนดร่วมสำหรับการประยุกต์ใช้

Keywords: UNFC 2009,ปริมาณสำรอง,พลังงาน,แร่

คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปแห่งสหประชาชาติ

สำ�หรับปริมาณกสรำ�อรอบงแกลาะทรรจขัพ้อำ�ยกแาำ�กหนรนพกดลขรัง่วงอมาสงนำ�ฟสหอหรสับปซกิลราแระลปชะรแะารยช่ ุก2ตา0์0ใตช9ิ้

สหประชาชาติ

กรอบการจำ�แนกของสหประชาชาติสำ�หรับปริมาณสำ�รองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่  2009
(UNFC-2009) รวมถึงข้อกำ�หนดร่วมต่างๆ สำ�หรับการประยุกต์ใช้ ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงมาเป็นลำ�ดับโดยกลุ่ม
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ร่วมกับองค์กรวิชาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การกำ�กับของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรป
แห่งสหประชาชาติ จงึ เป็นระบบท่เี ปน็ ท่ียอมรับในระดับสากล และได้จดั ทำ�เปน็ ภาษาทางการขององค์การสหประชาชาติ
ทั้ง 6 ภาษา คือ อังกฤษ ฝร่งั เศส สเปน รสั เซยี จีน และอาหรับ
กรมทรัพยากรธรณเี ล็งเหน็ ถงึ ประโยชนข์ องการใช้ UNFC-2009 ที่จำ�แนกปริมาณทรัพยากรธรณีประเภทต่างๆ
ให้อยู่ในระบบสามมิติ ด้วยเกณฑ์พื้นฐานสามประการ คือ ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจและสังคม (E) สถานภาพ
และความเป็นไปได้ของโครงการ (F) และความรู้ด้านธรณีวิทยา (G) จึงได้ปรับแนวทางการจำ�แนกทรัพยากรแร่
ให้สอดคล้องกบั ระบบน้ี และเพื่อสง่ เสรมิ การใช้ UNFC-2009 ในประเทศไทยใหก้ ว้างขวางยิง่ ข้นึ จงึ ได้จดั ท�ำ UNFC-2009
ภาคภาษาไทยขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปแห่งสหประชาชาติ กรมอุตสาหกรรม
พื้นฐานและการเหมืองแร่ และกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นอย่างดี
กรมทรัพยากรธรณจี งึ ใครข่ อแสดงความขอบคณุ มา ณ ทน่ี ้ี และหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ UNFC-2009 ภาคภาษาไทย
ฉบบั นจ้ี ะอ�ำ นวยความสะดวก และเป็นประโยชน์แก่ผูใ้ ช้โดยท่วั กนั

(นายสุพจน์ เจิมสวัสดิพงษ์)
อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี

ISBN 978-616-316-251-9
พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 (พ.ศ. 2558)

จำ�นวน 500 เลม่
โดย กองอนรุ ักษแ์ ละจัดการทรพั ยากรธรณี
กรมทรพั ยากรธรณี (www.dmr.go.th)
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปแห่งสหประชาชาติ

กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ
ส�ำ หรบั ปรมิ าณส�ำ รองและทรพั ยากร

พลงั งานฟอสซลิ และแร่ 2009
ข้อกำ�หนดร่วมสำ�หรบั การประยกุ ตใ์ ช้

ชุดพลังงานของ ECE ลำ�ดับที่ 42

สหประชาชาติ
นิวยอร์คและเจนีวา 2003

หมายเหตุ

การกำ�หนดชื่อและการนำ�เสนอเนื้อหาในเอกสารนี้ไม่ได้หมายความว่าเป็นการแสดงความเห็นใดๆ ในส่วนของส�ำ นัก
เลขาธิการของสหประชาชาติเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมายของประเทศ ดินแดน เมืองหรือพื้นที่ หรือหน่วยงานใด หรือ
เก่ยี วกับการก�ำ หนดเส้นพรมแดนหรอื เขตแดน
การกล่าวถึง องค์กร กระบวนการหรือการค้าผลิตภัณฑ์ใดๆ ที่ได้รับใบอนุญาต ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เปน็ การรบั รองโดย
สหประชาชาติ

ECE/ENERGY/94

สิ่งพิมพ์สหประชาชาติ

Sales No. 14.II.E.4
ISBN 978-92-1-117073-3
eISBN 978-92-1-056516-5

ISSN 1014-7225

Copyright © United Nations, 2013

สงวนลิขสิทธิ์ทั่วโลก

ค�ำ ปรารภ

การสรา้ งรูปแบบทส่ี มบูรณ์ของฐานการผลิตพลังงานฟอสซลิ และแรท่ ้ังในปัจจุบนั และอนาคต เปน็ สิ่งจำ�เปน็ สำ�หรับ
การจัดการทรพั ยากรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ประมาณการท่ถี ูกตอ้ งตรงกันของปรมิ าณส�ำ รองและทรพั ยากรพลังงานฟอสซลิ
และแร่ ทส่ี อดรบั กบั ขอ้ มลู อื่นๆ ทางวิทยาศาสตร์ และทางสงั คม/เศรษฐกจิ เปน็ รากฐานสำ�หรับการประเมินดงั กลา่ ว
มาตรฐานมากมายท่ีแตกต่างกันได้รับการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการเฉพาะของท้องถ่ินหรือ
อุตสาหกรรม แต่ตอนนีเ้ ราท�ำ เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของเศรษฐกจิ ทั่วโลก เปน็ ผลท�ำ ให้มคี วามสนใจเพิ่มขน้ึ ในการ
ปรบั การแสดงผลของการท�ำ งานแบบเดมิ ๆ กอ่ นหนา้ น้ี ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบทเ่ี ปน็ กลางและมมี าตรฐานการใชง้ านทเ่ี ปน็ สากล
ในชว่ งทศวรรษท่ี 1990 คณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกิจยุโรป (ECE) ได้เร่ิมพัฒนาระบบทไี่ ม่ซบั ซ้อน ใช้งานงา่ ยๆ และเป็นรูป
แบบเดียวกันสำ�หรับการจำ�แนกและรายงานปริมาณสำ�รองและทรัพยากรของเชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งและสินค้าโภคภัณฑ์
แร่เพ่อื ตอบสนองความต้องการของประเทศสมาชกิ ในการพัฒนาระบบการรายงานทเี่ ป็นมาตรฐาน ผลท่ไี ดจ้ ากความ
พยายามนีค้ ือ กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ สำ�หรับปรมิ าณสำ�รองและปรมิ าณทรัพยากรเชือ้ เพลิงแข็งและสนิ ค้า
โภคภัณฑ์แร่ (UNFC-1997) ท่ไี ด้รับการรบั รองโดยคณะมนตรเี ศรษฐกิจและสงั คมแหง่ สหประชาชาติ (ECOSOC) ในปี
1997 ต่อมาในปี 2004 การจำ�แนกนก้ี ข็ ยายข้นึ ไปใชก้ ับปโิ ตรเลียม (นำ้�มันและกา๊ ซธรรมชาต)ิ และยูเรเนียม และมกี าร
เปลีย่ นช่ือ UNFC เป็นสำ�หรบั ทรพั ยากรพลงั งานฟอสซิลและแร่ 2004 (UNFC-2004) ดว้ ยขอ้ สรุปที่ 2004/33 ทำ�ให้
ECOSOC เชิญประเทศสมาชิกของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศ และคณะกรรมาธิการระดับภูมิภาคของ
สหประชาชาติ มาพจิ ารณาการใช้มาตรการทีเ่ หมาะสมเพื่อความมั่นใจการประยกุ ตใ์ ชง้ านทวั่ โลก ขอ้ สรปุ น้ีเสนอโอกาส
ในการประสานการจำ�แนกปริมาณสำ�รองและทรัพยากรท่ีมีอยู่เดิมเพ่ือสนองต่อการร่วมกันของกิจกรรมทางการเงินและ
กจิ กรรมการผลิตทรพั ยากรธรณที ั่วโลก
เพอ่ื ความสะดวกในการประยกุ ตใ์ ชก้ ารจ�ำ แนกทว่ั โลก คณะกรรมการพลงั งานทย่ี ง่ั ยนื ของ ECE ไดใ้ หค้ ณะท�ำ งานกลมุ่ ผู้
เชย่ี วชาญดา้ นการประสานศพั ทเ์ ฉพาะดา้ นทรพั ยากรพลงั งานฟอสซลิ และแร่ (ปจั จบุ นั คอื คณะผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการจ�ำ แนก
ทรพั ยากร) จดั เตรยี มและน�ำ เสนอ กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ ส�ำ หรบั ทรพั ยากรพลงั งานฟอสซลิ และแร่ (UNFC)
เพอ่ื ใหค้ ณะผบู้ รหิ ารของคณะกรรมการพจิ ารณา เพอ่ื สนองตอ่ ขอ้ สง่ั การ กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ ส�ำ หรบั
ปรมิ าณส�ำ รองและทรพั ยากรพลงั งานฟอสซลิ และแร่ 2009 (UNFC-2009) ทเ่ี ขม้ ขน้ และเรยี บงา่ ยกวา่ จงึ ไดถ้ กู จดั เตรยี ม
ข้อกำ�หนดหรือกฎเกณฑ์สำ�หรับการประยุกต์ใช้ UNFC-2009 จำ�เป็นต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการใช้เพิ่มเติมใน
ทางปฏิบัติทั้งนี้เพื่อประกันความสอดคลอ้ งกันและเพอ่ื ให้เทยี บเคยี งได้ ขอ้ ก�ำ หนดทที่ ำ�ให้ UNFC-2009 ใชง้ านได้อยา่ ง
เต็มทีถ่ กู พัฒนาโดยกลุ่มผูเ้ ชยี่ วชาญดา้ นการจ�ำ แนกทรพั ยากร ระหว่างปี 2010 ถงึ เมษายน 2013 ดว้ ยกระบวนการทีเ่ ท่า
เทยี ม โปร่งใส และมีประสทิ ธภิ าพ ขอ้ กำ�หนดเหลา่ น้ีไดร้ บั การเห็นชอบจากคณะผู้เช่ียวชาญ และคณะกรรมการพลงั งาน
ท่ียง่ั ยนื ปลายปี 2013
UNFC-2009 และขอ้ กำ�หนดสำ�หรับการประยกุ ตใ์ ชถ้ ูกพัฒนาขึน้ โดย ECE ภายใตข้ อ้ สั่งการรวมของ ECOSOC และด้วย
ความรว่ มมือ และการทำ�งานร่วมกันของทง้ั ประเทศทเี่ ป็นสมาชิกและไมไ่ ด้เป็นสมาชิกของ ECE และ หน่วยงานอื่นๆ ใน
องค์การสหประชาชาติ และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ องค์การระหว่างรัฐบาล สมาคมวิชาชีพ ภาคเอกชน และผู้เชยี่ วชาญ
อิสระมากมาย กระบวนการพัฒนาอย่างเข้มงวด ซึ่งรวมถึงการสำ�รวจความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย และการหารือ

iii

สาธารณะสองครั้ง ทำ�ให้ได้กรอบการจำ�แนกทั่วไปพร้อมข้อกำ�หนดสำ�หรับการประยุกต์ใช้ที่สะดวกใช้งานง่าย ตามที่
ปรากฏในเอกสารนี้
การพัฒนาพลงั งานทยี่ ่งั ยืนข้นึ อยู่กับการจดั การทรัพยากรพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปของโลก เช่น น้ำ�มนั ก๊าซธรรมชาติ
ถ่านหิน และยเู รเนยี มอย่างรอบครอบ UNFC-2009 มีบทบาททสี่ �ำ คญั ในกระบวนการนี้ ความมีอยขู่ องแหลง่ พลงั งาน
ที่ใชแ้ ล้วหมดไปเหล่านี้มีความสำ�คญั อย่างย่งิ ต่อทง้ั ผบู้ ริโภคและผผู้ ลิตพลังงานในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในขณะ
ทป่ี ระชากรกลมุ่ ใหญ่ซึ่งขยายเพ่ิมข้ึนกำ�ลังหลดุ พน้ จากความยากจน UNFC-2009 จะเป็นตวั ช่วยสำ�คัญในการจัดเตรียม
ข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือเก่ียวกับปริมาณสำ�รองและปริมาณทรัพยากรพลังงานเพื่อสนับสนุนการจัดการทรัพยากรระดับชาติ
และระดับนานาชาติ การจัดการกระบวนการสำ�รวจและผลิตในภาคอุตสาหกรรม การจัดการทรพั ยากรการเงนิ ระหวา่ ง
ประเทศที่เกี่ยวข้อง และเพื่อสนับสนุนการรับรู้ของสังคม มันเติมเต็มสิ่งที่จำ�เป็นสำ�หรับความพยายามของพวกเรา
ในการสร้างความเจริญรุ่งเรืองอย่างยั่งยืน ความสำ�เร็จของงานนี้สำ�หรับแหล่งพลังงานเดิมๆ ที่มีอยู่ทำ�ให้ผู้มีส่วนได้
เสียเข้าร่วมประเมินความสามารถในการประยุกต์ใช้กรอบการจำ�แนกน้ีเข้ากับแหล่งพลังงานหมุนเวียนและการกักเก็บ
คาร์บอนไดออกไซดใ์ ต้ดินอยา่ งจริงจงั ขณะน้งี านของเรายงั ไม่แลว้ เสร็จ
ขา้ พเจา้ มีความยินดีมอบข้อกำ�หนดร่วมในการประยุกตใ์ ช้ UNFC-2009 ใหท้ ่านได้รบั ไว้พิจารณา และขอมอบเป็นบรรณา
การให้กับทกุ ทา่ นท่มี สี ว่ นรว่ มในกระบวนการพัฒนา

Sven Alkalaj
เลขาธกิ ารบรหิ าร
คณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกิจยโุ รปแห่งสหประชาชาติ

iv

คำ�น�ำ

กรอบการจำ�แนกของสหประชาชาติ สำ�หรับปริมาณสำ�รองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ 2009
(UNFC-2009) เปน็ ระบบที่เปน็ ที่ยอมรับในระดบั สากล และเปน็ ระบบทีป่ ระยกุ ตใ์ ชใ้ นระดบั นานาชาตสิ ำ�หรับการ
จำ�แนกและรายงานปรมิ าณสำ�รองและทรพั ยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ และเปน็ ระบบการจำ�แนกเพยี งหน่งึ เดียวในโลก
ปจั จุบันทเ่ี ป็นเชน่ น้ี ข้อกำ�หนดสำ�หรับการประยกุ ต์ใช้ทำ�ให้ UNFC-2009 ใชง้ านได้ ข้อกำ�หนดแสดงหลักเกณฑพ์ ื้น
ฐานทีพ่ จิ ารณาแล้วว่าจำ�เปน็ ส�ำ หรับการรักษาความสอดคล้องในการประยุกต์ใช้ใหอ้ ยู่ในระดบั ที่เหมาะสม ข้อก�ำ หนดได้
ให้ข้อแนะนำ�เสรมิ ท่ีส�ำ คัญส�ำ หรับการประยกุ ตใ์ ช้ UNFC-2009 ในสถานการณ์จำ�เพาะแบบต่างๆ ดว้ ย
โดยการร่วมกบั กิจกรรมการผลติ ทรัพยากรธรณตี า่ งๆ UNFC-2009 ไดส้ ะท้อนถึงเงื่อนไขมากมาย ในภาคเศรษฐกิจและ
สงั คม รวมถงึ เงอ่ื นไขด้านการตลาดและขอบข่ายงานรัฐบาล ความเจรญิ ทางด้านเทคโนโลยีและอตุ สาหกรรม และความ
ไม่แน่นอนต่างๆ ทปี่ รากฏอยู่ตลอดมา มันเปน็ กรอบการจ�ำ แนกท่สี ามารถทำ�ไดท้ ั้งการศกึ ษาด้านพลงั งานและแร่ระหวา่ ง
ประเทศ วเิ คราะหน์ โยบายการจดั การทรัพยากรของรัฐบาล วางแผนกระบวนการด้านอตุ สาหกรรม และการจดั สรรเงิน
ทนุ อย่างมปี ระสิทธิภาพ
UNFC-2009 เปน็ ระบบท่ใี ช้หลกั การทว่ั ไป ทป่ี รมิ าณต่างๆ ถูกจำ�แนกดว้ ยเกณฑพ์ ้นื ฐานสามประการ คอื ความเป็น
ไปไดท้ างเศรษฐกจิ และสังคม (E) สถานภาพและความเปน็ ไปได้ของโครงการ (F) และ ความรูด้ า้ นธรณวี ิทยา (G) โดย
ใช้แผนการเขา้ รหสั ตัวเลขและภาษาท่เี ปน็ อิสระต่อกนั การรวมกนั ของเกณฑเ์ หล่าน้ที ำ�ให้เกดิ เป็นระบบสามมติ ิ UNFC-
2009 ทีส่ ามารถใช้ไดท้ ้งั แบบโดยตรงหรือใช้เป็นเครื่องมอื ประสานนเ้ี ปน็ ผลต่อเน่อื งจาก UNFC ปี 2004 กระบวนการ
แก้ไขทำ�ให้ไดก้ รอบการจำ�แนกที่ไม่ซับซ้อนและใชง้ านง่ายซึ่งโดยท่ัวไปมคี ุณภาพอยใู่ นระดบั ทส่ี ูง มันถกู ออกแบบให้ลงตวั
กบั ระบบอน่ื ๆ ท่ใี ช้อย่างกว้างขวางอยูแ่ ล้วในอตุ สาหกรรมการผลติ ทรัพยากรธรณี เชน่ Template ของคณะกรรมการ
มาตรฐานการรายงานปรมิ าณสำ�รองแรร่ ะหว่างประเทศ (CRIRSCO) และสมาคมวิศวกรปโิ ตรเลียม (SPE) / สภา
ปโิ ตรเลียมโลก (WPC) / สมาคมนกั ธรณีวิทยาปโิ ตรเลียมอเมริกา (AAPG) / สมาคมวิศวกรประเมินปโิ ตรเลยี ม (SPEE)
ระบบการจดั การทรัพยากรปโิ ตรเลียม (PRMS) และทำ�ให้สะดวกส�ำ หรับการจัดทำ�แผนที่รว่ มกบั ระบบการจำ�แนกอ่ืนๆ
นิยามของ หมวดหมแู่ ละหมวดยอ่ ยใน UNFC-2009 ถกู ท�ำ ให้เรียบงา่ ย และใชก้ ารจ�ำ แนกหมวดหมู่แบบธรรมดาๆ ดว้ ย
ภาษาพ้ืนๆ และค�ำ ศัพทท์ ั่วไปทส่ี อดคล้องในระดับท่เี หมาะสมสำ�หรับการสือ่ สารทว่ั โลก หลีกเลีย่ งการใชค้ ำ�ท่ที ำ�ให้เข้าใจ
ผดิ ส�ำ หรบั ผูท้ ไี่ ม่ช�ำ นาญ และค�ำ ท่ีมหี ลายความหมาย ทสี่ ำ�คญั ทสี่ ดุ ไมม่ ีการใช้ค�ำ ว่า “ปริมาณสำ�รอง” นอกจากในความ
หมายทวั่ ไป “ปรมิ าณส�ำ รอง” เป็นคำ�ทม่ี หี ลายความหมายและการใชง้ านท่ีแตกต่างกนั มากมาย แมแ้ ต่ในอุตสาหกรรม
การผลิตทรัพยากรธรณี ซ่ึงค�ำ น้ีถกู จ�ำ กัดความและใช้อยา่ งระมัดระวังโดยผเู้ ชย่ี วชาญ
โลกยคุ โลกาภิวัตนว์ ันนมี้ ผี ลต่อการเพ่ิมจำ�นวน บรษิ ทั พหุทรัพยากร (multi-resource companies) ทด่ี �ำ เนนิ งานในหลาย
ประเทศและพื้นที่ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนารปู แบบใหม่ของทรพั ยากร เชน่ การทำ�เหมอื งแร่นำ�้ มนั ดนิ เพือ่ ผลติ นำ�้ มนั
ดบิ สังเคราะห์ แสดงใหเ้ หน็ วา่ พรมแดนในอดีตระหว่างแรแ่ ละปโิ ตรเลยี มซงึ่ มีระบบการจ�ำ แนกทรพั ยากร ความจ�ำ เปน็
ในการรายงานสงั คม และกฎระเบยี บทางบญั ชที ี่แตกตา่ งกนั ไมย่ ่ังยนื อีกตอ่ ไป ดว้ ยการครอบคลุมกิจกรรมการผลติ
ทรัพยากรธรณที กุ ประเภท UNFC-2009 จึงอาศยั หลกั การทว่ั ไปและมีเครื่องมือส�ำ หรบั การรายงานทสี่ อดคล้องกันเกีย่ ว
กบั กจิ กรรมเหล่าน้ี โดยไมค่ �ำ นงึ ถึงประเภทของสินคา้ โภคภณั ฑ์ มันเปน็ มาตรการท่ีแข็งแกร่งซงึ่ ปูทางส�ำ หรบั การปรับปรุง
การส่อื สารทั่วโลก และช่วยใหม้ ีความมนั่ คงและความปลอดภยั ภายใตก้ ฎระเบยี บและแนวทางทีน่ อ้ ยลงแตเ่ ข้าใจกันอย่าง
กวา้ งขวางมากขึน้ ประสิทธภิ าพท่จี ะไดร้ ับจากการใช้ UNFC 2009 และขอ้ กำ�หนดต่างๆ จึงเปน็ รูปธรรม

v

คำ�ขอบคณุ

UNFC-2009 และข้อกำ�หนดในการประยุกต์ใช้ถูกพัฒนาด้วยความร่วมมือ และการทำ�งานร่วมกันของประเทศที่เป็น
สมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก ECE หน่วยงานอื่นๆ ขององค์การสหประชาชาติ และองค์การระหว่างประเทศ องค์การ
ระหว่างรัฐบาล สมาคมวิชาชพี และภาคเอกชน
เอกสารนี้เขียนขึน้ จากการทำ�งานของคณะท�ำ งานเฉพาะกิจท่ีทำ�การพิจารณาเทียบเคียงระบบการจ�ำ แนกท่ีสำ�คญั ๆ ซึง่
กนั และกนั นน่ั คือ คณะท�ำ งานเฉพาะกจิ ด้านการเทยี บเคยี งของ UNFC (UNFC Mapping Task Force) คณะทำ�งาน
เฉพาะกจิ น้ีน�ำ โดย Mücella Ersoy (วสิ าหกิจถา่ นหนิ ตุรก)ี และPer Blystad (คณะกรรมการปโิ ตรเลียมนอรเ์ วย์) โดยมี
Naill eatherstone (CRIRSCO), Ferninando Camisani-Calzolari (CRIRSCO), John Etherington (คณะกรรมการปริมาณ
สำ�รองน�้ำ มันและก๊าซ SPE), Kirill Kavun (สถาบนั วจิ ัยเศรษฐศาสตรท์ รัพยากรแร่และการใชด้ ินชัน้ ใต้ผิว (VIEMS) แห่ง
สหพนั ธรัฐรัสเซีย), James Ross (รอสส์ปิโตรเลยี มจ�ำ กดั ) และ Andrej Subelj (สโลวเี นยี )
ความอสุ าหะพยายามในการเตรียมการส�ำ หรับการแกไ้ ข UNFC ไดร้ บั การยกยอ่ งและชื่นชมอย่างมาก โดยเฉพาะอย่าง
ย่ิงการทำ�งานของคณะท�ำ งานเฉพาะกจิ ดา้ นการปรับปรงุ UNFC (UNFC Revision Task Force) ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยคณะผู้
บรหิ ารของกลุ่มผู้เชีย่ วชาญรวมถึงผู้เชย่ี วชาญเฉพาะด้าน
การพัฒนาข้อกำ�หนดเหล่านี้รับผิดชอบโดยคณะทำ�งานเฉพาะกิจด้านข้อกำ�หนด ของคณะผู้เชี่ยวชาญด้านการจำ�แนก
ทรัพยากร ซึง่ เป็นคณะผเู้ ชย่ี วชาญทน่ี ำ�โดย James Ross (ประธาน) และ Ferninando Camisani-Calzolari (CRIRSCO),
Daniel DiLuzio, Roger Dixon (สนับสนุนโดย Paul Bankes ตงั้ แตก่ ลางปี 2012), David Elliott, Timothy Klett, Kjell
Reidar Knudsen, Ian Lambert ซง่ึ มาแทนโดย Leesa Carson ในช่วงกลางปี 2012 (สนบั สนนุ โดย Yanis Miezitis), David
MacDonald, Yuri Podturkin (สนับสนุนโดยคณะทำ�งานรัสเซยี ) และ Daniel Trotman.

vi

สารบัญ

ค�ำ ปรารภi�������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������iii
ค�ำ น�ำ ....
��������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� v
คำ�ขอบคุณv���������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� vi
คำ�ยอ่ และอักษรยอ่ x����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� x

ภาค 1

กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ ส�ำ หรบั ปรมิ าณส�ำ รองและทรพั ยากรพลงั งานฟอสซลิ และแร่ 2009 (UNFC-2009)
บทนำ�...3���������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������3
1. การประยกุ ตใ์ ช้ (APPLICATION)...................................................................................................................3
2. หมวดหมแู่ ละหมวดยอ่ ย (CATEGORIES AND SUB-CATEGORIES).............................................................3
3. ชน้ั (CLASSES)...........................................................................................................................................4
4. ชั้นย่อย (SUB-CLASSES)............................................................................................................................7
5. การประสานรายการทรพั ยากร (HARMONIZATION OF RESOURCE INVENTORIES)....................................7
6. การปรับตามความต้องการของชาตแิ ละท้องถิน่ (ADAPTING TO NATIONAL OR LOCAL NEEDS)................7
ภาคผนวก ก
นยิ ามของหมวดหมู่ และค�ำ อธิบายเพ่ิมเตมิ 9������������������������������������������������������������������������������������������������������������9
ภาคผนวก ข
นยิ ามของหมวดย่อย...........................................................................................................................................12

ภาค 2

ข้อกำ�หนดสำ�หรับการประยุกต์ใช้ กรอบการจำ�แนกของสหประชาชาติ สำ�หรับปริมาณสำ�รองและ
ทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ 2009 (UNFC-2009)
1. บทน�ำ 1������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������15
2. การพิจารณาดา้ นสิง่ แวดล้อมและสังคม (ENVIRONMENTAL AND SOCIAL CONSIDERATIONS).................16
3. ข้อกำ�หนดเฉพาะรายโภคภัณฑ์ (COMMODITY-SPECIFIC SPECIFICATIONS) และ ความสัมพนั ธ์
กับระบบการจ�ำ แนกทรพั ยากรอื่นๆ1������������������������������������������������������������������������������������������������������������17
4. การรายงานทรพั ยากรของชาต.ิ ..................................................................................................................19
5. การเปิดเผย...............................................................................................................................................19
6. ข้อกำ�หนดทวั่ ไป2����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������20
ก. การใช้รหัสตัวเลข (Numerical codes)..................................................................................................20
ข. เอกสารเชอ่ื มโยง (Bridging document)...............................................................................................20
ค. วนั ที่มผี ล (Effective date)...................................................................................................................20
ง. ชนิดของสนิ ค้าโภคภณั ฑ์หรือผลิตภณั ฑ์ (Commodity or product type).................................................20
จ. พน้ื ฐานส�ำ หรบั การประมาณการ (Basis for estimate)2��������������������������������������������������������������������������21
ฉ. จดุ อา้ งองิ (Reference point)...............................................................................................................21
ช. การจำ�แนกโครงการบนพ้ืนฐานของระดบั ความสมบูรณ์ (level of maturity)2��������������������������������������������21
ซ. ความแตกต่างระหว่าง E1, E2 และ E3...............................................................................................21
ฌ. ระดับความมั่นใจส�ำ หรบั G1,G2 และ G32������������������������������������������������������������������������������������������22
ญ. ความแตกต่างระหว่างปริมาณท่สี ามารถผลติ ได้ และปริมาณในแหล่ง (in situ)......................................22
ฎ. การรวมกนั ของปรมิ าณ (Aggregation of quantities)............................................................................23

vii

ฏ. สมมตฐิ านดา้ นเศรษฐศาสตร์ (Economic assumptions) ..................................................................... 23
ฐ. คณุ สมบัตขิ องผูป้ ระเมิน (Evaluator qualifications)............................................................................... 23
ฑ. หน่วยและตัวประกอบการแปลงค่า (Units and conversion factors)..................................................... 24
ฒ. การบนั ทึกขอ้ มูล (Documention)........................................................................................................ 24
ณ. การขยาย G4 เพ่ืออธบิ ายความไมแ่ น่นอน ........................................................................................ 24
ด. คำ�บรรยายท่เี ปน็ ทางเลือกส�ำ หรับการประมาณการ4����������������������������������������������������������������������������� 24
ต. การจำ�แนกปริมาณรว่ มกับโครงการส�ำ รวจ (Optional labels for estimates)5������������������������������������������� 25
ถ. การจำ�แนกปริมาณเสริมในแหล่ง (Classification of additional quantity in place)2��������������������������������� 25
ท. ปริมาณทผ่ี ลติ แลว้ และอาจจำ�หน่ายได้ในอนาคต2�������������������������������������������������������������������������������� 25
ภาคผนวก ก.
อภิธานศพั ท์เฉพาะ.............................................................................................................................................27
ภาคผนวก ข.
แนวทางในการประยุกตใ์ ชค้ �ำ ส่ังหลักใน UNFC-20093��������������������������������������������������������������������������������������������30
ภาคผนวก ค.
เอกสารเช่ือมโยงระหวา่ ง CRIRSCO TEMPLATE กบั UNFC-2009......................................................................31
1. บทน�ำ 3����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 31
2. ภาพรวมของ CRIRSCO TEMPLATE (2006)............................................................................................. 31
3. การเทียบเคียงหมวดหมู่ และหมวดยอ่ ย โดยตรง....................................................................................... 32
ก. การประยุกต์ใช้ แกน G...................................................................................................................... 32
ข. การเทยี บเคียง แกน E และ แกน F อยา่ งละเอียด............................................................................... 33
ค. ผลการส�ำ รวจ3������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������36
ภาคผนวก ง.
เอกสารเชอ่ื มโยงระหวา่ ง PRMS กบั UNFC-2009................................................................................................37
1. บทน�ำ 3����������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 37
2. ภาพรวมของ PRMS................................................................................................................................. 37
3. การเทียบเคียงโดยตรงของหมวดหมู่ และหมวดย่อย.................................................................................. 38
ก. การประยกุ ตใ์ ช้ แกน G...................................................................................................................... 38
ข. การเทยี บเคยี ง แกน E และ แกน F อยา่ งละเอยี ด............................................................................... 39
ค. ความคาดหวังการสำ�รวจ (Exploration prospects)4������������������������������������������������������������������������������ 41
ง. ปริมาณเสรมิ ในแหลง่ (Additional Quantities in Place)........................................................................ 41
4. การแบ่งยอ่ ยชน้ั ความสมบูรณ์ของโครงการ PRMS กบั การแบ่งหมวดยอ่ ยของ UNFC-2009........................ 42
ก. การจัดหมวดยอ่ ยโครงการคุ้มค่าเชิงพาณิชย.์ ....................................................................................... 42
ข. การจดั หมวดย่อยโครงการท่มี ศี ักยภาพคุม้ ค่าเชงิ พาณิชย์ และโครงการไมค่ ุ้มค่าเชงิ พาณิชย.์ .................. 43
5. การระบุปรมิ าณต่างๆ ที่ถกู กำ�หนดไว้ แตไ่ มถ่ กู จำ�แนกใน PRMS5���������������������������������������������������������������� 45
6. รายละเอยี ดของสถานภาพปริมาณสำ�รองใน PRMS4���������������������������������������������������������������������������������� 45
ภาคผนวก จ.
แนวทางส�ำ หรบั การใช้ความสมบูรณข์ องโครงการในการจ�ำ แนกยอ่ ยโครงการ โดยใช้ UNFC-20096��������������������������46
(ก) โครงการคมุ้ คา่ เชงิ พาณิชย.์ ........................................................................................................................47
(ข) โครงการทม่ี ีศักยภาพค้มุ คา่ เชงิ พาณชิ ย.์ ......................................................................................................47
(ค) โครงการไมค่ ุม้ คา่ เชงิ พาณิชย.์ ....................................................................................................................48
(ง) ปริมาณเสรมิ ในแหลง่ ................................................................................................................................48

viii

ภาค 3

คำ�ชี้แจงสำ�หรับ กรอบการจำ�แนกของสหประชาชาติ สำ�หรับปริมาณสำ�รองและทรัพยากรพลังงาน
ฟอสซิลและแร่ 2009 (UNFC-2009)
บทน�ำ 5�������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������51
1. ความสัมพนั ธก์ ับการจำ�แนกแบบอ่นื ๆ5���������������������������������������������������������������������������������������������������������51
2. การรกั ษาสภาพการจ�ำ แนก (Maintenance of the classification)5�������������������������������������������������������������������52
3. เอกสารอา้ งองิ กฎเกณฑ์ (Normative references).........................................................................................52
4. ความเหน็ สำ�หรับ UNFC-20095�������������������������������������������������������������������������������������������������������������������53
ส�ำ หรบั บทท่ี 1 (UNFC-2009)5������������������������������������������������������������������������������������������������������������������53
สำ�หรบั บทที่ 2 (UNFC-2009)5������������������������������������������������������������������������������������������������������������������53
สำ�หรบั บทที่ 3 (UNFC-2009)5������������������������������������������������������������������������������������������������������������������53
ส�ำ หรบั บทท่ี 4 และ 5 (UNFC-2009)5�������������������������������������������������������������������������������������������������������55
สำ�หรบั บทท่ี 6 (UNFC-2009)5������������������������������������������������������������������������������������������������������������������55
บรรณานุกรม ....................................................................................................................................................56
ตารางแสดงรปู ประกอบ
รปู ที่ 1
หมวดหมู่ และตวั อยา่ งของชั้นตา่ งๆ ใน UNFC-2009..............................................................................................4
รูปท่ี 2
UNFC-2009 ฉบบั ยอ่ แสดงช้นั ปฐมภมู ิ (Primary Classes).......................................................................................5
รูปท่ี 3
ช้ัน และชน้ั ย่อยของ UNFC-2009 ก�ำ หนดโดย หมวดยอ่ ย8���������������������������������������������������������������������������������������8
รปู ท่ี ค.1
ความสัมพันธท์ ัว่ ไประหวา่ ง ผลการส�ำ รวจ ทรพั ยากรแร่ และปริมาณสำ�รองแร่
ท่ีปรากฏอยูใ่ น CRIRSCO Template.....................................................................................................................32
รปู ท่ี ค.2
การเทยี บเคยี ง CRIRSCO Template กบั ชนั้ และ หมวดหมู่ ของ UNFC-2009.......................................................33
รปู ที่ ค.3
การเทยี บเคียง CRIRSCO Template กบั แกน E และ แกน F ของ UNFC-2009.....................................................35
รูปท่ี ง.1
การเทยี บเคยี ง ล�ำ ดับความไมแ่ น่นอนของหมวดหมู่ ของ PRMS กบั แกน G ของ UNFC-20093������������������������������38
รูปท่ี ง.2
การเทยี บเคียง ชัน้ และหมวดหมู่ ของ PRMS กับ UNFC-2009.............................................................................39
รปู ที่ ง.3
การเทยี บเคยี ง E-F Matrix กับความสมบูรณ์ของช้นั ย่อย ของ PRMS ....................................................................40
รูปท่ี ง.4
การเทยี บเคยี ง โครงการสำ�รวจ ของ UNFC-2009 กบั ทรัพยากรที่คาดหวังของ PRMS4�������������������������������������������41
รปู ที่ ง.5
การเทียบเคียง ปริมาณเสรมิ ในแหล่ง ของ UNFC-2009 กับ ปริมาณท่ไี มส่ ามารถผลติ ได้ ของ PRMS......................42
รปู ที่ ง.6
การเทียบเคยี ง ช้ันย่อยทรพั ยากรที่ยังไม่พร้อมผลิต ของ PRMS กบั ช้ันย่อย ของ UNFC-2009 โดยใช้
หมวดหม่แู ละหมวดย่อย ของแกน E และแกน F..................................................................................................43

ix

ค�ำ ย่อ และ อกั ษรยอ่

AAPG สมาคมนกั ธรณีวิทยาปิโตรเลยี มอเมริกา
Ad Hog Group of Expert คณะท�ำ งานกลมุ่ ผู้เชีย่ วชาญของ ECE ดา้ นการประสานศัพท์เฉพาะ
ด้านทรัพยากรพลงั งานฟอสซิลและแร่
CMMI
CRIRSCO สภาสถาบันการเหมอื งแรแ่ ละโลหะกรรม
ECE คณะกรรมการมาตรฐานการรายงานปรมิ ารสำ�รองแร่ระหว่างประเทศ
Expert Group คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรป แหง่ สหประชาชาติ
IAEA กลุม่ ผ้เู ช่ยี วชาญด้านการจ�ำ แนกทรพั ยากร ของ ECE
IEC ทบวงการพลังงานปรมาณูระหวา่ งประเทศ
คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าดว้ ยมาตรฐานสาขาไฟฟา้
ISO และอิเลก็ ทรอนกิ ส์
NEA
OECD องค์การระหวา่ งประเทศวา่ ด้วยการมาตรฐาน
PRMS หน่วยงานพลงั งานนวิ เคลียร์ ของ OECD
องค์การเพื่อความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ และการพฒั นา
SEG ระบบการจดั การทรัพยากรปโิ ตรเลยี มปี 2007 ของ SPE/WPC/AAPG/SPEE
SPE ซง่ึ ไดร้ บั การรบั รองโดย SPE, WPC, AAPG, SPEE และ SEG
SPEE สมาคมนกั สำ�รวจธรณฟี สิ กิ ส์
UNFC สมาคมวิศวกรปิโตรเลียม
UNFC-2009 สมาคมวิศวกรประเมินปโิ ตรเลียม
กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาตสิ �ำ หรบั ทรพั ยากรพลังงานฟอสซิลและแร่
VIEMS กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ ส�ำ หรับปรมิ าณสำ�รองและทรพั ยากร
WPC พลงั งานฟอสซลิ และแร่ 2009

สถาบันเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรแร่ และการใชด้ นิ ชั้นใตผ้ ิว แห่งสหพนั ธรัฐรัสเซีย
สภาปิโตรเลยี มโลก

x

ภาค 1
กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ
สำ�หรับปริมาณส�ำ รองและทรัพยากร
พลังงานฟอสซิลและแร่ 2009 (UNFC-2009)*


* เนอ้ื หาใน UNFC-2009 ตรงกันกบั ใน สง่ิ พมิ พ์ ชดุ พลังงาน ของ ECE ลำ�ดบั ท่ี 39 และ ECE/ENERGY/85 เผยแพรใ่ นปี 2010



บทน�ำ

ในการประชุมสมัยที่ 16 ในเดือนพฤศจกิ ายน 2007 คณะกรรมการพลังงานทีย่ ัง่ ยืน ภายใตค้ ณะกรรมาธิการ
เศรษฐกิจยุโรปได้ให้คณะทำ�งานกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการประสานศัพท์เฉพาะ ด้านทรัพยากรพลังงานฟอสซิล
และแร่ (ปจั จบุ นั คอื กลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการจ�ำ แนกทรพั ยากร) น�ำ เสนอกรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาตสิ �ำ หรบั
ทรพั ยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ (UNFC) ชดุ ใดๆ ท่ีผา่ นการปรับปรงุ แกไ้ ขแลว้ ใหค้ ณะผ้บู รหิ ารของคณะกรรมการ
พลงั งานทย่ี ั่งยนื พจิ ารณา ในปี 2008 ทัง้ นเี้ พอื่ ส่งเสรมิ การใชง้ านของ UNFC ทว่ั โลก เพื่อสนองต่อข้อสั่งการดัง
กล่าว การจำ�แนกฉบับที่เรียบง่ายและผ่านการปรับปรุงแก้ไขแล้ว (กรอบการจำ�แนกของสหประชาชาติส�ำ หรบั
ปริมาณส�ำ รองและทรพั ยากรพลังงานฟอสซลิ และแร่ 2009 (UNFC-2009)) ถูกจดั เตรียมโดยคณะท�ำ งานเฉพาะกจิ
ดา้ นการปรบั ปรงุ UNFC ซง่ึ ประกอบดว้ ยคณะผ้บู รหิ ารของคณะทำ�งานกล่มุ ผู้เชยี่ วชาญร่วมกบั ผูเ้ ช่ียวชาญเฉพาะ
ดา้ น ค�ำ ชแี้ จงส�ำ หรับ UNFC-2009 (อยใู่ นภาค 3) อธบิ ายรายละเอียดบางประเด็นทมี่ ีอยใู่ นการจำ�แนกทีผ่ ่านการ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขแล้ว แต่ไม่ไดเ้ ปน็ สว่ นหน่ึงของการจ�ำ แนก
แผนการท�ำ งานในปี 2009/10 ของคณะท�ำ งานกลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญ (ECE/ENERGY/GE.3/2009/2) ทเ่ี หน็ ชอบในคราว
ประชุมสมยั ทหี่ ก ระบวุ า่ ควรเตรียมรา่ ง UNFC-2009 ฉบบั ปรับปรงุ แกไ้ ข ไวส้ ำ�หรบั การประชมุ สมัยทเ่ี จด็

1. การประยกุ ต์ใช้

UNFC-2009 ใช้ได้กับปริมาณสำ�รองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ที่อยู่บนดินและอยู่ใต้ผิวดิน มันถูก
ออกแบบให้เหมาะสมเท่าท่ีเป็นไปได้กับความต้องการในการประยุกต์ใช้ที่เก่ียวข้องกับการศึกษาพลังงานและแร่
การท�ำ งานดา้ นการจัดการทรพั ยากร การประสานกระบวนการทางธรุ กจิ และมาตรฐานการรายงานด้านการเงนิ

2. หมวดหมู่และหมวดยอ่ ย

UNFC-2009 เป็นระบบท่ีใชห้ ลักการท่ัวไป ที่ปริมาณตา่ งๆ ถูกจำ�แนกด้วยเกณฑพ์ ืน้ ฐานสามประการ คือ ความ
เปน็ ไปไดท้ างเศรษฐกจิ และสงั คม (E) สถานภาพและความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ (F) และความรดู้ า้ นธรณวี ทิ ยา (G)
โดยใชแ้ ผนการเขา้ รหสั ตวั เลข การรวมกันของเกณฑ์เหล่านท้ี ำ�ใหเ้ กดิ เปน็ ระบบสามมติ ิ ในบางกรณหี มวดหมู่ (เช่น
E1, E2, E3) และหมวดย่อย (เชน่ E1.1) จะถกู กำ�หนดไว้ส�ำ หรับเกณฑแ์ ต่ละตวั ตามทแี่ สดงและก�ำ หนดไว้ในภาค
ผนวก ก. และ ข.
หมวดหมู่แรก (แกน E) กำ�หนดระดับการอำ�นวยประโยชน์ของสภาพเศรษฐกิจและสังคมในการสร้างความเป็น
ไปได้ในเชิงพาณิชย์ของโครงการ รวมทั้งการพิจารณาถึงราคาตลาด และเงื่อนไขตามกฎหมาย กฎระเบียบ
สิ่งแวดล้อม และสัญญาท่เี กีย่ วข้อง หมวดหมทู่ ีส่ อง (แกน F) ก�ำ หนดความสมบูรณข์ องการศึกษาและภาระผกู พนั
ทีจ่ ำ�เป็นในการดำ�เนินการตามแผนการทำ�เหมืองหรือการพัฒนาโครงการ สิ่งเหล่านข้ี ยายขน้ึ จากความพยายาม
ในการสำ�รวจในช่วงต้น กอ่ นแหลง่ สะสมทรัพยากรจะไดร้ บั การยนื ยันว่ามีอยู่ตลอดโครงการสำ�หรบั การผลิตและ
จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ และสะท้อนให้เห็นถึงหลักการมาตรฐานการจัดการห่วงโซ่คุณค่า (standard value chain

3

management principles) หมวดหมู่ที่สาม (แกน G) กำ�หนดระดบั ความเชอ่ื มนั่ ในความรดู้ า้ นธรณีวิทยา และ
ศักยภาพการผลติ ของปรมิ าณตา่ งๆ
หมวดหมแู่ ละหมวดย่อยเป็นบล็อกของระบบ และจะถกู รวมกันเขา้ เป็น “ชั้น” UNFC-2009 สามารถมองเห็นเป็น
สามมิติ ตามรปู ที่ 1 หรือ แสดงเปน็ รูปแบบสองมิตอิ ย่างย่อทส่ี ำ�หรบั การใชง้ าน ตามรปู ที่ 2

3. ชั้น

ชน้ั ถกู ก�ำ หนดเปน็ พเิ ศษโดยการคัดเลือกผลรวมของหมวดหมู่ หรือหมวดย่อย (หรือกลุม่ ของหมวดหมูห่ รอื
หมวดย่อย) จากเกณฑ์ท้งั สาม เนอื่ งจากรหสั ถูกเรยี งล�ำ ดบั ตรงกันเสมอ (น้ันคอื E; F; G) ดังน้ันตวั อกั ษรอาจละไว้
เหลือเพยี งตวั เลขเท่านั้น รหัสตัวเลขของช้นั จงึ ตรงกันในทกุ ภาษา โดยใช้ตัวเลขอารบคิ
รปู ท่ี 1
หมวดหมขู่ อง UNFC-2009 และตัวอย่างของช้นั

จผำลหิตนภาณั ยฑ ความเป็นไปได้ทางสังคมเศรษฐกิจ โครงการคมุ คาเชิงพาณชิ ย
เโชคงิรพงกาาณรชิทย่มี  ศี ักยภาพคมุ คา
ผไมลจติ ำภหัณนฑา ย โครงการไมคมุ คาเชิงพาณิชย
โครงการสำรวจ
ความเป็นไปได้ของโครงการ ปรมิ าณเสริมในแหลง
องคป ระกอบรวมอ่นื ๆ
ปรมิ าณทผี่ ลติ
รหัส (E1;F2:G3)

ความรู้ด้านธรณีวิทยา

4

รูปท่ี 2
UNFC-2009 แบบยอ่ แสดงชน้ั ปฐมภมู ิ (Primary Classes)

การผลิต ผลติ ภัณฑจ่์ �ำ หนา่ ย
ผลติ ภณั ฑ์ไม่จำ�หน่าย a

โภคภัณฑ์รวมในแหล่งตั้งแต่แรก ชนั้ E หมวดหมู่
F Gb
ผลติ ในอนาคตโดย โครงการคุ้มค่าเชงิ พาณิชย์ c 1
โครงการคมุ้ ค่าเชงิ พาณชิ ย์ 2e 1 1, 2, 3
หรือ โดยการทำ�เหมือง 3
2 1, 2, 3
มีศกั ยภาพผลติ ไดใ้ นอนาคต โครงกาเรชทงิ พี่มาีศณักชิยยภ์ าdพคุ้มค่า 2 1, 2, 3
โดยโครงการพฒั นา หรือ
การทำ�เหมอื งท่ีอาจเกดิ ขึน้ ได้ โครงการไม่คุม้ ค่าเชงิ พาณิชย์ f

ปริมาณเสริมในแหล่ง รวมกบั แหลง่ ท่คี น้ พบแล้ว 3 4 1, 2, 3

มีศักยภาพในการผลติ โครงการส�ำ รวจ 33 4
หากการส�ำ รวจเป็นผลสำ�เรจ็ 34 4

ปริมาณเสริมในแหล่ง รวมกบั แหล่งท่ีมศี ักยภาพ g

a ผลิตภัณฑ์ท่ีไม่จำ�หน่ายในอนาคต จดั เปน็ E3.1 ทรพั ยากรท่จี ะผลติ แตไ่ มจ่ ำ�หนา่ ยสามารถอยู่ได้ในทุกชัน้ ของปรมิ าณท่ผี ลิตได้
ไมไ่ ด้แสดงไว้ในตาราง
b หมวดหมู่ G อาจมรี ูปแบบไมต่ อ่ เน่อื ง โดยเฉพาะเมอื่ ท�ำ การจำ�แนกแรข่ องแข็ง และปริมาณในแหล่ง หรอื ในรปู แบบสะสม (เช่น
G1+G2) ซึ่งมักใช้กบั ของไหลทผ่ี ลิตได้
c โครงการคุ้มค่าเชิงพาณิชย์ที่ได้รับการยืนยันความเป็นไปได้ในทางเทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม ปริมาณที่สามารถผลิต
ได้ร่วมกับโครงการคุ้มค่าเชงิ พาณิชยถ์ กู ก�ำ หนดในระบบการจำ�แนกหลายระบบใหเ้ ป็น ปรมิ าณสำ�รอง (Reserves) แต่มีความแตกต่างด้าน
เนือ้ หาระหวา่ งคำ�จำ�กดั ความเฉพาะซ่ึงใช้กบั อุตสาหกรรมการผลิตทรพั ยากรธรณหี ลายประเภท ดงั น้นั ในทีน่ ี้จึงไมใ่ ชค้ �ำ ๆ น้ี
d โครงการทีม่ ีศกั ยภาพคมุ้ คา่ เชิงพาณิชย์หลายโครงการคาดการณ์ว่าจะถูกพฒั นาในอนาคตอนั ใกล้ โดยปรมิ าณถูกประเมินวา่ มี
โอกาสทเ่ี หมาะสมในเชงิ เศรษฐกิจส�ำ หรบั การผลติ แต่ความเปน็ ไปไดใ้ นทางเทคนิค และ/หรอื ทางพาณชิ ยย์ ังไม่ไดร้ ับการยนื ยนั ดังนน้ั จงึ ไม่
ได้หมายความวา่ ทุกโครงการท่ีมีศักยภาพคมุ้ ค่าเชิงพาณชิ ย์จะไดร้ บั การพัฒนา
e โครงการทมี่ ศี ักยภาพคุ้มคา่ เชงิ พาณิชยอ์ าจมคี ณุ สมบตั ิตรงกับ E1.
f โครงการที่ไม่คุ้มค่าเชิงพาณิชย์ และโครงการที่กำ�ลังเริ่มพัฒนา รวมถึงโครงการที่พิจารณาแล้วว่าไม่มีความเป็นไปได้ในการ
พัฒนาทางพาณชิ ย์ ในอนาคตอนั ใกล้
g ปริมาณส่วนนอี้ าจสามารถผลติ ได้ในอนาคตหากมีการพฒั นาทางเทคโนโลยี ขน้ึ อยู่กบั ชนดิ ของโภคภณั ฑแ์ ละเทคนิคการผลติ
(ถ้ามี) ทไ่ี ดน้ ำ�มาใช้ ปริมาณเหลา่ น้บี างสว่ นหรอื ทง้ั หมดอาจไม่สามารถผลิตได้เลยเนอื่ งจากข้อจ�ำ กดั ทางกายภาพ และ/หรือ ทางเคมี

5

ขณะทยี่ งั ไม่มีขอ้ จำ�กัดทชี่ ัดเจนของความเปน็ ไปได้ในการรวมหมวดหมู่หรือหมวดยอ่ ย E, F, และ G ดังน้ันโดย
ทั่วไปจึงมีการใช้ในจำ�นวนจำ�กัดเท่านั้น สำ�หรับการรวมกันที่สำ�คัญๆ (ชั้นและชั้นย่อย) จะมีคำ�อธิบายเฉพาะ
สำ�หรับรหัสตัวเลข ดังปรากฏในรูปท่ี 2
ตามรูปที่ 2 โภคภณั ฑ์รวมในแหลง่ ตง้ั แต่แรก ถกู จำ�แนกโดยระบวุ นั ที่ ในลกั ษณะดังต่อไปนี้
(ก) ปรมิ าณท่ผี ลติ ได้ซง่ึ ถกู จำ�หนา่ ยแลว้ – ผลิตภัณฑ์เพอื่ จำ�หนา่ ย
(ข) ปรมิ าณทีผ่ ลติ ไดซ้ ่ึงไมถ่ กู จ�ำ หน่าย – ผลติ ภัณฑไ์ มจ่ �ำ หน่าย
(ค) ปรมิ าณตา่ งๆ รวมกบั แหลง่ คน้ พบแลว้ อาจผลติ ไดใ้ นอนาคตดว้ ยกจิ กรรมการผลติ ทรพั ยากรธรณี การ
ศึกษาวิวัฒนาการด้านเทคนิคและด้านพาณิชย์ ของโครงการพัฒนาหรือการทำ�เหมืองช่วยสร้างพื้นฐานของ
การจำ�แนก
(ง) ปรมิ าณเสรมิ ในแหลง่ รวมกบั แหลง่ ทค่ี น้ พบแลว้ และจะไมถ่ กู ผลติ ดว้ ยโครงการพฒั นาหรอื การท�ำ เหมอื ง
ใดๆ ทม่ี ใี นปจั จบุ นั
(จ) ปรมิ าณตา่ งๆ รวมกับแหลง่ ทมี่ ีศกั ยภาพซีึง่ อาจผลติ ไดใ้ นอนาคต แสดงว่าแหล่งได้รับการยืนยนั
(ฉ) ปริมาณเสริมในแหล่งรวมกับแหล่งที่มีศักยภาพ อาจไม่ถูกคาดการณ์ว่าจะสามารถผลิตได้ถึงแม้ว่า
แหล่งไดร้ บั การยนื ยนั
การรกั ษาความสมดลุ ของปรมิ าณรวมสามารถท�ำ ไดด้ ว้ ยการประยกุ ตใ์ ชก้ ารจ�ำ แนกอยา่ งเตม็ ท่ี เพอ่ื จดุ ประสงคน์ ้ี
จุดอา้ งองิ จะถูกสร้างขนึ้ โดยมีการก�ำ หนดปรมิ าณ คุณภาพ และราคาของการจำ�หนา่ ย (หรือการถ่ายโอน1) ของ
ปรมิ าณที่ผลติ ได้
ปริมาณตา่ งๆ ตอ้ งได้รับการประมาณการอย่เู สมอโดยไมร่ วมผลผลิตในอดีตซึ่งอาจตรวจวัดได้ การประมาณการ
มักมีความไม่แน่นอนอยู่ ความไม่แน่นอนสามารถแสดงได้ด้วยการกำ�หนดช่วงระดับความมั่นใจที่ลดลง (สงู
กลาง ต�่ำ ) หรอื โดยการก�ำ หนดสามสถานภาพจำ�เพาะ (ประเมนิ ต�ำ่ ดที ส่ี ุด และสงู ) วิธีการแรกโดยทว่ั ไปประยกุ ต์
ใช้กบั แร่ของแข็งในขณะท่ีวิธกี ารหลงั มักใช้กับปิโตรเลียม การประเมินสถานภาพต่�ำ เทยี บไดโ้ ดยตรงกบั ระดับความ
มั่นใจสูง (เชน่ G1) ในขณะทกี่ ารประเมินสถานภาพดีทส่ี ุดเทียบได้กบั ผลรวมระดบั ความม่นั ใจสูงและปานกลาง
(G1+G2) การประเมนิ สถานภาพสงู เทียบไดก้ ับผลรวมระดับความมน่ั ใจสูง กลาง และต�ำ่ (G1+G2+G3) ปริมาณ
ต่างๆ อาจถูกประเมนิ โดยใช้วธิ กี ารค�ำ นวณหรือการศกึ ษาความเปน็ ไปได้
ในขณะทีป่ รมิ าณท่ีเกยี่ วข้องทค่ี ้นพบซงึ่ อาจจะผลติ ได้ในอนาคตถกู แบ่งออกเปน็ ปริมาณท่ีคาดว่าจะถกู จ�ำ หน่าย
และประมาณท่คี าดว่าจะผลิตแต่ไมจ่ ำ�หน่าย


1 ในโครงการร่วมขนาดใหญ่ อาจจ�ำ เปน็ ตอ้ งก�ำ หนด ราคา “แลกเปลยี่ น” ภายใน ระหวา่ ง การด�ำ เนนิ งาน “ต้นน�้ำ ” และการด�ำ เนิน
งาน “กลางน้�ำ ” หรือ “ปลายน้ำ�” โดยใชก้ ารค�ำ นวณแบบไมต่ ายตวั (netback calculation)

6

ปริมาณท่ีมีศักยภาพในการผลิตอาจถูกผลิตได้ในอนาคตโดยโครงการท่ีอาจเกิดข้ึนได้บนเงื่อนไขท่ีจะต้องกำ�หนด
อย่างน้อยหนึ่งเงื่อนไข โครงการดังกล่าวเหล่านี้ถูกจำ�แนกเป็นกลุ่มโครงการที่คาดว่ามีเงื่อนไขทางสังคมและ
เศรษฐกจิ ยอมรับได้ส�ำ หรับการด�ำ เนนิ งาน และกล่มุ ที่คาดว่ายอมรบั ไมไ่ ด้ กรณกี ลุม่ แรกเกดิ จากโครงการผลติ ไมม่ ี
ความสมบูรณเ์ พยี งพอทจ่ี ะยนื ยนั ความเปน็ ไปได้ทางเทคนคิ และ/หรอื ทางพาณิชย์ ซ่งึ จะท�ำ ใหม้ พี นื้ ฐานความรบั
ผดิ ชอบในการผลติ และจำ�หน่ายโภคภัณฑใ์ นระดบั เชิงพาณชิ ย์ สำ�หรับกรณกี ลมุ่ หลงั นี้ท้งั โครงการและเงื่อนไขทาง
เศรษฐกจิ และสงั คม ไม่สมบูรณเ์ พยี งพอทจี่ ะบ่งชี้ถงึ ศกั ยภาพท่เี หมาะสมสำ�หรับการผลติ และจ�ำ หนา่ ยเชิงพาณชิ ย์
ในอนาคตอันใกล้ แหล่งทรัพยากรธรณี (แร่ หรือ ปิโตรเลียม) หนึ่งแหล่งอาจทำ�ให้เกิดหลากหลายโครงการที่มี
สถานะภาพแตกตา่ งกัน

4. ช้ันย่อย

เพื่อให้การส่อื สารทั่วโลกในอนาคตมีความชดั เจน ชัน้ ยอ่ ยท่ัวไปของ UNFC-2009 ถูกก�ำ หนดเพ่ิมเติมโดยมพี นื้
ฐานบนองค์ประกอบทคี่ รบถ้วน (full granularity) ซ่งึ จัดตาม หมวดย่อย ทีป่ รากฏอยู่ในภาคผนวก ข. ช้ันย่อยนี้
แสดงอยใู่ นรูปท่ี 3.

5. การประสานรายการทรพั ยากร

การจำ�แนกนอกเหนือจากทีป่ รากฏในรปู ท่ี 2 นัน้ สามารถท�ำ ไดโ้ ดยการเลือกรวมหมวดหม่ทู ี่เหมาะสม หรอื โดย
การจัดกลุ่ม หรือแยกหมวดหมูย่ อ่ ยลงไปอกี การทำ�ดังนีส้ ามารถประสานรายการทรัพยากรต่างๆ ท่ถี ูกพัฒนาขน้ึ
บนพน้ื ฐานระบบจ�ำ แนกหมวดหมทู่ แี่ ตกต่างกนั ได้
ในทางกลบั กนั หากใช้ UNFC-2009 แบบไม่ยอ่ (แบบสามมติ ิ) ในการทำ�รายการคงคลงั ทรพั ยากรก็สามารถเปลีย่ น
ใหเ้ ปน็ รายการทรพั ยากรแบบทท่ี �ำ ดว้ ยการจ�ำ แนกทส่ี อดคลอ้ งวธิ อี น่ื ๆ โดยไมต่ อ้ งยอ้ นกลบั ไปทข่ี อ้ มลู ฐานทรพั ยากร

6. การปรบั ตามความต้องการของชาติ หรอื ทอ้ งถน่ิ

การจำ�แนกแบบต่างๆ มกั ต้องมีการปรับตามความตอ้ งการระดบั ชาติ หรือ ระดบั ท้องถนิ่ ในการปรบั นคี้ วรตรวจ
สอบความสอดคล้องในการใช้ UNFC-2009 แบบไม่ยอ่ และ การประยกุ ต์ใช้อ่นื ๆ

7

รปู ที่ 3
ชน้ั และชน้ั ยอ่ ยของ UNFC-2009 ก�ำ หนดโดยหมวดยอ่ ย a

ช้ันตา่ งๆ ของ UNFC ก�ำ หนดโดย หมวดหมู่ และหมวดยอ่ ย

การผลิต ผลติ ภัณฑจ่์ �ำ หน่าย

โภคภัณฑ์รวมในแหล่งตั้งแต่แรก ผลิตภัณฑ์ไมจ่ �ำ หนา่ ย

ชั้น ชัน้ ยอ่ ย E หมวดหมู่
1 FG
โครงการค้มุ คา่ กำ�ลงั ผลิต 1.1 1, 2, 3
เชงิ พาณชิ ย์ อนมุ ตั เิ พ่ือพัฒนาแลว้ 1
พิจารณาเพอ่ื พัฒนาแล้ว 1.2 1, 2, 3
1
แหล่งที่พบ โครงการมีศกั ยภาพ อยรู่ ะหว่างรอการพฒั นา 2b 1.3 1, 2, 3
คมุ้ คา่ เชิงพาณิชย์ การพฒั นาหยดุ ชะงกั
2 2.1 1, 2, 3

2.2 1, 2, 3

โครงการไม่คุ้มค่า การพฒั นาไม่ชัดเจน 3.2 2.2 1, 2, 3
เชงิ พาณชิ ย์ การพัฒนาเป็นไปไม่ได้ 3.3 2.3 1, 2, 3

ปรมิ าณเสริมในแหล่ง 3.3 4 1, 2, 3

แห ่ลง การสำ�รวจ (ไมไ่ ดก้ �ำ หนดช้นั ย่อย)c 3.2 3 4
ัศกยภาพ
ปริมาณเสริมในแหล่ง 3.3 4 4

a อ้างอิงหมายเหตุ ตามรูปที่ 2. ด้วย
b โครงการที่รอการพฒั นา อาจเข้าเงอ่ื นไขของ E1.
c ช้ันยอ่ ยทั่วไปไม่ได้ก�ำ หนดในทน่ี ้ี แตม่ ีขอ้ สังเกตวา่ สำ�หรับปิโตรเลยี ม ค�ำ ว่า Prospect, Lead และ Play เปน็ ที่ยอมรบั กนั โดย
ท่วั ไป

8

ภาคผนวก ก. a
นิยามของหมวดหมู่ และค�ำ อธบิ ายเพมิ่ เติม

หมวดหมู นิยามb คำอธบิ ายเพ่มิ เตมิ c

การผลติ (extraction) การผลิตและจำหนา ยมีความคมุ คา บนพื้นฐานของเง่ือนไขตลาด
และจำหนา ยไดรับการ ปจจุบัน และเง่ือนไขสมมติฐานที่สมจริงของตลาดในอนาคต
ยืนยันวเชางิ สเาศมรษารฐถกดิจำไเดน dนิ การ การอนมุ ตั ิ/สัญญาตา งๆ ท่จี ำเปน ไดร บั การยืนยัน หรอื มกี าร
E1 คาดการณอ ยา งสมเหตุสมผลวาจะไดร บั การอนุมัติ/สญั ญาตา งๆ

ท้งั หมดในกรอบเวลาทส่ี มเหตสุ มผล ความเปน ไปไดทางเศรษฐกจิ
ตอ งไมถกู กระทบจากเง่ือนไขตลาดทพ่ี ลกิ ผันระยะสนั้
ซึง่ สง ผลใหการคาดการณล วงหนา ระยะยาวยังคงมีผลเปน บวก

การผลิต (extraction) การผลติ และจำหนา ยยงั ไมไดร บั การยืนยนั ความคุมคาทาง
และจำหนายคาดวา สามารถ เศรษฐกจิ แตบนพ้ืนฐานของเงอื่ นไขสมมติฐานทีส่ มจริงของตลาด
E2 ดำเนินการเชงิ เศรษฐกิจได ในอนาคต มกี ารคาดการณทีส่ มเหตุสมผลสำหรบั การผลติ และ

ในอนาคตอนั ใกล จำหนา ยที่คมุ คาทางเศรษฐกจิ ในอนาคตอันใกล

การผลิต (extraction) และ บนพ้ืนฐานของเงอื่ นไขสมมติฐานทส่ี มจริงของตลาดในอนาคต
จำหนา ยคาดวาไมสามารถ ถอื วาในเวลานี้ไมมกี ารคาดการณทีส่ มเหตสุ มผลสำหรับการผลติ
เปนไปไดใ นเชงิ เศรษฐกิจใน และจำหนายท่ีคุมคา ทางเศรษฐกิจในอนาคตอันใกลน ี้ หรอื ยงั ไม
E3 อนาคตอันใกลหรอื เรว็ เกิน สามารถประเมินความเปน ไปไดทางเศรษฐกิจของการผลิตไดเนื่อง

ไปสำหรับการประเมนิ ความ จากขอมลู ยังไมเ พยี งพอ (เชน อยรู ะหวา งขัน้ ตอนการสำรวจ)
เปนไปไดท างเศรษฐกิจ ทั้งนีร้ วมถงึ ปรมิ าณทคี่ าดวาจะทำการผลิตแตจ ะไมจ ำหนา ยดวย

a ภาคผนวก ก. เป็นสว่ นหน่งึ ของ UNFC-2009
b ค�ำ วา่ “extraction” เทยี บไดก้ ับค�ำ ว่า “production” เมื่อใช้กับปิโตรเลียม
c คำ�วา่ “deposit” เทียบไดก้ บั คำ�วา่ “accumulation” หรือ “pool” เมอื่ ใชก้ บั ปโิ ตรเลยี ม
d วลี “สามารถด�ำ เนินการเชิงเศรษฐกจิ ” หมายรวมถงึ เศรษฐกจิ (ในความหมายแคบๆ) บวกกับ “เงอ่ื นไขการตลาด” อนื่ ๆ ท่ี
เกย่ี วข้อง และรวมถงึ การพิจารณา ราคา คา่ ใชจ้ ่าย กรอบกฎหมาย/บัญชี สิง่ แวดลอ้ ม สังคมและปัจจยั อื่นๆ ทีไ่ มเ่ กี่ยวกับดา้ นเทคนิคที่
สามารถส่งผลกระทบโดยตรงตอ่ ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการพฒั นา

9

หมวดหมู นยิ าม คำอธบิ ายเพิ่มเตมิ

ความเปน ไปไดของการผลิต การผลิตกำลงั ดำเนนิ การอยู หรือการดำเนินการพัฒนาโครงการ
F1 โดยโครงการพัฒนาหรอื หรอื การทำเหมอื งกำลังดำเนนิ การ หรือ การศกึ ษารายละเอียด

การทำเหมอื งท่กี ำหนด เสร็จสมบูรณเพยี งพอสำหรับแสดงความเปน ไปไดในการผลติ โดย
ไดร ับการยืนยัน การพัฒนาโครงการหรือทำเหมอื งตามทก่ี ำหนดไว

ความเปน ไปไดข องการผลติ การศึกษาเบ้ืองตน ช้ใี หเ ห็นถึงความมีอยูของแหลง (deposit)
โดยโครงการพฒั นาหรอื ในรปู แบบ คุณภาพ และปรมิ าณ ทีค่ วามเปนไปไดในการผลติ
F2 การทำเหมืองทกี่ ำหนด โดยโครงการพฒั นา หรือการทำเหมืองท่กี ำหนด (อยา งนอ ย

ตองไดรบั การประเมนิ กำหนดไวก วางๆ) สามารถถกู ประเมนิ ได
เพิม่ เติม

ความเปนไปไดของการผลติ การศึกษาครา วๆ เบอื้ งตน (เชน ระหวางการสำรวจ) ซึ่งอาจอยูบน
โดยโครงการพฒั นาหรอื พื้นฐานของโครงการพฒั นาหรอื การทำเหมืองท่กี ำหนด
การทำเหมืองท่กี ำหนด (อยา งนอยกำหนดไวในหลกั การ) บงชีว้ า ตอ งมีการเก็บขอมูลเพ่มิ
F3 ไมสามารถรับการประเมนิ เพือ่ ยืนยันความมีอยูของแหลงในรูปแบบ คุณภาพ และปริมาณ

ไดเ นื่องจากขอมลู ดาน ท่ีการศกึ ษาความเปน ไปไดข องการผลิตจะสามารถถกู ประเมนิ ได
เทคนิคทจี่ ำกัด

F4 ไมมกี ารระบโุ ครงการพฒั นา ปริมาณทีพ่ บในแหลง ซึง่ จะไมผ ลิตโดยโครงการพัฒนาหรอื
หรือการทำเหมอื งใดๆ การทำเหมอื งใดๆ ทีก่ ำหนดไวใ นปจ จบุ นั

ปรมิ าณของแหลงท่ีพบ สำหรับปริมาณที่พบในแหลง หรือ สำหรบั การประเมนิ การผลิต
สามารถประมาณการไดด วย พลังงานฟอสซิลและทรัพยากรแรท่ีผลติ ไดใ นรปู ของแข็ง โดยทัว่ ไป
G1 ความม่ันใจระดับสงู ปริมาณถูกจดั กลมุ แบบแยกสว น ซ่ึงการประมาณการแตละสว น

สะทอ นถึงระดบั ของความรดู านธรณีวทิ ยา และความม่นั ใจที่มี
ในเฉพาะสวนของแหลง การประมาณการจะถูกจัดหมวดหมูเปน
G2 ปริมาณของแหลง ท่ีพบ G1, G2 และ/หรือ G3 แลวแตความเหมาะสมสำหรบั การประเมิน
สามารถประมาณการไดดวย การผลิตของพลงั งานฟอสซิลและทรพั ยากรแรท ีผ่ ลิตไดใ นรปู
ความมั่นใจระดบั ปานกลาง ของไหล โดยทว่ั ไปธรรมชาตกิ ารเคล่ือนทีไ่ ดของมนั ทำใหไ ม

สามารถกำหนดปริมาณทีส่ ามารถผลิตไดข องแหลง แบบแยกสว น
ปริมาณทส่ี ามารถผลติ ไดจ งึ ควรถูกประเมินบนพน้ื ฐานภาพรวม
G3 ปริมาณของแหลงทีพ่ บ ของผลท่ีเกดิ จากแผนการพัฒนาแหลง และโดยทวั่ ไปมักจัดกลุม
สามารถประมาณการไดด ว ย บนพน้ื ฐานของสถานะภาพ หรอื ผลลัพธส ามแบบ ซึ่งเทียบไดก บั
G1, G1+G2 และ G1+G2+G3
ความมั่นใจระดบั ตำ่

10

หมวดหมู นยิ าม คำอธิบายเพม่ิ เติม
ปรมิ าณของแหลง ศักยภาพ ปริมาณทปี่ ระมาณการไดในระหวา งการสำรวจมักมีความไม
G4 ถกู ประมาณการเบื้องตน แนนอนสงู และมคี วามเสยี่ งสูง ซ่งึ ไมม โี ครงการพัฒนา หรอื การ
ทำเหมอื งใดๆ ดำเนินการผลิตปรมิ าณท่ปี ระมาณการไวน้ี หากมี
ดว ยหลกั ฐานทางออ ม การประมาณการก็มกั จะมกี ารคาดหมายผลลัพธ ซึง่ ถาเปนไปได
ควรมกี ารบันทึกความไมแ นนอนทั้งหมดของแหลงศกั ยภาพ
(ในรูปแบบการกระจายความนา จะเปน) นอกจากนีค้ วรบันทกึ
โอกาส (ความนา จะเปน) ที่แหลงศักยภาพจะกลายเปน แหลงทม่ี ี
ความสำคัญในเชงิ พาณิชยด วย

11

ภาคผนวก ข. a
นยิ ามของหมวดยอ่ ย

หมวดหมู หมวดยอ ย นยิ าม หมวดยอ ย
การผลติ และจำหนา ยมคี วามคมุ คาบนพน้ื ฐานของเง่อื นไขตลาด
E1.1 ปจ จบุ นั และเงอื่ นไขสมมตฐิ านทสี่ มจรงิ ของตลาดในอนาคต

E1 การผลติ และจำหนายไมม คี วามคุมคาบนพ้นื ฐานของเง่ือนไขตลาด
E1.2 ปจ จุบัน และเง่อื นไขสมมตฐิ านท่สี มจริงของตลาดในอนาคต
แตทำใหสามารถดำเนนิ การไดโดยการสนับสนนุ ของรัฐบาล และ/หรอื
การชดเชยอ่นื ๆแตท ำใหส ามารถดำเนนิ การไดโ ดยการสนบั สนนุ
ของรัฐบาล และ/หรอื การชดเชยอน่ื ๆ

E2 ไมมกี ารกำหนดหมวดยอย

E3.1 ปริมาณที่คาดหมายจะทำการผลิต แตไมไดมีไวจ ำหนา ย

E3 E3.2 ขณะนีย้ ังไมสามารถระบุความเปน ไปไดทางเศรษฐกจิ ในการผลติ
E3.3 เนื่องจากขอมลู ไมเ พียงพอ (เชน ยังอยูในชว งการสำรวจ)
บนพื้นฐานของเงื่อนไขสมมติฐานที่สมจริงของตลาดในอนาคต
ถือวาตอนนี้ยังไมมีโอกาสที่เหมาะสมสำหรับการผลิตและจำหนาย
ทีค่ ุมคา ทางเศรษฐกิจในอนาคตอนั ใกล

F1.1 ตอนน้ีกำลงั ทำการผลติ

F1 F1.2 ไดรบั อนุมัติดา นเงินทนุ และกำลงั เร่มิ ดำเนนิ โครงการพัฒนา
F1.3 หรอื การทำเหมือง

F2.1 การศึกษาอยา งละเอียดเสร็จสมบรู ณเพยี งพอสำหรับการแสดง
F2 F2.2 ความเปน ไปไดใ นการผลติ โดยการพฒั นาโครงการหรือทำเหมือง
ตามทกี่ ำหนดไว
กิจกรรมโครงการดำเนนิ ไปอยา งตอ เนอื่ งแสดงใหเหน็ ถึง
การพฒั นาในอนาคตอนั ใกล
กจิ กรรมโครงการถกู ระงบั และ/หรือ มีการแสดงใหเ ห็น
วา การพฒั นาในเชงิ พาณชิ ยอ าจตอ งลา ชาอยางมีนัยสำคัญ

F2.3 ไมมแี ผนการพัฒนา หรือแผนการเกบ็ ขอมลู เพ่มิ เตมิ ที่เปน ปจ จบุ ัน
เนื่องจากมศี ักยภาพท่จี ำกัด
a ภาคผนวก ข. เปน็ สว่ นหนึ่งของ UNFC-2009

12

ภาค 2*
ขอ้ ก�ำ หนดส�ำ หรับการประยุกต์ใช้
กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ
สำ�หรบั ปริมาณสำ�รองและทรัพยากร
พลงั งานฟอสซิลและแร่ 2009 (UNFC-2009)


* หากไมไ่ ดร้ ะบุเป็นอนื่ ทุกบท และทุกภาคผนวก ทป่ี รากฏและอา้ งอิงในภาค 2 ใช้สำ�หรับภาค 2 เท่านัน้



1. บทน�ำ

ในการประชมุ สมยั ท่ี 18 ในเดือนพฤศจกิ ายน 2009 คณะกรรมการดา้ นพลงั งานท่ีย่ังยนื อนมุ ตั ิเนื้อหากรอบการ
จำ�แนกของสหประชาชาติสำ�หรบั ปรมิ าณสำ�รองและทรพั ยากรพลงั งานฟอสซลิ และแร่ 2009 (UNFC-2009) ชดุ
สดุ ทา้ ย เน้ือหาของ UNFC-2009 (อยใู่ นภาค 1 และ 3) ถูกตีพมิ พก์ อ่ นหน้านีใ้ นปี 2010 เป็นสงิ่ ตพี มิ พ์ของคณะ
กรรมาธิการเศรษฐกิจยโุ รปแห่งสหประชาชาติ (ECE), ECE/ENERGY/85 และ ชดุ พลังงาน ของ ECE ล�ำ ดบั ที่ 39
ในหกภาษาของสหประชาชาติ (อาหรับ จนี อังกฤษ ฝร่ังเศส รสั เซยี และสเปน)
วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของ UNFC-2009 คอื การเพม่ิ การสอ่ื สารระหวา่ งประเทศโดยการจดั หากรอบการจ�ำ แนกทว่ั ไป
ส�ำ หรับการรายงานปริมาณส�ำ รองและทรพั ยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ แม้ว่าการประมาณการดังกลา่ วอาจท�ำ
โดยใชร้ ะบบการจ�ำ แนกหรือการรายงานที่ (1) อาจใชศ้ ัพทเ์ ฉพาะทีต่ ่างกันสำ�หรับประมาณการเปรยี บเทียบ หรอื
ใช้ศพั ท์เฉพาะทีเ่ หมอื นกนั แตม่ คี วามหมายตา่ งกนั (2) แนวทางการประยกุ ตใ์ ชร้ ว่ มทีเ่ ปน็ เฉพาะรายโภคภณั ฑ์
(commodity-specific) และ (3) อาจสะทอ้ นถงึ การผลติ ผลติ ภณั ฑข์ องแขง็ โดยการท�ำ เหมอื ง หรอื ผลติ ภณั ฑข์ องไหล
จากหลมุ เจาะ UNFC-2009 ไดร้ ับการพัฒนาเพื่อสนองเทา่ ท่ีเปน็ ไปได้ ต่อความตอ้ งการของการใช้งานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
กบั การศึกษาพลงั งานและแรร่ ะหว่างประเทศ การจัดการทรัพยากรของรฐั บาล มาตรฐานร่วมกระบวนการทาง
ธรุ กิจและการรายงานทางการเงนิ
ประโยชน์ทีส่ �ำ คญั ของ UNFC-2009 คือศกั ยภาพทีจ่ ะทำ�ใหเ้ กิดพน้ื ฐานร่วมกนั ส�ำ หรับภาคแร่และปิโตรเลยี ม ซงึ่
มรี ะบบการจ�ำ แนกท่ไี ดพ้ ฒั นาเพ่อื การผลิตของแขง็ และของไหลเปน็ หลกั ตามล�ำ ดับ แตป่ จั จุบันตอ้ งรบั มอื กบั
การทับซอ้ นทมี่ ากขนึ้ ของอุตสาหกรรมการผลติ ทรพั ยากรท้ังสองแบบ ตวั อยา่ งของการซอ้ นทับคอื การทำ�เหมือง
น้�ำ มันดินธรรมชาติหรอื ถา่ นหิน เพอ่ื การผลิตน้ำ�มนั หรอื กา๊ ซสงั เคราะห์ และการผลติ แร่ในรปู ของไหล เช่น การ
ชะล้างยเู รเนียมจากแหล่ง และผลผลิตของ เกลือ/โพแทช จากน้ำ�เกลือเข้มขน้ ใต้ดนิ ในทะเลสาบเกลือ
ความสำ�คัญของปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมและสังคมในบริบทของการผลิตทรัพยากรธรณีเป็นที่ยอมรับอย่างเหมาะ
สมใน UNFC-2009 ตามที่กล่าวไว้ในบทท่ี 2
ในการประชุมสมยั แรกของกล่มุ ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นการจำ�แนกทรัพยากรในเดอื นเมษายน  2010 มีการเหน็ ชอบให้
พัฒนาข้อกำ�หนดทั่วไป สำ�หรับ UNFC-2009 เฉพาะในส่วนที่พิจารณาแล้วว่าจำ�เป็นสำ�หรับความสอดคล้องใน
ระดบั ท่ีเหมาะสมเพ่ือการรายงานประมาณการปริมาณสำ�รองและทรพั ยากรภายใต้ UNFC-2009 ขอ้ ก�ำ หนดท่ีถูก
พิจารณาว่าจำ�เป็นส�ำ หรบั สินคา้ โภคภณั ฑต์ า่ งๆ จะไม่ถกู กล่าวถงึ เนอื่ งจากมกี ารเห็นชอบใหใ้ สร่ วมอย่างเหมาะ
สมยง่ิ ข้นึ ไว้กับระบบจำ�แนกเฉพาะรายโภคภัณฑ์ (commodity-specific classification systems) ทมี่ อี ยแู่ ล้ว ดงั นน้ั
นอกเหนอื จากการจดั ท�ำ ขอ้ ก�ำ หนดทว่ั ไปแลว้ ยงั มคี วามตอ้ งการสรา้ งตวั เชอ่ื มระหวา่ ง UNFC-2009 กบั ระบบเฉพาะ
รายโภคภณั ฑ์ (commodity-specific systems) ต่างๆ เหลา่ นี้ เพื่อทขี่ อ้ กำ�หนดทเ่ี หมาะสมจะได้ถูกประยกุ ตใ์ ชใ้ น
ระดับโภคภัณฑ์ (commodity level) เพือ่ จุดมงุ่ หมายในการประเมินปรมิ าณสำ�รองและปรมิ าณทรัพยากร กรอบ
สำ�หรับตวั เช่อื มทไี่ ด้รบั ความเห็นชอบนอี้ ย่ใู นบทท่ี 3
เปน็ ทย่ี อมรบั วา่ อาจมคี วามแตกตา่ งระหวา่ งการรายงานในระดบั ธรุ กจิ กบั การรายงานของหนว่ ยงานรฐั บาลในระดบั ชาติ
ซง่ึ การประมาณการตา่ งๆ ถกู รวบรวมและ/หรอื ไดร้ บั โดยใชข้ อ้ มลู และวธิ กี ารทต่ี า่ งกนั ปญั หานก้ี ลา่ วตอ่ ไปในบทท่ี 4

15

ในบทท่ี 5 กล่าวถงึ ปญั หาการเปดิ เผยข้อมูล UNFC-2009 เปน็ ระบบสมคั รใจซ่งึ ไมไ่ ดบ้ งั คบั ใหเ้ ปดิ เผยรายละเอียด
เฉพาะหมวดหมู่ใดของปริมาณสำ�รอง หรือปริมาณทรพั ยากร1 ข้อก�ำ หนดทวั่ ไปอยู่ในบทท่ี 6 จ�ำ เปน็ ต้องใหแ้ น่ใจ
วา่ ปริมาณส�ำ รอง/ปรมิ าณทรพั ยากร (ส�ำ หรับสินค้าโภคภัณฑใ์ ดๆ) ซ่งึ ถูกรายงานตาม UNFC-2009 สามารถ
เปรียบเทียบกันได้พอ เพื่อใหข้ อ้ มูลท่มี คี วามหมายแก่ผูใ้ ชข้ ้อมลู ดงั กลา่ ว
ระบบการจัดการ UNFC-2009 และขอ้ ก�ำ หนดตา่ งๆ เป็นความรับผิดชอบของกลมุ่ ผู้เชยี่ วชาญด้านการจ�ำ แนก
ทรัพยากร
อภิธานศัพท์เฉพาะถูกรวมไว้ (ในภาคผนวก ก.) แต่จำ�กัดไว้ส�ำ หรบั ศพั ทเ์ ฉพาะทเ่ี จาะจงใช้กับ UNFC-2009 ใน
ขณะที่นิยามต่างๆ ยังมีไม่เพียงพอในระบบอื่นๆ ที่สอดคล้องกัน นอกจากนี้ยังมีแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อ
แนะน�ำ หลักใน UNFC-2009 อยใู่ นภาคผนวก ข.

2. การพิจารณาด้านสง่ิ แวดล้อมและสงั คม

UNFC-2009 ถกู ออกแบบใหค้ �ำ นงึ ถงึ ความส�ำ คญั ของปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและสงั คมในบรบิ ทของการผลติ ทรพั ยากรธรณี
ในการจำ�แนกปรมิ าณทถ่ี กู ประมาณการว่าอาจผลติ ไดใ้ นอนาคตโดยโครงการพฒั นาหรือการท�ำ เหมือง หมวดหมู่
แกน E ถกู ก�ำ หนดอยา่ งชดั เจนให้รวมเอาทั้งปัญหาด้านส่งิ แวดลอ้ มและสงั คมที่อาจเกีย่ วข้องกบั ความเปน็ ไปได้
เชิงพาณิชยข์ องการลงทุน นอกเหนือจากปจั จยั ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นกฎหมาย และดา้ นอ่ืนๆ ทไ่ี มใ่ ช่ด้านเทคนคิ 2
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบ่งชี้และการพิจารณาเม่ือทำ�การประมาณการปัญหาหรืออุปสรรคด้านสิ่งแวดล้อมหรือ
สังคมท่ีทราบแลว้ ท้ังหมด ที่มผี ลตอ่ โครงการตลอดช่วงระยะเวลาโครงการ ถือว่าเปน็ สว่ นส�ำ คญั ของการประเมิน
โครงการ อุปสรรคดา้ นส่ิงแวดลอ้ มหรือสังคมสามารถขัดขวางความกา้ วหน้าของโครงการ หรอื นำ�ไปสูก่ ารชะงกั
หรือ การหยุดของกจิ กรรมต่างๆ ทีก่ ำ�ลงั ด�ำ เนนิ อยู่ ส�ำ หรับรายละเอยี ดเพ่มิ เติมใหด้ ขู อ้ กำ�หนดท่ัวไป ซ.


1 คำ�ว่า “ปรมิ าณสำ�รอง” และ “ทรพั ยากร” ไม่ได้นิยามไว้ใน UNFC-2009 เพราะว่าท้งั สองคำ�มีนยิ ามท่ตี า่ งกันในภาคแร่ และภาค
ปโิ ตรเลยี ม ในทนี่ ใ้ี ชค้ ำ�ท้ังสองในความหมายท่ัวไปเทา่ นั้น เพอ่ื การจดั รวมชั้น และชัน้ ย่อย ทัง้ หมดเท่าท่ีมอี ยูใ่ น UNFC-2009
2 อ้างองิ ภาคผนวก ก. ของ UNFC-2009 (ดู ภาค 1)

16

3. ข้อก�ำ หนดเฉพาะรายโภคภณั ฑ์
และความสัมพันธ์กับระบบการจำ�แนกทรพั ยากรอ่นื

UNFC-2009 ถกู ท�ำ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ระบบจ�ำ แนกอน่ื อกี สองระบบ ซง่ึ ท�ำ ใหส้ ะดวกตอ่ การรายงานปรมิ าณทรพั ยากร
ชนดิ เดยี วกันไมว่ า่ จะอยภู่ ายใต้ UNFC-2009 หรอื ระบบแนวรว่ ม (aligned system) ท้ังสองระบบคอื CRIRSCO
Template ปี 20063 ทพ่ี ฒั นาโดยคณะกรรมการมาตรฐานการรายงานปรมิ าณส�ำ รองแรร่ ะหวา่ งประเทศ (CRIRSCO)
พร้อมรหสั และมาตรฐานการรายงานซ่งึ อยบู่ นพ้ืนฐานของ CRIRSCO และระบบการจดั การทรพั ยากรปโิ ตรเลียม
ปี 2007 (PRMS4) ของสมาคมวศิ วกรปิโตรเลียม (SPE)/สภาปโิ ตรเลยี มโลก (WPC)/สมาคมนกั ธรณวี ิทยาปิโตรเลยี ม
อเมริกา (AAPG)/สมาคมวิศวกรประเมนิ ปิโตรเลียม (SPEE) ซึง่ ไดร้ ับการรบั รองโดย SPE, WPC, AAPG, SPEE
และสมาคมนักส�ำ รวจธรณีฟสิ กิ ส์ (SEG)
ได้มีข้อตกลงระยะยาวให้ CRIRSCO และ SPE จัดทำ�ข้อกำ�หนดเฉพาะรายโภคภัณฑ์ (commodity-specific
specifications) สำ�หรับแร่ (solid mineral) และปิโตรเลียม ตามข้อตกลงดังกล่าวทั้งสององค์กรได้จัดทำ�ข้อกำ�หนด
เฉพาะรายโภคภณั ฑผ์ ่าน CRIRSCO Template และ PRMS ตามลำ�ดับ พร้อมกับข้อกำ�หนดท่ัวไปน้ี ระบบท้ังสอง
รวมทงั้ เอกสารเช่อื มโยง (Bridging Document) ไดใ้ หพ้ ้นื ฐานและหลกั การส�ำ คญั ส�ำ หรบั การประยกุ ต์ใช้ UNFC-
2009 อย่างถกู ต้อง เปน็ ทย่ี อมรบั แล้ววา่ ระบบเหลา่ นีจ้ ะถกู พฒั นาต่อไปเพอ่ื สนองต่อความต้องการของผูม้ ีส่วน
ไดเ้ สียและความเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี ดังนนั้ ในอนาคตอาจมกี ารเพิ่มเติมข้อกำ�หนดเฉพาะรายโภคภัณฑ์
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเห็นชอบของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการจำ�แนกทรพั ยากร
ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง UNFC-2009 กบั CRIRSCO Template และระหวา่ ง UNFC-2009 กับ PRMS อธบิ ายใน
เอกสารเชอ่ื มโยง ในภาคผนวก ค. และ ภาคผนวก ง. ตามล�ำ ดบั
ระบบจ�ำ แนกอ่นื ๆ อาจเทยี บเคียงกับ UNFC-2009 โดยตรง หรอื เทียบเคยี งผา่ น CRIRSCO Template/PRMS
ไม่วา่ กรณีใดการเทยี บเคยี งต้องทำ�ตามนยิ ามและขอ้ กำ�หนดทัว่ ไปท้ังหมดของ UNFC-2009 โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งระบบที่เทียบเคยี งกนั (mapped systems) ต้องบนั ทกึ ในเอกสารเช่อื มโยงทตี่ อ้ งประเมนิ โดย
กลมุ่ ท่ีปรึกษาด้านเทคนิค ซึง่ จะให้ความเห็นชอบโดยกลุ่มผู้เชยี่ วชาญด้านการจำ�แนกทรพั ยากรเท่านัน้ โดยผล
การประมาณการที่รายงานโดยใช้ UNFC-2009 ต้องถือวา่ เทยี บไดอ้ ย่างไม่มขี ้อแตกตา่ งทีม่ นี ยั ส�ำ คัญกบั ผลทจี่ ะ
ต้องได้รับจากการประยุกต์ใช้ระบบการจำ�แนกท่ีมีในเอกสารเชื่อมโยงท่ีได้รับความเห็นชอบจากกลุ่มผู้เช่ียวชาญ
ดา้ นการจ�ำ แนกทรพั ยากร (น่ีคือ ระบบแนวร่วม Aligned Systems)
ภายใตข้ อบเขตอ�ำ นาจทม่ี ี การรายงานรว่ ม (ทง้ั สสู่ าธารณะ หรอื ใหก้ บั รฐั บาล) จะถกู บงั คบั และ/หรอื ควบคมุ โดย
กฎระเบียบ กฎระเบียบเหล่านั้นอาจไม่อนุญาตให้มีการรายงานประมาณการต่อสาธารณะที่ใช้ระบบทางเลอื ก
(alternative systems) อ่ืนๆ หรือหมวดหมทู่ รพั ยากรเสริม (additional resource categories) และไมม่ ีส่วนใดใน
เอกสารขอ้ กำ�หนด UNFC-2009 นี้จะถูกใช้เป็นพืน้ ฐานสำ�หรับการเล่ียงจากกฎระเบยี บท่เี กย่ี วข้อง



3 หาไดท้ ่:ี www.crirsco.com/crirsco_template_v2.pdf.
4 หาได้ที่: www.spe.org/industry/docs/Petroleum_Resources_Management_System_2007.pdf.

17

หากไม่ถูกควบคมุ ดว้ ยกฎระเบียบ การประยุกตใ์ ช้ขอ้ กำ�หนดเฉพาะรายโภคภัณฑข์ องระบบท่ีเทียบเคียง จะไม่
จ�ำ กัดการใชท้ กุ องค์ประกอบ (full granularity) ของ UNFC-2009 ไม่ว่าในทางใด (อา้ งองิ เอกสารเช่อื มโยงในภาค
ผนวก ค. และ ง.)
การประยุกต์ใช้ UNFC-2009 ในการจำ�แนกปรมิ าณตา่ งๆ บนพนื้ ฐานของระบบแนวร่วม (Aligned System)
สามารถทำ�ได้ ท้งั ด้วยการเริ่มประมาณการด้วยระบบแนวรว่ ม แลว้ จงึ กำ�หนดประมาณการทไ่ี ด้ลงในช้ัน หรือ
ชั้นย่อยของ UNFC-2009 ทเี่ หมาะสม หรือดว้ ยการประมาณการโดยตรงใน UNFC-2009 โดยการประยุกตใ์ ช้
ข้อกำ�หนดทีเ่ กี่ยวขอ้ งจากระบบแนวรว่ ม อยา่ งไรก็ตามในทง้ั สองกรณยี งั คงต้องยดึ ตดิ กับ นิยาม และขอ้ ก�ำ หนด
ทัว่ ไป (Definitions and Generic Specifications) ของ UNFC-2009 และส่งิ ทีจ่ ำ�เปน็ สำ�หรบั เฉพาะรายโภคภณั ฑ์
(commodity-specific requirements) ท่รี วมอยู่ในระบบแนวร่วม (Aligned System)
CRIRSCO Template (รวมถึง รหสั /มาตรฐาน ของระบบ) และ PRMS เป็นอสิ ระจาก UNFC-2009 และอาจถูก
บังคับดา้ นการรายงานภายใต้ขอบเขตอ�ำ นาจบางส่วน หรือในเฉพาะบางสถานการณ์ เอกสารข้อกำ�หนดของ
UNFC-2009 นไ้ี มม่ ีสว่ นเกี่ยวข้องใดๆ ในการบีบบงั คบั ให้ท�ำ การรายงาน หรอื ในการประยุกต์ใช้ ระบบ/รหสั /
มาตรฐาน อืน่ ๆ เหลา่ น้อี ย่างอสิ ระ
มีข้อแตกต่างที่ชดั เจนระหว่างกรอบและการประยุกตใ์ ช้ CRIRSCO Template (สำ�หรับแร่ของแขง็ ) และ PRMS
(ส�ำ หรับปโิ ตรเลยี ม) ทำ�ใหเ้ กดิ ปัญหาทอ่ี าจพบไดใ้ นระบบหนงึ่ แตอ่ าจไมพ่ บในอกี ระบบหน่ึง หรืออาจพบใน
ทัง้ สองระบบแตพ่ บแตกตา่ งกนั เพอื่ ให้ UNFC-2009 สามารถจดั หาพนื้ ฐานร่วมสำ�หรบั การรายงานปริมาณ
ส�ำ รอง และปริมาณทรพั ยากรแร่ของแข็งและปิโตรเลียม ทีเ่ หมาะสมกับผมู้ สี ่วนไดเ้ สียทั้งหมด จึงจำ�เป็นต้องรวม
ขอ้ กำ�หนดทว่ั ไปทีต่ ้องใช้บงั คบั เม่อื ประยกุ ต์ใช้ UNFC-2009 ในขณะที่ขอ้ กำ�หนดนไ้ี มก่ ระทบกบั การประยกุ ตใ์ ช้
CRIRSCO Template และ PRMS อย่างอิสระ (ตามท่ีได้เนน้ ให้เห็นในย่อหน้าทผี่ ่านมา) แต่ควรยอมรับด้วยว่าการ
รายงานใดๆ ภายใต้ UNFC-2009 ตอ้ งท�ำ ตามข้อก�ำ หนดทว่ั ไปที่ปรากฏอยู่นี้
UNFC-2009 ไมไ่ ด้แยก ทรัพยากรแบบ “conventional” ออกจาก ทรพั ยากรแบบ “unconventional” เมือ่ ประยุกต์
ใช้ UNFC-2009 ควรสังเกตวา่ นิยาม และคำ�อธิบายเพ่ิมเตมิ ของ แกน G อย่บู นพืน้ ฐานทแ่ี ตกตา่ งกนั ระหวา่ ง
โภคภัณฑท์ ี่ถกู ผลิตเป็นแบบของแขง็ และโภคภณั ฑ์ทถี่ กู ผลติ เป็นแบบของไหล

18

4. การรายงานทรพั ยากรของชาติ

ในระดับรัฐบาลการประมาณการรายการคงคลังของชาติอาจเกิดจากการรวบรวมรายงานหรือส่ิงพิมพ์ของแต่ละ
โครงการพฒั นาหรอื การท�ำ เหมอื ง5 อยา่ งไรกต็ ามการประมาณการดงั กลา่ วอาจไมค่ รอบคลมุ แหลง่ ศกั ยภาพ
พลงั งานฟอสซลิ และแหล่งแร่ท่ีพบทงั้ หมดในประเทศ นอกจากน้เี น่อื งจากองคก์ รของรฐั บาลมคี วามรับผิดชอบใน
การประมาณการ การพฒั นาปริมาณส�ำ รอง/ทรพั ยากร ในระดับภูมิภาคหรือระดบั ชาติ การประมาณการนอ้ี าจ
แตกตา่ งจากประมาณการทร่ี วบรวมจากแตล่ ะโครงการโดยไมค่ �ำ นงึ ถงึ ระบบการจ�ำ แนกทใ่ี ช้ ในกรณนี ก้ี ารประมาณ
การระดบั ไพศาลหรือระดับชาติโดยใช้ UNFC-2009 อาจท�ำ ไดโ้ ดยใช้วธิ ีการทเ่ี หมาะสมขนึ้ อยกู่ บั ลักษณะและ
ปริมาณของข้อมลู ท่มี ีอยู่ ซ่ึงตามขอ้ กำ�หนดท่วั ไป ฎ. ตอ้ งแสดงกรรมวธิ กี ารรวบรวม
เมอ่ื รายงานประมาณการแบบรวมโดยใช้ UNFC-2009 มขี อ้ บงั คบั ใหแ้ สดงรหสั ตวั เลขทเ่ี กย่ี วขอ้ งส�ำ หรบั แตล่ ะชน้ั
ตัวอย่างเช่น อาจมีประโยชน์ในระดับชาติในการประเมินผลรวมของประมาณการปริมาณสำ�หรับโครงการเชิง
พาณชิ ย์ (Commercial Projects) และโครงการทม่ี ศี กั ยภาพเชิงพาณชิ ย์ (Potentially Commercial Projects) ใน
ระดบั “ประมาณการดที ี่สุด” (“best estimate“) ถงึ แมว้ ่าจะมีการแยกเป็น ช้ัน (Class) อย่แู ลว้ ก็ตาม

5. การเปดิ เผย

UNFC-2009 เปน็ ระบบสมคั รใจ และไมม่ ีการกำ�หนดกฎเกณฑใ์ ดๆ ว่าหมวดหมทู่ รพั ยากร (ช้ัน หรอื ชั้นย่อย) ใด
ทค่ี วรเปดิ เผย นอกจากถกู บังคับหรอื ถกู จำ�กดั โดยรฐั บาลหรอื หนว่ ยงานก�ำ กบั ดูแล การเปิดเผยปรมิ าณทรัพยากร
ภายใต้ UNFC-2009 เป็นการตดั สนิ ใจอยา่ งอิสระท้งั หมดของผู้รายงาน อย่างไรก็ตามเพ่ือใหม้ ั่นใจได้วา่ ปริมาณ
ที่เปดิ เผยจะให้ข้อมลู ท่มี ีความหมาย (meaningful information) ส�ำ หรบั ผู้ใช้ข้อมลู ทรพั ยากร ข้อกำ�หนดทวั่ ไปบาง
อย่างถูกรวบรวมไว้ดา้ นลา่ งโดยมจี ดุ ประสงคเ์ พ่อื ความมั่นใจในความชดั เจนและเปรียบเทยี บได้ ในบางกรณขี อ้
กำ�หนดเหล่าน้สี ามารถแสดงได้อยา่ งเหมาะสมในเชิงอรรถของรายงานทรพั ยากร

6. ขอ้ ก�ำ หนดทวั่ ไป

ในขอ้ ก�ำ หนดทัว่ ไปเหลา่ นี้ ค�ำ ต่อไปนี้มีความหมายเฉพาะ ดงั นี้
• “จะ (Shall)” ใช้กับเง่อื นไขบังคับ
• “ควรจะ (Should)” ใชก้ ับเงอื่ นไขทด่ี กี วา่ และ
• “อาจจะ (May)” ใชก้ ับเง่ือนไขต่างๆ ทย่ี อมรบั เท่าๆ กัน
หากมขี ้อกำ�หนดทว่ั ไปนยิ ามไว้ดา้ นล่าง นค่ี อื มาตรฐานขนั้ ตำ�่ สำ�หรับการรายงานภายใต้ UNFC 2009 อยา่ งไร
กต็ ามหากขอ้ ก�ำ หนดสำ�หรบั เร่ืองเดยี วกนั ปรากฏในระบบแนวร่วม และมันตรงกับสงิ่ ท่ีจำ�เป็นของข้อกำ�หนดทั่วไป
ทน่ี ยิ ามไวข้ า้ งลา่ งอยา่ งสมบูรณ์แล้ว อาจจะนำ�ข้อก�ำ หนดนัน้ มาใช้ได้


5 โปรดสังเกตวา่ หนว่ ยงานกำ�กบั ดูแล อาจไม่อนญุ าตให้มกี ารรวมกนั ในการรายงาน ภายใต้สถานการณ์ใดๆ ก็ได้

19

ก. การใชร้ หสั ตวั เลข (Numerical Codes)

ในขณะที่ ชน้ั และช้ันย่อย ทกี่ �ำ หนด ตามรูปท่ี 2 และ 3 ใน UNFC-2009 อาจใชเ้ ปน็ ศัพทเ์ ฉพาะเสริม รหสั ตัวเลข
ท่ีเกย่ี วข้องจะตอ้ งถูกรายงานรว่ มกบั ประมาณการของปริมาณเสมอ ตวั อย่างเช่น สงิ่ เหลา่ นอ้ี าจถกู บันทกึ ในรปู
แบบ 111, 111+112 หรอื 1.1; 1.2; 1 ตามความเหมาะสม
โปรดสงั เกตวา่ หมวดยอ่ ยบางส่วนถูกกำ�หนดไว้ดา้ นล่างเพื่อเสริมสว่ นทอี่ ยูใ่ น ภาคผนวก ข. ของ UNFC-2009
หมวดยอ่ ยที่เป็นทางเลอื กเหล่านีถ้ กู ระบวุ า่ เป็นประโยชนใ์ นบางสถานการณ์ และได้ถูกกำ�หนดไวใ้ นท่ีนเ้ี พื่อให้
มั่นใจในการประยุกต์ใช้อย่างถกู ตอ้ ง ไมม่ ีสว่ นใดในเอกสารนจ้ี ะหา้ มความเปน็ ไปได้ในการใช้ ชั้นย่อยเสรมิ ใน
อนาคตท่อี าจจะคิดว่ามปี ระโยชน์ในกรณีเฉพาะ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เมอื่ ชั้นยอ่ ย ทำ�ใหก้ ารเช่อื มกบั ระบบอนื่ ๆ
สะดวก และอาจกำ�หนดไว้ใน เอกสารเชอื่ มโยง ดว้ ย

ข. เอกสารเชื่อมโยง (Bridging Document)

การประยุกต์ใช้ UNFC-2009 ต้องอ้างอิงเอกสารเชื่อมโยงสำ�หรับข้อกำ�หนดเฉพาะรายโภคภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
เอกสารเชื่อมโยงท่ีใช้เปน็ พื้นฐานส�ำ หรบั การประเมินจะต้องแสดงรว่ มกับปริมาณตา่ งๆ ทรี่ ายงาน

ค. วนั ทม่ี ผี ล (Effective Date)

ปรมิ าณทรี่ ายงานเป็นประมาณการของปรมิ าณคงเหลอื ณ วนั ทม่ี ผี ลของการประเมิน จะตอ้ งแสดงวันท่มี ผี ลให้
ชัดเจนร่วมกับปรมิ าณต่างๆ ทรี่ ายงาน การประเมนิ ควรค�ำ นึงถงึ ขอ้ มูลทัง้ หมดและข้อมลู ทม่ี ีอย่กู ับผูป้ ระเมินก่อน
ถงึ วนั ท่ีมีผล หากไดร้ บั ข้อมูลภายหลังจากวันท่มี ผี ล แตก่ ่อนการรายงาน ซึง่ มผี ลท�ำ ให้ประมาณการปริมาณของ
วันทมี่ ีผลเปลยี่ นไปอยา่ งมีนัยส�ำ คญั แล้ว ผลทเ่ี กิดข้นึ จากขอ้ มูลนี้จะต้องเปิดเผยด้วย

ง. ชนดิ ของโภคภณั ฑห์ รอื ผลิตภัณฑ์ (Commodity or product type)

ปริมาณท่ีประมาณการแล้วควรจะรายงานแยกกันสำ�หรับแต่ละชนิดของโภคภัณฑ์หรือผลิตภัณฑ์ท่ีสำ�คัญท่ีจะ
ตอ้ งจ�ำ หนา่ ย ใช้ ขนย้าย หรอื ท�ำ ลาย หากประมาณการสำ�หรับโภคภณั ฑ์หรอื ผลติ ภัณฑต์ า่ งชนิดกันถกู รวมเขา้
ดว้ ยกนั โดยมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื การรายงาน และไม่มีการแจง้ ประมาณการแยกประเภทดว้ ยแลว้ ประมาณการรวม
จะต้องประกอบมากบั เอกสารแจงประเภทของโภคภณั ฑ์หรือผลิตภัณฑท์ ่ถี ูกรวม พร้อมตัวประกอบการแปลงคา่
(conversion factors) ท่ใี ช้ในการทำ�ใหเ้ ทยี บเทา่ กันส�ำ หรับการรวมเขา้ ดว้ ยกัน6


6 ตัวอย่างเช่น ปริมาณน�้ำ มันดบิ อาจรายงานรวมกับ condensate และกา๊ ซธรรมชาติเหลว ในกรณีใดท่ีจะต้องเปดิ เผย และ
ถา้ ปริมาณของกา๊ ซ แปลงเป็นปรมิ าณ “Oil equivalent” และรวมกบั ประมาณการน�ำ้ มนั ดบิ แล้วจะตอ้ งเปดิ เผย นอกจากนหี้ ากประมาณ
การปรมิ าณ (เชน่ นำ�้ มนั กา๊ ซ ถ่านหนิ และยเู รเนยี ม) ถกู แปลงคา่ เปน็ การวัดพลังงานเทยี บเท่า (energy equivalent) แล้ว จะตอ้ งเปิดเผย
ตวั ประกอบการแปลงคา่ ทเี่ กย่ี วข้อง

20

จ. พืน้ ฐานสำ�หรับการประมาณการ (Basis for estimate)

ปริมาณทีร่ ายงานอาจเปน็ ปริมาณท่ถี อื ว่าเป็นของ เหมอื ง/โครงการพัฒนา ทัง้ หมด หรืออาจสะท้อนถงึ สัดส่วน
ของปริมาณเหล่านั้นท่ีถือว่าเป็นผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในกิจการเหมืองแร่หรือโครงการพัฒนาของหน่วยงาน
ท่ีรายงาน7 พื้นฐานการรายงานจะตอ้ งแสดงอย่างชัดเจนรวมไปกบั ปริมาณทีร่ ายงาน ภาระคา่ ภาคหลวงก็เหมอื น
กับภาษที ีต่ อ้ งช�ำ ระเปน็ เงนิ สดและดงั นน้ั โดยทั่วไปจึงจ�ำ แนกเป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินกิจการ ในกรณอี ย่างน้ี
ปริมาณทร่ี ายงานอาจรวมส่วนท่ถี อื ว่าเปน็ ภาระค่าภาคหลวงเข้าไปดว้ ย หากปริมาณทีร่ ายงานไมร่ วมส่วนที่ถือว่า
เปน็ ภาระค่าภาคหลวงเขา้ ไปด้วยแล้วจะตอ้ งถูกเปดิ เผย

ฉ. จดุ อ้างอิง (Reference point)

จุดอา้ งองิ เป็นตำ�แหน่งในขัน้ ตอนการผลติ และดำ�เนนิ กระบวนการ ท่ีปรมิ าณต่างๆ ท่จี ะรายงานถกู ทำ�การตรวจ
วัดหรือประมาณการ จดุ อา้ งอิงอาจเป็นจดุ จำ�หนา่ ยสนิ คา้ ทไี่ ด้จากการผลติ และดำ�เนนิ กระบวนการ หรอื อาจเป็น
ชว่ งระหวา่ งกลาง เชน่ กอ่ นด�ำ เนนิ กระบวนการ (หากจ�ำ เปน็ ตอ้ งท�ำ ) ในกรณอี ยา่ งนป้ี รมิ าณทร่ี ายงานไมต่ อ้ งค�ำ นึง
ถงึ การสูญเสียระหว่างกระบวนการ จุดอ้างอิงจะต้องแจ้งพร้อมกับปรมิ าณท่ีรายงาน หากจุดอา้ งอิงไม่ใช่จุดท่ี
จ�ำ หน่ายใหบ้ ุคคลที่สาม (หรือ หากการดูแลถูกถา่ ยโอนไปใหก้ ับกิจการปลายน�้ำ ของหน่วยงาน) และปริมาณเหล่า
นน้ั ถกู จ�ำ แนกเปน็ E1 จะต้องรายงานขอ้ มลู ที่จ�ำ เปน็ ส�ำ หรบั การประมาณการปริมาณทจี่ ะจ�ำ หน่าย

ช. การจำ�แนกโครงการบนพืน้ ฐานของระดับความสมบูรณ์ (level of maturity)

หากพิจารณาแล้วเห็นว่าเหมาะสมหรือมีประโยชน์ในการแยกย่อยโครงการให้สะท้อนถึงระดับท่ีต่างกันด้านความ
สมบูรณ์ของโครงการ บนพ้ืนฐานของสถานภาพปัจจุบันของโครงการแลว้ อาจใช้ชน้ั ย่อยที่เป็นทางเลอื ก แสดง
ในรูปที่ 3 ของ UNFC-2009 (ดู ภาค 1) สำ�หรบั การรายงาน แนวทางเสริมสำ�หรบั การแยกระหวา่ งชัน้ ยอ่ ยของ
UNFC-2009 อย่ใู น ภาคผนวก จ.

ซ. ความแตกตา่ งระหว่าง E1, E2 และ E3

ความแตกต่างระหว่างปริมาณที่ถูกจำ�แนกบนแกนเศรษฐกิจเป็น E1, E2 และ E3 อยู่บนพื้นฐานของวลี
“คาดการณ์อย่างมีเหตุผลสำ�หรับการผลิตและจำ�หน่ายที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจในอนาคตอันใกล้” นิยามของ
“อนาคตอนั ใกล”้ อาจเปลยี่ นแปลงขึน้ อยกู่ บั โภคภัณฑ์ และดงั น้ันขอ้ ก�ำ หนดที่ละเอียดยิ่งขนึ้ สามารถพบไดใ้ น
ระบบเฉพาะรายโภคภณั ฑ์ที่เก่ียวข้องซ่งึ เป็นไปในแนวเดียวกันกบั UNFC-2009

หมวดหมู่แกนเศรษฐกิจรวมถึงเรื่องที่ไม่ใช่ด้านเทคนิคทั้งหมดที่สามารถกระทบต่อความเป็นไปได้ของ
โครงการ ซึ่งประกอบด้วยราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ค่าดำ�เนินการ กรอบกฎหมาย/บัญชี กฎระเบียบด้านสิ่ง
แวดล้อม และอุปสรรคด้านสิ่งแวดล้อมหรือสังคม ปัญหาใดๆ เหล่านี้อาจขัดขวางการดำ�เนินโครงการใหม่
(และดังนั้นปริมาณจะถูกจำ�แนกเป็น E2 หรือ E3 ตามความเหมาะสม) หรือมันอาจนำ�ไปสู่การชะงักหรือการ
ยุติกิจกรรมการผลิตทรัพยากรธรณีในกิจการที่มีอยู่แล้ว หากกิจกรรมการผลิตทรัพยากรธรณีเกิดการชะงักแต่มี


7 สัดส่วนของปริมาณรวมที่ถือว่าเป็นของบริษัทจะขึ้นอยู่กับการจัดทำ�ข้อตกลงเฉพาะที่ควบคุมการดำ�เนินการพัฒนาและผลิต
และอาจกำ�หนดตามระเบียบ ส�ำ หรบั การรายงานรว่ มจะต้องแสดงหลกั การทัว่ ไปทใ่ี ชใ้ นการกำ�หนดปริมาณสุทธิ

21

“การคาดการณ์อย่างมีเหตุผลสำ�หรับการผลิตและจำ�หน่ายที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจในอนาคตอันใกล้” ปริมาณที่
สามารถผลิตไดท้ างเทคนคิ ทย่ี งั คงมอี ยู่จะตอ้ งถูกจ�ำ แนกจาก E1 ถงึ E2 แตห่ ากไม่สามารถแสดง “การคาดการณ์
อย่างมเี หตุผลส�ำ หรับการผลิตและจ�ำ หน่ายที่ค้มุ ค่าทางเศรษฐกจิ ในอนาคตอนั ใกล้” ให้เหน็ ได้ ปริมาณท่ียงั คงมี
อยจู่ ะตอ้ งถกู จ�ำ แนกจาก E1 ถึง E3

ฌ. ระดบั ความมน่ั ใจสำ�หรบั G1, G2 และ G3

ระดับของความมนั่ ใจสำ�หรบั ปริมาณท่ีถกู จำ�แนกอยู่บนแกนธรณวี ทิ ยาเปน็ G1, G2 และ G3 นนั้ กำ�หนดใหเ้ ทา่ กบั
“สูง”, “กลาง” และ “ต�ำ่ ” ตามล�ำ ดบั ไมม่ กี ารกำ�หนดอย่างแน่นอนกว่าน้ใี นระดับทัว่ ไปเพราะวา่ มีความแตกต่าง
ขน้ั พ้นื ฐานระหว่างวธิ ีการผลิตท่ีเหมาะสมสำ�หรบั โภคภณั ฑ์แบบเป็นของแขง็ และเป็นของไหล ตามทไี่ ด้กล่าวใน
คำ�อธบิ ายเพม่ิ เตมิ สำ�หรับนยิ ามของหมวดหมู่เหลา่ น้ีใน UNFC-2009 ข้อก�ำ หนดทีล่ ะเอยี ดกวา่ สามารถหาไดใ้ น
ระบบเฉพาะรายโภคภณั ฑท์ ่เี ปน็ ไปในแนวเดยี วกนั กับ UNFC-2009

ญ. ความแตกตา่ งระหว่างปรมิ าณที่สามารถผลติ ได้ และปรมิ าณในแหล่ง (in situ)

38. นอกเหนอื จากปริมาณท่ถี กู จำ�แนกไว้บนแกนความเปน็ ไปได้เปน็ F4, ปรมิ าณที่รายงานทงั้ หมดจะต้องถกู
จำ�กัดอยู่กับปริมาณที่มีศักยภาพผลิตได้บนพื้นฐานของเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้ว หรือ เทคโนโลยีที่กำ�ลังพัฒนาใน
ปัจจุบัน และรวมอยู่กับโครงการหรือการทำ�เหมืองที่มีอยู่จริง หรือ เป็นไปได้ในการ สำ�รวจ/พัฒนา ในอนาคต
สำ�หรบั โครงการทำ�เหมืองแร่ของแขง็ ที่กรรมวธิ กี ารผลิตขนั้ พ้ืนฐานยังตอ้ งได้รับการยนื ยัน (E2F2) ปริมาณในแหลง่
(in situ quantities ) อาจต้องรายงาน โดยระบุวา่ มี “การคาดการณ์อย่างมีเหตผุ ลสำ�หรับการผลติ และจ�ำ หน่ายที่
คุ้มคา่ ทางเศรษฐกจิ ” สำ�หรบั ปริมาณดังกลา่ วทัง้ หมดในอนาคตอันใกล้ หากมีการรายงานปริมาณในแหลง่ และ
คาดวา่ กรรมวิธกี ารผลติ จะน�ำ ไปสู่ ความสญู เสยี และ/หรือ การลดเกรด อยา่ งมนี ยั ส�ำ คัญแล้ว จะต้องชีแ้ จงใน
รายงาน เช่น ทเ่ี ชงิ อรรถ หากปราศจากการพิจารณาศกั ยภาพการผลิตเชิงพาณิชยแ์ ลว้ ปริมาณที่รายงานทั้งหมด
จะต้องถูกจำ�แนกเป็น F4 สำ�หรับการผลิตโภคภัณฑ์ที่เป็นของไหลปัจจัยการผลิตมักเป็นความไม่แน่นอนหลัก
ดังน้นั ควรคำ�นึงถึงเสมอส�ำ หรบั โครงการแบบนี้ (F2 และ F3) และจะตอ้ งจดั ให้อย่ใู นหมวดหมู่แกน G8


8 ดังท่ไี ดก้ ลา่ วไวใ้ น ภาคผนวก ก. ของ UNFC-2009 (ค�ำ อธิบายเพิม่ เตมิ G1, G2, G3)

22

ฎ. การรวมกันของปรมิ าณ (Aggregation of quantities)

ประมาณการปริมาณท่ีเกิดจากการทำ�เหมืองหรือโครงการพัฒนาที่ถูกจำ�แนกไว้ในหมวดหมู่ที่ต่างกันบนแกน
เศรษฐกิจหรือแกนความเปน็ ไปได้ ตอ้ งไมน่ �ำ มารวมกนั โดยปราศจากค�ำ อธิบายที่ถกู ตอ้ ง และตอ้ งแสดงวิธีการ
รวมทใี่ ช้ 9 ในทุกกรณเี ฉพาะชั้นท่ีถกู รวมต้องแจง้ รว่ มกบั ปริมาณท่ีรายงาน (เช่น 111+112+221+222) และตอ้ งมี
เชิงอรรถ แสดงความจริงที่วา่ มคี วามเส่ียงทโ่ี ครงการเหล่าน้นั ไมถ่ ูกจำ�แนกเป็น E1F1 (โครงการค้มุ ค่าเชิงพาณชิ ย)์
ทา้ ยที่สดุ อาจดำ�เนินการเชงิ พาณชิ ยไ์ มไ่ ด้
หากมีการรวมปริมาณที่ประมาณการจากหลายโครงการ ควรพิจารณาแบ่งย่อยปริมาณรวมด้วยประเภทของ
แหลง่ และด้วยตำ�แหนง่ (เช่น ในทะเล กับ บนบก)

ฏ. สมมตฐิ านดา้ นเศรษฐศาสตร์ (Economic assumptions)

เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั นิยามของ E1, E2 และ E3 สมมติฐานด้านเศรษฐศาสตรต์ อ้ งอย่บู นเง่ือนไขตลาดในปจั จบุ ัน
และสมมตฐิ านของเงอื่ นไขตลาดในอนาคตทส่ี มจริง ยกเวน้ หากถกู จำ�กดั ด้วยระเบยี บสมมติฐานของเงอ่ื นไขตลาด
ในอนาคตควรสะท้อนให้เห็นมมุ มองของ
(ก) องค์กรทีร่ ับผดิ ชอบในการประเมิน
(ข) มมุ มองของบุคคลผู้มคี วามสามารถ10 หรอื นักประเมินอสิ ระ
(ค) มมุ มองอสิ ระท่เี ผยแพร่ภายนอก ซงึ่ ถือวา่ เป็นการคาดการณเ์ ง่ือนไขตลาดในอนาคตอยา่ งมีเหตุผล
พ้นื ฐานของสมมตฐิ านที่ใช้ (ไมใ่ ช่การคาดการณ์) จะตอ้ งถกู เปดิ เผย

ฐ. คณุ สมบัตขิ องผู้ประเมนิ (Evaluator qualifications)

ผู้ประเมินต้องมีทักษะในระดับที่เหมาะสมและมีประสบการณ์เก่ียวกับการประมาณการของปริมาณร่วมถึง
ประเภทของแหล่งที่ต้องประเมิน ข้อกำ�หนดที่ละเอียดกว่านี้สามารถหาได้ในระบบเฉพาะรายโภคภัณฑ์ที่
เก่ยี วขอ้ งซึง่ เปน็ ไปในแนวเดยี วกนั กบั UNFC-200911


9 โปรดสงั เกตวา่ หนว่ ยงานกำ�กบั ดแู ล อาจหา้ มอยา่ งชัดเจน สำ�หรับการรวบรวมรายงาน ภายใตส้ ถานการณ์ใดๆ กไ็ ด้
10 โปรดสังเกตว่า ”บคุ คลผมู้ ีความสามารถ” อาจถูกก�ำ หนดด้วยระเบียบ
11 นอกจากนี้ หน่วยงานก�ำ กับดูแล อาจบงั คับอยา่ งชัดเจนใหใ้ ช้ ”บุคคลผู้มคี วามสามารถ” เกีย่ วกบั การรายงานรวม ตามที่
ก�ำ หนดตามระเบยี บ

23

ฑ. หนว่ ยและตวั ประกอบการแปลงค่า (Units and conversion factors)

เพอ่ื ความสะดวกในการเปรยี บเทยี บประมาณการทรพั ยากรทว่ั โลก ขอแนะน�ำ ใหใ้ ช้ Système International d’Unités
(หนว่ ย SI) ส�ำ หรบั การรายงานปริมาณทรพั ยากร อยา่ งไรกต็ ามเปน็ ทยี่ อมรับวา่ มหี นว่ ยวัดแบบเดิมทใี่ ช้กันอย่าง
แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับสำ�หรับบางโภคภัณฑ์ หากใช้หน่วยวัดเหล่านั้นสำ�หรับการรายงานแล้วต้องแสดง
ตวั ประกอบการแปลงค่าใหเ้ ปน็ หน่วย SI ดว้ ย ในลักษณะเดยี วกนั หากมีการแปลงค่าปรมิ าณต่างๆ จากปรมิ าตร
หรือ มวล ไปเป็นพลังงานเทียบเทา่ (energy equivalents) หรอื มีการประยุกต์ใช้การแปลงคา่ อื่นใด ตอ้ งแสดง
ตัวประกอบการแปลงค่าเหล่านั้นดว้ ย

ฒ. การบันทกึ ข้อมลู

การประมาณการปริมาณทรัพยากรต้องบันทึกให้ละเอียดเพียงพอที่ผู้ประเมินอิสระ หรือผู้ตรวจสอบบัญชี
สามารถเขา้ ใจได้อย่างแจม่ แจง้ ถงึ พ้นื ฐานของการประมาณการ และการจำ�แนก ปรมิ าณที่รายงานเหลา่ นัน้ 12

ณ. การขยาย G4 เพ่อื อธบิ ายความไม่แนน่ อน

ในบางสถานการณ์ อาจมีประโยชน์หากมีการแสดงช่วงของความไม่แน่นอนสำ�หรับปริมาณที่ถูกจำ�แนกอยู่บน
แกนธรณีวทิ ยา G4 เช่น โครงการส�ำ รวจ ในกรณดี ังกล่าวตอ้ งน�ำ ขอ้ กำ�หนดตอ่ ไปนีไ้ ปใช้
(ก) G4.1: ประมาณการทตี่ �ำ่ ของปรมิ าณ
(ข) G4.2: จ�ำ นวนท่เี พม่ิ ข้ึนของ G4.1 เช่น G4.1+G4.2 เท่ากบั ประมาณการที่ดีท่สี ุดของปรมิ าณ
(ค) G4.3: จำ�นวนท่เี พิม่ ข้นึ ของ G4.1+G4.2 เชน่ G4.1+G4.2+G4.3 เท่ากับ ประมาณการที่สงู ของปริมาณ
หมวดหมู่ G4 เมอื่ ใช้เดีย่ วๆ จะสะท้อนถงึ ประมาณการท่ดี ีทีส่ ุด และเท่ากับ G4.1+G4.2

ด. ค�ำ บรรยายท่ีเป็นทางเลือกส�ำ หรบั การประมาณการ

หากพจิ ารณาแล้วเห็นว่าเหมาะสมหรอื มีประโยชนใ์ นการใช้คำ�บรรยายเพ่ิมเขา้ ไปใน รหัสตวั เลข ส�ำ หรับช่วง
ของการประมาณการโครงการพัฒนา หรือการทำ�เหมือง คำ�ว่า “ประมาณการต่ำ�” “ประมาณการดีที่สุด”
และ “ประมาณการสูง” อาจใชไ้ ดเ้ ทียบเทา่ กบั ปริมาณท่ีถกู จ�ำ แนกบนแกนธรณวี ิทยาเปน็ G1, G1+G2, และ
G1+G2+G3 ตามล�ำ ดบั


12 โปรดสงั เกตวา่ เปน็ การท�ำ เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ มกี ารท�ำ และเกบ็ เอกสารภายในทเ่ี หมาะสม แตไ่ มใ่ ชเ่ ปน็ การเปดิ เผยขอ้ มลู สภู่ ายนอก

24

ต. การจ�ำ แนกปริมาณรว่ มกบั โครงการส�ำ รวจ

ในบางสถานการณ์ อาจมีประโยชน์ในการแบง่ ย่อยโครงการสำ�รวจ บนพ้นื ฐานของระดบั ของความสมบูรณ์ของ
โครงการ ในกรณดี งั กลา่ วนีจ้ ะต้องประยุกต์ใช้ขอ้ ก�ำ หนดตอ่ ไปนี้

(ก) F3.1: หากการศกึ ษาธรณวี ิทยาในพ้ืนทีก่ ำ�หนด และการสำ�รวจบง่ ช้ีถงึ ศกั ยภาพของแหล่งท่ีมคี วาม
มั่นใจพอที่จะให้ทำ�การเจาะหรือตรวจสอบ เพื่อยืนยันความมีอยู่ของแหล่งในด้านรูปร่าง คุณภาพ
และปริมาณ ทีส่ ามารถประเมินความเปน็ ไปไดใ้ นการผลิต

(ข) F3.2: หากการศกึ ษาธรณวี ิทยาในพ้นื ที่ และการส�ำ รวจบง่ ชีถ้ งึ ศกั ยภาพท่จี ะพบแหล่งแรห่ นงึ่ แหล่ง
หรอื มากกวา่ ในพนื้ ที่สำ�รวจ แตย่ ังตอ้ งการขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ และ/หรอื ต้องการการประเมิน เพอ่ื ให้
มีความมัน่ ใจพอท่จี ะให้ทำ�การเจาะหรอื ตรวจสอบ เพ่อื ยืนยันความมอี ยขู่ องแหลง่ ในด้านรปู ร่าง
คุณภาพ และปริมาณ ท่สี ามารถประเมินความเป็นไปไดใ้ นการผลิต

(ค) F3.3: เปน็ ช่วงต้นของการส�ำ รวจ ซึ่งศกั ยภาพการคน้ พบแหล่งในพ้ืนทส่ี �ำ รวจอาจอา้ งอิงจากการ
ศึกษาธรณีวทิ ยาระดับภูมภิ าค

ถ. การจำ�แนกปรมิ าณเสรมิ ในแหลง่ (Classification of ddditional quantity in place)

ในบางสถานการณ์ อาจมีประโยชน์ในการแบ่งย่อยปริมาณเสริมในแหล่งบนพื้นฐานของการพัฒนาด้าน
เทคโนโลยใี นปัจจุบนั ในกรณดี ังกลา่ วน้ีจะต้องประยุกตใ์ ช้ขอ้ กำ�หนดตอ่ ไปนี้

(ก) F4.1: เทคโนโลยีท่จี ำ�เปน็ ส�ำ หรบั การผลิตปรมิ าณบางสว่ นหรอื ท้ังหมด เป็นเทคโนโลยที ก่ี ำ�ลงั พฒั นา
ในปัจจบุ ัน การศกึ ษานำ�ร่องประสบผลส�ำ เร็จแลว้ ในแหล่งอนื่ ๆ แตย่ งั ไม่ไดแ้ สดงให้เหน็ ถึงความเป็น
ไปไดใ้ นทางเทคนคิ ส�ำ หรับรูปแบบและธรรมชาติของแหล่งทีโ่ ภคภณั ฑห์ รือผลิตภัณฑต์ ง้ั อยู่

(ข) F4.2: เทคโนโลยที ่จี ำ�เปน็ ส�ำ หรบั การผลติ ปริมาณบางสว่ นหรอื ท้ังหมด เปน็ เทคโนโลยีที่กำ�ลังวิจัยอยู่
ในปจั จุบนั แต่ยังไมม่ ีการศึกษาน�ำ รอ่ งที่ประสบผลส�ำ เร็จ

(ค) F4.3: เทคโนโลยที จ่ี ำ�เป็นสำ�หรบั การผลติ ปรมิ าณบางส่วนหรอื ท้ังหมด เป็นเทคโนโลยที ย่ี งั ไมม่ ีการ
วจิ ยั หรอื พฒั นาในปัจจบุ ัน

ท. ปริมาณท่ผี ลติ แล้วและอาจจ�ำ หน่ายได้ในอนาคต

หมวดย่อย E3 ทำ�ให้สามารถแยกระหวา่ งปริมาณทีค่ าดวา่ อาจจะผลิต แตไ่ ม่ได้มีไว้จ�ำ หน่าย (E3.1) และปริมาณ
ที่ตอนนี้ยังไม่สามารถคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผล สำ�หรับการผลิตและจำ�หน่ายที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจใน
อนาคตอนั ใกล้ (E3.3) ในกรณแี รกเป็นปริมาณท่จี ะถูกใช้ สญู เสีย ถกู ท�ำ ลาย หรอื ไมเ่ ชน่ นนั้ จะเสียหายในระหว่าง
กระบวนการผลติ ดงั นั้นจงึ ไม่มไี ว้ส�ำ หรับจ�ำ หนา่ ย เช่น กา๊ ซธรรมชาติทผ่ี ลติ รว่ มกบั น�้ำ มนั และถกู เผาในบรรยากาศ
หรือถกู ใช้เพอื่ การด�ำ เนินงานในแหล่งผลติ

25

อย่างไรก็ตามในบางสถานการณ์ ปริมาณอาจถูกผลิตขึ้นสู่ผิวดินและถูกเก็บรักษาไว้เพื่อการจำ�หน่ายที่คุ้มค่า
ในอนาคต และอาจกำ�หนดปริมาณเหล่านี้ให้เปน็ E3.3 (และต่อจากนน้ั จะถกู ยา้ ยไปที่ E2 และ E1 ตามความ
เหมาะสม) 13


13 ตวั อย่างหน่งึ คือ ก๊าซธรรมชาติที่ถกู ผลิตขน้ึ มาบนผวิ ดนิ แตต่ ่อมาถูกอัดกลับลงไปในชน้ั หนิ เดมิ หรอื ตา่ งชั้น เพื่อให้มันยงั คง
มีไวส้ �ำ หรบั ผลิตและจ�ำ หนา่ ยไดใ้ นอนาคต อีกตวั อยา่ งคอื ธอเรียมท่ีถูกผลิตพร้อมกับแรอ่ ื่นท่ีจำ�หน่ายได้คมุ้ ค่า แตใ่ นปจั จบุ นั ยงั ไมม่ ตี ลาด
ส�ำ หรับ ธอเรยี ม ทำ�ใหต้ อ้ งเก็บรักษาไวใ้ นลักษณะที่สามารถจ�ำ หนา่ ยได้คุ้มค่าในอนาคต มนั อาจจะถกู ก�ำ หนดใหเ้ ป็น E3.3

26

ภาคผนวก ก.

อภธิ านศัพท์เฉพาะ

ศพั ทเ์ ฉพาะ คำ�จ�ำ กดั ความ

ระบบแนวรว่ ม ระบบการจำ�แนกซ่ึงเป็นแนวร่วมกับ UNFC-2009 ซงึ่ แสดงให้เห็นดว้ ยเอกสาร
Aligned System เช่ือมโยง (Bridging Document) ท่ไี ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากกลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ น
การจำ�แนกทรัพยากร (Expert Group on Resource Classification)

เอกสารเชื่อมโยง เอกสารอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่าง UNFC-2009 และระบบการจ�ำ แนกอ่นื ๆ
Bridging Document ทปี่ ระกอบดว้ ยวิธีการใช้ และแนวทางในการจ�ำ แนกประมาณการท่ที ำ�โดยการ
ประยกุ ตใ์ ช้ระบบนัน้ โดยใชร้ หสั ตัวเลข (Numerical Codes) ของ UNFC-2009

หมวดหมู่ พ้ืนฐานข้นั ต้นส�ำ หรบั การจำ�แนกทใี่ ช้เกณฑ์พ้ืนฐานทง้ั สาม คือ ความเปน็ ไปได้
Category ทางเศรษฐกจิ และสงั คม (สมั พนั ธก์ ับหมวดหมู่ E1, E2 และ E3) สถานภาพและ
ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ (สมั พันธ์กับหมวดหมู่ F1, F2, F3 และ F4) และ
ช้ัน ความรูด้ ้านธรณีวทิ ยา (สมั พันธก์ ับหมวดหมู่ G1, G2, G3 และ G4) นยิ ามของ
Class(es) หมวดหมู่อยู่ใน ภาคผนวก ก. ของ UNFC-2009.
เอกสารเสรมิ ระดับข้นั ต้นของการจ�ำ แนกทรัพยากร ที่เป็นผลจากการรวมกนั ของแต่ละ
CTeoxmtsplementary หมวดหมูจ่ ากเกณฑ์ (แกน) ทง้ั สาม
เอกสารเพิ่มเติมเพือ่ แสดงสิง่ ทจ่ี ำ�เปน็ ของบทบังคบั (ข้อก�ำ หนด) และแนวทาง
CRIRSCO Template เกยี่ วกับการประยุกตใ์ ช้ UNFC-2009 (เอกสารขอ้ กำ�หนดนี้ เปน็ ตัวอย่างหนงึ่ ของ
เอกสารเสรมิ )
CRIRSCO Template ปี 2006 เปน็ ระบบทพี่ ฒั นาโดยคณะกรรมการมาตรฐาน
การรายงานปริมาณส�ำ รองแร่ระหว่างประเทศ (CRIRSCO) สำ�หรับแรท่ ่ีเปน็
ของแข็ง และสำ�หรับวตั ถปุ ระสงคข์ องเอกสารข้อกำ�หนดนีไ้ ด้รวมรหัสและ
มาตรฐานการรายงานท่ีเป็นแนวทางเดียวกนั กับ CRIRSCO ไว้ดว้ ย

เกณฑ์ UNFC-2009 ใช้เกณฑพ์ ้ืนฐานสามเกณฑ์สำ�หรับการจ�ำ แนกปริมาณส�ำ รอง และ
Criteria ทรพั ยากร นนั่ คือ ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจและสงั คม สถานภาพและความ
เป็นไปไดข้ องโครงการ และความรดู้ ้านธรณวี ทิ ยา เกณฑ์ทัง้ สามนถี้ ูกแบ่งยอ่ ยลง
ผู้ประเมิน ไดเ้ ปน็ หมวดหมู่ และหมวดหม่ยู ่อย ซ่งึ จะถูกรวมกันเป็น ชนั้ หรอื ชนั้ ย่อย
Evaluator บุคคล หรอื หลายบคุ คล ผทู้ ำ�การประมาณการทรพั ยากร และ/หรอื ทำ�การ
จำ�แนกทรัพยากร

27

ศัพท์เฉพาะ คำ�จ�ำ กดั ความ

โครงการส�ำ รวจ โครงการทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั แหลง่ ทมี่ ศี ักยภาพ หนงึ่ แหลง่ หรือมากกวา่ (ตามทน่ี ิยามไว้
ดา้ นลา่ ง)
Exploration Project ขอ้ กำ�หนด (ตามทีบ่ นั ทกึ ไว้ในเอกสารขอ้ กำ�หนดน้)ี ทปี่ ระยุกต์ใชก้ บั การจ�ำ แนก
ขอ้ กำ�หนดท่วั ไป ปริมาณโภคภณั ฑใ์ ดๆ โดยใช้ UNFC-2009

GSpeenceirfiiccations

แหล่งที่พบแล้ว แหล่งทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ มีอยูจ่ รงิ ด้วยหลกั ฐานทางตรง ขอ้ กำ�หนดทีล่ ะเอยี ดกวา่ หา
Known Deposit ได้จากเฉพาะรายโภคภัณฑ์ (commodity-specific) ที่เก่ียวขอ้ งในระบบแนวรว่ ม
ผลลพั ธข์ องการเปรยี บเทยี บระหว่างระบบการจำ�แนกทรพั ยากรอืน่ ๆ กบั UNFC-
เอกสารเทียบเคยี ง 2009 หรือระหว่างระบบนัน้ กับระบบแนวร่วมทั้งหลายทม่ี อี ยู่ ซ่งึ เน้นความ
Mapping Document เหมือนและความต่างระหว่างระบบเหล่านัน้ เอกสารเทยี บเคยี งสามารถใหพ้ นื้
ฐานของการประเมินศกั ยภาพของระบบอ่นื ทีส่ ามารถเปน็ ระบบแนวร่วมโดยการ
รหัสตัวเลข ทำ� เอกสารเช่ือมโยง (Bridging Document)
Numerical Code การกำ�หนดตวั เลขส�ำ หรับแตล่ ะ ชนั้ หรอื ช้นั ย่อย ของปริมาณทรัพยากรเหมือน
กบั ทนี่ ิยามไว้ใน UNFC-2009 รหัสตวั เลขจะถกู กำ�หนดเป็นล�ำ ดับเหมือนกันเสมอ
แหลง่ ทม่ี ศี กั ยภาพ (นัน่ คอื E; F; G)
Potential Deposit แหล่งทยี่ ังไม่ได้แสดงใหเ้ ห็นว่ามีอยูจ่ รงิ ด้วยหลักฐานทางตรง (เช่น การเจาะ และ/
หรอื การเกบ็ ตวั อย่าง) แตถ่ ูกประเมนิ เบอ้ื งตน้ ว่ามีศกั ยภาพบนพน้ื ฐานของหลัก
โครงการ ฐานทางตรง (เช่น การส�ำ รวจธรณีฟสิ ิกส์ภาคพน้ื ดนิ และทางอากาศ) ข้อก�ำ หนดที่
Project ละเอียดกวา่ หาได้จากระบบแนวร่วมเฉพาะรายโภคภณั ฑ์ (commodity-specific
Aligned Systems.) ท่เี กยี่ วขอ้ ง
โครงการ เปน็ นิยามของการดำ�เนินการพัฒนาหรือท�ำ เหมอื งซึง่ อย่บู นพ้ืนฐาน
ของการประเมินเศรษฐกิจ และการตัดสนิ ใจในชว่ งตน้ ของการประเมนิ รวมถงึ
การสำ�รวจ โครงการตา่ งๆ อาจถกู นิยามเฉพาะในลักษณะกรอบความคิดหาก
โครงการมีความสมบรู ณ์มากขึ้นจะถกู นยิ ามในลักษณะที่มีรายละเอียดที่ส�ำ คัญ
หากไมส่ ามารถดำ�เนินการพฒั นาหรอื ท�ำ เหมอื งในพืน้ ที่ท้งั หมดหรือบางสว่ นของ
แหล่ง ด้วยเทคโนโลยที ่มี ีอยหู่ รือเทคโนโลยีทกี่ ำ�ลงั พฒั นาอยูใ่ นปจั จบุ นั ปรมิ าณ
ทัง้ หมด (หรือบางสว่ น) ทอี่ ยใู่ นแหลง่ นัน้ จะถกู จ�ำ แนกเปน็ หมวดหมู่ F4

28

ศัพทเ์ ฉพาะ คำ�จ�ำ กดั ความ

ข้อก�ำ หนด รายละเอยี ดเสริม (กฎบังคับ) เร่ืองจะประยุกตใ์ ช้ระบบการจ�ำ แนกทรพั ยากรได้
Specifications อยา่ งไร เสรมิ กรอบนยิ ามของระบบนั้น ข้อกำ�หนดทวั่ ไปสำ�หรับ UNFC-2009 ใน
เอกสารขอ้ กำ�หนดนที้ ำ�ให้มน่ั ใจในความชัดเจน และเปรียบเทยี บได้ และเสริมให้
เอกสารขอ้ กำ�หนด สง่ิ ท่จี ำ�เป็นส�ำ หรับเฉพาะรายโภคภัณฑ์ (commodity-specific) ทีถ่ ูกรวมอย่ใู น
SDpoeccuimficeanttions ระบบแนวรว่ ม (Aligned Systems) ใหส้ มบูรณ์ ดังทป่ี รากฏในเอกสารเช่ือมโยง
(Bridging Document) ทเี่ กี่ยวข้อง
ขอ้ กำ�หนดส�ำ หรับการประยกุ ต์ใชก้ รอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ สำ�หรับ
ปริมาณส�ำ รองและทรัพยากรพลงั งานฟอสซลิ และแร่ 2009 (UNFC-2009)

PRMS ระบบการจดั การทรพั ยากรปิโตรเลยี ม ปี 2007 (PRMS) ซงึ่ อนุมตั โิ ดยคณะ
กรรมการสมาคมวศิ วกรปโิ ตรเลยี ม (SPE) ในเดือนมนี าคม 2007 และเหน็ ชอบ
โดยสภาปโิ ตรเลยี มโลก (WPC) สมาคมนกั ธรณวี ิทยาปิโตรเลียมอเมริกา (AAPG)
สมาคมวิศวกรประเมนิ ปโิ ตรเลียม (SPEE) และสมาคมนกั สำ�รวจธรณฟี สิ ิกส์
(SEG)

หมวดย่อย ทางเลอื กการแบ่งยอ่ ยของหมวดหมู่ สำ�หรบั แต่ละเกณฑ์พ้ืนฐานของ ความเป็น
Sub-categories ไปได้ทางเศรษฐกิจและสงั คม สถานภาพและความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ และ
ความรู้ดา้ นธรณีวิทยา นิยามของหมวดหมยู่ อ่ ยหาไดจ้ าก ภาคผนวก ข. ใน
UNFC-2009

ชัน้ ยอ่ ย ทางเลอื กการแบ่งย่อยของการจำ�แนกทรพั ยากรบนพืน้ ฐานหลกั การความ
Sub-classes สมบูรณ์ของโครงการ ที่เปน็ ผลจากการรวมกนั ของหมวดย่อย ชัน้ ยอ่ ยความ
สมบรู ณข์ องโครงการถกู กลา่ วถงึ เพม่ิ เตมิ ใน ภาคผนวก จ. ของเอกสารขอ้ ก�ำ หนดน้ี

ระบบการวัดท่นี านาชาติใหก้ ารยอมรับและเป็นรูปแบบสมยั ใหมข่ องระบบเมตริก
คำ�น�ำ หนา้ และหนว่ ย (prefixes and units) ถกู สรา้ งและนยิ ามของหนว่ ย (unit
dS’yUsntèitméseInternational definitions) ถูกปรับปรุงผา่ นความเหน็ ชอบของนานาชาตเิ ม่ือเทคโนโลยีของการ
วัดก้าวหนา้ และเมื่อความเท่ยี งตรงของการวดั พฒั นาข้ึน ตัวย่อคือ SI

UNFC-2009 กรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ สำ�หรบั ปริมาณสำ�รองและทรพั ยากร
พลงั งานฟอสซลิ และแร่ 2009

29

ภาคผนวก ข.

แนวทางในการประยุกตใ์ ชค้ ำ�ส่ังหลกั ใน UNFC-2009

การจำ�แนก (ตาม UNFC- เพื่อการกำ�หนดประมาณการของปริมาณลงในชั้นจำ�เพาะ (หรอื ชน้ั ย่อย)
2009) ของ UNFC-2009 โดยอ้างองิ ถงึ นยิ ามของหมวดหมู่ หรอื หมวดย่อยของ
Classify (according to เกณฑ์ท้งั สาม และคำ�นงึ ถงึ ส่ิงทจี่ �ำ เป็นส�ำ หรบั ท้ังข้อกำ�หนดท่ัวไป (Generic
UNFC-2009) Specifications) และเฉพาะรายโภคภณั ฑ์ (commodity-specific) ท่รี วมอยู่
ในระบบแนวรว่ ม ดังที่ปรากฏอยูใ่ นเอกสารเช่ือมโยงทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

กกาารรจส�ำ อแดนปกระสานของระบบ เพอ่ื ระบคุ วามแตกต่างท่สี �ำ คัญของระบบตา่ งๆ (ถา้ ม)ี โดยการเทยี บ
เคียง (mapping) และหากจ�ำ เปน็ การปรบั นิยาม และ/หรอื ขอ้ ก�ำ หนด
ของระบบหน่ึง เพอื่ ท�ำ ให้ท้งั หมดไปสู่ผลทเี่ ปรียบเทียบกันได้ ระบบท่ีสอด
ประสาน (harmonized) กับ UNFC-2009 สามารถเปน็ ระบบแนวรว่ ม
HCalarsmsoifincizaatitoionnSoyfstems (Aligned System) โดยการพฒั นาเอกสารเช่อื มโยง (Bridging Document)
และได้รับความเห็นชอบ (จากกล่มุ ผู้เช่ยี วชาญดา้ นการจำ�แนกทรพั ยากร)

กระาบรเบทกยี าบรเจคำ�ียแงนรกะหว่าง เพื่อสรา้ งเอกสารเทียบเคยี ง (Mapping Document) โดยเปรียบเทยี บ
CMlaapsspiifnicgabtioetnwSeyesntems นิยาม และขอ้ กำ�หนดของแตล่ ะ หมวดหม/ู่ ชนั้ ของระบบการจำ�แนกหนึง่
กับนิยาม และขอ้ กำ�หนดของแต่ละหมวดหม่/ู ชนั้ ของอกี ระบบหนึ่ง เพือ่
ระบุความเหมอื นและความตา่ งระหว่างระบบท้งั สอง

การเทยี บเคียง ผ่าน เพ่ือเทียบเคียง (mapping) ระบบการจำ�แนกทสี่ าม กบั UNFC-2009 โดย
CRIRSCO Template และ เรม่ิ ต้นเทียบเคยี งกับ CRIRSCO Template หรือ PRMS ซงึ่ ได้เทยี บเคยี ง
PRMS และเปน็ แนวรว่ มกบั UNFC-2009 แลว้

ระบบแนวรว่ ม ดกู ารสอดประสานของระบบการจำ�แนก

Align Systems

ประยกุ ตใ์ ช้ UNFC-2009 เพอ่ื จ�ำ แนกปริมาณโดยไม่ต้องทำ�การประมาณการในระบบแนวรว่ มก่อน
โดยตรง การดำ�เนนิ การนยี้ ังคงต้องยดึ ติดกบั สิง่ ท่จี �ำ เป็นส�ำ หรับท้ังขอ้ กำ�หนดทวั่ ไป
Apply UNFC-2009 Directly และเฉพาะรายโภคภณั ฑ์ท่รี วมอย่ใู นระบบแนวร่วม ดงั ที่ปรากฏอยใู่ น
เอกสารเชือ่ มโยง

ใช้ UNFC-2009 เป็น ดกู ารสอดประสานของระบบการจ�ำ แนก
เครื่องมอื ประสาน
(Harmonizing Tool)

30

ภาคผนวก ค.

เอกสารเชือ่ มโยงระหว่าง CRIRSCO TEMPLATE กับ UNFC-2009

1. บทนำ�

เอกสารเชอ่ื มโยง (Bridging Document) อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง UNFC-2009 กบั ระบบการจ�ำ แนกอน่ื ทไ่ี ด้
รบั การยอมรบั จากกลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการจ�ำ แนกทรพั ยากรวา่ เปน็ ระบบแนวรว่ ม (Aligned System) มกี ารรวมวธิ ี
การใชแ้ ละแนวทางส�ำ หรบั การจ�ำ แนกประมาณการตา่ งๆ ทเ่ี กดิ จากการประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบแนวรว่ มโดยใชร้ หสั ตวั เลข
ของ UNFC-2009 เอกสารเช่อื มโยงทเ่ี กยี่ วข้องจะตอ้ งถกู ระบุเมอ่ื มีการรายงานประมาณการทีใ่ ช้รหัสตัวเลขของ
UNFC-2009
ขอ้ ตกลงระยะยาวพร้อมส�ำ หรบั CRIRSCO ในการจดั หาข้อก�ำ หนดเฉพาะรายโภคภณั ฑ์ (commodity-specific
specifications)  ส�ำ หรบั แร่ของแข็ง ตามข้อตกลงน้ี CRIRSCO ไดจ้ ัดหาข้อก�ำ หนดเฉพาะรายโภคภัณฑโ์ ดยใช้
Template ของ CRIRSCO ปี 2006 (จากน้ตี ่อไป จะใชค้ �ำ วา่ “Template”)14 พรอ้ มด้วยข้อกำ�หนดทว่ั ไป ทั้งหมดน้ี
ท�ำ ใหเ้ กดิ พ้ืนฐานและแกนหลักส�ำ หรับการประยุกตใ์ ช้ UNFC-2009 สำ�หรับแร่ท่ีเปน็ แขง็ อยา่ งถกู ตอ้ ง
Template (และ รหัส/มาตรฐาน ที่มีแนวทางเดียวกนั กบั Template) เป็นอิสระจาก UNFC-2009 และอาจจะใช้
บงั คบั ส�ำ หรบั การรายงานในบางขอบเขตอ�ำ นาจหรอื ในเฉพาะบางสถานการณ์ เอกสารเชอ่ื มโยงนไ้ี มไ่ ดม้ สี ่วนเกยี่ ว
ข้องใดๆ กับสิ่งที่จำ�เป็นสำ�หรับการรายงานที่ถูกกำ�หนด หรือในการประยุกต์ใช้ Template (และ รหัส/มาตรฐาน
ที่มีแนวทางเดยี วกนั กบั Template) อย่างอสิ ระ
หากไม่ถกู จ�ำ กดั ดว้ ยระเบียบ การประยกุ ตใ์ ชข้ ้อก�ำ หนดเฉพาะรายโภคภณั ฑ์จะไมจ่ �ำ กดั การใชท้ ุกองคป์ ระกอบ
(full granularity) ของ UNFC-2009 ไม่วา่ ในทางใด

2. ภาพรวมของ CRIRSCO Template (2006)

CRIRSCO Template เปน็ มาตรฐานนานาชาตทิ ่ีพฒั นาใหมล่ ่าสุดส�ำ หรบั การรายงานผลการสำ�รวจ ทรพั ยากร
แร่ และปริมาณส�ำ รองแร่ ในทางกลับกันขึ้นอยู่กบั จำ�นวนของมาตรฐานการรายงานระดบั ชาติ หรอื ภูมภิ าค ท่เี ขา้
กนั ไดด้ แี ละสอดคลอ้ งซึง่ กนั และกนั และกับ Template และข้ึนอยกู่ ับผ้เู ขียนมาตรฐานต่างๆ ทช่ี ว่ ยในการพฒั นา
Template ทเ่ี ปน็ ตวั แทนมาตรฐานระหวา่ งประเทศท่ใี ชง้ านไดด้ ที ี่สุดในปจั จบุ นั ส�ำ หรับรายงานสาธารณะของบรษิ ทั
ตา่ งๆ15 กรอบพนื้ ฐานท่เี ปน็ แนวทางส�ำ หรบั Template และมาตรฐานตา่ งๆ คือ พ้ืนฐานทแี่ สดงในรปู ท่ี ค.1


14 หาได้จาก: www.crirsco.com/crirsco_template_v2.pdf.
15 In the Template, รายงานสาธารณะ “อ้างองิ ถึงรายงานผลการสำ�รวจ ทรัพยากรแร่ ปริมาณส�ำ รองแร่ ใดๆ ท่จี ัดเตรยี มสำ�หรบั
วัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้ข้อมูลนักลงทุน หรอื นกั ลงทนุ ทมี่ ศี ักยภาพ และทปี่ รึกษาของนักลงทนุ หรอื เพ่อื ด�ำ เนินการตามระเบยี บ”

31

Template เน้นการสร้างและรกั ษามาตรฐานท่สี อดคล้องและเหมาะสมส�ำ หรับรายงานสาธารณะ (ตามทรี่ ะบุโดย
CRIRSCO) ดังน้นั จงึ ไมไ่ ดก้ ล่าวถงึ การเกดิ แรท่ ีอ่ าจเกย่ี วข้องกับวัตถปุ ระสงค์อื่น เช่น คงคลงั ของชาติ หรอื การ
ใชภ้ ายในประเทศ ดังนน้ั การประยกุ ต์ใช้ UNFC-2009 อยา่ งเต็มที่ สำ�หรบั แร่ทีเ่ ป็นของแข็งสามารถขยายเลยช้ัน
ต่างๆ ทร่ี ะบุอยา่ งชัดเจนใน Template
รปู ท่ี ค.1
ความสมั พนั ธ์ทั่วไประหวา่ งผลการสำ�รวจ ทรพั ยากรแร่ และปรมิ าณสำ�รองแร่ ทป่ี รากฏใน CRIRSCO Template

ผลการสำรวจ ปริมาณสำรองแร
ทรพั ยากรแร

อนมุ าน

เพมิ่ ระดับความ บงช้ี เปนไปได
รดู า นธรณวี ิทยา
และความมั่นใจ ตรวจวดั ตรวจพิสจู น

การพิจารณาปจจัยดา นการทำเหมอื ง โลหะกรรม เศรษฐกิจ การตลาด
กฎหมาย สิ่งแวดลอม สงั คม และรฐั บาล
(ปจจยั การปรับเปลย่ี น)

3. การเทยี บเคียงหมวดหมู่ และหมวดยอ่ ย โดยตรง

ก. การประยุกต์ใช้ แกน G

หากการศึกษาธรณวี ิทยาไดด้ ำ�เนนิ การและการประมาณการปริมาณของแหล่งแร่มีความเป็นไปได้ (ปริมาตร ตนั
เกรด/คณุ ภาพ ฯลฯ) แล้วการจำ�แนกกท็ �ำ ได้บนแกนตัง้ ธรณวี ทิ ยาของ Template บนพน้ื ฐานของระดับความ
ละเอียดของการศึกษา และระดับของความมั่นใจในแบบจ�ำ ลองทางธรณวี ทิ ยา ทรัพยากรแรถ่ กู ระบเุ ปน็ ระดบั
อนุมาน ระดับบ่งชี้ หรอื ระดับตรวจวดั (Infered, Indicated or Measured) ซึ่งสะทอ้ นการเพิ่มขึน้ ของระดับของ
ความร้ดู ้านธรณีวทิ ยาและความมั่นใจ
แกนความรดู้ า้ นธรณีวิทยา เทยี บเคยี งได้โดยตรงกบั Template ตามทแ่ี สดงใน รูปท่ี ค.2 ซ่ึงแสดงการเทียบเคียง
(mapping) ของแกน E และ แกน F ในระดบั หมวดหมดู่ ว้ ย โปรดสงั เกตวา่ หมวดหมู่ E และ F ตง้ั มาตรฐานไวท้ ข่ี น้ั ตำ่�
(minimum standards) สำ�หรบั UNFC-2009 ยกตวั อยา่ งเช่น แหลง่ ศักยภาพเชิงพาณิชย์ ต้องเป็นอยา่ งนอ้ ย E2
และ E3 แต่มันสามารถเป็น E1F2 หรอื E2F2 ได้ดว้ ย

32

รปู ท่ี ค.2
การเทยี บเคยี ง ชน้ั และ หมวดหมู่ ของ CRIRSCO Template กบั UNFC-2009 ดูย่อหนา้ ทีผ่ ่านมา (ย่อหน้าทสี่ อง
ในหัวข้อ 3.ก) ส�ำ หรบั คำ�อธิบายของค�ำ วา่ “ข้ันต่�ำ ”

CRIRSCO Template หมวดหมู่ ชนั้ ของ UNFC-2009
“ขนั้ ต่ำ�“ ของ โครงการคุ้มคา่
UNFC-2009 เชงิ พาณิชย์

ปริมาณ ตรวจพิสูจน์ E1 F1 G1
สำ�รองแร่ เปน็ ไปได้ G2

ทรัพยากรแร่ ตรวจวดั G1 โครงการที่มีศกั ยภาพ
บง่ ชี้ E2 F2 G2 ค้มุ ค่าเชิงพาณชิ ย์

อนุมาน G3

ผลการส�ำ รวจ E3 F3 G4 โครงการส�ำ รวจ

ข. การเทียบเคยี ง แกน E และ แกน F อย่างละเอียด

ทรัพยากรแร่คือประมาณการในแหล่งกำ�เนดิ แรก่ อ่ นแปลงคา่ เปน็ ปริมาณส�ำ รอง (นั่นคือ ไม่มกี ารปรับคา่ สำ�หรบั
mining dilution หรือ losses) ถึงแม้ว่าการพิจารณาเบ้อื งต้นอาศยั ปัจจยั ดา้ นการทำ�เหมอื ง โลหะกรรม เศรษฐกจิ
การตลาด กฎหมาย โครงสรา้ งพ้ืนฐาน สิง่ แวดลอ้ ม สงั คม และรฐั บาล (ปจั จยั การปรับเปลี่ยน Modifying Factors)
นอกจากนี้สัดส่วนของแหล่งแร่ที่ไม่ได้คาดการณ์สำ�หรับการผลิตที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจในข้ันสุดท้ายต้องไม่รวม
ไวใ้ นทรัพยากรแร่ ใน UNFC-2009 โดยทั่วไปประมาณการทรัพยากรแรถ่ ูกจำ�แนกเป็น E2F2 มนั อาจถกู จำ�แนก
ยอ่ ยตอ่ ไปบนแกน F เป็น F2.1 หรอื F2.2 (อา้ งองิ รูปที่ ค.3 และ ภาคผนวก จ. ของเอกสารข้อกำ�หนดนี้ ซงึ่ ได้
ใหแ้ นวทางจำ�เพาะในการแยกระหวา่ งชั้นยอ่ ยต่างๆ ในด้านความสมบูรณ์ของโครงการ (project maturity Sub-
classes)) ในบางกรณปี ระมาณการของทรัพยากรธรณอี าจรวมกับ E1F2 กรณไี ม่มขี อ้ สงสยั เกี่ยวกับความเปน็ ไป
ไดท้ างเศรษฐกจิ หรอื E2F1 หากไมม่ ขี อ้ สงสยั เกย่ี วกบั ความเปน็ ไปไดท้ างเทคนคิ (หมวดยอ่ ย F1.3) (โปรดสงั เกตวา่
การรวมกนั นไ้ี มไ่ ดเ้ ปลย่ี นชน้ั ของ UNFC-2009 ซง่ึ ยงั คงเปน็ โครงการทม่ี ศี กั ยภาพเชงิ พาณชิ ย์ ตามทแ่ี สดงในรปู ค.2)

กรณที ม่ี กี ารศกึ ษาทางดา้ นธรณวี ทิ ยาเพยี งพอแตก่ ารประเมนิ เบอ้ื งตน้ ของปจั จยั การปรบั เปลย่ี น (Modifying Factors)
บง่ ช้ีว่าโครงการไม่มคี วามเปน็ ไปได้ในอนาคตอันใกล้ (นนั่ คือไมม่ ี ”การคาดการณท์ ี่สมเหตสุ มผลส�ำ หรับการผลติ ที่
คมุ้ ค่าทางเศรษฐกิจในขั้นสุดท้าย”) แหลง่ แร่จะถกู จ�ำ แนกเป็น “รายการคงคลงั (inventory)” และไมถ่ กู แปลงไปเปน็
ทรัพยากรแร1่ 6 “รายการคงคลงั ” ไมใ่ ช่ศพั ท์เฉพาะท่กี �ำ หนดไวใ้ น Template และปริมาณเหลา่ น้ีอาจไมต่ ้องเปิด
เผยในรายงานสาธารณะ (ตามทกี่ �ำ หนดขา้ งบน) แตส่ �ำ หรับวัตถุประสงค์อน่ื ๆ ควรจ�ำ แนกตาม UNFC-2009 เปน็
E3F2 ซึ่งปริมาณสามารถผลิตได้ทางเทคนิค แต่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าจะเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจในอนาคต


16 ดูเพิ่มเตมิ เกี่ยวกบั วา่ อะไรทำ�ให้เกดิ “การคาดการณท์ ีส่ มเหตสุ มผลส�ำ หรับการผลิตทค่ี ้มุ ค่าทางเศรษฐกิจในขั้นสุดทา้ ย” ใน
บริบทของโภคภณั ฑแ์ รข่ องแขง็ ชนดิ ตา่ งๆ ได้ในเรอ่ื งทรัพยากรแรใ่ น Template

33

อันใกล ้ (หมวดย่อย E3.3, F2.3) หรอื กรณียงั ไม่สามารถประเมินความเป็นไปได้ทางเศรษฐกจิ เนื่องจากขอ้ มูลไม่
เพียงพอ (หมวดย่อย E3.2, F2.2) หรือ E3F4 กรณีไม่สามารถระบุโครงการพัฒนาหรือการทำ�เหมืองที่มีความ
เป็นไปได้ทางเทคนิค (หมวดย่อย  E3.3) รายการคงคลังที่จะทำ�การปรับปรุงในอนาคตควรมีการเปลี่ยนแปลง
เงื่อนไข
ใน Template ทรัพยากรแร่อาจถูกรายงานร่วมกับ หรือเพมิ่ เตมิ จากปริมาณสำ�รองแร่ โปรดสังเกตว่า ใน UNFC-
2009 ชัน้ ตา่ งๆ เชน่ 221 มักแยกจากชัน้ อ่นื ๆ เช่น 111 หากช้นั ตา่ งๆ เหลา่ น้รี วมกันจะตอ้ งมีการบันทึกอยา่ ง
ชัดเจน (เช่น 111+221)17
ปรมิ าณส�ำ รองแรโ่ ดยทว่ั ไปมกั จะก�ำ หนดเปน็ ผลติ ผลของจากการท�ำ เหมอื ง (น�ำ้ หนกั และเกรด หรอื คณุ ภาพ) นน่ั คอื
ปรมิ าณท่ีถูกส่งต่อไปผา่ นกระบวนการ โภคภัณฑ์บางประเภท เช่น ถา่ นหนิ ปริมาณสำ�รองถูกก�ำ หนดเปน็ สินคา้
ทจี่ �ำ หน่ายได้ (นำ�้ หนกั และคุณภาพ) หรือหากตอ้ งผา่ นกระบวนการเพ่ือผลิตสนิ คา้ ท่ีจำ�หนา่ ยได้ควรแสดงปัจจยั
ส�ำ หรับผลผลติ หรือผลตอบแทนท่ไี ด้รับ ปรมิ าณส�ำ รองแร่ควรสอดคล้องกับ E1F1 เสมอ หรอื อาจเลือกจ�ำ แนก
ยอ่ ยบนแกน E ให้เป็น E1.1 หรือ E1.2 และบนแกน E ใหเ้ ปน็ F1.1, F1.2 หรอื F1.3
การแปลงทรัพยากรแร่ไปเป็นปริมาณสำ�รองแร่ต้องการการศึกษาด้านเทคนิคอย่างน้อยระดับการศึกษาความเป็น
ไปได้เบอื้ งตน้ เพือ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ปจั จัยด้านการท�ำ เหมอื ง โลหะกรรม เศรษฐกจิ การตลาด กฎหมาย โครงสรา้ ง
พนื้ ฐาน สง่ิ แวดล้อม สังคม และรฐั บาล (ปัจจยั การปรบั เปลี่ยน - The Modifying Factors) ไดร้ บั การพิจารณาอย่าง
เพียงพอ และโครงการมผี ลตอบแทนทางการเงนิ เป็นบวก ใน UNF-2009 ส่งิ ท่ีจำ�เปน็ นีต้ อบสนองตอ่ ข้อกำ�หนด
ของหมวดหมู่ E1 และ F1 ดว้ ย
หากปจั จัยการปรบั เปลีย่ นเปน็ ท่ีนา่ พอใจทรพั ยากรแร่บง่ ชี้ (Indicated Resources) สามารถแปลงไปเปน็ ปริมาณ
สำ�รองแรเ่ ปน็ ไปได้ (Probable Reserves) ในลกั ษณะเดยี วกันทรพั ยากรแรต่ รวจวัด (Measured Resources) โดย
ทัว่ ไปอาจจะถูกแปลงเป็นปรมิ าณส�ำ รองแรต่ รวจพสิ ูจน์ (Proved Reserves) ไดแ้ ตจ่ ะสามารถเป็นได้เพียงปริมาณ
ส�ำ รองแรเ่ ปน็ ไปไดห้ ากความมน่ั ใจในปจั จยั การปรบั เปลย่ี นนอ้ ยกวา่ ความมน่ั ใจดา้ นธรณวี ทิ ยา ทรพั ยากรแรอ่ นมุ าน
(Infered Resources) จะไม่สามารถแปลงไปเปน็ ปรมิ าณสำ�รองแรไ่ ด้ (ดรู ูปท่ี ค.1)
รูปที่ ค. 3 แสดงการเทยี บเคยี ง เมทริกซ์ (matrix) ของหมวดย่อย E-F กับ Template ดว้ ยรหัสสี และตัวเลข โปรด
สงั เกตวา่ สี และตวั เลขตา่ งๆ สอดคลอ้ งกบั การเทยี บเคยี งกบั PRMS (ดภู าคผนวก ง.) ดงั นน้ั ทน่ี จ่ี งึ ไมไ่ ดใ้ ชต้ วั เลขทกุ ตวั
UNFC-2009 เป็นระบบรายโครงการ (project-based system) หากการท�ำ เหมอื งมที ั้งปรมิ าณส�ำ รองแร่ และ
ทรพั ยากรแร่ (ไม่รวมปริมาณสำ�รองแร่) แล้วเทา่ กบั ว่ามสี องโครงการใน UNFC-2009 อา้ งองิ รูปท่ี ค.2 ปริมาณ
สำ�รองแร่จะรวมอยูก่ บั โครงการคุ้มค่าเชิงพาณชิ ย์ ในขณะทีท่ รัพยากรแรจ่ ะรวมอย่กู ับโครงการทีม่ ีศกั ยภาพคมุ้ ค่า
เชงิ พาณชิ ย์ เหลา่ นีส้ ามารถแบง่ ย่อยตอ่ ไปโดยใช้ชน้ั ยอ่ ยของ UNFC-2009 (รูปที่ ค.3) หากตอ้ งการ


17 สำ�หรับการรายงานตอ่ สาธารณะ หา้ มทำ�การรวมแบบน้ี

34

ในกรณีทพ่ี บน้อย โครงการทกี่ �ำ ลงั ด�ำ เนนิ การผลิตโภคภัณฑ์อาจจะถูกก�ำ หนดโดย Template ใหม้ ีปรมิ าณส�ำ รอง
แรเ่ ปน็ ศนู ย์เนือ่ งจากมีความมนั่ ใจในประมาณการของปริมาณทจ่ี ะผลิตไดใ้ นอนาคตไม่พอเพียง ในกรณเี ช่นนกี้ าร
ประเมินทางเศรษฐกจิ ที่สำ�คัญไมส่ มบูรณด์ งั น้นั โครงการจะถูกจ�ำ แนกเปน็ E2F1.1 บนพ้นื ฐานท่ีว่าความเป็นไปได้
ทางเศรษฐกจิ นน้ั เปน็ การ  “คาดการณ”์ โครงการอาจจะถูกกำ�หนดให้เปน็ โครงการทม่ี ีศักยภาพในเชงิ พาณชิ ย์ และ
ควรแสดงและอธบิ ายอยา่ งชดั เจนในเชงิ อรรถ
รปู ที่ ค.3
การเทยี บเคยี ง CRIRSCO Template กบั แกน E-F ของ UNFC-2009 โปรดสงั เกตวา่ “รายการคงคลงั ” ไมใ่ ชศ่ พั ทเ์ ฉพาะ
ใน Template ความสัมพันธ์ระหว่าง Template กับหมวดหมู่แกน G ของ UNFC-2009 แสดงอยู่ในรูปที่ ค.2
สแี ละตวั เลขทง้ั หลายสอดคลอ้ งกับการเทียบเคยี งกบั PRMS (ดู ภาคผนวก ง.) ดังนนั้ จงึ ไม่ได้ใชต้ ัวเลขทกุ ตวั ที่น่ี

ปริมาณสำรองแร ชัน้ ยอ ยของ UNFC-2009
ทรัพยากรแร กำลงั ทำการผลติ
ไดร ับอนุมัตเิ พ่ือการพฒั นา
รายการคงคลงั (ไมไ ดก ำหนดใน Template) ไดรบั พิจารณาเพอ่ื การพฒั นา

อยรู ะหวางรอการพฒั นา
การพัฒนาหยดุ ชะงัก

การพฒั นาไมชดั เจน
การพัฒนาไมม คี วามเปน ไปได
ปริมาณเสริมในแหลง

กรณพี เิ ศษ ผลการสำรวจ
การจำแนกไมอยใู น Template

กรณีทีเ่ กดิ ขึน้ ไดนอย (Less Common)

35

ค. ผลการสำ�รวจ

หากมีการส�ำ รวจแต่ไมก่ า้ วหนา้ เพียงพอส�ำ หรับการประมาณการปรมิ าณของทรพั ยากรแร่ ศพั ท์เฉพาะทวั่ ไปของ
ผลการสำ�รวจจะถูกประยกุ ต์ใชแ้ ทน ผลการส�ำ รวจไมเ่ พียงพอ (ในบรบิ ทของรายงานสาธารณะ ตามทไี่ ดก้ ลา่ วแลว้
ข้างตน้ ) ส�ำ หรบั การก�ำ หนดปรมิ าตร น้ำ�หนัก เกรด หรือคุณภาพของแหล่งแร่ และไม่ควรถกู เรียกว่า ทรพั ยากรแร่
อย่างไรก็ตาม หาก UNFC-2009 ถูกใช้สำ�หรบั วัตถปุ ระสงคอ์ น่ื ปริมาณที่ถกู ประมาณการไว้จะถกู จ�ำ แนกเปน็
E3F3 ซึง่ ปริมาณน้ันสามารถผลิตไดท้ างเทคนิค (หมวดย่อย E3.2, F3) หรือ เปน็ E3F4 ซึ่งไม่มโี ครงการทีม่ คี วาม
เปน็ ไปได้ในการพัฒนาทางเทคนิค หรือการทำ�เหมืองแรไ่ ม่สามารถระบไุ ด้ (หมวดยอ่ ย E3.3)
Template ไมม่ ี หมวดย่อยสำ�หรับผลการสำ�รวจ

36

ภาคผนวก ง.
เอกสารเช่ือมโยงระหวา่ ง PRMS กับ UNFC-2009

1. บทนำ�

เอกสารเชอ่ื มโยง (Bridging Document) อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง UNFC-2009 กบั ระบบการจ�ำ แนกอน่ื ทไ่ี ดร้ บั
การยอมรบั จากกลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการจ�ำ แนกทรพั ยากรวา่ เปน็ ระบบแนวรว่ ม (Aligned System) มกี ารรวมวธิ ี
การใชแ้ ละแนวทางส�ำ หรบั การจ�ำ แนกประมาณการตา่ งๆ ทเ่ี กดิ จากการประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบแนวรว่ มโดยใชร้ หสั ตวั เลขของ
UNFC-2009 เอกสารเชอ่ื มโยงทเ่ี กย่ี วขอ้ งจะตอ้ งถกู ระบเุ มอ่ื มกี ารรายงานประมาณการทใ่ี ชร้ หสั ตวั เลขของ UNFC-2009

ข้อตกลงระยะยาวพร้อมสำ�หรับสมาคมวิศวกรปิโตรเลียม (SPE) ในการจัดหาข้อกำ�หนดเฉพาะรายโภคภัณฑ์
(commodity-specific specifications) ส�ำ หรบั ปโิ ตรเลยี ม ตามขอ้ ตกลงน้ี SPE ไดจ้ ดั หาขอ้ ก�ำ หนดเฉพาะรายโภคภณั ฑ์
โดยใชร้ ะบบการจดั การทรพั ยากรปโิ ตรเลยี ม ปี 2007 (จากนต้ี อ่ ไป จะใชค้ �ำ วา่ “PRMS”)18 พรอ้ มดว้ ยขอ้ ก�ำ หนดทว่ั ไป
ทง้ั หมดนท้ี �ำ ใหเ้ กดิ พน้ื ฐานและแกนหลกั ส�ำ หรบั การประยกุ ตใ์ ช้ UNFC-2009 ส�ำ หรบั ปโิ ตรเลยี มอยา่ งถกู ตอ้ ง

PRMS เป็นอิสระจาก UNFC-2009 และอาจจะใชบ้ งั คบั สำ�หรบั การรายงานในบางขอบเขตอำ�นาจหรือในเฉพาะ
บางสถานการณ์ เอกสารเชื่อมโยงนี้ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับสิ่งที่จำ�เป็นสำ�หรับการรายงานที่ถูกกำ�หนด
หรือในการประยกุ ตใ์ ช้ PRMS อยา่ งอสิ ระ

หากไม่ถูกจำ�กัดด้วยระเบียบ การประยุกต์ใช้ข้อกำ�หนดเฉพาะรายโภคภัณฑ์จะไม่จำ�กัดการใช้ทุกองค์ประกอบ
(full granularity) ของ UNFC-2009 ไมว่ ่าในทางใด

2. ภาพรวมของ PRMS

นิยามและแนวทางของ PRMS ถูกออกแบบให้จัดหาจดุ อา้ งอิงร่วม (common reference) ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรม
ปโิ ตรเลียมระหวา่ งประเทศ ประกอบดว้ ยหนว่ ยงานระดับชาตดิ า้ นการรายงาน และก�ำ กบั ดแู ลการเปดิ เผยข้อมลู
และให้สนบั สนุนสงิ่ ที่จำ�เปน็ ส�ำ หรับโครงการปโิ ตรเลียมและการบริหารแบบพอร์ต (portfolio management) มี
เจตนาปรบั ปรุงความชัดเจนในการสื่อสารท่วั โลกเกีย่ วกับทรพั ยากรปโิ ตรเลียม มีการคาดหวงั ว่า PRMS จะได้
รับการเสริมด้วยโปรแกรมการศึกษาพร้อมแนวทางการประยุกต์ใช้ที่เกี่ยวกับการดำ�เนินการด้านเทคนิคและด้าน
การพาณิชยอ์ ยา่ งกวา้ งๆ เปน็ ที่เขา้ ใจว่านยิ ามและแนวทางตา่ งๆ ของ PRMS ยอมใหผ้ ใู้ ชแ้ ละหน่วยงานต่างๆ
ประยุกต์ใชอ้ ยา่ งยืดหยุน่ ตามความต้องการ อย่างไรก็ตามการปรับเปลยี่ นแนวทางของ PRMS ควรระบอุ ย่าง
ชดั เจน นยิ ามหรือแนวทางใน PRMS ต้องไม่ถกู เขา้ ใจว่าเป็นการปรบั เปลี่ยนการตคี วามหรอื การประยกุ ต์ใช้สิง่ จ�ำ
เปน็ ใดๆ สำ�หรับการก�ำ กบั การรายงานที่มอี ยู่

PRMS เพื่อการกำ�หนดปริมาณสำ�รองและทรัพยากรซึ่งได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ SPE ในเดือน
มีนาคม 2007 ได้ถูกพัฒนาโดยกลุ่มของผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินปริมาณสำ�รองระหว่างประเทศ ซึ่งนำ�โดย
SPE และร่วมสนับสนุนโดยสภาปิโตรเลียมโลก (WPC) สมาคมนักธรณีวิทยาปิโตรเลียมอเมริกา (AAPG) และ


18 ดยู อ่ หน้าที่สอง ในบทที่ 2 “ภาพรวมของ PRMS” ด้วย หารายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี www.spe.org/industry/docs/Petroleum_
Resources_Management_System_2007.pdf

37

สมาคมวศิ วกรประเมนิ ปโิ ตรเลยี ม (SPEE) และตอ่ จากนน้ั ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสมาคมนกั ส�ำ รวจธรณฟี สิ กิ ส์ (SEG)
ในเดอื นพฤศจกิ ายน 2011 ผสู้ นับสนนุ ของ PRMS ได้ตีพิมพ์ “แนวทางส�ำ หรบั การประยุกตใ์ ชร้ ะบบการจัดการ
ทรพั ยากรปิโตรเลียม” เพือ่ ปรบั ปรุงการประยุกต์ใชร้ ะบบ 19

3. การเทยี บเคียงหมวดหมู่ และหมวดย่อย โดยตรง

ก. การประยุกตใ์ ช้ แกน G

แกนความรดู้ า้ นธรณวี ทิ ยา (G) ไดเ้ ทยี บเคยี งโดยตรงกบั ชว่ งความไมแ่ นน่ อน (Uncertainty) ของ PRMS ดงั แสดงในรปู ท่ี ง.1

ตามท่ไี ด้กลา่ วแลว้ ในข้อก�ำ หนดทวั่ ไป หากปริมาณใดถูกแสดงอยู่ในหมวดหมู่ G4 โดยไม่มีการแบง่ หมวดย่อยแล้ว
จะต้องแจ้งผลรวมของหมวดย่อย G4.1 กับ G4.2 สิ่งนี้เทียบเท่าได้กับประมาณการดีที่สุดสำ�หรับทรัพยากร
ทคี่ าดหวงั (Best Estimate for Prospective Resources) ภายใต้ PRMS

รูปที่ ง.1
การเทียบเคียงหมวดหมชู่ ว่ งความไม่แนน่ อนของ PRMS กบั แกน G20 ของ UNFC-200920 หมายเหต:ุ scenario
method บางทอี าจถกู อา้ งองิ เป็น cumulative method ดว้ ย

หมวดหมขู่ อง PRMS หมวดหม่ขู อง
UNFC-2009

ท ัรพยากร ท ัรพยากรที่ยัง ปริมาณ ำส�รอง ป ิรมาณ ำส�รอง พสิ ูจนแ์ ลว้ (Proved) G1
ี่ทคาดหวัง ไม่พ ้รอมผ ิลต (Scenario) (Increment)
คาดว่าจะมี (Probable) G2

นา่ จะมี (Possible) G3

พสิ ูจนแ์ ลว้ G1

พิสูจน์แล้ว+คาดว่าจะมี (2P) G1+G2

พสิ ูจนแ์ ลว้ +คาดวา่ จะม+ี น่าจะมี (3P) G1+G2+G3

ประมาณการต�ำ่ (1C) G1

ประมาณการดที ี่สุด (2C) G1+G2

ประมาณการสงู (3C) G1+G2+G3

ประมาณการต�ำ่ G4.1

ประมาณการดที ่ีสดุ G4.1+G4.2 (=G4)
ประมาณการสูง G4.1+G4.2+G4.3


19 Available at: http://www.spe.org/industry/docs/PRMS_Guidelines_Nov2011.pdf.
20 การรวมของหมวดหมู่ (หรอื หมวดย่อย) แกน G เช่น G1+G2 แสดงเพ่อื เปน็ ตัวอย่างเท่านั้น ในทางปฏบิ ตั จิ ะรวมกบั หมวดหมู่
(หรอื หมวดย่อย) แกน E และ F และบนั ทกึ เปน็ ชน้ั ในรปู แบบตัวอย่าง เช่น 111+112

38


Click to View FlipBook Version