The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by threeporpnatnat, 2019-03-28 23:39:00

การเขียน

การเขียนภาษาไทย

แผนการจัดการเรยี นรู้

แบบฐานสมรรถนะอาชพี และบรู ณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สถานศกึ ษา 3D

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2545
(ปรบั ปรุง 2556)

ประเภทวิชา เกษตรกรรม

รหสั วชิ า 2000 – 1105 วชิ า การเขยี นในงานอาชีพ

โดย
นายธีภพ เสอื คารณ

ครผู ชู้ ่วย

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

จุดประสงคข์ องกำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนกำรสอน/แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ มุ้งเน้นสมรรถนะ
อาชีพและบูรณาการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวิชา การเขียนในงานอาชีพ (2000-1105) เล่มนี้ได้
เขียนเรียบเรียงเน้ือหาตามจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา ตรงตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ 2545 ปรับปรุง พ.ศ 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพ่ือ
เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียนและครอู าจารยใ์ นการเรยี นการสอน

รำยละเอียดของแผน มุ้งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา การเขียนในงานอาชีพ (2000-1105 เน้ือหาจะประกอบไปด้วย การเขียนในงานอาชีพ การเรียบเรียง
ถ้อยคาสานวน โวหารที่ใช้ในชีวิตประจาวันและงาน อาชีพ เขียนสะกดคา เขียนคาทับศัพท์และศัพท์เฉพาะ
วิชาชีพ เขียนแสดงความคิดเห็นและแสดงความรู้สึกในโอกาสต่างๆ เขียนรายงานการประชุม บันทึกข้อความ
จดหมายกจิ ธุระและธรุ กิจ และเขียนบทรอ้ ยกรอง โฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ในงานอาชพี

ขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนช่วยเหลือและสนับสนุนในกำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ วิชาโครงงาน
ภาษาไทย (2000-1105) ทไ่ี ดใ้ ห้ความรใู้ นการจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการ
กบั นโยบายสถานศึกษา 3 ดี และบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไว้ ณ โอกาสน้ี

ลงชอ่ื ...................................................
(นายธีภพ เสอื คารณ)

สำรบัญ หนำ้

เรือ่ ง ก

คานา 1
สารบญั 2
จดุ ประสงคร์ ายวิชา/มาตรฐานรายวิชาและคาอธิบายรายวิชา 3
การวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรูแ้ ละสมรรถนะรายวิชา 4
ตารางวิเคราะห์หลักสตู รรายวิชา 7
ตารางวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้และเวลาท่ีใช้ในการจัดการเรียนรู้ 7
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 7
7
- สาระสาคญั 8
- สมรรถนะประจาหน่วย 8
- จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 9
- กิจกรรมการเรยี นรู้ 10
- การบูรณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 10
- การบูรณาการกับนโยบายสถานศกึ ษา 3 ดี 10
- สื่อการเรียนรู้ 11
- หลักฐานการเรยี นรู้ 11
- การวัดผลและประเมินผล 12
- กิจกรรมเสนอแนะ/งานทีม่ อบหมาย 14
- เอกสารอ้างอิง 14
- บันทกึ หลังการสอน 14
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 2 14
- สาระสาคญั 15
- สมรรถนะประจาหน่วย 15
- จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 16
- กิจกรรมการเรยี นรู้
- การบรู ณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- การบรู ณาการกับนโยบายสถานศกึ ษา 3 ดี

- สือ่ การเรยี นรู้ 17
- หลักฐานการเรียนรู้ 17
- การวดั ผลและประเมินผล 17
- กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทม่ี อบหมาย 18
- เอกสารอา้ งองิ 18
- บันทกึ หลังการสอน 19
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 3 21
- สาระสาคญั 21
- สมรรถนะประจาหน่วย 21
- จุดประสงค์การเรียนรู้ 21
- กิจกรรมการเรียนรู้ 22
- การบูรณาการกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 22
- การบรู ณาการกับนโยบายสถานศกึ ษา 3 ดี 23
- สื่อการเรียนรู้ 24
- หลักฐานการเรียนรู้ 24
- การวัดผลและประเมินผล 24
- กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทมี่ อบหมาย 25
- เอกสารอ้างอิง 25
- บนั ทึกหลังการสอน 25
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 4 27
- สาระสาคัญ 27
- สมรรถนะประจาหนว่ ย 27
- จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 27
- กิจกรรมการเรยี นรู้ 28
- การบูรณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 28
- การบูรณาการกับนโยบายสถานศึกษา 3 ดี 29
- สอื่ การเรียนรู้ 30
- หลกั ฐานการเรียนรู้ 31
- การวดั ผลและประเมนิ ผล 31
- กจิ กรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย 32
- เอกสารอ้างอิง 32
- บันทึกหลงั การสอน 33
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 5 35

- สาระสาคญั 35
- สมรรถนะประจาหน่วย 35
- จุดประสงค์การเรียนรู้ 35
- กิจกรรมการเรยี นรู้ 36
- การบรู ณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 36
- การบรู ณาการกับนโยบายสถานศึกษา 3 ดี 37
- สอ่ื การเรียนรู้ 38
- หลกั ฐานการเรยี นรู้ 38
- การวดั ผลและประเมินผล 38
- กิจกรรมเสนอแนะ/งานท่มี อบหมาย 39
- เอกสารอ้างอิง 39
- บันทกึ หลังการสอน 40

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 6 42
- สาระสาคญั 42
- สมรรถนะประจาหน่วย 42
- จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 42
- กิจกรรมการเรียนรู้ 43
- การบรู ณาการกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 43
- การบรู ณาการกับนโยบายสถานศกึ ษา 3 ดี 44
- ส่ือการเรยี นรู้ 45
- หลักฐานการเรยี นรู้ 45
- การวดั ผลและประเมนิ ผล 45
- กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทม่ี อบหมาย 46
- เอกสารอ้างองิ 46
- บนั ทึกหลังการสอน 47
49
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 7 49
- สาระสาคัญ 49
- สมรรถนะประจาหนว่ ย 49
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 50
- กิจกรรมการเรียนรู้ 50
- การบูรณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 51
- การบูรณาการกับนโยบายสถานศึกษา 3 ดี

- ส่อื การเรียนรู้ 52
- หลักฐานการเรียนรู้ 52
- การวัดผลและประเมินผล 52
- กิจกรรมเสนอแนะ/งานทม่ี อบหมาย 53
- เอกสารอ้างอิง 53
- บันทกึ หลงั การสอน 54

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 8 56
- สาระสาคญั 56
- สมรรถนะประจาหนว่ ย 56
- จุดประสงค์การเรียนรู้ 56
- กจิ กรรมการเรียนรู้ 57
- การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 57
- การบูรณาการกับนโยบายสถานศกึ ษา 3 ดี 58
- สอื่ การเรียนรู้ 59
- หลักฐานการเรยี นรู้ 59
- การวดั ผลและประเมนิ ผล 59
- กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทมี่ อบหมาย 60
- เอกสารอ้างอิง 60
- บนั ทกึ หลงั การสอน 61

แผนการจัดการเรยี นรู้

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2545 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2556) ประเภทวิชาสามญั

สาขาวชิ า - สาขางาน -

รหัสวิชา 2000- 1105 ชอ่ื วชิ า การเขียนในงานอาชพี

จานวน 1 หนว่ ยกิต 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

จดุ ประสงค์รายวิชา
1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับการใชภ้ าษาไทยสื่อสารในงานอาชพี
2. สามารถนาภาษาไทยไปใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื สื่อสารในงานอาชพี
3. เห็นคุณคา่ และความสาคญั ของการใช้ภาษาไทยส่อื สารในงานอาชีพ

มาตรฐานรายวิชา
1. อธบิ ายขั้นตอนการจัดทาโครงงานภาษาไทยได้
2. นาเสนอผลงานทเ่ี กิดจากการทาโครงงานภาษาไทยได้
3. นาสงิ่ ท่ีได้รบั จากการจัดทาโครงงานไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตได้
4. ใช้กระบวนการจดั ทาโครงงานไปประยุกตใ์ ช้ในการแกป้ ัญหาได้

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฎิบัติเก่ียวกับหลักการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ

ประเมินค่าสารในชีวิตประจาวันและในงานอาชีพจากสื่อประเภทต่างๆ การนาเสนอข้อมูลหรือบรรยายสรุป
การพดู ในงานอาชีพและในโอกาสตา่ งๆ ของสังคม การเขียนเพื่อติดต่อกิจธุระและธุรกิจ และการเขียนรายงาน
วชิ าการศึกษาหรอื รายงานวจิ ัย

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการใช้และหลกั การเขียนถ้อยคา สานวนโวหาร
2. เขียนคาทับศพั ท์ ศัพท์เฉพาะวิชาชพี ถูกต้องตามหลกั การเขียน
3. เขยี นขอ้ ความติดต่อกจิ ธรุ ะ และธุรกจิ ตามรปู แบบและหลักการ

การวเิ คราะห์หน่วยการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะรายวิชา

รหัสวชิ า 2000- 1105 ชอ่ื วิชา การเขียนในงานอาชีพ จานวน 1 หน่วยกติ 1 ชม./สัปดาห์

หน่วยที่ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะรายวิชา
1. ความรเู้ ก่ียวกับการเขยี น
1 ความรู้เก่ยี วกบั ภาษาไทย 2. ความหมายของคาในภาษาไทย
3. คาท่ีใช้ในโครงงาน
2 การใช้ภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร 1. การใช้ถ้อยคา สานวน โวหาร ในชีวิต ประจาวันและ

3 การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินค่าสาร ในการประกอบอาชีพ
4 การนาเสนอขอ้ มลู และการบรรยายสรปุ 2. ทักษะกระบวนการที่ใช้ในการทาโครงงาน
5 การพดู ในงานอาชีพ 3. ขน้ั ตอนการจดั ทาโครงงาน
1. การเขียนและการสะกดคา
6 การพดู ในโอกาสตา่ งๆ ของสงั คม 2. องค์ประกอบของโครงรา่ งโครงงาน
7 การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ 3. หลักการเขยี นโครงร่างโครงงาน
8 การเขยี นจดหมายธรุ กจิ 1. การศึกษาคน้ ควา้ เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
2. การดาเนนิ งานจัดทาโครงงาน
3. การรายงานการจดั ทาโครงงาน
1. การเขียนแสดงความคิดเห็นและแสดงความรสู้ ึกใน

โอกาสต่างๆ
2. การนาเสนอผลงาน
3. ข้อคิดเก่ยี วกับการนาเสนอผลงาน
1. การเขียนรายงานการประชุม
2. การนาเสนอผลงาน
3. ข้อคิดเก่ียวกบั การนาเสนอผลงาน
1. การบนั ทกึ ขอ้ ความ
2. การพัฒนาผลงานสเู่ ชิงพาณชิ ย์
3. การพัฒนาผลงานสกู่ ารประกวด
1. การเขยี นจดหมายธรุ กจิ
2. การออกแบบการจดั นิทรรศการ
3. การออกแบบกาหนดการทางาน

ตารางวิเคราะห์หลกั สูตรรายวิชา

รหัสวิชา 2000- 1105 ช่ือวิชา การเขียนในงานอาชพี จานวน 1 หน่วยกติ 1 ชม./สัปดาห์

ระดับพฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์
พุทธพิ ิสยั

หนว่ ยท่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ความรู้
ความเ ้ขาใจ
นาไปใ ้ช
ิวเคราะ ์ห
ัสงเคราะห์
ประเ ิมนค่า
รวม
ทักษะพิ ัสย
ิจตพิ ัสย
เวลา (ชม.)

1 ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย - - - 3  2
2 การใช้ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร - - - 3 2

3 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ ค่าสาร - - - 3 2

4 การนาเสนอข้อมูลและการบรรยายสรปุ - - - 3 2
- - - 3 2
5 การพดู ในงานอาชพี
- - - 3 2
6 การพูดในโอกาสตา่ งๆ ของสังคม
 - - 4 2
7 การเขียนจดหมายกจิ ธุระ
 - - 4  4
8 การเขียนจดหมายธรุ กิจ 8 8 8 2 0 0 26 8 8 18
ความสาคัญ/สดั ส่วนคะแนน (รอ้ ยละ)

ตารางวเิ คราะห์หนว่ ยการเรียนรู้และเวลาทใ่ี ช้ในการจัดการเรยี นรู้

รหัสวชิ า 2000- 1105 ช่อื วิชา การเขยี นในงานอาชีพ จานวน 1 หน่วยกติ 1 ชม./สัปดาห์

หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรแู้ ละรายการสอน สปั ดาห์ท่ี ชั่วโมงท่ี

1 ความรเู้ กีย่ วกบั ภาษไทย

ความรู้เกย่ี วกบั การเขยี น 1-2 1-2

ความหมายของคาในภาษาไทย

2 การใช้ภาษาเพ่ือการส่อื สาร

1. การใช้ถอ้ ยคา สานวน โวหาร ในชีวติ ประจาวันและในการ

ประกอบอาชีพ 3-4 3-4
2. ทกั ษะกระบวนการท่ีใชใ้ นการทาโครงงาน

3. ขั้นตอนการจัดทาโครงงาน

3 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ คา่

1. การเขยี นและการสะกดคา 5-6 5-6
2. องค์ประกอบของโครงรา่ งโครงงาน

1. หลักการเขียนโครงร่างโครงงาน

4 การนาเสนอข้อมูลและการบรรยายสรุป 7-8 7-8
1. การศกึ ษาค้นคว้าเอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง

2. การดาเนนิ งานจัดทาโครงงาน

3. การรายงานการจดั ทาโครงงาน

5 การพูดในงานอาชีพ 10 - 11 10 - 11
1. การเขยี นแสดงความคิดเห็นและแสดงความรู้สึกในโอกาส

ต่างๆ

2. การนาเสนอผลงาน

3. ขอ้ คิดเกี่ยวกบั การนาเสนอผลงาน

ตารางวิเคราะห์หนว่ ยการเรยี นรู้และเวลาท่ใี ช้ในการจัดการเรียนรู้

รหสั วิชา 2000- 1105 ช่อื วิชา การเขียนในงานอาชีพ จานวน 1 หน่วยกิต 1 ชม./สัปดาห์

หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้และรายการสอน สัปดาหท์ ่ี ชัว่ โมงท่ี

6 การพดู ในโอกาสตา่ งๆ ของสังคม

1. การเขียนรายงานการประชมุ

2. การนาเสนอผลงาน 12 - 13 12 - 13

3. ข้อคิดเกี่ยวกบั การนาเสนอผลงาน

7 การเขียนจดหมายกิจธุระ 14 - 15 14 - 15
1. การบันทกึ ขอ้ ความ

2. การพฒั นาผลงานสู่เชิงพาณชิ ย์

3. การพัฒนาผลงานสู่การประกวด

8 การเขียนจดหมายธุรกิจ 16 - 17 16 - 17
1. การเขยี นจดหมายธรุ กิจ

2. การออกแบบการจดั นิทรรศการ

3. การออกแบบกาหนดการทางาน

สอบปลายภาค 18 -
18
รวม

แผนผังควำมคดิ

หน่วยท่ี 1 ควำมรู้เกี่ยวกับกำรเขยี น
ท่บี ูรณำกำรหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมำณ
1. ผู้เรยี นจัดสรรเวลาในการฝกึ ปฏิบัตติ ามใบงานได้อย่างเหมาะสม

มีเหตผุ ล ภมู ิคมุ้ กนั

2. จัดสรรเนื้อหา ไดอ้ ย่างถกู ต้อง มเี หตุผลและสามารถ 3. มที กั ษะใน ประยกุ ต์ ในชีวิตประจาได้อยา่ งมี
ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ธุรกิจ และในชวี ติ ประจาวนั ได้ ประสทิ ธภิ าพ

ภำษำไทยในกำรเขียน

ควำมรู+้ ทกั ษะ คณุ ธรรม
- มีขยนั อดทน
- มีความรู้เบ้ืองตน้ เกยี่ วกับ ภาษาไทย - มคี วามรับผดิ ชอบ
- มคี วามเข้าใจเกย่ี วกบั การเขียนภาษาไทย - มีความประหยัด
- มีความร้กู ารเขยี นคาภาษาไทย - แบ่งปัน

สงั คม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
3
312

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ หน่วยที่ 1

รหสั วชิ า 2000-1105 ชอื่ วชิ า การเขยี นในงานอาชพี สอนครัง้ ท่ี 1 - 2

ชือ่ หนว่ ย ความรเู้ กี่ยวกบั การสอน จานวน 2 ช่ัวโมง

สำระสำคญั
โครงงาน เป็นการจัดการเรียนรู้วิธีหน่ึง ส่งเสริมให้ผู้เรียนด้วยการค้นคว้าลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะ

ของการสารวจ คน้ ควา้ ทดลอง ประดิษฐ์คดิ ค้น ผู้เรียนจะรวบรวมข้อมูลนามาวิเคราะห์ ทดสอบเพื่อแก้ปัญหา
นาความรู้จากช้ันเรียนมาบูรณาการในการแก้ปัญหาค้นหาคาตอบ เป็นกระบวนการค้นพบนาไปสู่การเรียนรู้
เกดิ ทักษะการทางานกับผอู้ ืน่ ทกั ษะการจดั การ

โครงงานเป็นกิจกรรมทางวิชาการที่ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการ
พัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ คนมีเหตผุ ล สรุปเรอื่ งราวอย่างมีกฎเกณฑ์ ทางานอย่างมีระบบ มสี วนชว่ ยให้เกิดการศึกษา
การวางแผนการทางาน การริเริ่มปฏิบัติงานใหม่ๆ ดังนั้นโครงการจึงมีบทบาทสาคัญต่อการปฏิบัติงานมีความ
จาเปน็ ท่ีนักศึกษาจะต้องศกึ ษาเพื่อเป็นประโยชนใ์ นอนาคต
สมรรถนะประจำหน่วย

1. หลักการสะกดคาท่ีถูกตอ้ ง

2. การเขยี นคาถูกและผิด

3. การพจิ ารณาคาในภาษาไทย

จุดประสงค์กำรเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1. สามารถความหมายและความสาคญั ของโครงงาน
2. ลกั ษณะการจดั ทาโครงงาน
3. ประเภทของโครงงาน
4. ประโยชนข์ องการจัดทาโครงงาน

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถทางานร่วมกนั ดว้ ยความสมัครสมานสามคั คี จากการเรียนรู้แบบมสี ่วน

ร่วม (Collaborative Learning)
สำระกำรเรียนรู้

1. เข้าใจความหมายและความสาคัญของโครงงาน
2. เข้าใจหลกั การจดั ทาโครงงานการประเภทต่างๆ
3. เขา้ ใจประโยชน์ของการจดั ทาโครงงาน
กิจกรรมกำรเรียนรู้

ขั้นนำ
1. ตรวจสอบรายช่อื นักศึกษาทีเ่ ขา้ เรยี น
2. ให้นกั ศึกษาคน้ คว้า
3. ร่วมสนทนาเกี่ยวกบั เร่ือง การจดั ทาโครงงาน ทั่วๆไป

ขน้ั สอน
1. บอกจุดประสงค์การเรยี น
2. บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวิธีการปฏิบัตใิ นแต่ ละหัวขอ้ การเรยี นและให้นักศกึ ษาปฏิบัติไป
พรอ้ มกัน
3. ครูบอกวิธกี าร และแนวคดิ ในการปฏบิ ตั ทิ ีถ่ ูกต้องให้แก่ผูเ้ รยี น
4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครจู ะซักถามในแตล่ ะคน

ขั้นสรุปทบทวนและสรุปเนอ้ื หำในบทเรยี น
1. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ สาระสาคัญ
2. เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสัย
3. มอบหมายใหไ้ ปหดั ทาและศกึ ษาเพ่ิมเติม
4. ทาแบบทดสอบ

กำรบรู ณำกำรกับหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักควำมพอประมำณ
1. ผเู้ รยี นจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานไดอ้ ย่างเหมาะสม
2. กาหนดเนอื้ หาเหมาะสมกบั เกณฑ์การประเมนิ การจดั ทาโครงงาน
3. ผู้เรยี นรู้จักใช้และจดั การวสั ดุอุปกรณ์ตา่ ง ๆ อย่างประหยัดและคมุ้ คา่
4. ผเู้ รียนปฏิบัติตนเป็นผนู้ าและผู้ตามทีด่ ี
5. ผเู้ รียนเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของกลุม่ เพ่อื นและสงั คม
หลกั ควำมมเี หตผุ ล
1. เห็นคุณคา่ ของ การจดั ทาโครงงาน ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและชดั เจน
2. จดั สรรเนื้อหาของ การจดั ทาโครงงาน ได้อยา่ งถูกต้องมีเหตผุ ลและสามารถประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนินธรุ กจิ และในชวี ติ ประจาวนั ได้
3. กลา้ แสดงความคดิ อยา่ งมีเหตุผล
4. กล้าทกั ท้วงในสงิ่ ท่ีไม่ถูกตอ้ งอยา่ งถกู กาลเทศะ
5. กล้ายอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่ืน
6. ใชว้ สั ดถุ กู ตอ้ งและเหมาะสมกับงาน

7. ไมม่ เี ร่ืองทะเลาะวิวาทกบั ผูอ้ ่ืน
8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ท่ีเกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสงั คม
9. มีความคดิ วิเคราะห์ในการแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ
หลกั ภมู คิ มุ้ กัน
1. มที ักษะใน การจดั ทาโครงงาน ประยุกต์ในชวี ติ ประจาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ท่ีถูกต้อง พร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการ การ

จัดทาโครงงาน ทด่ี ีและมีสาระสาคัญทส่ี มบรู ณ์
3. มีการเตรียมความพรอ้ มในการเรยี นและการปฏิบตั ิงาน
4. กล้าซักถามปัญหาหรือขอ้ สงสยั ตา่ ง ๆ อยา่ งถูกกาลเทศะ
5. แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ดว้ ยตนเองอย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล
6. ควบคมุ อารมณข์ องตนเองได้
7. ควบคมุ กริยาอาการในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้เปน็ อย่างดี
เงอ่ื นไขคุณธรรม
1. ปฏิบตั งิ านที่ไดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดอุ ุปกรณ์อย่างคมุ้ ค่า ประหยดั (ความประหยดั )
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ

อดทน)
4. ให้ความรว่ มมือกบั การทากจิ กรรมของสว่ นรวม อาสาช่วยเหลอื งานครูและผ้อู ่ืน(แบ่งปนั )
เงื่อนไขควำมรู้
1. ผเู้ รยี นไดน้ ากระบวนการความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับ การเขยี น
2. มีความรูแ้ ละเขา้ ใจในหลักการทางาน
3. ใชว้ ัสดอุ ยา่ งประหยัดและคุ้มคา่
4. ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความละเอียดรอบคอบ
5. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กำรบูรณำกำรกบั นโยบำยสถำนศกึ ษำ 3 ดี
ด้ำนประชำธิปไตย (Democracy)
1. การรายงานหนา้ ชัน้ เรียนไดอ้ ย่างอสิ ระ
2. การให้ผฟู้ งั แสดงความคดิ เหน็ ภายในชนั้ เรยี นได้อย่างอิสระ

ดำ้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและควำมเป็นไทย (Decency)
1. ปฏิบัติงานทีไ่ ด้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ)

2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มคา่ ประหยัด (ความประหยดั )
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ

อดทน)

4. ใหค้ วามร่วมมือกับการทากจิ กรรมของสว่ นรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อ่ืน(แบ่งปนั )

ดำ้ นภมู คิ มุ้ กันภยั จำกยำเสพตดิ (Drug Free)
การปลกู ฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรยี นรูด้ หู นังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เลน่

กีฬาอยู่เสมอเพ่ือให้ร่างกายแขง็ แรงความจาดี เปน็ การใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ซึง่ สง่ ผลทาให้ห่างไกลจาก
ยาเสพตดิ อย่างแทจ้ ริง
ส่ือกำรเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี นวชิ า

2. ใบความรปู้ ระจาหนว่ ย

3. ใบงานและแบบฝึกหัด

4. ซีดสี ือ่ การสอน

5. คน้ ควา้ ข้อมูลจากระบบอินเตอร์เนต็

6. ห้องสมุด

หลักฐำนกำรเรียนรู้
หลกั ฐำนควำมรู้
1. แบบทดสอบ

2. แบบฝกึ หัด

3. รายงาน

4. ใบงาน
หลักฐำนกำรปฏิบัติงำน

1. รวบรวมผลงานที่เป็นผลงานท่ีถูกต้องในภาระงานท่ีมอบหมาย และผู้เรียนทาการปรับปรุง

แกไ้ ขช้นิ งานทย่ี ังไม่ถกู ตอ้ งให้ถูกต้อง แล้วจัดทาเป็นแฟ้มสะสมผลงาน

2. แฟ้มสะสมผลงานการทดสอบของผเู้ รียน

กำรวดั ผลและประเมินผล

- แบบประเมนิ พฤติกรรมผเู้ รยี น

- แบบทดสอบภาคความรู้

- แบบนาเสนอผลงาน

- แบบประเมนิ ช้ินงานท่ีมี

- แบบประเมินปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

กำรประเมินผล

เกณฑ์กำรประเมนิ ผล

วดั ผลสัมฤทธิ์จำกกิจกรรมกลุ่มและแบบฝึกหัดมีเกณฑด์ ังน้ี

รอ้ ยละ 80-100 หมายถงึ ผลการเรยี นดีมาก

รอ้ ยละ 70-79 หมายถงึ ผลการเรียนดี

รอ้ ยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรยี นปานกลาง

ร้อยละ 50-59 หมายถงึ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์

ต่ากวา่ รอ้ ยละ 50 หมายถงึ ผลการเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์

แบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

18-20 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดมี าก

14-17 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี

10-13 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมพอใช้

ต่ากว่า 10 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

คำชี้แจง ให้ขดี เคร่ืองหมายถูก ในช่องพฤตกิ รรมของนกั เรยี นเพอ่ื ประเมนิ

คุณธรรมจรยิ ธรรม

เกณฑก์ ำรตดั สนิ

4 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดมี าก

3 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดี

2 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมพอใช้

1 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมต้องปรับปรงุ

เกณฑก์ ำรประเมิน

18-20 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดมี าก

15-17 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี

10-14 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมพอใช้

ตา่ กว่า 10 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ/งำนที่มอบหมำย (ถำ้ ม)ี
-ไมม่ ี-

เอกสำรอำ้ งองิ
วุฒพิ งษ์ อนิ ทิแสง.การเขียนธุรกิจ.2551. สานกั พิมพ์ ศูนยส์ ่งเสรมิ อาชวี ะ.กรุงเทพ.

ใบงานชิน้ ที่ 1 การเขียนคาไทย

1) กะเทย VS กระเทย
คาทถี่ ูก >> กะเทย
คาทผ่ี ิด >> กระเทย
คาคาน้ีเจอไดบ้ ่อยค่ะ แตจ่ ะมีก่ีคนทเ่ี ขยี นถูก ทอ่ งให้ขนึ้ ใจเลยนะคะ คานี้ ไมม่ ี "ร" จ้า

2) โควตา VS โควต้า
คาที่ถูก >> โควตา
คาที่ผิด >>โควตา้
ตามหลกั การเขยี นคาทบั ศพั ท์ภาษาองั กฤษ ไมต่ ้องเติมวรรณยุกตค์ ่ะ ดงั น้ัน Quota จงึ เขยี นไดว้ า่

โควตา ไม่ต้องเติมไม้โทให้คาว่า "ตา" นะ
3) ต่างๆ นานา VS ตา่ งๆ นาๆ
คาที่ถูก >> ตา่ งๆ นานา
คาที่ผิด >> ต่างๆ นาๆ
โดยปกติคาซ้าจะเติมเคร่ืองหมายไม้ยมกไว้ด้านหลงั คาท่ีต้องการซา้ ยกเวน้ คาว่า "นานา" "จะจะ" ท่ไี ม่

ตอ้ งซ้านะ เขยี นแบบเดมิ สองครงั้ ได้เลย
4) ผลดั วันประกันพรุ่ง VS ผัดวันประกนั พรุ่ง
คาทถี่ ูก >> ผดั วนั ประกนั พรุ่ง
คาทีผ่ ิด >> ผลัดวันประกนั พรงุ่
ข้อนี้ออกข้อสอบบ่อยค่ะ พี่มิน้ ทค์ อนเฟริ ์ม ผดั วนั ประกนั พรุง่ ไม่ตอ้ งมี "ล" นะคะ "ผลัด" แบบนใ้ี ช้

สาหรบั "ผลัดผา้ " ค่ะ
5) ผาสุข VS ผาสุก
คาทถ่ี ูก >> ผาสกุ
คาทีผ่ ิด >> ผาสขุ
เชื่อวา่ หลายคนไปโยงกบั ความหมายความสุข ก็เลยใช้ "ข" สะกด แตจ่ ริงๆ แลว้ ใช้ "ก" สะกดค่ะ
6) พะแนง VS พแนง
คาที่ถูก >> พะแนง
คาที่ผดิ >> พแนง
พะแนง อาหารโปรดของใครหลายคน คาๆ นี้ นอ้ งๆ สะกดได้ตรงตัวเลย เขียนงา่ ยๆ วา่ "พะแนง"
7) อย่าร้าง VS หย่าร้าง
คาทถ่ี ูก >> หย่ารา้ ง
คาที่ผดิ >> อย่าร้าง
คาว่า "หย่า" กบั "อย่า" ออกเสียงเหมือนกนั แต่มคี วามหมายต่างๆ กันค่ะ "อยา่ " เปน็ คาช่วยกริยาที่

บอกหา้ มหรอื ไมใ่ หท้ าสิง่ ใดๆ สว่ น "หย่า" หมายถงึ การเลิกเปน็ สามีภรรยากนั เขียนให้ถูกกันนะจะได้ไมง่ ง
ความหมาย

8) มัคคุเทศน์ VS มัคคุเทศก์
คาท่ีถกู >> มคั คเุ ทศก์
คาท่ีผดิ >> มคั คุเทศน์
มคั คเุ ทศก์ ก็คอื ผนู้ าเท่ียวหรือไกด์นัน่ เอง ไม่ใชพ่ ระทจ่ี ะต้องไปนง่ั เทศน์ ดังน้นั "เทศ.." ใช้ "ก"์ นะคะ

จาง่ายๆ แค่น้ี
9) กงเกวียนกาเกวยี น VS กงกากงเกวียน

คาท่ถี ูก >> กงเกวียนกาเกวียน
คาทผี่ ดิ >> กงกากงเกวยี น
คานี้เป็นสานวน หลายคนตดิ ใช้ กงกากงเกวียนหรือกงกรรมกงเกวียน แตท่ ่ีถกู ต้องคือ"กงเกวียนกา
เกวยี น" นะคะ เพราะทั้ง กง และ กา เป็นส่วนประกอบของล้อเกวยี น โดยคานม้ี ีความหมายว่า กรรมตาม
สนองค่ะ
10) กังวาล VS กังวาน
คาที่ถกู >> กงั วาน
คาท่ผี ิด >> กังวาล
กงั วาน หมายถึง เสียงท่ีก้องอยู่ไดน้ าน กังวาน เปน็ อกี คาท่สี ะกดดว้ ย "น" ไดเ้ ลย ไมต่ อ้ งไปสะกด
แบบอืน่ ให้มนั ยากกว่าเดมิ
11) อนญุ าติ VS อนุญาต
คาที่ถูก >> อนญุ าต
คาทีผ่ ิด >> อนุญาติ
พี่เกียรติเคยอธบิ ายการจาวธิ ีเขยี นคาน้ีไวใ้ นบทความ รวมเดด็ ! วิธีจาคาไทย จากจายากเป็นจา
แมน่ ! ไว้วา่ ให้ท่องไว้วา่ อนุญาต ไม่ใช่ "ญาติ" ตัวเลก็ ๆ (อนุ แปลว่า นอ้ ย,เล็ก) ดังนน้ั แค่ท่องประโยคนี้ก็
เตือนสติเวลาเขียนได้แล้วคะ่
12) ขี้เกยี จ VS ข้เี กลยี ด

คาท่ีถูก >> ข้เี กียจ
คาท่ผี ิด >> ขี้เกลยี ด
นอ้ งๆ คงไม่มีปัญหากับคาว่า เกลียด เพราะจาได้ไมย่ าก ซง่ึ คาว่าเกลยี ดจะหมายถึง ไมช่ อบ, ชงั
คานยี้ ังมคี วามหมายเหมือนกับ "รังเกียจ" อกี ด้วย ดจู ากวิธเี ขยี นของคาสองคาก็ต่างกันแล้ว ดงั นั้นเม่ือเจอ "ข้ี
เกียจ" อกี คานงึ น้องๆ อาจจะสบั สน มองวา่ มาจากคาวา่ ขี้+เกลยี ด หรอื เปลา่ จึงจาผดิ มาโดยตลอด ขอใหจ้ า
ใหม่นะคะ ขเี้ กียจ ไม่ต้องควบกล้าและใช้ "จ" สะกดค่ะ
13) ศรีษะ VS ศีรษะ
คาทถ่ี ูก >> ศรี ษะ
คาที่ผดิ >> ศรีษะ
การสะกดคานม้ี ีปัญหาเพียงอย่างเดยี วคือการเติมสระอี ที่มกั วางผดิ ตาแหน่งไปวางตรง "ร" ขอให้
น้องๆ จาให้ขึ้นใจวา่ หวั เป็นของสูง และเราก็มักจะใส่หมวกที่หัว ดังนนั้ "ศ" หวั ของตัวอกั ษรอยู่สูงกว่า "ร" จึง
ตอ้ งเอาสระอีไปวางไว้ท่ี "ศ" คะ่
14) ผัดไทย VS ผดั ไท
คาที่ถูก >> ผดั ไทย
คาท่ผี ิด >> ผัดไท

คานี้มีวิธกี ารจาง่ายๆ ตามท่รี าชบณั ฑติ ยสถานบอกไวก้ ็คือ คาว่า "ไทย" ในผัดไทย เขยี นเหมือนคน
ไทย นั่นเอง (กม็ ันอาหารของคนไทยนี่)

15) อานสิ งส์ VS อานสิ งฆ์
คาที่ถกู >> อานสิ งส์
คาทผ่ี ิด >> อานิสงฆ์
คาสองคานใ้ี ห้ความรสู้ ึกใกลเ้ คียงกัน คือ เป็นเร่ืองของศาสนา น้องๆ จึงอาจโยงความหมายและการ

สะกดคาเข้าด้วยกัน ซ่ึงความจรงิ แลว้ อานสิ งส์ มคี วามหมายในตวั คือ ผลแหง่ กุศลกรรม ซึ่งเปน็ คาบาล(ี อา
นิสส) ไมใ่ ช่ พระสงฆ์ ดังนนั้ จึงใช้ "ส"์

16) ใบกะเพรา VS ใบกระเพรา
คาท่ีถูก >> ใบกะเพรา
คาท่ีผิด >> ใบกระเพรา
รา้ นอาหารตามส่ังส่วนมากเขยี นคานี้ผดิ ค่ะ การเขยี นทีถ่ ูกตอ้ งจรงิ ๆ มี "ร" เพียงแคท่ ี่เดยี ว คือ"

เพรา" สว่ น "กะ" ไม่ต้องนะคะ
ซ่งึ คานี้จะสลับกับคาวา่ กระเพาะ(อาหาร) ท่ีมี "ร" ในคาว่า "กระ" สว่ น "เพาะ" ไม่มี

17) ข้าวเหนยี วมนู VS ข้าวเหนยี วมลู
คาที่ถกู >> ขา้ วเหนยี วมนู
คาทผี่ ิด >> ขา้ วเหนียวมลู
พดู ถงึ คาน้ี ดูไมน่ ่าจะมคี นเขียนผดิ นะ แต่ไมเ่ ชื่อกต็ อ้ งเชื่อว่าคนเขียนผดิ เยอะมาก เพราะชนิ กบั คาวา่

"มลู " โดยหารู้ไม่วา่ คาวา่ มูล หมายถงึ ราก หรือเศษสงิ่ ของต่างๆ รวมไปถงึ อจุ จาระ ซึง่ ...เอามารวมกับส่งิ ท่เี ป็น
ของกนิ ถงึ จะเป็นแค่ชื่อก็ไม่ไหวนะคะ ใครจะกลา้ กนิ ล่ะเน่ีย

สว่ น "มูน" ในที่นห้ี มายถึง การเอากะทมิ าคลุกเคล้ากบั ขา้ วเหนยี วเพื่อให้เกิดความมนั นน่ั เอง
18) คลนิ ิก VS คลีนิก VS คลินคิ

คาทถี่ ูก >> คลินกิ
คาทผ่ี ดิ >> คลีนกิ / คลินิค
คานเี้ ขยี นกันหลากหลายรปู แบบเลย ทงั้ คลนิ ิก/ คลีนิก/ คลนี ิค/ คลนิ ิค แตท่ ี่ถกู ต้องจรงิ ๆ เป็น
เสยี งสน้ั ใช้สระอิ และใช้ "ก" สะกดจ้า
19) อุบาทว์ VS อบุ าท VS อุบาต
คาทถ่ี ูก >> อุบาทว์
คาท่ีผดิ >> อบุ าท
คาที่ออกเสยี งวา่ "บาด" ในภาษาไทยมีหลายคาทเี ดยี วคะ่ เช่น บาท=เท้า, บาตร=บาตรใส่อาหาร
ของพระ, บาด=ของมีคมบาดจนเป็นแผล, บาต=อุกกาบาต รวมถงึ คาวา่ อุบาทว์ ซง่ึ กเ็ ขียนตา่ งจาก "บาด" คา
อ่ืนๆ โดยจะต้องมี "ว์" ตามหลงั "ท" เสมอคะ่
20) คัดสรร VS คัดสรรค์
คาที่ถกู >> คดั สรร
คาที่ผดิ >> คดั สรรค์
ตระกลู คาที่ออกเสียงวา่ "สัน" ในภาษาไทยกม็ ีหลายคาเหมอื นกัน วธิ ีเขียนก็มีทั้งทเี่ ปน็ ร หัน ( -รร)
และเขียนโดยใช้ไม้หันอากาศ ในส่วนทใี่ ช้ ร หัน (-รร) ก็ยิง่ สับสนงงงวยไปอีก เม่ือบางคาก็มีตวั การนั ต์ บางคาก็
ไม่มตี ัวการันต์ จากตวั อย่างคาวา่ "คัด-สนั " ท่ยี กมาน้กี ็เปน็ อกี คาท่เี ขียนผิดบ่อยสดุ ๆ ท่องกนั ใหข้ ้ึนใจเลยนะคะ
"คัดสรร" ไม่ตอ้ งมีตวั "ค"์ จา้ เพราะคาว่า "สรร" หมายถึง การเลอื ก, การคัด อยู่แลว้ และคานี้กเ็ ปน็ คาซอ้ นที่

เอาความหมายเหมือนกันมาซ้อนคากนั น่ันเอง
21) สังสรรค์ VS สังสรร
คาท่ีถูก >> สังสรรค์
คาทผี่ ดิ >> สงั สรร
อีกหน่ึงตัวอย่างสาหรับคาตระกูล "สัน" แตส่ าหรบั คาวา่ สงั สรรค์ จะตอ้ งตามด้วย "ค์" เสมอ
22) โคตร VS โครต
คาทถี่ ูก >> โคตร
คาทผ่ี ิด >> โครต
ทั้ง 2 คาอ่านวา่ "โคด" เหมือนกัน แต่ถ้าสงั เกตการออกเสียงดีๆ จะรู้ว่าคานี้ไมม่ ีควบกล้า ดังน้นั วิธี

เขียนท่ีถูกต้องคือ เอา "ร" ไวห้ ลังสดุ คือ โคตร (บางทีอา่ นเลน่ ๆ กันวา่ โค-ตะ-ระ นัน่ เอง)
23) จลาจล VS จราจล
คาทถี่ ูก >> จลาจล
คาท่ผี ดิ >> จราจล
สมัยเด็กๆ สับสนคานกี้ นั หลายคน เพราะหน้าตามนั ละม้ายคลา้ ยกับคาวา่ "จราจร" วิธจี าใหเ้ ขียน

ถูกง่ายนดิ เดียว คาว่า "จราจร" ใช้ "ร" ทั้งสองตวั ส่วน "จลาจล" ก็ใช้ "ล" ทงั้ สองตัวเช่นเดยี วกันคะ่
24) น้ามันก๊าซ VS น้ามนั ก๊าด
คาทถ่ี ูก >> นา้ มนั ก๊าด
คาทผ่ี ิด >> นา้ มนั กา๊ ซ
น้ามันกา๊ ดเป็นเชอื้ เพลิงชนิดหน่ึง ในสมัยก่อนใช้จุดให้แสงสวา่ งในตะเกียงและยังสามารถใช้เป็น

เชอื้ เพลงิ ในเคร่อื งยนต์ได้ด้วย วิธเี ขียนอาจไม่คุ้นชนิ แตใ่ ห้จาเอาไว้ว่าเขยี นให้งา่ ยๆ ตามแบบคนไทยใช้ "ด"
สะกดไปเลยค่ะ

สว่ นทีเ่ ราใชผ้ ิดบอ่ ยๆ วา่ "น้ามันก๊าซ" นั้นนา่ จะติดมาจากคาว่า "ก๊าซ" หรอื "แก๊ส" ท่ีมาจากต้นฉบับ
ภาษาอังกฤษว่า gas น่นั เอง

25) เครอ่ื งหมายดอกจัน VS เครอ่ื งหมายดอกจนั ทร์ VS ดอกจนั ทน์
คาท่ีถูก >> เคร่ืองหมายดอกจนั
คาท่ผี ดิ >> เครื่องหมายดอกจันทร/์ เคร่ืองหมายดอกจันทน์
เปน็ อกี คาท่ใี ชผ้ ดิ บ่อยจรงิ ๆ ค่ะ แล้วกโ็ ผล่อยูใ่ นขอ้ สอบเกือบทุกโรงเรียน ฮ่าๆ ตระกลู คาวา่ "จัน" ท้งั

จนั ทร์, จันทน์, จัน ใช้สบั สนกนั ไปหมด ซงึ่ การเขียนที่ถกู ต้องจรงิ ๆ ของกลุ่มน้ีคาน้ี มดี ังนี้
จนั = ใช้กับคาวา่ เครื่องหมายดอกจัน
จนั ทร์ = วนั จันทร์
จันทน์ = ดอกไม้จนั ทน์, ดอกจนั ทน์(ส่วนเยื่อหุ้มเมลด็ จนั ทนเ์ ทศ)
ดงั นนั้ สรุปวา่ เคร่ืองหมายดอกจนั ไม่ต้องมีตัวการนั ตท์ ้งั ส้ินค่ะ

จงเขยี นตามคาบอกให้ถกู ต้อง

ลาดบั ท่ี คาไทย ความหมาย

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

บนั ทกึ หลังกำรสอน
ข้อสรปุ หลงั การจัดการเรียนรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาอปุ สรรคท่ีพบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางแกป้ ัญหาและหรือพัฒนา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนผังควำมคดิ

หน่วยท่ี 2 เรื่อง กำรใชถ้ ้อยคำ
ท่บี ูรณำกำรหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมำณ
1. ผเู้ รยี นจดั สรรเวลาในการฝกึ ปฏบิ ัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม

มเี หตุผล ภูมคิ ุ้มกัน

2. จัดสรรเน้อื หา จดหมายขาย ได้อยา่ งถูกต้อง มี 3. มีทักษะใน เขยี นจดหมาย ประยกุ ต์ ในชวี ติ ประจา
เหตผุ ลและสามารถประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ธรุ กจิ และ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ในชีวิตประจาวนั ได้

กำรใชถ้ ้อยคำ สำนวน

ควำมรู้+ทักษะ คณุ ธรรม
- มีขยัน อดทน
- มคี วามรเู้ บื้องต้นเก่ียวกบั แนวคดิ ในการจดั ทาโครงงาน - มคี วามรบั ผิดชอบ
- มีความเข้าใจเกยี่ วกับ แนวคิดในการจัดทาโครงงาน - มีความประหยัด
- มคี วามเขา้ ใจในกระบวนการจัดทาโครงงาน - แบ่งปัน

สังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดล้อม
3
312

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ หน่วยท่ี 2

รหสั วชิ า 2000-1105 ชอื่ วชิ า การเขียนในงานอาชีพ สอนครง้ั ที่ 1 - 2
ชอื่ หนว่ ย การใช้ถอ้ ยคา จานวน 2 ชัว่ โมง

สำระสำคัญ
โครงงาน เป็นการจัดการเรียนรู้วิธีหนึ่ง ส่งเสริมให้ผู้เรียนด้วยการค้นคว้าลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะ

ของการสารวจ คน้ คว้า ทดลอง ประดษิ ฐ์คิดค้น ผู้เรียนจะรวบรวมข้อมูลนามาวิเคราะห์ ทดสอบเพ่ือแก้ปัญหา
นาความรู้จากชั้นเรียนมาบูรณาการในการแก้ปัญหาค้นหาคาตอบ เป็นกระบวนการค้นพบนาไปสู่การเรียนรู้
เกิดทกั ษะการทางานกบั ผู้อน่ื ทักษะการจัดการ

โครงงานเป็นกิจกรรมทางวิชาการท่ีใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการ
พัฒนาผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ คนมเี หตผุ ล สรุปเรอ่ื งราวอย่างมกี ฎเกณฑ์ ทางานอย่างมีระบบ มสี วนชว่ ยให้เกิดการศึกษา
การวางแผนการทางาน การริเร่ิมปฏิบัติงานใหม่ๆ ดังนั้นโครงการจึงมีบทบาทสาคัญต่อการปฏิบัติงานมีความ
จาเปน็ ท่นี กั ศึกษาจะต้องศึกษาเพ่ือเป็นประโยชน์ในอนาคต
สมรรถนะประจำหนว่ ย

4. ความหมายและความสาคญั ของโครงงาน

5. ลักษณะการจัดทาโครงงาน

6. ประเภทของโครงงาน

7. ประโยชน์ของการจดั ทาโครงงาน

จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. สามารถความหมายและความสาคัญของโครงงาน
2. ลกั ษณะการจัดทาโครงงาน
3. ประเภทของโครงงาน
4. ประโยชนข์ องการจดั ทาโครงงาน
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
2. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถทางานร่วมกันดว้ ยความสมัครสมานสามัคคี จากการเรียนรูแ้ บบมีส่วน

รว่ ม (Collaborative Learning)

สำระกำรเรียนรู้
1. เข้าใจความหมายและความสาคญั ของโครงงาน

2. เข้าใจหลกั การจดั ทาโครงงานการประเภทต่างๆ

3. เข้าใจประโยชน์ของการจัดทาโครงงาน

กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
ขน้ั นำ

1. ตรวจสอบรายช่อื นักศึกษาทเ่ี ขา้ เรียน
2. ใหน้ ักศึกษาค้นควา้ หาข้อมลู ได้
3. ร่วมสนทนาเกี่ยวกบั เร่ือง บทสนทนาการขายได้
ขนั้ สอน
1. บอกจุดประสงค์การเรียน
2. บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวธิ กี ารปฏิบตั ิในแต่ ละหัวขอ้ การเรยี นและใหน้ ักศึกษาปฏบิ ตั ิไป

พร้อมกัน
3. ครบู อกวิธีการ และแนวคิดในการปฏบิ ตั ิทถ่ี ูกตอ้ งให้แกผ่ ้เู รยี น
4. ประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคลโดยครจู ะซักถามในแตล่ ะคน
ขั้นสรปุ ทบทวนและสรุปเน้อื หำในบทเรยี น
1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ สาระสาคัญ
2. เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามขอ้ สงสยั
3. มอบหมายให้ไปหัดทาและศึกษาเพิ่มเตมิ
4. ทาแบบทดสอบ
กำรบรู ณำกำรกับหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง

หลกั ควำมพอประมำณ
1. ผูเ้ รยี นจดั สรรเวลาในการฝกึ ปฏิบตั ติ ามใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. กาหนดเนือ้ หาเหมาะสมกบั เกณฑ์การประเมิน
3. ผู้เรียนร้จู กั ใชแ้ ละจัดการวัสดุอุปกรณ์ตา่ ง ๆ อย่างประหยัดและคุม้ ค่า
4. ผเู้ รยี นปฏิบตั ิตนเปน็ ผ้นู าและผู้ตามทด่ี ี
5. ผเู้ รียนเป็นสมาชิกทดี่ ีของกลมุ่ เพ่ือนและสังคม

หลกั ควำมมีเหตผุ ล
1. เหน็ คณุ ค่าของ การขาย ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและชัดเจน
2. จัดสรรเนื้อหาของ การขาย ได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการดาเนิน
ธุรกิจและในชีวติ ประจาวันได้
3. กลา้ แสดงความคดิ อย่างมเี หตุผล
4. กล้าทักท้วงในส่งิ ที่ไมถ่ ูกต้องอยา่ งถกู กาลเทศะ
5. กล้ายอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื

6. ใชว้ ัสดุถูกตอ้ งและเหมาะสมกบั งาน
7. ไม่มีเร่ืองทะเลาะวิวาทกับผูอ้ น่ื
8. คดิ สง่ิ ใหม่ ๆ ทเี่ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสังคม
9. มีความคิดวิเคราะหใ์ นการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบ
หลกั ภมู คิ มุ้ กัน
1. มีทกั ษะในการประยุกต์ในชีวติ ประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง พร้อมท้ังกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการ

ขาย ท่ีดีและมสี าระสาคญั ทส่ี มบรู ณ์
3. มีการเตรียมความพรอ้ มในการเรยี นและการปฏบิ ตั ิงาน
4. กลา้ ซักถามปญั หาหรอื ข้อสงสัยต่าง ๆ อยา่ งถกู กาลเทศะ
5. แก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล
6. ควบคมุ อารมณข์ องตนเองได้
7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี
เงือ่ นไขคณุ ธรรม
1. ปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดอุ ปุ กรณอ์ ย่างคุม้ คา่ ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ

อดทน)
4. ใหค้ วามร่วมมอื กับการทากจิ กรรมของสว่ นรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผ้อู นื่ (แบง่ ปัน)
เงอ่ื นไขควำมรู้
1. ผ้เู รยี นได้นากระบวนการความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ยี วกับ กระบวนการการขายทางจดหมาย
2. มคี วามรู้และเข้าใจในหลกั การทางานและองคป์ ระกอบของ การขาย
3. ใช้วสั ดุอยา่ งประหยดั และคุ้มคา่
4. ปฏิบตั ิงานด้วยความละเอยี ดรอบคอบ
5. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

กำรบูรณำกำรกบั นโยบำยสถำนศกึ ษำ 3 ดี
ด้ำนประชำธปิ ไตย (Democracy)
1. การรายงานหน้าชนั้ เรียนได้อย่างอิสระ
2. การให้ผฟู้ ังแสดงความคิดเห็นภายในชนั้ เรยี นไดอ้ ยา่ งอสิ ระ
ด้ำนคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและควำมเปน็ ไทย (Decency)
1. ปฏบิ ตั งิ านท่ไี ดร้ บั มอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผดิ ชอบ)
2. ใช้วสั ดุอุปกรณ์อยา่ งคุม้ ค่า ประหยดั (ความประหยดั )
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ
อดทน)
4. ให้ความรว่ มมอื กบั การทากจิ กรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลอื งานครแู ละผู้อ่นื (แบง่ ปัน)
ด้ำนภูมิคมุ้ กันภยั จำกยำเสพตดิ (Drug Free)
การปลกู ฝงั ให้นักศกึ ษาเอาใจใสใ่ นการเรยี นรู้ดูหนงั สืออย่างสม่าเสมอ และสง่ เสริมให้เลน่

กีฬาอย่เู สมอเพ่ือใหร้ ่างกายแข็งแรงความจาดี เปน็ การใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ ซ่ึงสง่ ผลทาใหห้ า่ งไกลจาก
ยาเสพติดอย่างแท้จริง
สอื่ กำรเรยี นรู้

1. หนังสอื เรียนวิชา
2. ใบความรู้ประจาหนว่ ย
3. ใบงานและแบบฝึกหดั
4. ซดี สี ่อื การสอน
5. ค้นควา้ ข้อมูลจากระบบอนิ เตอร์เน็ต
6. ห้องสมดุ

หลักฐำนกำรเรยี นรู้
หลักฐำนควำมรู้
1. แบบทดสอบ
2. แบบฝึกหัด
3. รายงาน
4. ใบงาน

หลกั ฐำนกำรปฏบิ ตั ิงำน
1. รวบรวมผลงานท่ีเป็นผลงานท่ีถูกต้องในภาระงานท่ีมอบหมาย และผู้เรียนทาการปรับปรุง

แก้ไขช้ินงานทีย่ ังไม่ถูกตอ้ งใหถ้ ูกต้อง แลว้ จดั ทาเป็นแฟม้ สะสมผลงาน

2. แฟม้ สะสมผลงานการทดสอบของผูเ้ รยี น

กำรวัดผลและประเมินผล

กำรวดั ผล

- แบบประเมินพฤติกรรมผูเ้ รยี น

- แบบทดสอบภาคความรู้

- แบบนาเสนอผลงาน

- แบบประเมนิ ชน้ิ งานที่มี

- แบบประเมนิ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

กำรประเมนิ ผล

เกณฑก์ ำรประเมินผล

วัดผลสัมฤทธ์ิจำกกจิ กรรมกลุ่มและแบบฝึกหดั มีเกณฑ์ดังนี้

รอ้ ยละ 80-100 หมายถงึ ผลการเรียนดมี าก

ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรยี นดี

รอ้ ยละ 60-69 หมายถงึ ผลการเรยี นปานกลาง

รอ้ ยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์

ตา่ กว่าร้อยละ 50 หมายถึง ผลการเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์

แบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

18-20 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีมาก

14-17 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี

10-13 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมพอใช้

ต่ากว่า 10 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรบั ปรุง

แบบประเมินคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

คำช้แี จง ใหข้ ดี เครื่องหมายถูก ในชอ่ งพฤตกิ รรมของนักเรียนเพื่อประเมนิ

คุณธรรมจริยธรรม

เกณฑ์กำรตดั สิน

4 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดมี าก

3 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี

2 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมพอใช้

1 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมต้องปรบั ปรุง

18-20 คะแนน เกณฑ์กำรประเมนิ
15-17 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดมี าก
10-14 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดี
ต่ากว่า 10 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมพอใช้
หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรบั ปรงุ

กจิ กรรมเสนอแนะ/งำนท่มี อบหมำย (ถ้ำม)ี
-ไมม่ ี-

เอกสำรอ้ำงองิ
วุฒิพงษ์ อนิ ทิแสง.การเขยี นในงานอาชพี .2551. สานักพิมพ์ ศนู ยส์ ง่ เสริมอาชีวะ.กรงุ เทพ.

ใบงาน บทท่ี 2
จงอธิบายแนวคดิ ในการจดั ทาโครงงาน

1.โครงงาน มีความหมายอยา่ งไร จงอธบิ าย
..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.ความสาคัญของการจดั ทาโครงงานมผี ลตอ่ นักศึกษาอย่างไร
..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.โครงงานตามลกั ษณะการดาเนนิ งานจาแนกเป็นกี่ประเภท อะไรบา้ ง
..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.จงอธบิ ายประโยชน์ของการจัดทาโครงงาน

..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บนั ทกึ หลังกำรสอน
ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหาอปุ สรรคท่ีพบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางแกป้ ัญหาและหรือพัฒนา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนผงั ควำมคดิ

หน่วยที่ 3 เร่ือง กระบวนกำรจัดทำโครงงำน
ท่ีบรู ณำกำรหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พอประมำณ
1. ผูเ้ รียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบตั ติ ามใบงานได้อย่างเหมาะสม

มีเหตผุ ล ภูมิคมุ้ กนั

2. จดั สรรเนื้อหา การสอบถาม ได้อย่างถูกตอ้ ง มี 3. มที ักษะใน สอบถามขอ้ มูลและ ประยุกต์ ในชีวติ
เหตผุ ลและสามารถประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ธุรกิจ และ ประจาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ในชวี ติ ประจาวนั ได้

กระบวนการจดั ทาโครงงาน

ควำมรู้+ทกั ษะ คุณธรรม
- มีขยนั อดทน
- มีความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับ การจัดทาโครงงาน - มคี วามรบั ผิดชอบ
- มคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจัดทาโครงงาน - มคี วามประหยัด
- มคี วามกล้าทจ่ี ะคิดในการตัดสินใจในการเลอื กทาโครงงาน - แบ่งปัน
- มขี ั้นตอนในและวธิ ีการจัดทาโครงงาน
สง่ิ แวดล้อม
สงั คม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม 3

312

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ หนว่ ยที่ 3

รหัสวิชา 2000-1105 ชอื่ วิชา การเขียนในงานอาชพี สอนคร้งั ที่ 1 - 2

ชอื่ หนว่ ย กระบวนการจัดทาโครงการ จานวน 2 ชัว่ โมง

สำระสำคัญ

การะบวนการจัดทาโครงงาน มีความสาคัญมาเพราะจะต้องตัดสินใจเลือกโครงงาน ท่ีมีความพร้อม

ดาเนินงานและเป็นโครงงานการที่สอดคล้องกับสาขาวิชาท่ีศึกษาอยู่ รวมถึงทักษะกระบวนการท่ีใช้ในการทา

โครงงานและขั้นตอนการจัดทาโครงงาน ซ่ึงก็จะส่งผลให้ผู้จัดทาโครงงานการปฏิบัติงานมีความสุข ก่อให้เกิด

ผลสาเรจ็ ในการจัดทาโครงงาน

สมรรถนะประจำหนว่ ย

1. สามารถมีการตัดสนิ ใจเลือกโครงงาน

2. สามารถมีทักษะกระบวนการทีใ่ ชใ้ นการทาโครงงาน

3. มีข้นั ตอนการจดั ทาโครงงาน

จุดประสงค์กำรเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เข้าใจวธิ กี ารตดั สนิ ใจในการเลือกโครงงานสาหรบั ดาเนนิ การ
2. เข้าใจวธิ ีการเลือกทักษะกระบวนการในการจัดทาโครงงาน
3. เข้าใจขน้ั ตอนการจัดทาโครงงาน
จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. อธบิ ายหลกั การตัดสนิ ใจการเลอื กโครงงานได้

2. วิเคราะหข์ ้อมูลเพือ่ ตัดสนิ ใจเลอื กโครงงานได้

3. อธบิ ายวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ได้

4. อธิบายทกั ษะกระบวนการท่ีใชใ้ นการทาโครงงานได้

5. อธบิ ายเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ในการจัดทาโครงงานได้

6. อธบิ ายขั้นตอนในการจดั ทาโครงงานได้

สำระกำรเรยี นรู้
1. อา่ นได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียงและส่อื ความหมายได้

2. บอกความหมายและสรปุ สาระสาคัญของจดหมายสอบถามได้

3. ระบุรายละเอียดในแตล่ ะย่อหนา้ ของจดหมายสอบถามได้

4. ระบแุ ละเขียนข้อความตามท่ีกาหนดใหข้ องจดหมายสอบถามโดยใชศ้ ัพท์ สานวน โครงสรา้ งประโยคท่ี

เรียนมาแล้ว

5. บอกความหมายของศพั ท์ สานวน ประโยคในบทสนทนาและพูดไดถ้ ูกต้องชัดเจน
6. ส่ือสารสนทนาตอบโต้ได้
7. จัดเรียงลาดับประโยคในบทสนทนาที่กาหนดใหไ้ ด้ถูกต้อง และสื่อความหมายได้
กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
ขน้ั นำ
1. ตรวจสอบรายชื่อนกั ศึกษาทเ่ี ข้าเรยี น
2. ให้นักศึกษาค้นควา้ แบบสอบถามทว่ั ไป
3. รว่ มสนทนาเก่ียวกบั เร่ือง การออกแบบสอบถาม
ขน้ั สอน
1. บอกจุดประสงค์การเรียน
2. บรรยาย อธบิ าย ยกตวั อยา่ ง แสดงวธิ กี ารปฏิบัติในแต่ ละหัวข้อการเรียนและให้นักศึกษาปฏบิ ัตไิ ป

พร้อมกนั
3. ครบู อกวิธกี าร และแนวคดิ ในการปฏิบัติที่ถูกตอ้ งใหแ้ กผ่ เู้ รยี น
4. ประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแตล่ ะคน
ขั้นสรปุ ทบทวนและสรุปเนอ้ื หำในบทเรียน
1. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ สาระสาคญั
2. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามข้อสงสัย
3. มอบหมายให้ไปหัดทาและศึกษาเพ่ิมเตมิ
4. ทาแบบทดสอบ
กำรบูรณำกำรกบั หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

หลักควำมพอประมำณ
1. ผเู้ รียนจดั สรรเวลาในการฝึกปฏิบตั ติ ามใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. กาหนดเนอ้ื หาเหมาะสมกบั เกณฑก์ ารประเมนิ การออกแบบสอบถาม
3. ผู้เรียนรจู้ ักใช้และจัดการวสั ดุอปุ กรณต์ า่ ง ๆ อย่างประหยัดและคมุ้ ค่า
4. ผู้เรียนปฏบิ ัตติ นเป็นผนู้ าและผู้ตามทด่ี ี
5. ผูเ้ รยี นเป็นสมาชิกที่ดขี องกลมุ่ เพอ่ื นและสังคม

หลักควำมมเี หตผุ ล
1. เหน็ คุณคา่ ของ การสอบถาม ไดอ้ ย่างถกู ต้องและชัดเจน
2. จัดสรรเน้ือหาของ สอบถาม ได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการดาเนิน
ธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้
3. กล้าแสดงความคิดอยา่ งมีเหตุผล
4. กล้าทักท้วงในสิง่ ทไ่ี มถ่ กู ต้องอย่างถกู กาลเทศะ
5. กล้ายอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผ้อู นื่
6. ใช้วัสดถุ ูกตอ้ งและเหมาะสมกบั งาน
7. ไม่มีเรอ่ื งทะเลาะววิ าทกบั ผู้อน่ื
8. คดิ ส่งิ ใหม่ ๆ ท่เี กดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและสงั คม
9. มคี วามคิดวิเคราะหใ์ นการแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ

หลักภูมคิ ุม้ กนั
1. มีทักษะใน สอบถามแล้วนามา ประยกุ ต์ในชีวติ ประจาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ท่ีถูกต้อง พร้อมท้ังกาหนดเน้ือหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการ
สอบถาม ท่ดี ีและมีสาระสาคญั ทส่ี มบูรณ์
3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบตั งิ าน
4. กล้าซกั ถามปญั หาหรือขอ้ สงสยั ต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ
5. แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ไดด้ ้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเปน็ ผล
6. ควบคุมอารมณข์ องตนเองได้
7. ควบคมุ กริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี

เง่ือนไขคุณธรรม
1. ปฏบิ ัตงิ านทไี่ ด้รับมอบหมายเสรจ็ ตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใชว้ ัสดุอุปกรณ์อย่างคมุ้ คา่ ประหยัด (ความประหยดั )
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ
อดทน)
4. ให้ความรว่ มมอื กับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาชว่ ยเหลืองานครูและผ้อู ื่น(แบ่งปัน)

เงื่อนไขควำมรู้
1. ผเู้ รยี นได้นากระบวนการความรเู้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั การใช้คาถาม

2. มีความรแู้ ละเข้าใจในหลักการทางานและองค์ประกอบของ รูปแบบการสอบถาม
3. ใช้วสั ดุอยา่ งประหยัดและคุ้มคา่

4. ปฏบิ ัติงานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ

5. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

กำรบรู ณำกำรกับนโยบำยสถำนศกึ ษำ 3 ดี
ดำ้ นประชำธปิ ไตย (Democracy)
1. การรายงานหนา้ ชน้ั เรยี นได้อย่างอสิ ระ

2. การให้ผูฟ้ งั แสดงความคิดเห็นภายในชนั้ เรียนได้อย่างอิสระ

ดำ้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและควำมเปน็ ไทย (Decency)
1. ปฏบิ ตั ิงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรบั ผิดชอบ)

2. ใช้วสั ดอุ ุปกรณอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ

อดทน)

4. ใหค้ วามรว่ มมือกับการทากจิ กรรมของสว่ นรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อืน่ (แบ่งปนั )

ดำ้ นภมู คิ ุม้ กันภยั จำกยำเสพติด(Drug Free)
การปลูกฝงั ให้นักศกึ ษาเอาใจใส่ในการเรยี นรู้ดูหนงั สืออยา่ งสมา่ เสมอ และสง่ เสริมใหเ้ ล่น

กีฬาอยเู่ สมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เปน็ การใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ ซง่ึ สง่ ผลทาใหห้ ่างไกลจาก
ยาเสพตดิ อย่างแท้จริง
สื่อกำรเรียนรู้

1. หนงั สือเรียนวิชา

2. ใบความรปู้ ระจาหนว่ ย

3. ใบงานและแบบฝกึ หดั

4. ซดี ีสือ่ การสอน

5. คน้ คว้าข้อมูลจากระบบอนิ เตอร์เนต็

6. หอ้ งสมดุ

หลักฐำนกำรเรยี นรู้
หลกั ฐำนควำมรู้
1. แบบทดสอบ

2. แบบฝึกหัด

3. รายงาน

4. ใบงาน

หลกั ฐำนกำรปฏบิ ตั งิ ำน
1. รวบรวมผลงานท่ีเป็นผลงานที่ถูกต้องในภาระงานที่มอบหมาย และผู้เรียนทาการปรับปรุง

แก้ไขช้นิ งานทย่ี งั ไมถ่ ูกต้องให้ถูกต้อง แล้วจัดทาเปน็ แฟม้ สะสมผลงาน

2. แฟม้ สะสมผลงานการทดสอบของผู้เรยี น

กำรวัดผลและประเมินผล
กำรวัดผล
- แบบประเมนิ พฤตกิ รรมผู้เรียน
- แบบทดสอบภาคความรู้
- แบบนาเสนอผลงาน
- แบบประเมนิ ชนิ้ งานที่มี
- แบบประเมินปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
กำรประเมินผล

เกณฑก์ ำรประเมนิ ผล

วัดผลสัมฤทธจ์ิ ำกกจิ กรรมกลุ่มและแบบฝกึ หัดมเี กณฑ์ดังน้ี

รอ้ ยละ 80-100 หมายถงึ ผลการเรียนดมี าก

ร้อยละ 70-79 หมายถงึ ผลการเรยี นดี

ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรยี นปานกลาง

รอ้ ยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรยี นผา่ นเกณฑ์

ตา่ กว่ารอ้ ยละ 50 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์

18-20 คะแนน แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรม
14-17 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีมาก
10-13 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี
ตา่ กวา่ 10 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมพอใช้
หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรับปรุง

แบบประเมนิ คณุ ธรรมจริยธรรม

คำชแ้ี จง ให้ขดี เคร่ืองหมายถูก ในช่องพฤติกรรมของนกั เรียนเพือ่ ประเมนิ

คุณธรรมจริยธรรม

เกณฑ์กำรตดั สนิ

4 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดมี าก

3 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดี

2 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมพอใช้

1 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรับปรุง

เกณฑ์กำรประเมิน

18-20 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดีมาก

15-17 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี

10-14 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมพอใช้

ตา่ กวา่ 10 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ/งำนท่มี อบหมำย (ถ้ำม)ี
-ไม่มี-

เอกสำรอ้ำงองิ
วฒุ พิ งษ์ อนิ ทิแสง. การเขียนในงานธุรกจิ .2551. สานักพมิ พ์ ศนู ย์สง่ เสรมิ อาชีวะ.กรงุ เทพ.

ใบงานช้นิ ท่ี 3 แบบฟอรม์ การเขียนโครงงาน

บันทกึ หลังกำรสอน
ขอ้ สรปุ หลงั การจัดการเรยี นรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาอปุ สรรคท่ีพบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางแกป้ ัญหาและหรือพัฒนา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนผังควำมคิด

หน่วยที่ 4 เรอื่ ง กำรศกึ ษำค้นควำ้
ท่ีบรู ณำกำรหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง

พอประมำณ
1. ผูเ้ รยี นจดั สรรเวลาในการฝึกปฏิบตั ติ ามใบงานได้อยา่ งเหมาะสม

มีเหตผุ ล ภูมิคุ้มกนั

2. จัดสรรเน้อื หา โครงรา่ งโครงงาน ได้อย่างถูกต้อง มี 3. มที กั ษะใน ตอบแบบสอบถาม ประยุกต์ ในชีวติ
เหตผุ ลและสามารถประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกจิ และ ประจาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ในชีวิตประจาวนั ได้

การศกึ ษาค้นควา้

ควำมร+ู้ ทักษะ คณุ ธรรม
- มีขยัน อดทน
- มีความร้เู บ้ืองต้นเก่ียวกบั โครงร่างโครงงาน - มีความรบั ผิดชอบ
- มคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั โครงรา่ งโครงงาน - มีความประหยัด
- มีความเข้าใจใน โครงร่างของโครงงาน - แบง่ ปนั

สงั คม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม
3
312

แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 4

รหสั วิชา 2000-1105 ชอื่ วิชา การเขยี นในงานอาชีพ สอนครงั้ ที่ 1 - 2
ชอื่ หนว่ ย การศึกษาคน้ ควา้ จานวน 2 ชว่ั โ มง

สำระสำคญั

โครงงาน เปน็ การวางแผนลว่ งหนา้ กอ่ นลงมือทาโครงงานเปน็ การกาหนดว่าจะทาโครงงานการเรื่องใด

เรื่องท่ีจะทามีความสาคัญอย่างไร มีความสมเหตุสมผลที่จะทาหรือไม่ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ

จัดทาโครงงานคืออะไร มีขอบครอบคลุมแค่ไหนและจะได้ประโยชน์อะไรจากการจัดทาโครงงานการกาหนด

แนวทางในการจัดทาโครงงานว่าจะใช้ทฤฏีและงานท่ีเกี่ยวข้องอะไร รวมถึงการเก็บรวมรวมข้อมูลและการ

กาหนดเครื่องมือในการวิเคราะห์ ดังนั้นการเขียนโครงงานการจึงมีความสาคัญและจาเป็นมากต่อการจัดทา

โครงงาน

สมรรถนะประจำหนว่ ย

1. เพ่อื ให้สามารถสรปุ สาระสาคัญ และเขยี นจดหมายตอบสอบถาม โดย ใช้ศัพท์ สานวน โครงสรา้

ประโยคท่ีเรยี นมาแล้ว และใช้ภาษาได้เหมาะสม สามารถสนทนาโต้ตอบเสื่อความหมายได้

จุดประสงค์กำรเรยี นรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นสามารถบอกความหมายของโครงร่างโครงงาน

2. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถบอกองคป์ ระกอบของโครงงาน

3. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถบอกหลักการเขยี นโครงรา่ งของโครงงาน

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถทางานร่วมกันดว้ ยความสมัครสมานสามัคคี จากการเรยี นร้แู บบมีส่วน
รว่ ม (Collaborative Learning)
2. เพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถรู้ความหมายของโครงร่างโครงงาน
3. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถเข้าใจองคป์ ระกอบของโครงรา่ งโครงงาน
4. เพอื่ ให้ผเู้ รียนสามารถปฏิบัติการเขยี นโครงรา่ งโครงงาน

สำระกำรเรยี นรู้
1. ความหมายของโครงรา่ งโครงงาน
2. องคป์ ระกอบของโครงรา่ งโครงงาน
3. หลกั การเขียนโครงรา่ งโครงงาน

กิจกรรมกำรเรียนรู้
ขนั้ นำ

1. ตรวจสอบรายชื่อนกั ศึกษาทีเ่ ข้าเรียน
2. ใหน้ ักศึกษาค้นควา้ การตอบสอบถาม
3. รว่ มสนทนาเกยี่ วกบั เรื่อง การตอบสอบถาม
ขน้ั สอน
1. บอกจุดประสงค์การเรยี น
2. บรรยาย อธิบาย ยกตวั อย่าง แสดงวิธีการปฏิบัตใิ นแต่ ละหัวข้อการเรยี นและใหน้ ักศึกษาปฏบิ ัตไิ ป

พร้อมกนั
3. ครบู อกวธิ ีการ และแนวคดิ ในการปฏิบตั ทิ ่ีถูกต้องใหแ้ ก่ผูเ้ รียน
4. ประเมนิ พฤติกรรมรายบคุ คลโดยครจู ะซักถามในแตล่ ะคน
ขนั้ สรปุ ทบทวนและสรุปเน้ือหำในบทเรียน
1. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ สาระสาคญั
2. เปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถามข้อสงสัย
3. มอบหมายให้ไปหัดทาและศกึ ษาเพ่ิมเตมิ
4. ทาแบบทดสอบ
กำรบรู ณำกำรกบั หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

หลักควำมพอประมำณ
1. ผเู้ รียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏบิ ัติตามใบงานไดอ้ ย่างเหมาะสม
2. กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมิน การตอบสอบถาม ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการ
วัสดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ อย่างประหยดั และคมุ้ ค่า
3. ผู้เรยี นปฏิบตั ิตนเป็นผ้นู าและผู้ตามท่ีดี
4. ผเู้ รยี นเป็นสมาชิกที่ดีของกลมุ่ เพือ่ นและสงั คม

หลักควำมมีเหตผุ ล
1. เหน็ คุณค่าของ การตอบสอบถามไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและชัดเจน
2. จัดสรรเนื้อหาของ การตอบสอบถาม ได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนนิ ธุรกจิ และในชีวิตประจาวนั ได้
3. กล้าแสดงความคดิ อยา่ งมีเหตุผล
4. กล้าทักท้วงในสิ่งทไ่ี มถ่ กู ต้องอย่างถูกกาลเทศะ
5. กลา้ ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่ืน
6. ใช้วสั ดถุ กู ต้องและเหมาะสมกับงาน
7. ไมม่ ีเรอ่ื งทะเลาะววิ าทกับผอู้ น่ื
8. คดิ สิ่งใหม่ ๆ ทีเ่ กดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและสังคม
9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปญั หาอย่างเปน็ ระบบ

หลักภมู คิ ุ้มกนั
1. มีทกั ษะใน การตอบสอบถามประยุกต์ในชีวติ ประจาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ท่ีถูกต้อง พร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการ การ
ตอบสอบถามที่ดแี ละมีสาระสาคญั ทสี่ มบรู ณ์
3. มีการเตรยี มความพร้อมในการเรยี นและการปฏบิ ัตงิ าน
4. กลา้ ซักถามปญั หาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถกู กาลเทศะ
5. แกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ไดด้ ้วยตนเองอย่างเปน็ เหตเุ ป็นผล
6. ควบคมุ อารมณข์ องตนเองได้
7. ควบคุมกรยิ าอาการในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี

เง่ือนไขคณุ ธรรม
1. ปฏบิ ัติงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรบั ผดิ ชอบ)
2. ใชว้ ัสดอุ ุปกรณอ์ ย่างคมุ้ ค่า ประหยัด (ความประหยดั )
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ
อดทน)
4. ใหค้ วามร่วมมือกบั การทากิจกรรมของสว่ นรวม อาสาช่วยเหลืองานครแู ละผูอ้ ื่น(แบง่ ปนั )

เงือ่ นไขควำมรู้

1. ผเู้ รยี นได้นากระบวนการความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกับ การตอบสอบถาม
2. มีความร้แู ละเข้าใจในหลกั การทางานและองค์ประกอบของ การตอบสอบถาม
3. ใช้วสั ดอุ ย่างประหยัดและคุ้มคา่
4. ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความละเอียดรอบคอบ
5. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กำรบรู ณำกำรกับนโยบำยสถำนศึกษำ 3 ดี
ดำ้ นประชำธปิ ไตย (Democracy)
1. การรายงานหน้าชัน้ เรียนไดอ้ ย่างอสิ ระ
2. การใหผ้ ู้ฟังแสดงความคดิ เหน็ ภายในชนั้ เรยี นไดอ้ ย่างอิสระ
ดำ้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและควำมเปน็ ไทย (Decency)
1. ปฏบิ ัตงิ านทไ่ี ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ตามกาหนด(ความรบั ผิดชอบ)
2. ใช้วสั ดอุ ปุ กรณอ์ ย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยดั )
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ

อดทน)
4. ให้ความรว่ มมอื กบั การทากจิ กรรมของสว่ นรวมอาสาชว่ ยเหลอื งานครแู ละผู้อน่ื (แบง่ ปัน)
ดำ้ นภูมิคมุ้ กันภยั จำกยำเสพตดิ (Drug Free)

การปลกู ฝังให้นักศกึ ษาเอาใจใส่ในการเรียนรดู้ หู นงั สืออยา่ งสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เลน่
กีฬาอยเู่ สมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เปน็ การใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ซ่งึ สง่ ผลทาใหห้ ่างไกลจาก
ยาเสพตดิ อย่างแทจ้ ริง
สื่อกำรเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี นวชิ า
2. ใบความรูป้ ระจาหนว่ ย
3. ใบงานและแบบฝกึ หดั
4. ซดี ีสื่อการสอน
5. คน้ ควา้ ข้อมลู จากระบบอนิ เตอรเ์ น็ต
6. หอ้ งสมดุ

หลักฐำนกำรเรยี นรู้
หลกั ฐำนควำมรู้
1. แบบทดสอบ

2. แบบฝึกหัด

3. รายงาน

4. ใบงาน

หลกั ฐำนกำรปฏบิ ตั งิ ำน
1. รวบรวมผลงานท่ีเป็นผลงานที่ถูกต้องในภาระงานที่มอบหมาย และผู้เรียนทาการปรับปรุง

แก้ไขช้นิ งานทย่ี งั ไมถ่ ูกต้องให้ถูกต้อง แล้วจัดทาเปน็ แฟม้ สะสมผลงาน

2. แฟม้ สะสมผลงานการทดสอบของผู้เรยี น

กำรวัดผลและประเมินผล
กำรวัดผล
- แบบประเมนิ พฤตกิ รรมผู้เรียน
- แบบทดสอบภาคความรู้
- แบบนาเสนอผลงาน
- แบบประเมนิ ชนิ้ งานที่มี
- แบบประเมินปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
กำรประเมินผล

เกณฑก์ ำรประเมนิ ผล

วัดผลสัมฤทธจ์ิ ำกกจิ กรรมกลุ่มและแบบฝกึ หัดมเี กณฑ์ดังน้ี

รอ้ ยละ 80-100 หมายถงึ ผลการเรียนดมี าก

ร้อยละ 70-79 หมายถงึ ผลการเรยี นดี

ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรยี นปานกลาง

รอ้ ยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรยี นผา่ นเกณฑ์

ตา่ กว่ารอ้ ยละ 50 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์

18-20 คะแนน แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรม
14-17 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีมาก
10-13 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี
ตา่ กวา่ 10 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมพอใช้
หมายถงึ พฤติกรรมต้องปรับปรุง

แบบประเมินคณุ ธรรมจริยธรรม

คำชี้แจง ใหข้ ดี เคร่ืองหมายถูก ในช่องพฤตกิ รรมของนกั เรยี นเพอื่ ประเมนิ

คุณธรรมจรยิ ธรรม

เกณฑก์ ำรตัดสนิ

4 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดมี าก

3 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดี

2 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมพอใช้

1 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมต้องปรบั ปรงุ

เกณฑ์กำรประเมนิ

18-20 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมดมี าก

15-17 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดี

10-14 คะแนน หมายถงึ พฤติกรรมพอใช้

ตา่ กวา่ 10 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมต้องปรับปรุง

กิจกรรมเสนอแนะ/งำนทีม่ อบหมำย (ถำ้ มี)
-ไมม่ ี-

เอกสำรอำ้ งอิง
วฒุ พิ งษ์ อนิ ทิแสง.การเขยี นในงานอาชีพ2551. สานกั พิมพ์ ศูนยส์ ง่ เสริมอาชีวะ.กรุงเทพ.


Click to View FlipBook Version