The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรอบการจำแนกปริมาณสำรองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ 2009 ของสหประชาชาติ
และข้อกำหนดร่วมสำหรับการประยุกต์ใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kkpracha, 2019-09-17 01:23:43

กรอบการจำแนก 2009 ของสหประชาชาติ

กรอบการจำแนกปริมาณสำรองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ 2009 ของสหประชาชาติ
และข้อกำหนดร่วมสำหรับการประยุกต์ใช้

Keywords: UNFC 2009,ปริมาณสำรอง,พลังงาน,แร่

ข. การเทียบเคยี งแกน E และแกน F อย่างละเอยี ด

วิธีเทยี บเคียงทต่ี รงและเปน็ เอกภาพ ของหมวดหม่คู วามไม่แน่นอนของ PRMS กบั แกน G ท�ำ ใหส้ ามารถเทียบ
เคยี งชน้ั ย่อยความสมบูรณ์ของโครงการ (Project Maturity Sub-class) ของ PRMS กบั รูปแบบแมทรกิ ซ์ (matrix)
จากแกนความเปน็ ไปไดท้ างเศรษฐกจิ และสงั คม (E) และแกนสถานภาพและความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ (F) รปู ท่ี ง.2
แสดงการเทยี บเคยี งเม่อื ช้นั ยอ่ ยที่เปน็ ทางเลือกไมไ่ ดถ้ กู ใช้ สว่ นรูปที่ ง.3 แสดงการเทียบเคยี งแมทรกิ ซ์ของหมวด
ยอ่ ย E-F กบั หมวดย่อยความสมบูรณ์ของโครงการของ PRMS ด้วยรหสั สีและตวั เลข โปรดสงั เกตวา่ หมวดหมู่ E
และ F ต้ังคา่ มาตรฐานขัน้ ต่ำ�ส�ำ หรับช้นั ของ UNFC-2009 ตวั อยา่ งเช่น โครงการท่มี ีศกั ยภาพเชงิ พาณิชย์ ต้องเป็น
อยา่ งนอ้ ย E2 และ F2 แตส่ ามารถเปน็ E1F2 หรือ E2F1 ได้ด้วย

รูปที่ ง.2
การเทียบเคียง PRMS กบั ชั้นและหมวดหมู่ของ UNFC-2009 ดูย่อหน้าที่ผ่านมาเพอื่ อธบิ าย คำ�ว่า “ขั้นตำ�่ ”
ทรพั ยากรทพ่ี บแลว้ แตย่ งั ไมพ่ รอ้ มผลติ (Contingent Resources) ของ PRMS จะถกู แบง่ ยอ่ ยใน UNFC-2009 ระหวา่ ง
โครงการทม่ี ีศักยภาพเชิงพาณชิ ย์ กบั โครงการทไ่ี มค่ มุ้ ค่าเชิงพาณชิ ยเ์ สมอ ขน้ึ อย่กู บั การแยกระหว่างหมวดหมู่ E2
และ E3 ปรมิ าณทีไ่ มจ่ ำ�หน่ายจะถูกจ�ำ แนกเป็น E3 ใน UNFC-2009 เสมอ ดเู นอ้ื หาส�ำ หรบั รายละเอียดเพ่มิ เติม

ชนั้ ของ PRMS หมวดหมู่ “ขั้นตำ่�“ ช้ันของ
ของ UNFC-2009 UNFC-2009

ปริมาณสำ�รอง E1 F1 G1, G2, G3 โครงการคุ้มค่า
เชิงพาณชิ ย์

ค้นพบแ ้ลว ทรพั ยากร E2 F2 G1, G2, G3 โครงการทีม่ ศี ักยภาพคมุ้
ทย่ี ังไมพ่ รอ้ มผลติ ค่าเชงิ พาณิชย์

(Contingent E3 F2 G1, G2, G3 โครงการไมค่ มุ้ ค่าเชงิ
Resources) พาณชิ ย์

ผลิตไมไ่ ด้ E3 F4 G1, G2, G3 เสริมในแหลง่ a

ยังไ ่มพบ ทรพั ยากรทคี่ าดหวัง E3 F3 G4 โครงการสำ�รวจ

(Prospective Resources)

ผลิตไมไ่ ด้ E3 F4 G4 เสรมิ ในแหลง่ a

a ปริมาณเสรมิ ในแหล่งรวมกับแหลง่ ทีพ่ บ (ส�ำ รวจพบแล้ว) และแหลง่ ศกั ยภาพ (ยงั สำ�รวจไม่พบ)

ตามทแ่ี สดงในรปู ท่ีง.3มจี �ำ นวนชอ่ งมากมายในแมทรกิ ซ์E-Fทจ่ี ดั เปน็ พวกทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดน้ อ้ ย(LessCommon Mappings)
มหี ลายชอ่ งที่เกิดจากการเทียบเคียงโดยการรวมกนั ของ E-F ซ่งึ ท่วั ไปไมค่ าดว่าจะเกิดขนึ้ แตย่ งั คงเปน็ ไปได้ หรือมี
ความไม่สม�่ำ เสมอทางตรรกวทิ ยาในระดับความสมบรู ณ์ของโครงการและสงั คม-เศรษฐกจิ การจ�ำ แนกช่องต่างๆ
เปน็ พวก Less Common ในเอกสารนีไ้ มไ่ ด้ขัดต่อการใช้ใน UNFC-2009 แตป่ รมิ าณต้องถูกเทยี บเคยี งกบั PRMS
เปน็ รายกรณไี ปเพ่ือให้มัน่ ใจเตม็ ทวี่ า่ ถกู ต้องตรงตามนิยาม โดยทัว่ ไปโครงการไมส่ ามารถถูกชว้ี ่าเขา้ เกณฑ์สังคม
และเศรษฐกิจ จนกว่าจะมคี วามกา้ วหนา้ เพียงพอในการระบุระดบั ความสมบูรณ์ทางเทคนคิ

39

รปู ท่ี ง.3
การเทยี บเคยี งของแมทรกิ ซ์ E-F กบั ชน้ั ยอ่ ยความสมบรู ณข์ องโครงการ (Project Maturity Sub-class) ของ PRMS
ดว้ ยรหสั สแี ละตวั เลข ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง PRMS กบั หมวดหมแู่ กน G ของ UNFC-2009 แสดงอยใู่ นรปู ท่ี ง.1
หมายเหตุ: 12 ใน PRMS กรณีได้รับอนุญาตโดยระเบียบ เชือ้ เพลงิ ทีใ่ ชใ้ นกระบวนการผลิต (Lease fuel) (แตไ่ ม่ใช่
ปริมาณไมจ่ ำ�หน่าย E3.1 อนื่ ใด) สามารถรวมเข้ากับปรมิ าณสำ�รองได้ และควรแยกรายงานจากปรมิ าณจ�ำ หนา่ ย
ดรู ายละเอยี ดในบทท่ี 4.ก ของเอกสารเชอ่ื มโยงน้ี

ปริมาณ กำลังทำการผลิต
สำรอง
ไดร ับการอนมุ ตั ิสำหรับการพัฒนา
ไดร บั การพจิ ารณาสำหรบั การพัฒนา

คนพบแลว ท ัรพยากร อยรู ะหวางรอการพฒั นา
ที่ยังไมพรอมผลิต
การพัฒนาไมช ดั เจน หยุดชะงัก
หรือหยดุ ชะงัก ไมช ดั เจน

การพฒั นาไมม คี วามเปน ไปได

ไมสามารถผลิตได

ยังไมพบ Prospect
ทรัพยากร
่ทีคาดห ัวง Lead

Play
ไมส ามารถผลติ ได

กรณพี ิเศษ กำหนดไว แตไ มจำแนกใน PRMS
กรณีทีเ่ กิดขึ้นไดน อ ย (Less Common)

อย่างไรก็ตาม ในสถานการณจ์ �ำ เพาะโครงการหนึ่งอาจถกู มองวา่ มคี วามเป็นไปได้เชงิ พาณชิ ย์อย่างชัดเจน (E1.1)
เชน่ แหล่งคน้ พบน้ำ�มันขนาดใหญ่มากในพ้ืนทไี่ ฮโดรคาร์บอนท่สี มบูรณ์ ถงึ แม้วา่ กำ�ลงั อย่ใู นระหว่างการประเมนิ
เพอ่ื ท�ำ แผนพฒั นาใหเ้ หมาะสม (F2.1) โครงการแบบนย้ี งั คงถกู จ�ำ แนกเปน็ โครงการทม่ี ศี กั ยภาพเชงิ พาณชิ ยภ์ ายใต้
UNFC-2009 และเป็นทรพั ยากรท่ยี ังไม่พร้อมผลติ ภายใต้ PRMS

40

ชน้ั ย่อยความสมบูรณข์ องโครงการของ PRMS สว่ นใหญ่เทยี บเคียงได้กบั มากกว่าหนึง่ ตำ�แหน่งในแมทริกซ์ E-F
ตามทแ่ี สดงไวใ้ นรปู ท่ี ง.3 บทท่ี 4 ของเอกสารเชอ่ื มโยงนอ้ี ธบิ ายวธิ กี ารก�ำ หนดปรมิ าณในชน้ั ยอ่ ยของ PRMS เหลา่ น้ี
ลงในชน้ั ยอ่ ยทถ่ี กู ตอ้ งของ UNFC-2009 มีบางปรมิ าณถกู ระบุอย่ใู น UNFC-2009 แต่ไมถ่ ูกรวมอยู่ในทรัพยากร
ของ PRMS ถงึ แมจ้ ะเปน็ สว่ นหนงึ่ ของโภคภัณฑร์ วมในแหลง่ ตง้ั แตแ่ รก ปญั หาน้ถี กู กลา่ วถงึ ในบทท่ี 5 ของเอกสาร
เชอ่ื มโยงน้ี

มสี ช่ี อ่ งในแมทรกิ ซ์ E-F ทเ่ี ทยี บเคยี งโดยตรงและสอดคลอ้ งลงตวั กบั ชน้ั ความสมบรู ณข์ องโครงการ (Project Maturity
Classes) ของ PRMS ชอ่ งเหลา่ น้ีสมั พันธก์ ับโครงการส�ำ รวจ (ทรพั ยากรทคี่ าดหวังใน PRMS) และปรมิ าณเสรมิ
ในแหล่ง (ไมส่ ามารถผลติ ได้ใน PRMS)

ค. ความคาดหวังการสำ�รวจ (Exploration prospects)

ข้อก�ำ หนดทั่วไปของ UNFC-2009 นยิ ามหมวดยอ่ ยสำ�หรับแกน F ทเี่ ทียบเคยี งโดยตรงกับชั้นย่อยความสมบูรณ์
ของโครงการของ PRMS ส�ำ หรบั ทรพั ยากรท่ีคาดหวงั UNFC-2009 บังคบั ให้ใช้หมวดยอ่ ย E3.2 และ G4 ในการ
จำ�แนกโครงการส�ำ รวจ รูปท่ี ง.4 แสดงการเทยี บเคียงเตม็ รปู แบบของ UNFC-2009 กบั PRMS ส�ำ หรับโครงการ
ส�ำ รวจ และทรพั ยากรที่คาดหวงั

รปู ที่ ง.4
การเทียบเคียง โครงการส�ำ รวจของ UNFC-2009 กับทรัพยากรท่ีคาดหวังของ PRMS

ท ัรพยากร Prospect ประมาณการต�่ำ ประมาณการดีทีส่ ดุ ประมาณการสงู
ที่คาดหวัง E3.2, F3.1, G4.1 E3.2, F3.1, G4.1+G4.2 E3.2, F3.1, G4.1+G4.2+G4.3

Lead E3.2, F3.2, G4.1 E3.2, F3.2, G4.1+G4.2 E3.2, F3.2, G4.1+G4.2+G4.3

Play E3.2, F3.3, G4.1 E3.2, F3.3, G4.1+G4.2 E3.2, F3.3, G4.1+G4.2+G4.3

ง. ปริมาณเสริมในแหลง่ (Additional Quantities in Place)

ในบรบิ ทของปโิ ตรเลยี ม ปริมาณเสริมในแหลง่ ภายใต้ UNFC-2009 สอดคล้องกับปรมิ าณต่างๆ ทถ่ี ูกจ�ำ แนกเป็น
ปรมิ าณทไ่ี ม่สามารถผลิตได้ ทอี่ ย่ใู นทรัพยากรทพ่ี บแลว้ และยงั ไมพ่ บ ภายในแมทริกซ์ E-F ปรมิ าณเสรมิ ในแหลง่
อยบู่ ริเวณจุดตดั ของหมวดหมู่ E3.3 กับ F4 เหลา่ นี้ถูกเทียบเคียงกบั ชั้นไม่สามารถผลิตได้ใน PRMS

PRMS มชี นั้ ไม่สามารถผลติ ได้จำ�นวนสองช้นั ช้นั แรกแทนปริมาณทไ่ี มส่ ามารถผลติ ได้ รวมกบั ทรพั ยากรที่พบแลว้
และชนั้ ท่สี องแทนปริมาณท่ไี มส่ ามารถผลิตได้รวมกับทรพั ยากรที่ยังไมพ่ บ ใน UNFC-2009 ความไม่แน่นอนทาง
ธรณวี ิทยาส�ำ หรับปรมิ าณท่พี บแลว้ ถกู ระบโุ ดยใช้หมวดหมู่ G1 ถงึ G3 ในขณะทค่ี วามไม่แน่นอนทางธรณีวทิ ยา
ส�ำ หรบั ปรมิ าณทย่ี งั ไมพ่ บถกู ระบโุ ดยใชห้ มวดหม ู่  G4 ดงั นน้ั จงึ เปน็ ไปไดท้ จ่ี ะมกี ารเทยี บเคยี งทเ่ี ปน็ เอกภาพระหวา่ ง
ระบบตามทแ่ี สดงในรปู ท่ี ง.5

41

รูปที่ ง.5
การเทยี บเคียง ปรมิ าณเสรมิ ในแหล่งของ UNFC-2009 กับทรัพยากรที่ไมส่ ามารถผลติ ได้ของ PRMS

ประมาณการตำ่� ประมาณการดที ่สี ุด ประมาณการสูง

ไม่สามารถผลิตไ ้ด พบแล้ว E3.3, F4, G1 E3.3, F4, G1+G2 E3.3, F4, G1+G2+G3

ยงั ไมพ่ บ E3.3, F4, G4.1 E3.3, F4, G4.1+G4.2 E3.3, F4, G4.1+G4.2+G4.3

4. การแบง่ ยอ่ ยช้ันความสมบรู ณข์ องโครงการของ PRMS
เพ่ือการแบง่ หมวดยอ่ ยของ UNFC-2009

เนอ่ื งจาก UNFC-2009 มีองคป์ ระกอบ (granularity) มากกว่า PRMS ทำ�ให้คาดได้วา่ จะตอ้ งมหี ลายกรณีทช่ี น้ั ยอ่ ย
ความสมบรู ณ์โครงการของ PRMS จะสามารถท�ำ ให้เกดิ การรวมกนั อยา่ งหลากหลายของหมวดย่อยของ UNFC-
2009 แสดงหลกั ฐานไว้ในรูปที่ ค.3 นอกจากนช้ี ้นั ยอ่ ยของ PRMS หน่ึงชั้นยังสามารถแบ่งยอ่ ยออกเป็นสองชน้ั
ยอ่ ยของ UNFC-2009 เกณฑท์ ี่ใชใ้ นการแบง่ ชัน้ ย่อยของ PRMS เพอ่ื ใชป้ ระโยชนเ์ ต็มความสามารถของ UNFC-
2009 ได้กลา่ วไวใ้ นอีกสองบทตอ่ ไปส�ำ หรับโครงการคมุ้ คา่ เชงิ พาณิชย์ (เทยี บเทา่ กับโครงการทีม่ ปี ริมาณส�ำ รอง)
และโครงการที่มีศักยภาพเชิงพาณชิ ย์ และโครงการไมค่ มุ้ คา่ เชิงพาณิชย์ (เทยี บเท่ากบั โครงการท่มี ีทรัพยากรทยี่ ัง
ไมพ่ ร้อมผลติ )

ก. การจัดหมวดย่อยโครงการคุ้มคา่ เชงิ พาณชิ ย์

ช้นั ย่อยความสมบรู ณ์ของโครงการสำ�หรบั ปรมิ าณสำ�รองของ PRMS เทยี บเคียงได้โดยตรงกบั หมวดยอ่ ย F1.1
ถงึ F1.3 บนแกน F ของ UNFC-2009 แต่เทยี บเคียงได้กบั หมวดย่อย E1.1, E1.2 หรือ E3.1 บนแกน E ดว้ ย

การแบง่ ยอ่ ยของปรมิ าณระหวา่ ง E1.1 และ E1.2 ส�ำ หรับหมวดหมูป่ รมิ าณส�ำ รองของ PRMS สำ�เร็จได้โดยท�ำ
ตามนิยามของหมวดย่อย ปรมิ าณทผ่ี ลิตและจำ�หน่ายไดค้ ุ้มคา่ บนพืน้ ฐานของเงอื่ นไขตลาดปัจจุบนั และเงอื่ นไข
สมมตฐิ านทเ่ี หมอื นจรงิ ของตลาดอนาคตถกู จ�ำ แนกเปน็ E1.1 ปรมิ าณทผ่ี ลติ และจ�ำ หนา่ ยไดไ้ มค่ มุ้ คา่ บนพน้ื ฐาน
ของเงื่อนไขตลาดปัจจบุ ัน และเง่อื นไขสมมติฐานทเ่ี หมอื นจรงิ ของตลาดอนาคต แตท่ ำ�ให้เปน็ ไปไดด้ ้วยการ
อดุ หนุนของรัฐบาล และ/หรือ การพิจารณาอนื่ ๆ ถกู จ�ำ แนกเป็น E1.2

PRMS แนะน�ำ ไว้วา่ “Lease fuel ควรถกู จัดการเหมอื นการหดตัว และไมร่ วมในปริมาณทจ่ี ำ�หนา่ ยได้ หรอื ประมาณ
การทรพั ยากร” อย่างไรก็ตาม PRMS กล่าวว่าหากมกี ารรายงาน Lease fuel เปน็ ปรมิ าณส�ำ รอง (ซึ่งอนญุ าตภาย
ใตบ้ างกฎระเบยี บ) มันต้องถกู รายงานแยกจากปริมาณที่จำ�หน่ายได้ PRMS ตง้ั ข้อสังเกตไวด้ ้วยว่าปรมิ าณท่ีไม่
จ�ำ หนา่ ยท้ังหมด (lease fuel, flare, and losses)) อาจจะระบุแยก และบนั ทึกเสรมิ ในปรมิ าณจำ�หน่ายได้

42

UNFC-2009 เป็นตัวแทนอย่างสมบูรณ์ของโภคภัณฑ์รวมในแหล่งตั้งแต่แรก แต่ไม่ยอมรับว่าเชื้อเพลิงที่ใช้ใน
กระบวนการผลิต (lease fuel) เป็นสว่ นหนง่ึ ของโครงการคมุ้ คา่ เชิงพาณชิ ย์ ภายใต้ UNFC-2009 lease fuel (บวก
flare และ losses) ถูกแยกรายงานจากปรมิ าณท่ีจำ�หน่ายได้ ปริมาณเหลา่ นี้ (lease fuel, flare และ losses) ถกู
จำ�แนกไว้ในหมวดย่อย E3.1 เปน็ ไม่จำ�หนา่ ย หมวดย่อยโครงการ (แกน F) จะเหมือนกับว่ารวมกบั ปริมาณตา่ งๆ
ทีก่ ำ�ลังผลติ และจ�ำ หน่ายจากโครงการน้ัน ระดับของความไมแ่ น่นอนทางธรณวี ทิ ยาจะเหมอื นกับสะทอ้ นความไม่
แน่นอนของโครงการ เมอื่ เทียบเคียงปริมาตรจากหมวดย่อย E3.1 ของ UNFC-2009 กับ PRMS ต้องคอยแยก
ปรมิ าณเหลา่ นอ้ี อกจากปรมิ าณส�ำ รอง หรอื หากเหมาะสม ก�ำ หนดเฉพาะ lease fuel เขา้ ในหมวดหมปู่ รมิ าณส�ำ รอง
และในกรณีแบบนตี้ ้องบนั ทึกแยกจากปรมิ าณท่จี �ำ หน่าย flare และ losses ถูกกำ�หนดโดย PRMS แต่ไมไ่ ด้จัด
หมวดหมอู่ ยา่ งชดั เจน แตก่ ารปฏบิ ตั ทิ ด่ี คี อื รกั ษาการบนั ทกึ ของปรมิ าณตา่ งๆ ทอ่ี ยนู่ อกเหนอื จากการจดั หมวดหมู่

ข. การจัดหมวดยอ่ ยโครงการทีม่ ีศักยภาพคุม้ ค่าเชิงพาณชิ ย์ และโครงการไม่คมุ้ คา่ เชิงพาณิชย์

การเทียบเคียงของโครงการทมี่ ศี กั ยภาพคุม้ ค่าเชิงพาณชิ ย์ และโครงการไม่คมุ้ ค่าเชิงพาณชิ ย์ กับทรพั ยากรทยี่ งั
ไมพ่ ร้อมผลิตของ PRMS มคี วามซับซอ้ นมากขนึ้ เล็กนอ้ ยตามความต้องการของแต่ละโครงการที่ต้องการทบทวน
ระดบั ความสมบูรณข์ องเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
ชัน้ ยอ่ ยความสมบูรณ์ของโครงการของ PRMS กับชนั้ ยอ่ ยของ UNFC-2009 มีความเชือ่ มโยงกนั อย่างใกล้ชดิ
ตามที่แสดงในรปู ที่ ง.6 โปรดสงั เกตวา่ หมวดยอ่ ยกำ�หนดมาตรฐานขั้นต่ำ�สำ�หรับช้นั ย่อยของ UNFC-2009 ยก
ตวั อยา่ งเชน่ การรอการพัฒนาอยา่ งน้อยตอ้ ง E2 และ F2.1 และไม่สามารถเท่ากบั E3 หรือ F2.2 (หรือตำ่�กว่า) ใน
ทางตรงกันข้ามมันสามารถเปน็ E1F2.1 หรอื E2F1.3
รูปท่ี ง.6
การเทียบเคยี งช้นั ยอ่ ยทรัพยากรท่ยี งั ไม่พรอ้ มผลิตของ PRMS กับ ชัน้ ยอ่ ย โดยใชห้ มวดหมู่และหมวดยอ่ ยแกน E
และ F ของ UNFC-2009 ดยู ่อหนา้ ต่อไปสำ�หรบั ค�ำ อธิบายค�ำ ว่า “ข้ันตำ่�”

ชัน้ ย่อยของ PRMS หมวดหมู่ หมวดย่อย ช้นั ยอ่ ยของ
“ขน้ั ตำ�่ “ หรอื “ขน้ั ตำ่�“ ของ UNFC-2009
รอการพฒั นา หมวดยอ่ ยของ
แกน F รอการพฒั นา
การพฒั นา แกน E
ไม่ชัดเจน หรอื การพฒั นา
ทรัพยากร ่ที ัยงไ ่มพร้อมผ ิลต E2 F2.1 หยดุ ชะงัก
หยุดชะงกั การพัฒนา
E2 F2.2 ไม่ชดั เจน
การพฒั นาไม่มี การพฒั นาไม่มี
ความเปน็ ไปได้ E3.2 F2.2 ความเปน็ ไปได้

E3.3 F2.3

43

การเทียบเคียงช้นั ย่อยท้งั สามของ PRMS กับหมวดหมแู่ ละหมวดย่อยของ UNFC-2009 จะต้องด�ำ เนนิ การตาม
แนวทางตอ่ ไปนี้
โครงการท่ีรอการพฒั นาอยา่ งน้อยตอ้ งเป็นไปตามนยิ ามของท้งั F2.1 และ E2 แตส่ ามารถเป็นได้ทงั้ หมวดย่อย
F1.3 หรอื F2.1 ขึ้นอยูก่ ับระดบั ของความเปน็ ไปได้ทางเทคนคิ โครงการทม่ี ีสง่ิ จ�ำ เปน็ ทางเทคนคิ ครบถว้ นแตไ่ ม่
บรรลขุ อ้ จำ�กดั ทางเศรษฐกจิ ปจั จุบันจะถกู จัดเปน็ หมวดยอ่ ย F1.3 นอกจากนี้โครงการที่ยังคงมปี ญั หาทางเทคนิค
ทีต่ อ้ งแกไ้ ขจะถกู จดั เป็นหมวดย่อย F2.1 แต่ถ้าไมม่ ขี ้อสงสัยเก่ยี วกับความเป็นไปไดท้ างการค้าก็สามารถจดั เป็น
E1.1 ได้
หมวดย่อย E1.2 โดยท่ัวไปไมค่ าดว่าจะรวมอยกู่ ับโครงการทีถ่ กู จ�ำ แนกว่ากำ�ลังรอการพัฒนาใน PRMS เหตุผล
ส�ำ หรับกรณนี ี้คือตอ้ งไม่มีข้อสงสยั เกีย่ วกับความเป็นไปได้ทางการคา้ (ตามทีก่ ล่าวในย่อหน้ากอ่ น) แต่ไม่นา่ จะ
เป็นกรณที อี่ ยใู่ นชว่ งเวลา (เมือ่ โครงการยังคงอยภู่ ายใต้การประเมนิ ) ท่ีตอ้ งการการอดุ หนุน21
PRMS มีชั้นย่อยเพยี งชั้นเดียวคือ “การพฒั นาไม่ชดั เจน หรอื หยุดชะงัก” ซง่ึ สอดคล้องกับชน้ั ย่อยสองชนั้ ใน
UNFC-2009 ตามรปู ที่ ค.5 ดังนน้ั ต้องระมัดระวงั เพ่ือให้มน่ั ใจวา่ ไดท้ �ำ การแยกทเ่ี หมาะสมตามนิยามหมวดย่อย
ของ UNFC-2009 เพอ่ื ให้โครงการถกู ก�ำ หนดไวใ้ นชั้นย่อยของ UNFC-2009 ท่ีถูกตอ้ ง
โครงการทีห่ ยุดชะงักกเ็ หมือนกบั โครงการที่รอการพฒั นา แต่ความกา้ วหนา้ ทางการค้าถูกควบคมุ ด้วยกิจกรรมที่
อาจจะ หรอื อาจจะไม่ อย่นู อกเหนอื การควบคุมของผปู้ ระเมิน โครงการที่หยดุ ชะงกั ถกู จำ�แนกเป็น E2F2.2 เพอ่ื
สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ โอกาสทางการค้าแต่ต้องค�ำ นึงถึงการขาดความก้าวหนา้ ของกจิ กรรมในปัจจบุ นั
โครงการที่ไม่ชัดเจนคือโครงการที่มีหลักฐานไม่เพียงพอที่จะสรุปได้ว่ามีการคาดการณ์ท่ีสมเหตุสมผลสำ�หรับการ
ผลติ ทค่ี มุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ ในท่ีสดุ โดยทว่ั ไปเกิดจากการขาดข้อมลู ส�ำ หรับการประเมิน หรือท�ำ การประเมินใน
ช่วงต้นๆของโครงการ โครงการถกู จดั เป็นหมวดย่อย E.32 และ F1.3, F2.1 หรือ F2.2 ตามระดับความสมบูรณ์
ทางเทคนคิ โครงการท่มี สี ิง่ จำ�เป็นทางเทคนิคครบถ้วนแตไ่ ม่บรรลุข้อจำ�กดั เชงิ พาณิชย์ถกู จัดเป็นหมวดยอ่ ย F1.3
โครงการทยี่ ังคงมปี ัญหาทางเทคนิคและปญั หาทางการค้าที่ตอ้ งแกไ้ ขจะถกู จัดเป็นหมวดยอ่ ย F2.1 ถ้ากิจกรรม
ต่างๆ หยุดชะงกั หรอื การประเมินยังไม่สมบูรณ์ โครงการจะถูกจัดเปน็ หมวดยอ่ ย F2.2
โครงการทก่ี ารพฒั นาเปน็ ไปไมไ่ ด้ เปน็ โครงการทม่ี คี วามเปน็ ไปไดท้ างเทคนคิ (ขน้ึ อยกู่ บั เทคโนโลยที ม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั
หรอื อยรู่ ะหวา่ งการพฒั นา) แตถ่ กู ประเมนิ วา่ มศี กั ยภาพไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะรบั ประกนั การเกบ็ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ใดๆ หรอื
ความพยายามโดยตรงใดๆ ในการก�ำ จดั ภาระผกู พนั ทางการคา้ ในขณะนน้ั ในกรณีเชน่ นี้จะชว่ ยไดม้ ากในการระบุ
และบนั ทกึ ปรมิ าณเหลา่ นใ้ี หเ้ ป็นส่วนหน่ึงของกลุ่ม (portfolio) ซ่งึ จะทำ�ให้ศกั ยภาพสำ�หรบั โอกาสในการพัฒนา
ทางการค้าเป็นที่ยอมรับในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำ�คัญของเงื่อนไขทางการค้า โครงการถูกพิจารณาว่า
ไม่มีศักยภาพสำ�หรับการพัฒนาเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้ายในวันที่มีผล ดังนั้นจึงสอดคล้องกับหมวดย่อย E3.3 ใน
UNFC-2009 โดยทัว่ ไปโครงการจะไมส่ มบูรณท์ างเทคนิคเน่ืองจากขาดศักยภาพและจะถกู จดั เปน็ หมวดยอ่ ย F2.3
อย่างไรกต็ ามน่อี าจเปน็ สถานการณ์ทจ่ี ะยกเป็นตวั อยา่ ง เช่น โครงการมคี วามสมบรู ณ์ถึง F1.3 แต่สถานการณ์
ทางการค้ามกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรนุ แรง


21แมว้ ่าการรวมของหมวดยอ่ ย E และ หมวดยอ่ ย F นีถ้ ูกพิจารณาวา่ ไมน่ า่ จะเกดิ ข้นึ แต่มันไม่มีขอ้ หา้ ม และแต่ละกรณีตอ้ งถกู
ทบทวนในแงข่ องสถานการณท์ ่ีเกย่ี วข้อง

44

5. การระบปุ รมิ าณตา่ งๆ ทถี่ ูกกำ�หนดไว้ แต่ไมถ่ ูกจ�ำ แนกใน PRMS

ดงั ที่กลา่ วไดข้ า้ งต้น PRMS กำ�หนดว่าปริมาณทไ่ี มจ่ �ำ หนา่ ยทัง้ หมด (lease fuel, flare และ losses) อาจแยก
พิจารณาและบนั ทกึ เสริมลงในปริมาณสำ�หรับจำ�หน่าย หากต้องการแยกระหว่าง lease fuel, flare และ losses
ใน UNFC-2009 ปริมาณที่ไม่จำ�หน่ายแต่ละประเภทควรจะถูกพิจารณาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างชนิดกัน (ดูข้อกำ�หนด
ทั่วไป ค) และแยกการรายงาน

6. รายละเอยี ดของสถานภาพปริมาณสำ�รองใน PRMS

ภายใต้ PRMS ปรมิ าณตา่ งๆ ทถ่ี ูกจำ�แนกเป็นปริมาณสำ�รองอาจจะอยใู่ นกลมุ่ ย่อยตอ่ ไปน้ี ขึน้ อย่กู บั สถานภาพ
เงินทุน ความพร้อมของหลุมผลติ และอปุ กรณก์ ารผลิตในแผนการพัฒนาช้นั กกั เก็บปิโตรเลยี ม

• ปริมาณสำ�รองทพ่ี ฒั นาแลว้ คอื ปริมาณท่คี าดวา่ จะผลติ ได้จากหลมุ เจาะและอุปกรณก์ ารผลิต

ทมี่ อี ย่แู ล้ว

o ปริมาณส�ำ รองท่กี �ำ ลงั ผลิต คอื ปโิ ตรเลียมทีจ่ ะผลติ ไดจ้ ากชน้ั กกั เกบ็ ทกี่ �ำ ลังผลติ อยู่

หรือพร้อมผลติ ณ เวลาท่ีประเมิน

o ปริมาณส�ำ รองทไี่ มผ่ ลิต รวมถงึ ปิโตรเลียมท่ีอยูใ่ นชั้นที่หยุดผลิต (shut-in)

หรอื ยังไม่เจาะท่อกรุ (behind-pipe)

• ปรมิ าณส�ำ รองทยี่ งั ไม่ได้พัฒนา คือปริมาณท่คี าดว่าจะผลติ โดยการลงทนุ ในอนาคต

ด้วยเป็นระบบท่ัวไป UNFC-2009 ไม่มีหมวดย่อยเสรมิ ที่สอดคล้องกบั การแบง่ ยอ่ ยปริมาณส�ำ รองของ PRMS
นอกจากน้ี UNFC-2009 ไมใ่ ช้ศัพทเ์ ฉพาะคำ�ว่า ปริมาณส�ำ รอง

อย่างไรกต็ ามเป็นท่ียอมรบั วา่ อาจมปี ระโยชน์ในระดับท่วั ไปทจ่ี ะสะท้อนเงนิ ทนุ และสถานภาพการดำ�เนินงานของ
หลุมเจาะและสง่ิ อำ�นวยความสะดวกทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการรายงานปริมาณปิโตรเลียมโดยใช้ UNFC-2009 ในกรณี
เชน่ นี้ปรมิ าณตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกับชัน้ (หรอื ชนั้ ยอ่ ย) ของ UNFC-2009 อาจจะถูกรายงานอยา่ งสอดคลอ้ งกับการ
แบ่งยอ่ ยเหลา่ นี้ ซ่งึ ในทกุ กรณปี ริมาณท่รี วมกันแลว้ จะถูกรายงานพร้อมกบั รหสั ตัวเลขทเี่ หมาะสมส�ำ หรับชน้ั และ
ชัน้ ย่อยของ UNFC-2009

แต่ละสถานภาพปรมิ าณส�ำ รองทีแ่ บง่ ยอ่ ย อาจใชอ้ ักษรยอ่ ตามทร่ี ะบขุ ้างล่าง แต่ชือ่ เต็ม (ไมร่ วมคำ�ว่า ปรมิ าณ
สำ�รอง) จะแสดงอยู่ (เชน่ เปน็ เชงิ อรรถ) ร่วมกับปรมิ าณทีร่ ายงานเสมอ ชอ่ื เตม็ และอักษรยอ่ ท่ีเปน็ ทีย่ อมรับคอื
DP: ปรมิ าณสำ�รองที่กำ�ลงั ผลิต (Developed Producing)
DNP: ปริมาณสำ�รองท่ไี ม่ผลติ (Developed Non-Producing)
U: ปรมิ าณส�ำ รองทย่ี งั ไมไ่ ดพ้ ฒั นา (Undeveloped)
ชื่อของการแบ่งย่อยและอักษรย่อเหล่านี้ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของรหัสตัวเลขของ UNFC-2009 และควรใส่ไว้ใน
วงเลบ็ หลงั รหัสตวั เลข หรอื ใส่ท้งั หมดแยกไว้ในสว่ นทอ่ี ยู่ใกลก้ ับรหสั ตวั เลข

45

ภาคผนวก จ.
แนวทางส�ำ หรบั การใชค้ วามสมบูรณข์ องโครงการในการ

จำ�แนกย่อยโครงการ โดยใช้ UNFC-200922

UNFC-2009 ให้กรอบสำ�หรับการจำ�แนกย่อยโครงการโดยการประยุกต์ใช้นิยามของหมวดย่อยทั้งหมด23 การ
ประยุกต์ใช้องค์ประกอบ (granularity) ระดับนี้ของระบบเป็นทางเลือก แม้ว่าจะเป็นที่ยอมรับกว้างขึ้นว่าเป็น
เคร่ืองมือทม่ี ีประสิทธิภาพสำ�หรบั การบริหารจัดการแบบพอร์ต (portfolio management) ท้ังในระดบั บริษัทและ
ระดบั ชาติ ชัน้ ยอ่ ยสะทอ้ นแนวคิดการจำ�แนกบนพ้นื ฐานความสมบรู ณ์ของโครงการ ซงึ่ สอดคล้องอย่างกวา้ งๆ
กบั ความนา่ จะเป็นท่โี ครงการจะประสบความสำ�เรจ็ ในการดำ�เนินงานเชิงพาณชิ ย์และการจ�ำ หน่ายโภคภณั ฑ์
นยิ ามของหมวดหมแู่ ละหมวดยอ่ ยรวมถงึ ขอ้ ก�ำ หนดทว่ั ไปทง้ั หมด และขอ้ ก�ำ หนดเฉพาะรายโภคภณั ฑ์ (commodity-
specific specifications) ท่เี กี่ยวข้องมีความจำ�เปน็ สำ�หรับการจ�ำ แนกในระดับสงู ใหเ้ ปน็ โครงการคมุ้ ค่าเชิงพาณิชย์
โครงการที่มศี ักยภาพเชิงพาณิชย์ และโครงการไมค่ มุ้ คา่ เชงิ พาณชิ ย์ ต้องเปน็ ทพ่ี อใจกอ่ นท่จี ะมีการพิจารณา
ก�ำ หนดชั้นย่อยทีเ่ หมาะสม
ชั้นยอ่ ยความสมบรู ณ์ของโครงการตง้ั อยบู่ นพ้นื ฐานของกิจกรรมร่วม (การตัดสนิ ใจทางธุรกจิ ) ท่จี ำ�เป็นสำ�หรบั
การขับเคลื่อนโครงการไปสู่การผลติ เชิงพาณิชย์ ขอบเขตระหวา่ งระดับความสมบูรณ์ของโครงการถูกก�ำ หนด
ให้สอดคลอ้ งกบั “ช่องทางตัดสนิ ใจ decision gates” ของโครงการ (ร่วม) ภายใน ดงั นน้ั จงึ ท�ำ ใหม้ กี ารเชอ่ื มตรง
ระหวา่ ง การตดั สินใจ กับ capital value process ภายในบรษิ ทั และการบง่ บอกลักษณะรวมของสนิ ทรัพยจ์ ากการ
จ�ำ แนกทรพั ยากร
มันเปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ที่ควรทราบว่า ในขณะที่เป้าหมายของการพัฒนาเปน็ การขยับโครงการ “ข้นึ บันได” ไปสรู่ ะดับ
ความสมบรู ณ์ท่สี ูงขนึ้ เสมอ และทา้ ยสดุ ไปสู่การผลิตเชิงพาณชิ ย์ การเปลย่ี นแปลงของสถานการณ์ (เชน่ การ
เปล่ยี นแปลงความเหน็ ด้านสง่ิ แวดล้อม สงั คม หรือตลาดท้องถ่นิ หรือระบบการเงนิ ทใี่ ช้ หรอื ผลลพั ธท์ ี่น่าผดิ หวงั
จากการเก็บขอ้ มลู เพมิ่ เติม) สามารถทำ�ให้โครงการถกู “ลดเกรด” ไปส่ชู ้ันย่อยทีต่ �ำ่ กว่าเดิม หากชัน้ ย่อยในรูปที่ 3
ของ UNFC-2009 (ดูภาค 1) ไดร้ ับการยอมรับแลว้ ควรประยกุ ตใ์ ชแ้ นวทางตอ่ ไปนี้


22 PRMS เปน็ ทางเลือกส�ำ หรบั ช้ันย่อยความสมบูรณข์ องโครงการทมี่ ีความคลา้ ยกันมาก หากยอมรบั ชนั้ ยอ่ ยของ PRMS เหล่า
นแ้ี ล้วมันอาจเทยี บเคยี งกับ ชนั้ ย่อยของ UNFC-2009 ได้ ตามท่กี ล่าวในภาคผนวก ง. ส�ำ หรับกรณีอื่นๆ ท้ังหมดแนวทางในภาคผนวก จ. นี้
จะท�ำ ให้การประยกุ ต์ใชช้ น้ั ย่อยทเี่ ป็นทางเลอื กของ UNFC-2009 เปน็ ไปได้อยา่ งถกู ต้อง
23 ดูรปู ที่ 3 ของ UNFC-2009 (ดภู าค 1)

46

ก. โครงการคมุ้ คา่ เชงิ พาณชิ ย์

กำ�ลงั ผลิต ใชเ้ มอื่ โครงการก�ำ ลงั ผลิตจริง และจำ�หน่ายโภคภัณฑ์อย่างนอ้ ยหนง่ึ ประเภทออกสูต่ ลาด ณ วันทม่ี ผี ล
ส�ำ หรบั การประเมิน ถึงแมว้ า่ การด�ำ เนินงานของโครงการจะไม่สมบูรณ์ 100% ณ วนั นน้ั โครงการทัง้ หมดต้องได้
รบั การอนมุ ตั ทิ ี่จำ�เปน็ ทง้ั หมด และมีความพร้อมของขอ้ ตกลงต่างๆ และมกี ารให้สัญญาเงินกองทนุ 24 ถ้าส่วนหนึ่ง
ของแผนพัฒนาโครงการยังคงตอ้ งแยกรบั การอนุมตั ิ และ/หรอื รับการใหส้ ัญญาเงินกองทนุ เหมอื นกบั ว่าขณะ
น้ันยังไม่สามารถด�ำ เนนิ การไดจ้ รงิ สว่ นนน้ั ควรถูกจำ�แนกเป็นโครงการแยกอยู่ในชน้ั ย่อยที่เหมาะสม
อนุมัติเพื่อการพัฒนา ต้องการความพร้อมทั้งหมดของการอนุมัติ/ข้อตกลง และมีการให้สัญญาเงินกองทุน
การก่อสรา้ งและติดต้ังสิ่งอ�ำ นวยความสะดวกของโครงการควรจะอยู่ระหว่างด�ำ เนนิ การ หรือใกล้จะด�ำ เนินการ
เฉพาะการเปลี่ยนแปลงที่คาดไม่ถึงจริงๆ ในสถานการณ์ที่นอกเหนือการควบคุมของผู้พัฒนาจะเป็นเหตุผลที่
ยอมรับได้สำ�หรับความล้มเหลวของโครงการในการพฒั นาภายในกรอบเวลาทส่ี มเหตุสมผล
แสดงเหตผุ ลเพอ่ื การพัฒนา ตอ้ งการการแสดงให้เห็นวา่ โครงการมีความเป็นไปไดท้ างเทคนคิ และมีความเป็น
ไปไดเ้ ชิงพาณชิ ย์ และตอ้ งมีการคาดการณท์ ่ีสมเหตสุ มผลวา่ การอนุมัติ/ขอ้ ตกลง ทจ่ี ำ�เป็นทง้ั หมดของโครงการ
สำ�หรับการดำ�เนนิ การเพอ่ื การพัฒนาก�ำ ลังจะเกิดขน้ึ

ข. โครงการทีม่ ีศักยภาพค้มุ คา่ เชงิ พาณชิ ย์

รอการพฒั นา ใชเ้ ฉพาะกบั โครงการทท่ี �ำ ใหม้ กี จิ กรรมเทคนคิ เฉพาะโครงการอยา่ งจรงิ จงั เชน่ การเกบ็ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ
(เชน่ การเจาะเพอ่ื ประเมนิ appraisal drilling) หรอื การสรปุ การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ และการวจิ ยั ดา้ นเศรษฐกจิ ท่ี
ออกแบบเพอ่ื ยนื ยนั ความเปน็ พาณชิ ยการของโครงการ และ/หรอื เพอ่ื ก�ำ หนดสถานภาพการพฒั นา หรอื แผนการท�ำ
เหมอื งทเ่ี หมาะสม นอกจากนอ้ี าจรวมโครงการทม่ี ขี อ้ ผกู พนั ทไ่ี มเ่ กย่ี วกบั ทางเทคนคิ (non-technical contingencies)
โดยทขี่ ณะนน้ั ขอ้ ผกู พนั นก้ี �ำ ลงั ถกู ตดิ ตามใหท้ ันอย่างจรงิ จังโดยนกั พฒั นา และคาดว่าจะทำ�ได้ส�ำ เร็จภายในกรอบ
เวลาทเ่ี หมาะสม โครงการเชน่ นถ้ี กู คาดการณว์ า่ มคี วามนา่ จะเปน็ ทส่ี งู ในดา้ นความส�ำ เรจ็ ทางพาณชิ ยการ
การพัฒนาหยุดชะงัก ใช้กับโครงการที่พิจารณาว่ามีอย่างน้อยหนึ่งโอกาสของความสำ�เร็จทางพาณิชยการ
(นน่ั คอื มีการคาดการณอ์ ยา่ งสมเหตุสมผลสำ�หรับการผลติ ที่คุ้มคา่ ทางเศรษฐกจิ ในข้นั สุดท้าย) แตห่ ากขณะนนั้
มขี อ้ ผูกพนั ทีไ่ ม่เกยี่ วกับทางเทคนิคที่ใหญม่ าก (เช่น ปัญหาด้านสิ่งแวดลอ้ มและสังคม) ที่จำ�เปน็ ตอ้ งแก้ไขก่อนท่ี
โครงการจะเคลอื่ นไปสู่การพฒั นา25 ความแตกต่างหลกั ระหวา่ งรอการพัฒนา กับหยุดชะงัก คือกรณีแรกสงิ่ ทอี่ าจ
เกิดขึ้นไดท้ ีส่ ำ�คัญเป็นสงิ่ ทีส่ ามารถ และกำ�ลังอยูใ่ ต้อิทธิพลของผู้พฒั นา (เช่น โดยการตอ่ รอง) ในขณะที่กรณหี ลงั
สิง่ ทอี่ าจเกดิ ขึน้ ไดท้ ีส่ ำ�คญั ขึน้ อยู่กบั การตดั สินใจของผู้อน่ื ทผ่ี ้พู ัฒนามอี ทิ ธิพลโดยตรงเหนือกวา่ เลก็ น้อยหรอื ไม่มี
เลย และทัง้ ผลลัพธแ์ ละระยะเวลาของการตดั สินใจเหล่านี้ทำ�ใหเ้ กดิ ความไมแ่ นน่ อนท่ีมีนัยส�ำ คญั


24 ในบางกรณี โครงการอาจริเริม่ การด�ำ เนินการและจ�ำ หนา่ ยโภคภัณฑ์ แมว้ า่ บางสว่ นของแผนการพัฒนาที่ผา่ นการอนุมัติแล้ว
ยงั ไมส่ มบูรณ์ (เชน่ ยังคงตอ้ งท�ำ การเจาะ และ/หรือ เช่ือมต่อหลุมผลติ ) อย่างไรก็ตามตอ้ งแยกสถานการณ์นด้ี ว้ ยความระมดั ระวังออกจาก
ช่วงการพัฒนาทก่ี ารดำ�เนนิ การของชว่ งทา้ ยท�ำ ใหต้ อ้ งแยกกระบวนการอนมุ ัตซิ ึง่ อาจข้นึ อยูก่ ับผลของช่วงแรก
25 การขาดความพอเพยี งของอุปสงค์ของตลาดทเี่ ตบิ โตไดใ้ นทางเศรษฐกจิ ท่มี ีอยแู่ ละสามารถเข้าถึงได้ เป็นอกี เหตผุ ลหนึง่ ส�ำ หรับ
โครงการท่กี �ำ ลังถูกจ�ำ แนกเปน็ การพฒั นาหยดุ ชะงัก แต่ต้องแยกสถานการณ์นดี้ ว้ ยความระมดั ระวงั ออกจากสถานการณท์ ่ตี ลาดท่เี ติบโตได้
ในทางเศรษฐกจิ ไมม่ ีอยู่ในขณะนั้น (การพัฒนาเป็นไปไม่ได้)

47

ค. โครงการไมค่ ุ้มคา่ เชิงพาณชิ ย์

การพัฒนาไม่ชัดเจน เหมาะสมกับโครงการที่ยังอยู่ในช่วงแรกของการประเมินทางเทคนิคและทางการค้า
(เช่น การค้นพบแหล่งใหม่) และ/หรอื จำ�เป็นตอ้ งมกี ารเกบ็ ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ท่ีสำ�คัญ เพ่อื การประเมินทชี่ ัดเจนของ
ศักยภาพเพ่อื การพัฒนาเชงิ พาณิชย์ นนั่ คือในขณะนัน้ ยงั มสี ่วนประกอบหลักไมเ่ พยี งพอส�ำ หรับการสรปุ ว่ามีการ
คาดการณ์ที่สมเหตสุ มผลสำ�หรับการผลิตท่ีคมุ้ ค่าทางเศรษฐกิจในข้นั สดุ ท้าย
การพฒั นาเป็นไปไม่ได้ ใช้ส�ำ หรับโครงการทีส่ ามารถระบุความเป็นไปไดท้ างเทคนิค แตถ่ กู ประเมนิ วา่ มีศักยภาพ
ไมเ่ พยี งพอทจี่ ะรบั ประกันการเก็บขอ้ มูลเพ่ิมเติมใดๆ หรอื ความพยายามโดยตรงใดๆ ในการกำ�จัดภาระผกู พัน
ทางการคา้ ใน ในกรณเี ช่นน้ีจะชว่ ยไดม้ ากในการระบุและบันทึกปริมาณเหลา่ นี้ ซง่ึ จะท�ำ ให้ศักยภาพสำ�หรับโอกาส
ในการพัฒนาทางการคา้ เปน็ ทยี่ อมรับในกรณที ีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงครง้ั สำ�คญั ของเงอื่ นไขทางเทคโนโลยี หรอื
เงอ่ื นไขทางการคา้

ง. ปริมาณเสรมิ ในแหลง่

ปริมาณต่างๆ ควรถูกจำ�แนกเป็นปริมาณเสริมในแหล่งเท่านั้น ถ้าหากไม่มีโครงการใดที่มีความเป็นไปได้
ทางเทคนิคถูกระบุว่าสามารถผลิตส่วนใดๆ ของปริมาณเหล่านี้ได้ บางส่วนของปริมาณเหล่านี้อาจกลายเป็น
ปริมาณทผี่ ลติ ไดใ้ นอนาคตเน่อื งจากการพัฒนาของเทคโนโลยใี หมๆ่

48

ภาค 3
คำ�ชี้แจงสำ�หรับกรอบการจำ�แนก
ของสหประชาชาติสำ�หรบั ปริมาณสำ�รองและ
ทรพั ยากรพล(UังงNาFนCฟ-2อ0ส0ซ9ิล)*และแร่ 2009


* หมายเหตคุ �ำ อธบิ ายใชเ้ พอ่ื ประกอบการอา่ น แตไ่ ม่ได้เปน็ ส่วนหนึง่ ของ UNFC-2009



บทน�ำ

ในปี 2004 คณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกจิ ยโุ รป (ECE)1 ไดพ้ ฒั นากรอบการจำ�แนกของสหประชาชาติ ส�ำ หรับ
ทรพั ยากรพลงั งานฟอสซิลและแร่ (UNFC) และนำ�เสนอเพ่อื การพิจารณาตอ่ คณะมนตรีเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่
สหประชาชาติ (The United Nations Economic and Social Council)
ในการประชุมใหญค่ รัง้ ที่ 42 เมื่อวนั ที่ 16 กรกฎาคม 2004 คณะมนตรเี ศรษฐกจิ และสงั คม2 ยกเลิกผลการตดั สนิ
ใจที่ 1997/226 เมือ่ วันที่ 18 กรกฎาคม 1997 และรบั รองการใหค้ วามเห็นชอบของ ECE ในกรอบการจ�ำ แนก
ของสหประชาชาติสำ�หรับทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ และตัดสินใจเชิญชาติสมาชิกของสหประชาชาติ
องคก์ ารระหว่างประเทศ คณะกรรมาธกิ ารระดับภูมภิ าค ให้พจิ ารณาหามาตรการที่เหมาะสมเพอ่ื ความม่ันใจใน
การประยกุ ต์ใช้กรอบการจำ�แนกทั่วโลก คณะมนตรีให้ขอ้ สงั เกตวา่ การจ�ำ แนกแบบใหม่ส�ำ หรับทรัพยากรพลังงาน
ฟอสซลิ และแร่ ซ่งึ ตอนนร้ี วมโภคภณั ฑด์ า้ นพลังงาน (ตวั อย่างเช่น กา๊ ซธรรมชาติ น้ำ�มัน และยเู รเนยี ม) เปน็ สว่ น
ขยายของกรอบเดมิ ท่ถี กู พัฒนาสำ�หรบั เช้อื เพลงิ แขง็ และโภคภณั ฑแ์ ร่ ซึง่ ทางคณะมนตรไี ดด้ ำ�เนินการในลักษณะ
คลา้ ยกบั ในปี 1997 สำ�หรับการให้ความเหน็ ชอบและความเหน็ ของ ECE
คณะท�ำ งานกลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการประสานศพั ทเ์ ฉพาะดา้ นทรพั ยากรพลงั งานฟอสซลิ และแร่ (คณะท�ำ งานกลมุ่
ผเู้ ชย่ี วชาญ) ไดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลอื คณะกรรมการพลงั งานทย่ี ง่ั ยนื ของ ECE ในการด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั เรอ่ื งน้ี
การประชุมสมัยที่สิบหกในเดือนพฤศจิกายน 2007 คณะกรรมการพลังงานที่ยั่งยืนแนะนำ�ให้ คณะทำ�งาน
กลุ่มผู้เชย่ี วชาญน�ำ เสนอ UNFC ใดๆ ทป่ี รบั ปรงุ แกไ้ ขแลว้ เพอ่ื การพจิ ารณาของคณะผบู้ รหิ ารของคณะกรรมการ
พลงั งานทย่ี ง่ั ยนื ในปี 2008 เพอ่ื อ�ำ นวยความสะดวกในการประยกุ ตใ์ ช้ UNFC ทว่ั โลก การจ�ำ แนกทีไ่ ม่ซบั ซ้อน
และปรบั ปรงุ แกไ้ ขแล้ว (UNFC-2009) จงึ ถกู จัดเตรียมเพอื่ สนองตอ่ ขอ้ เสนอนั้น ค�ำ ช้แี จงนี้อธิบายรายละเอียดใน
บางส่วนของเน้ือหาการจ�ำ แนกที่ปรบั ปรงุ แก้ไขแลว้ แต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการจ�ำ แนก
คณะท�ำ งานเฉพาะกิจดา้ นการปรบั ปรงุ UNFC ทเ่ี ตรียมข้อเสนอ UNFC-2009 ประกอบดว้ ย คณะผบู้ รหิ ารของ
คณะทำ�งานกลุม่ ผู้เชย่ี วชาญ และผ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะด้าน

1. ความสัมพนั ธก์ ับการจ�ำ แนกแบบอ่ืนๆ

ตลอดศตวรรษทีย่ ี่สบิ ระบบการจำ�แนกทรพั ยากรที่แตกตา่ งกันมากมายไดร้ บั การพฒั นาซึง่ สะท้อนถงึ ลักษณะทาง
กายภาพทแ่ี ตกตา่ งกันของทรัพยากร รวมถึงความหลากหลายของภูมศิ าสตรแ์ ละสังคม-เศรษฐกจิ ของพื้นทผ่ี ลิต
แม้นว่ามีความต้องการและความตั้งใจอยู่เสมอที่จะประสานศัพท์เฉพาะ หรือประสานงานกันในการรวมระบบ


1 ECE เปน็ หน่ึงในห้าคณะกรรมาธิการภมู ภิ าคของสหประชาชาติ เปน็ ผูแ้ ทนยโุ รป เอเชียกลาง อเมริกาเหนือ ตุรกี และอสิ ราเอล
2 มติ 2004/233 ของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสงั คมแห่งสหประชาชาติ เก่ยี วกับกรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ สำ�หรบั
ทรัพยากรพลงั งานฟอสซิลและแร่

51

การจำ�แนกต่างๆ   เขา้ ดว้ ยกนั แตไ่ ม่เคยมขี อ้ เรยี กร้องในเรอื่ งดงั กล่าวน้ี ในภายหลังเม่อื ระบบโลกาภวิ ัตน์ของการ
ค้าโภคภณั ฑแ์ ละตลาดการเงนิ ได้ถูกสร้างขึ้นอย่างมั่นคงแลว้ จงึ ท�ำ ใหเ้ หน็ ภาพว่าการประสานระบบกรอบการ
จ�ำ แนกจะมีประโยชนอ์ ย่างทสี่ ุด การพฒั นาของ UNFC ไดเ้ ริ่มขนึ้ ในปี 1992 และนำ�ไปสูร่ ะบบการจ�ำ แนกสามมติ ิ
ทีร่ ะบบแรข่ องแขง็ อน่ื ๆ ส่วนใหญ่สามารถเชื่อมโยงกนั ได้
ในปี 2004 ได้มกี ารพฒั นา UNFC เพ่มิ เติมทัง้ นเี้ พอื่ รองรบั ทรัพยากรพลงั งานฟอสซิลและแรท่ กุ ประเภท ต่อจาก
นั้นระบบการจำ�แนกท่สี �ำ คัญๆ ก็ได้รบั การพัฒนาหรอื ทำ�ใหท้ นั สมัยขึน้ อยา่ งมาก ซงึ่ รวมถงึ การจ�ำ แนกใหม่ของ
รัสเซีย ปี 2005 Template ปี 2006 ของคณะกรรมการมาตรฐานการรายงานปริมาณส�ำ รวจทรพั ยากรแรร่ ะหวา่ ง
ประเทศ (CRIRSCO) และระบบการจัดการทรพั ยากรปโิ ตรเลยี ม (PRMS) ปี 2007 ของสมาคมวศิ วกรปิโตรเลยี ม
(SPE) / สภาปโิ ตรเลียมโลก (WPC) / สมาคมนักธรณีวทิ ยาปโิ ตรเลียมอเมรกิ า (AAPG) / สมาคมวศิ วกรประเมนิ
ปิโตรเลียม (SPEE) ต่อมาในปี 2007 และ 2008 คณะทำ�งานกลุ่มผูเ้ ชีย่ วชาญรว่ มกบั ผู้เชย่ี วชาญทีเ่ ปน็ ตวั แทนของ
หนว่ ยงานวิชาชีพเหลา่ น้ไี ด้รบั ภารกิจการเทียบเคียงที่ครอบคลุมอยา่ งกว้างขวาง ภายใต้คณะท�ำ งานเฉพาะกิจ
ด้านการเทยี บเคยี งของ UNFC การด�ำ เนินการแสดงใหเ้ ห็นวา่ CRIRSCO Template และ PRMS สามารถทำ�ให้
เปน็ ไปในแนวทางเดียวกันกับ UNFC ได้ รายงานของคณะท�ำ งานเฉพาะกิจดา้ นการเทยี บเคียง (ชุดพลงั งานลำ�ดบั
ท่ี 33 ของ ECE และ ECE/ENERGY/71) เสนอใหท้ ำ�การปรับแก้ UNFC ในบางส่วนเพ่ือใหท้ ำ�งานสะดวกขนึ้
UNFC-2009 สนองตอบข้อเสนอแนะของคณะทำ�งานเฉพาะกิจดา้ นการเทียบเคยี ง โดยจัดทำ�กรอบการจ�ำ แนก
ระดับสูงซึง่ รวมแนวทางต่างๆ ของเฉพาะรายโภคภัณฑ์ (commodity-specific guidelines) ไว้ดว้ ย ดงั จะเหน็ ได้
จาก CRIRSCO Template และ PRMS ขอ้ ก�ำ หนดระดับสงู ทวั่ ไปไดร้ บั การพัฒนาเพือ่ ให้ม่ันใจในศกั ยภาพสูงสุด
สำ�หรบั การร่วมแนวทางกนั กบั ระบบอ่นื ๆ และเพอื่ ให้การเทยี บเคียงกับระบบเหลา่ น้ันสะดวกขน้ึ ขอ้ ก�ำ หนดของ
หมวดหมแู่ ละหมวดยอ่ ยของ UNFC ถกู ทำ�ให้งา่ ยขึน้ และช้ันต่างๆ ทใ่ี ชก้ ันมากอยทู่ ว่ั ไปก็ถกู ก�ำ หนดด้วยภาษา
ทว่ั ไป ท�ำ ใหเ้ กิดศพั ทเ์ ฉพาะทว่ั ไปทีส่ อดคล้องกันในระดบั ทีเ่ หมาะสำ�หรับการสอ่ื สารทว่ั โลก

2. การรกั ษาสภาพการจ�ำ แนก

ระบบการจ�ำ แนกตา่ งๆ ทีม่ ีอยตู่ ้องการบรรลุถงึ สงิ่ จ�ำ เป็นดา้ นความสัมพันธ์ สาระส�ำ คญั ความน่าเชือ่ ถอื และการ
เปรยี บเทียบได้ตามความตอ้ งการพ้นื ฐานที่ระบบเหลา่ น้ีมุ่งจะใหบ้ รกิ าร จึงอาจตอ้ งมีการพฒั นาเอกสารประกอบ
เพื่อความสมบรู ณ์ส�ำ หรับการสือ่ สารกบั ผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี ทัง้ หมด

3. เอกสารอ้างอิงกฎเกณฑ์

เอกสารอ้างอิงกฎเกณฑ์ (Normative Reference) ISO 1000:1992 ขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ
มาตรฐาน (ISO) หน่วย SI (Système International d’Unités) และข้อเสนอแนะต่างๆ ส�ำ หรบั การใชร้ ว่ มกนั และ
หน่วยวัดอ่ืนๆ มีบทบัญญตั ติ า่ งๆ ทไี่ ด้ใชส้ รา้ งบทบัญญัติในเอกสารฉบับน้ผี ่านการอา้ งองิ ในเลม่ ไม่ควรใช้เอกสาร
อา้ งอิงล้าสมัยทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุง อย่างไรก็ตามภาคีข้อตกลงต่างๆ บนพื้นฐานของเอกสาร
ฉบับนี้ควรตรวจสอบความเป็นไปได้สำ�หรับการใช้เอกสารกฎเกณฑ์ฉบับล่าสุดตามที่ได้ระบุไว้ก่อนหน้า ส่วน
เอกสารอ้างอิงท่ีไม่ล้าสมัยควรใช้เอกสารกฎเกณฑ์ฉบบั ลา่ สุดสำ�หรับการอ้างอิง สมาชิกของ ISO และคณะ
กรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEC) ยังคงสภาพการขึ้นทะเบียน
ส�ำ หรบั มาตรฐานระหวา่ งประเทศท่ใี ช้ได้ในปจั จบุ นั

52

4. ความเหน็ สำ�หรับ UNFC-2009

ความเหน็ ตอ่ ไปนอ้ี า้ งองิ ถงึ บทตา่ งๆ ของการจ�ำ แนก ถกู น�ำ มาแนบทา้ ยการจ�ำ แนกไวเ้ พอ่ื ใหง้ า่ ยส�ำ หรบั การอา้ งองิ

สำ�หรับบทท่ี 1 (UNFC-2009)

บทน้ีกลา่ วว่า UNFC-2009 เปน็ การจำ�แนกแบบรวม สำ�หรับทรัพยากรพลังงานฟอสซลิ และแร่ อยา่ งไรก็ตาม
มนั ไม่ไดอ้ ้างองิ กับทรพั ยากรพลงั งานในทางกายภาพ (ด้านความดัน และอณุ หภมู ิ) มันไม่ได้อา้ งอิงทรพั ยากรน้ำ�
บาดาลดว้ ย ถงึ แม้ว่ามนั จะถูกประยุกตใ์ ช้ได้กบั โครงการผลติ น�้ำ บาดาลท่ใี ชแ้ ลว้ หมดไป
การประยุกต์ใช้ UNFC-2009 กบั บริเวณทีก่ กั เกบ็ (recipient reservoirs) ส�ำ หรับการเกบ็ อยา่ งถาวร หรือเปน็ คงคลงั
ชว่ั คราว ไมไ่ ด้กล่าวถงึ ในการจำ�แนก
การจำ�แนกมเี ปา้ หมายให้บริการตามความตอ้ งการพ้นื ฐานท้งั สี่ ตามทีก่ ลา่ วไว้ในบทที่ 1

สำ�หรบั บทท่ี 2 (UNFC-2009)

เน้อื หาแสดงให้เหน็ ถึงผลสะท้อนของเงอ่ื นไขทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม ด้านอตุ สาหกรรม (ความเป็นไปได้ของ
โครงการ/เหมอื ง) และดา้ นธรณีวทิ ยา ทปี่ รากฏในการใชห้ มวดหมตู่ ่างๆ ในการก�ำ หนด ชัน้ ปริมาณในแหลง่ และ
ชัน้ ปรมิ าณท่สี ามารถผลิตได้

สำ�หรบั บทท่ี 3 (UNFC-2009)

ชน้ั ปรมิ าณในแหลง่ และช้ันปรมิ าณทส่ี ามารถผลิตได้ ถกู กำ�หนดทน่ี ่ี ในลักษณะหมวดหมู่ ของบทที่ 2
ปริมาณที่สามารถผลิตไดค้ ือปริมาณที่ถกู ประมาณการว่าจะสามารถผลติ ไดใ้ นขั้นสุดท้าย มุมมองที่สำ�คัญของการ
จำ�แนกคอื นิยามของ จุดอ้างองิ ส�ำ หรบั ปริมาณทผี่ ลติ ได้ ซง่ึ ผลผลติ ถูกวัดได้โดยตรง หรือ ประมาณการจากการวดั
โดยตรง ไม่วา่ จะเป็นผลผลติ ท่ีจ�ำ หน่ายได้หรอื ไม่จ�ำ หนา่ ย นท่ี ำ�ให้สามารถระบุปริมาณ กบั ปริมาณและมลู ค่าได้
การใช้ภาษาง่ายๆ หลีกเลี่ยงการใช้คำ�สำ�คัญต่างๆ ที่ไม่มีความหมายที่เป็นเอกภาพ ที่สำ�คัญที่สุดคือคำ�ว่า
“ปริมาณส�ำ รอง” ถกู ใช้สำ�หรับความหมายท่ัวไปเทา่ นน้ั
สว่ นใหญ่ คำ�วา่ “ปรมิ าณสำ�รอง” ในระบบการจ�ำ แนกทม่ี อี ยู่ ถกู ใชเ้ พ่ืออธิบายปรมิ าณท่คี าดการณว์ า่ จะผลติ
โดยโครงการทส่ี ามารถผลติ ได้คมุ้ ค่าเชงิ พาณชิ ย์ การจำ�แนกท่ีสัมพันธ์กบั การผลิตแร่ของแข็งมกั จะเพิ่มข้อจำ�กดั
เสรมิ ท่ีวา่ ปริมาณทีถ่ ูกคน้ พบดว้ ยระดบั ความม่นั ใจทสี่ งู หากใช้ในบรบิ ทของปริมาณสำ�รอง [แร่] “ตรวจพิสูจน์”
(“proved” หรือ “proven”) สว่ นโครงการทสี่ ามารถผลิตได้ ทีใ่ ช้หรือผลิตของไหลโดยทัว่ ไปมักจะมชี ่วงของความ
ไม่แน่นอนที่กวา้ งกวา่ เมื่อกลา่ วถงึ ปรมิ าณทส่ี ามารถผลิตไดท้ เี่ ป็นผลมาจากความพยายามในการผลติ ในท่นี ้คี ำ�
วา่ ปริมาณสำ�รอง “ตรวจพิสจู น์” ถูกใช้กบั ผลผลิตทมี่ คี วามน่าจะเป็นทม่ี ากเกินไป UNFC-2009 ลงตวั ไดด้ อี ยา่ ง
สมบูรณก์ ับท้ังสองวธิ ีการน้ี
อยา่ งไรก็ตาม “ปริมาณสำ�รอง” เปน็ แนวคิดท่ีมคี วามหมายและการใชง้ านหลากหลาย แมแ้ ตใ่ นอุตสาหกรรมการ
ผลิตทรัพยากรธรณี ที่คำ�นี้ถูกนิยามและใช้ด้วยความระมัดระวัง แต่ก็ยังมีความแตกต่างที่สำ�คัญระหว่างนิยาม

53

ต่างๆ ที่ใชใ้ นภาคส่วนทตี่ า่ งกนั ในด้านสาธารณะหลายคนจะใชส้ �ำ หรับอธบิ ายปรมิ าณที่ถกู ผลติ จากแหลง่ หรือ
แหล่งสะสมท่ีคน้ พบโดยไมค่ ำ�นึงว่าจะสามารถผลติ ได้จากโครงการที่ค้มุ ค่าเชงิ พาณชิ ย์ หรอื จากโครงการท่ี (ยัง) ไม่
คุม้ ค่า หรอื ถูกคิดว่าสามารถผลิตไดท้ างเทคนิค โดยไมไ่ ดพ้ จิ ารณาถึงโครงการที่มีความเปน็ ไปไดใ้ นการผลิตใดๆ
ที่อาจจ�ำ เป็นสำ�หรบั การผลติ ปรมิ าณเหล่าน้จี รงิ ๆ การใชค้ ำ�อ่ืนๆ เช่น “ปรมิ าณส�ำ รองที่สามารถผลิตได้” นน่ั แสดง
วา่ มีบางปริมาณส�ำ รองจะไมส่ ามารถผลติ ได้ และบางวลี เชน่ “ปริมาณส�ำ รองที่ยังไม่พบ” และแม้กระทง่ั “ปริมาณ
สำ�รองในแหลง่ ” ในขณะท่กี ารใช้คำ�เหลา่ นท้ี ั้งหมดไม่ถกู ต้องอยา่ งชดั เจนเมอื่ พจิ ารณาในแง่ของนยิ ามทีใ่ ช้กว้างๆ
เช่นของ CRIRSCO และ SPE ความจริงที่วา่ คำ�มีความหมายทแ่ี ตกตา่ งอยา่ งมีนัยส�ำ คัญในอตุ สาหกรรมการผลิต
ทรพั ยากรธรณี ช้ใี ห้เห็นว่ามนั ไมส่ มบูรณพ์ อทจี่ ะเปน็ พืน้ ฐานส�ำ หรับการส่ือสารท่วั โลกของปริมาณที่ส�ำ คญั เช่นนี้
น่ีเปน็ สถานการณท์ ่ีพบในภาษาอื่นๆ ดว้ ยนอกเหนอื จากภาษาองั กฤษ
แนวคดิ นไี้ ด้รับการสนบั สนนุ โดยการสงั เกตการใชร้ ่วมกนั แบบอ่ืนๆ ของคำ�วา่ “ปริมาณสำ�รอง” ในภาษาอังกฤษ
จริงๆ แลว้ มีความหมายท่ตี รงขา้ มอยา่ งสน้ิ เชิงกบั ค�ำ ทใ่ี ชบ้ ่อยทีส่ ดุ ในกจิ กรรมการผลติ ทรัพยากรธรณี มันไมไ่ ดใ้ ช้
ส�ำ หรบั อธบิ ายปริมาณตา่ งๆ ที่พร้อมสำ�หรับการผลติ แตเ่ ป็นปรมิ าณของทางการทหาร การทำ�ไวน์ ฯลฯ ท่กี �ำ ลัง
ถกู เก็บ “เพ่ือสำ�รองไว”้ – น่นั คอื จะไมม่ ีการผลิตจนกวา่ จะถึง คราวหนา้ หรือบางทกี ไ็ ม่มกี ารผลติ เลย
“เชิงพาณชิ ย์” เป็นแนวคิดสำ�คญั ในการจ�ำ แนก มันถูกใชใ้ นตามความหมายดัง้ เดิมเพ่อื สะท้อนให้เห็นถึงสิ่งที่ถูก
เตรยี มเพื่อการซ้ือและการขาย at scale
ความไมแ่ น่นอนถูกสือ่ สารใน สาม รปู แบบเสริม

(ก) เก่าท่ีสุด เป็นผลมาจากการท�ำ งานทด่ี ีทส่ี ุดดา้ นการวิเคราะหท์ างธรณวี ทิ ยา เปน็ การกลา่ วถึงสงิ่ ท่ี
ถกู “สงั เกต” หรอื “ตรวจวดั ” ว่า ถูกประมาณการด้วยอะไร หรอื ถูกบ่งช้โี ดยอะไร ถกู ควบคมุ ทาง
ธรณีวิทยาอย่างมีเหตุผล และอะไรถูกประมาณการหรือถูกอนุมานจากการสังเกต แต่ขาดหรือ
ไม่มีการควบคุมทางธรณีวิทยา วิธีการประมาณการอย่างไม่ต่อเนื่องแบบนี้เหมาะกับลักษณะของ
ปรมิ าณในแหลง่ ท่ีอยใู่ นแหลง่ แร/่ แหล่งสะสม และเหมาะสมหากประมาณการศกั ยภาพของปรมิ าณ
ท่ีสามารถผลิตไดอ้ ยู่บนพน้ื ฐานโดยตรงของการประมาณการอยา่ งไม่ต่อเนือ่ งในแหลง่ เหมอื นกรณี
ของแรข่ องแข็ง

(ข) วิธีการทางอุตสาหกรรมและทางพาณิชย์ที่ใหม่กว่า เป็นการกล่าวถึงปริมาณที่อาจผลิตได้โดยใช้
โครงการ นี่อาจขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ มากมายเพิ่มเติมมาจากปริมาณในแหล่งที่อยู่ในแหล่งแร่/
แหล่งสะสม ตามธรรมเนียมการปฏิบตั ิในแบบภาพรวมเป็นการกล่าวถงึ ความนา่ จะเปน็ ที่โครงการ
จะทำ�การผลติ อยา่ งนอ้ ยปรมิ าณทีป่ ระมาณการไว้

(ค) ยกเวน้ ในกรณขี องโครงการคมุ้ ค่าเชิงพาณิชย์ อาจมีโอกาสท่ีโครงการพัฒนาและโครงการผลติ อาจ
จะไมไ่ ด้รบั การยอมรบั กรณีนี้เหน็ ไดช้ ัดเจนในชว่ งการสำ�รวจซ่ึงสงิ่ ทดี่ ีทสี่ ุดคือการกลา่ วถึงความน่า
จะเปน็ วา่ แหล่งที่พบมขี นาดพอที่จะมีศกั ยภาพส�ำ หรับโครงการคมุ้ คา่ เชิงพาณชิ ย์ และตอ่ จากนนั้ คือ
การกระจายความน่าจะเป็นของการคาดการณ์ปริมาณที่สามารถผลิตได้จากโครงการเชิงพาณิชย์นั้น
ความน่าจะเป็นที่โครงการที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์รวมกับแหล่งที่พบแล้วจะเร่ิมได้จริงในอนาคตอัน
ใกล้ก็เหมือนจะสามารถสื่อสารกันได้ถ้ามีข้อมูล หรือข้อมูลอาจถูกสื่อสารโดยการกำ�หนดปริมาณ

54

เปน็ ชนั้ ยอ่ ย ส�ำ หรับโครงการสำ�รวจหรือโครงการพฒั นา มันอาจช่วยไดด้ หี ากสอ่ื สารทง้ั โอกาสท่ี
มันจะน�ำ ไปส่โู ครงการคุ้มค่าเชิงพาณิชย์ และขนาดของปรมิ าณทอ่ี าจจะผลติ ไดจ้ ากโครงการ หาก
ท�ำ งานกบั portfolios ปริมาณเหลา่ นี้จะถูกหกั ออกสำ�หรับความนา่ จะเป็นทม่ี นั จะเกิดขนึ้

วิธีการส่อื สารถึงความไม่แน่นอนของ UNFC-2009 สอดคลอ้ งกบั ทัง้ สามแบบน้ี

สำ�หรบั บทที่ 4 และ 5 (UNFC-2009)

ในขณะที่ UNFC เป็นการจ�ำ แนกบนสทิ ธิของตัวเอง นิยามหมวดหม่ทู ั่วไปของมนั ท�ำ ให้มนั เหมาะสมมากสำ�หรับ
การเปรียบเทียบกับการจำ�แนกแบบอื่นๆ โดยวิธีการเทียบเคียง ดังนั้นมันสามารถใช้เพื่อทำ�ให้การประสาน
สะดวกขึ้นผ่านการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ชัดเจนที่สามารถดำ�เนินการเพื่อขจัดความแตกต่างที่สำ�คัญระหว่างกัน
ท้งั การประยกุ ตใ์ ช้ UNFC เพ่ือการจ�ำ แนก และเพ่ือการเปรียบเทยี บกบั การจำ�แนกแบบอื่นๆ ท�ำ ใหส้ ะดวกขน้ึ ได้
โดยการแยกยอ่ ย หรือ การรวมหมวดหมู่เพอ่ื ก�ำ หนดชั้น ซึ่งสะท้อนถึงปรมิ าณเร่ิมต้นทม่ี ปี ระโยชนท์ ส่ี ดุ และมักจะ
ถกู รายงาน

สำ�หรับบทท่ี 6 (UNFC-2009)

กระบวนการท่เี หมือนกันทงั้ กับการแบง่ ย่อย หรอื การรวมหมวดหมู่อาจประยกุ ตใ์ ชใ้ นระดับชาติ หรือท้องถนิ่ เพือ่
ให้บรรลุความตอ้ งการเฉพาะทเี่ กดิ ข้ึน เช่นจากการออกกฎหมายของชาติ กระบวนการรว่ มตดั สินใจตา่ งๆ หรอื
ความไม่ตอ้ งการคาดการณใ์ นชว่ งแรกที่เริม่ ใช้ระบบการจ�ำ แนก เพอื่ ใหม้ ัน่ ใจไดว้ ่าปัญหาน้จี ะถกู แก้ดว้ ยวิธีท่ีถกู
ตอ้ งโดยผู้ใชก้ ารจ�ำ แนกทีแ่ ตกตา่ งกัน มนั สำ�คัญทีจ่ ะตรวจสอบความแตกต่างของการปรบั เพ่ือความสอดคลอ้ งกบั
พน้ื ฐานของ UNFC และการปรับระดับชาตหิ รอื ระดับท้องถิ่นอ่นื ๆ

55

บรรณานกุ รม

บรรณานุกรมนอี้ ้างอิงถึงสิง่ พิมพท์ เ่ี ลอื กแลว้ ว่ามคี วามส�ำ คญั ต่อววิ ฒั นาการของการจำ�แนกต่างๆ จนถึงทกุ วนั น้ี
(a) Society of Petroleum Engineers, World Petroleum Council and American Association of Petroleum

Geologists (2000) Petroleum Resources Classification and Definitions, approved by SPE, WPC and
AAPG, February 2000, published by SPE.
(b) IAEA-NEA/OECD, (2002), Uranium: Resources, Production and Demand, The IAEA Red Book.
(c) ECE, (2000), Report on Joint Meeting of the ECE Task Force and CMMI International Mineral
Reserves Committee (November 1999), ENERGY/2000/11, ECE Committee on Sustainable Energy,
tenth session, November 2000.
(d) ECE, (1997), United Nations International Framework Classification for Reserves/Resources -Solid
Fuels and Mineral Commodities, ENERGY/WP.1/R.70, ECE Committee on Sustainable Energy,
seventh session, November 1997, 21 p.
(e) KELTER, D., (1991), Classification Systems for Coal Resources- A Review of the Existing Systems
and Suggestions for Improvements, Geol.Jb. A 127; 347-359.
(f) ECE, (2002), ECE/ENERGY/47, ECE Committee on Sustainable Energy, Report of its eleventh
session, November 2001.
(g) ECE, (2004), ECE/ENERGY/53 and Corr. 1 including Annex II Programme of Work, ECE
Committee on Sustainable Energy, Report of its thirteenth session, November 2003.
(h) ECE, (2004), E/2004/37- E/ECE/1416, United Nations Economic Commission for Europe, Report
of its fifty-ninth session, February 2004.
(i) Petroleum Classification of the Soviet Union (1928).
(j) V.E. McKelvey, (1972), Mineral Resource Estimates and Public Policy: American Scientist, V.60,
No.1, p.32-40.
(k) United States Bureau of Mines and United States Geological Survey, (1980), Principles of a
Resource/Reserve Classification for Minerals, United States Geological Survey, Circular 831, 5 p.
(l) United Nations Framework Classification for Fossil Energy and Mineral Resources (2004) http://
www.unece.org/energy/se/reserves.html.
(m) Classification of Reserves and Prognostic Resources of Oil and Combustible Gases. Russian
Federation Ministry of Natural Resources, Instruction N 298, November 1, 2005.

56

(n) International Reporting Template for the Public Reporting of Exploration Results, Mineral Resources
and Mineral Reserves. Committee for Mineral Reserves International Reporting Standards, July
2006. http://www.crirsco.com/template.asp.

(o) Petroleum Resource Management System. Society of Petroleum Engineers, World Petroleum
Council, American Association of Petroleum Geologists, Society of Petroleum Evaluation Engineers,
2007. http://www.spe.org/spe-app/spe/industry/reserves/prms.htm.

(p) Report of the Task Force on Mapping of the United Nations Framework Classification for Fossil
Energy and Mineral Resources. ECE Ad Hoc Group of Experts on the Harmonization of Fossil
Energy and Mineral Resources Terminology, 2008. http://www.unece.org/energy/se/reserves.html.

57

สำ�หรับปริมาณสำ�รองและกทรรัอข้พอบยกำกา�ากหรรน ำจพด�ลัร่งแวงนามกนสำ�ขฟหออรังสบซิสกลหาแรปลประระแะร่ชยุา2กช0ต์าใ0ชิต9้ ส่งิ พมิ พน์ บี้ รรจุเน้อื หาของกรอบการจ�ำ แนกของสหประชาชาติ สำ�หรับปรมิ าณสำ�รองและทรัพยากร
พลงั งานฟอสซิลและแร่ 2009 (UNFC-2009) และข้อกำ�หนดต่างๆ สำ�หรับการประยุกตใ์ ช้ UNFC-
2009 เปน็ ระบบทเ่ี ปน็ ท่ียอมรับในระดับสากล และเป็นระบบทปี่ ระยุกตใ์ ชใ้ นระดบั นานาชาติสำ�หรบั
การจำ�แนกและรายงานปริมาณสำ�รองและทรัพยากรพลังงานฟอสซิลและแร่ และเป็นระบบการ
จำ�แนกเพียงหนงึ่ เดยี วในโลกปจั จุบนั ท่ที �ำ เชน่ นี้ โดยการรว่ มกบั กิจกรรมการผลิตทรัพยากรธรณีตา่ งๆ
UNFC-2009 จึงสะทอ้ นถงึ เงอื่ นไขมากมายในภาคเศรษฐกจิ และสงั คม รวมถึงกรอบเงื่อนไขดา้ นการ
ตลาดและขอบขา่ ยงานรฐั บาล ความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยีและอตุ สาหกรรม และความไม่แน่นอน
ต่างๆ ทป่ี รากฏอยู่ตลอดมา มนั เปน็ กรอบการจ�ำ แนกทีส่ ามารถท�ำ ได้ทง้ั การศกึ ษาดา้ นพลังงานและ
แร่ระหว่างประเทศ วิเคราะห์นโยบายการจัดการทรัพยากรของรัฐบาล วางแผนกระบวนการด้าน
อุตสาหกรรม และการจัดสรรเงนิ ทนุ อย่างมีประสทิ ธิภาพ
UNFC-2009 เปน็ ระบบที่ใชห้ ลกั การทว่ั ไป ท่ีปรมิ าณตา่ งๆ ถูกจ�ำ แนกด้วยเกณฑ์พืน้ ฐานสามประการ
คือ ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกจิ และสงั คม (E) สถานภาพและความเปน็ ไปได้ของโครงการ (F) และ
ความร้ดู า้ นธรณีวิทยา (G) โดยใช้แผนการเขา้ รหัสตัวเลขและภาษาท่ีเป็นอสิ ระตอ่ กนั การรวมกนั ของ
เกณฑเ์ หล่าน้ที ำ�ให้เกิดเปน็ ระบบสามมิติ
ขอ้ กำ�หนดสำ�หรบั การประยุกตใ์ ชท้ ำ�ให้ UNFC-2009 ใชง้ านได้ ข้อกำ�หนดแสดงหลักเกณฑ์พ้นื ฐานท่ี
พิจารณาแล้วว่าจำ�เป็นสำ�หรับการรักษาความสอดคล้องในการประยุกต์ใช้ให้อยู่ในระดับท่ีเหมาะสม
ขอ้ กำ�หนดได้ให้ข้อแนะน�ำ เสรมิ ท่ีสำ�คญั ส�ำ หรบั การประยกุ ตใ์ ช้ UNFC-2009 ในสถานการณ์จำ�เพาะ
แบบตา่ งๆ ดว้ ย
ดว้ ยการครอบคลุมกิจกรรมการผลติ ทรัพยากรธรณที กุ ประเภท UNFC-2009 จงึ อาศัยหลกั การทว่ั ไป
และมีเครื่องมือสำ�หรับการรายงานที่ถูกต้องเกี่ยวกับกิจกรรมเหล่านี้ โดยไม่คำ�นึงถึงประเภทของ
สนิ ค้าโภคภณั ฑ์ มนั เป็นมาตรการท่ีแข็งแกรง่ ซ่งึ ปูทางส�ำ หรบั การปรบั ปรงุ การสือ่ สารทวั่ โลก และจะ
ช่วยให้มีความมั่นคงและความปลอดภัยภายใต้กฎระเบียบและแนวทางที่น้อยลงแต่เข้าใจกันอย่าง
กวา้ งขวางมากขน้ึ ประสทิ ธภิ าพทจ่ี ะไดร้ บั จากการใช้ UNFC 2009 และขอ้ ก�ำ หนดตา่ งๆ จงึ เปน็ รปู ธรรม

พิมพค์ ร้ังที่ 1 พ.ศ. 2558 โดยกองอนรุ กั ษแ์ ละจดั การทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี


Click to View FlipBook Version