The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gprestarts, 2021-06-14 08:50:11

No.1 กิจกรรมผู้บริหารกรมการพัฒนาชุมชน

47

30 ตุลาคม 2562

48

30 ตุลาคม 2562


















– ครัวเรือนที่ 12 นายประเทือง ทานมัย อายุ 67 ปี อาชีพค้าขาย (ก๋วยเตี๋ยวและอาหารตามสั่ง) ได้รับมอบ
อุปกรณ์ ตะกร้อลวกเส้น สแตนเลส 1 อัน ตะแกรงลวด ลวกเส้น ด้ามไม้ 1 อัน หม้อก๋วยเตี๋ยว (ม้าลาย) เบอร์ 36 1

ใบ ตู้กระจก (อาหารตามสั่ง/ก๋วยเตี๋ยว) 1 ใบ ถังแช่น้ำาแข็ง + ก๊อกน้ำา (ขนาด 40 ลิตร) 1 ใบ ถังแช่น้ำาแข็ง (ขนาด 80
ลิตร) 1 ใบ เก้าอี้พลาสติก 12 ตัว โต๊ะพับ ขนาด 4 ฟุต 3 โต๊ะ ถังแก๊ส ปตท.15 กก. 1 ถัง ชุดเตาแก๊ส ครบชุด พร้อม

ขาเตาสี่เหลี่ยมกลาง 1 ชุด กะทะ เบอร์ 18 แบบอลูมิเนียมด้ามพลาสติกดำา 1 ใบ หม้อหุงข้าว ขนาด 5 ลิตร 1 ใบ

– ครัวเรือนที่ 13 นายมานะ คนฑาอายุ 53 ปี อาชีพช่างซ่อมรถ ได้รับมอบอุปกรณ์ ชุดหัวเชื่อมแก๊สสำาหรับ
ซ่อมรถจักรยานยนต์ 2 ชุด เครื่องปั๊มลมขนาดกลาง พร้อมถังลม (โรตารี่ 50 ลิตร 3 แรง) 1 ชุด ขาตั้งรถ 2 คู่

– ครัวเรือนที่ 14 นายสุพรรณ หอมหวนอายุ และนายสุพรรณ หอมหวน 41 ปี อาชีพช่างก่อสร้าง ได้รับมอบ
อุปกรณ์ สว่านโรตารี 3 ระบบ ขนาด 800 วัตต์ 1 ตัว ตู้เชื่อมไฟฟ้า ขนาด 300แอมป์ 1 ตัว เลื่อยวงเดือน ขนาด

7 นิ้ว (มาคเทค) 1 ตัว เครื่องหินเจียร ขนาด 4 นิ้ว (มาคเทค) 1 ตัว เครื่องตัดไฟเบอร์ ขนาด 14 นิ้ว (มาคเทค) 1
ตัว แท่นตัดกระเบื้อง 28 นิ้ว 1 ตัว






โดยผ้แทนท่ได้รับมอบอุปกรณ์และเคร่องมือประกอบอาชีพ ได้กล่าวแสดงความร้สึกดีใจ และขอบคุณท่กรม
การพัฒนาชุมชน และมูลนิธิป่อเต็กตึ้ง ได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือในครั้งนี้ เป็นการมอบโอกาสให้เขาได้มีช่องทางทำา
มาหากินเลี้ยงดูครอบครัว เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และอยากให้ทำาโครงการดีๆอย่างนี้ไปยังครอบครัวอื่นที่ยังรอ
โอกาสจากสังคม

49

30 ตุลาคม 2562







พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน


ผ้าพระกฐิน ประจำาปี พ.ศ. 2562 ให้กรมการพัฒนาชุมชนถวาย


ณ วัดเสนหา อำาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม




1 พฤศจิกายน 2562

54

1 พฤศจิกายน 2562













วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เวลา 10.00 น.

นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนเป็นประธานในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทานกรมการ

พัฒนาชุมชน ประจำาปี 2562 ณ พระอารามหลวง วัดเสนหา ตำาบลพระปฐมเจดีย์ อำาเภอเมืองนครปฐม จังหวัด

นครปฐม โดยมีผ้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม คณะผ้บริหาร ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชนส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

สื่อมวลชน และพี่น้องประชาชนผู้มีจิตศรัทธาเข้าร่วมพิธี
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เผยว่า “ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา



โปรดเกล้าฯ ให้กรมการพัฒนาชุมชนนาผ้าพระกฐินพระราชทานกรมการพัฒนาชุมชน ประจาปี 2562 ถวาย ณ พระ
อารามหลวง วัดเสนหา ตำาบลพระปฐมเจดีย์ อำาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม โดยมีพิธีสมโภชองค์พระกฐิน
พระราชทานไป เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ สำาหรับการถวายผ้าพระกฐินพระราชทานในครั้งนี้ มียอด

เงินโดยเสด็จพระราชกุศล จานวน 1,802,815 บาท โดยแบ่งถวายพระภิกษุสามเณร จานวน 51,500 บาท บารุงพระ


อาราม จำานวน 1,525,069 บาท บำารุงโรงเรียน จำานวน 65,000 บาท ค่าใช้จ่ายทั่วไป จำานวน 161,246 บาท ซึ่ง





กรมการพัฒนาชุมชน ขอขอบพระคุณพ่น้องประชาชนผ้มีจิตศรัทธาทุกท่าน ท่ได้ร่วมทาบุญมหากุศลด้วยกันในคร้งน้”

สำาหรับประวัติและความเป็นมาวัดเสนหา ตั้งอยู่เลขที่ 588 ถนนรถไฟตะวันตก หมู่ที่ 7 ตำาบลพระปฐมเจดีย์
อำาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต สร้างขึ้นเมื่อ
ปี พ.ศ. 2452 โดยมีนายเพิ่มเสนหา บุญนาค บุตรพระยาศรีสรราชภักดี (วัน บุญนาค) พ่อค้าผู้มีฐานะมั่งคั่ง และมี
จิตศรัทธาถวายที่ดินแปลงหนึ่ง ให้สร้างเป็นวัด เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2452 โดยมีพระเถระผู้ใหญ่ 2 รูป คือ พระ
เดชพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) วัดบรมนิวาส จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับพระพุทธวิริยากร

(จิตร ฉนฺโน) วัดสัตตนารถปริวัตร จังหวัดราชบุรี เป็นผู้รับที่ดิน และได้จัดส่งพระภิกษุสามเณรจากวัดบรมนิวาสบ้าง


วัดสัตตนารถปริวัตรบ้างมาอย่จาพรรษา และได้ต้งให้พระครูสังวรวินัย (อาจ ชุตินฺธโร) เป็นเจ้าสานักปกครอง อบรม


พระภิกษุสามเณรที่อยู่จำาพรรษาตั้งแต่เริ่มสร้างวัด และได้ใช้ชื่อของผู้บริจาคเป็นชื่อวัดตั้งแต่ต้นมา

55

1 พฤศจิกายน 2562



สภาสตรีฯ จับมือ พช.เดินหน้ารณรงค์ใส่ผ้าไทย ลงพื้นที่เมืองผ้าทอพื้น


เมือง จังหวัดหนองบัวลำาภู




1 พฤศจิกายน 2562

58

1 พฤศจิกายน 2562











วันที่ 5 พฤศจิกายน 2562
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และ ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ ประธานชมรมแม่บ้าน

พัฒนาชุมชนและประธานสภาสตรีแห่งชาติในพระราชินูปถัมภ์

ร่วมรับเสด็จฯ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการเสด็จ
พระราชดำาเนินถวายผ้าพระกฐินสภากาชาดไทย ประจำาปี 2562 ณ วัดพิศาลรัญญาวาส ตำาบลหนองบัว อำาเภอ

เมืองฯ จังหวัดหนองบัวลำาภู ในการนี้มีชมรมแม่บ้านมหาดไทยร่วมรับเสด็จฯ
จากนั้น นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และ ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ ประธาน



ชมรมแม่บ้านพัฒนาชุมชน และประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ซ่งมีองค์กรสมาชิก จานวน
212 องค์กร กระจายอยู่ทุกจังหวัดท่วประเทศ ได้เดินทางร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการประสานความ

ร่วมมือ “โครงการสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำารงไว้ในแผ่นดิน” กับนายสมเจตน์ จงศุภวิศาลกิจ ผู้ว่าราชการ
จังหวัดหนองบัวลำาภู นายจารุวัฒน์ ศรีชุย ประธานคณะกรรมการบริษัทประชารัฐรักสามัคคี นางศรัณยา สุวรรณ

พรหม ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดหนองบัวลำาภู นางพรรณี จันทะศรี ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด
หนองบัวลาภู และนางรชตพร โตดิลกเวชช์ ประธานคณะกรรมการบริหารสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ ์

และที่ปรึกษาประธานชมรมแม่บ้านพัฒนาชุมชน และคณะกรรมการจากสภาสตรีแห่งชาติ ฯ ร่วมลงนามในพิธีฯ ณ

ห้องประชุมโรงแรมณัฐพงษ์แกรนด์ อำาเภอเมืองฯ จังหวัดหนองบัวลำาภู
อธิบดีฯ ได้กล่าวว่า การลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการประสานความร่วมมือโครงการ “สืบสาน อนุรักษ ์



ศิลป์ผ้าถ่นไทย ดารงไว้ในแผ่นดิน” น้ มีวัตถุประสงค์เพ่อสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม


ราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการอนุรักษ์ ส่งเสริมและเผยแพร่ผ้าไทย ศิลปะอันล้ำาค่าของชาติให้ดำารง



คงอย่ ท้งน้ การส่งเสริมให้ทุกคนได้ใส่ผ้าไทยน้น นอกจากจะทาให้เกิดการกระจายรายได้สู่เศรษฐกิจฐานราก ยก


ระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มอาชีพแล้ว ยังถือเป็นการรักษา สืบสานและต่อยอด ภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่าของไทยให้
คงอยู่คู่กับประเทศไทยสืบไป

59

1 พฤศจิกายน 2562

60

1 พฤศจิกายน 2562

























ด้าน ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ ประธานสภาสตรีแห่งชาติฯ เปิดเผยว่า สภาสตรีฯ ได้ส่งเสริมการสวมใส่






ผ้าไทย (ผ้าพ้นเมือง) ซ่งเป็นส่วนหน่งของการลงนามบันทึกข้อตกลงในคร้งน้ ม่งหวังให้เกิดการสืบสานภูมิปัญญา

ของคนไทยที่มีมาช้านานให้คงอยู่ รวมไปถึงการสร้างรายได้ให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชน หมู่บ้าน ซึ่งถือเป็นการกระตุ้น











เศรษฐกิจฐานรากไดอย่างดี หากจะลองคิดดูให้ด เม่อเราสวมใส่เส้อผ้าแบรนดเนมหรือเสอผาทวไป รายไดเกดขน



กับเจ้าของธุรกิจหรือโรงงานหรือพนักงานโรงงาน แต่หากเราสวมใส่ผ้าไทย เราได้สนับสนุนกลุ่มอาชีพในชนบท ได้
ส่งเสริมภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลาน









โดย นายสมเจตน จงศภวิศาลกจ ผวาราชการจงหวดหนองบวลาภ กลาวให้การสนับสนนวา จงหวัดหนองบวลาภ









มีความยินดีและเต็มใจในการลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการประสานความร่วมมือตามโครงการฯ โดยพร้อมที่จะ
สนับสนุนส่งเสริมให้ส่วนราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาชนร่วมอนุรักษ์การสวมใส่ผ้าพื้นเมือง พื้นฐานเดิมจังหวัด
หนองบัวลำาภู มีชื่อเสียงเรื่องผ้าทอพื้นเมืองเป็นลำาดับต้นๆ ของประเทศอยู่แล้ว และจังหวัดหนองบัวลำาภู มุ่งหวังจะ
พัฒนาให้เป็นที่หนึ่งในเรื่องผ้าทอพื้นเมืองต่อไปอีกด้วย

61

1 พฤศจิกายน 2562



กรมการพัฒนาชุมชน จับมือ โรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ


(วัดโพธิ์) เน้นสร้างงาน สร้างอาชีพ


แก่สตรีไทยในชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี


8 พฤศจิกายน 2562

64

8 พฤศจิกายน 2562











วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562 เวลา 10.00 น. นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือการส่งเสริมการนวดแผนไทย ในชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ร่วมกับนายปรีดา ตั้งตรง

จิตร ผู้อำานวยการโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์) โดยมีพระราชรัตนสุนทร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัด

พระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) นายโชคชัย แก้วป่อง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน คณะผู้

บริหารกรมการพัฒนาชุมชน คณะผ้บริหารโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ โรงเรียน
แพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กล่าวว่า วัตถุประสงค์ในการลงนามใน MOU ระหว่างกรม

การพัฒนาชุมชนกับโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์) ในวันนี้ นั้น เพราะ กรมการพัฒนาชุมชน
ได้รับมอบนโยบายจาก พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (มท.1) ให้สร้างความเข้ม

แข็งให้สตรีไทย ให้มีอาชีพมีทางเลือก สร้างความเข้มแข็งให้สตรีไทยในชุมชนได้มีอาชีพ มีรายได้ สามารถทำางานอยู่
ในหมู่บ้าน ไม่ต้องไปทำางานรับจ้างในกรุงเทพมหานครหรือเมืองท่องเที่ยว ดังนั้น การมีความรู้ความสามารถในวิชา

หัตถศาสตร์ หรือนวดแผนไทย ก็เป็นทางเลือกที่ดี สามารถใช้ทำาอาชีพส่วนตัวอยู่กับบ้าน หรือสถานพยาบาลแผน
ไทยทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งยังมีความต้องการอยู่มาก หรืออย่างน้อยที่สุดหากผ่านการฝึกอบรมตามความร่วมมือ


ระหว่างโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธ์) กับกรมการพัฒนาชุมชน ก็จะสามารถใช้วิชาความร ู ้
นี้ มาดูแลสุขภาพ ของตนเองหรือคนในครอบครัวได้เป็นอย่างดี ซึ่งนับเป็นโอกาสอันดีที่กรมการพัฒนาชุมชนได้รับ
ความเมตตาช่วยเหลือจากท่านเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ซึ่งถือได้ว่า เป็น

แหล่งรวมวิทยาการทางการแพทย์ และการนวดของไทย มีการรวบรวมตำารายา การนวดแบบฤาษีดัดตน ซึ่งบันทึก















และสบสานความร้ตามการจารกไวตามศาลารายของวดพระเชตพนฯ (วดโพธ) เปนตนตารบเรองนวดแผนไทยทเกา



แก่มีช่อเสียงมากท่สุดของไทยมานานกว่า 200 ปี จนทาให้ได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ



จึงทำาให้มั่นใจได้ว่า ท่านที่ผ่านการฝึกอบรมจากโครงการนี้ จะมีความรู้ที่ถูกต้องสามารถนำาไปใช้ได้อย่างดีเยี่ยม และ


ยังเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เกิดรายได้กับชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างท่วถึง กระต้น
เศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศให้มีความเข้มแข็ง สร้างและพัฒนาบุคลากร ผู้ประกอบการ และผู้ที่เกี่ยวข้องใน
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ให้มีขีดความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ และนำามาต่อยอดการบริหารจัดการ
ชุมชนได้อย่างเหมาะสมผ่านภูมิปัญญาการนวดแผนโบราณ

65

8 พฤศจิกายน 2562

66

8 พฤศจิกายน 2562











โดยขอบเขตของความร่วมมือจะเป็นการสนับสนุน ส่งเสริมศักยภาพของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ผ่าน

ภูมิปัญญาการนวดแผนโบราณ อันหมายถึง การจัดทำาหลักสูตร อาทิ มีการจัดทำาหลักสูตรการนวดแผนโบราณ จะ


ประกอบไปด้วยหลักสูตรระยะยาว เช่น หลักสูตรสปาผิวกาย หลักสูตรวิชาชีพนวดไทยเพ่อสุขภาพ หลักสูตรระยะส้น

เช่น หลักสูตร นวดน้ำามัน หลักสูตรนวดฝ่าเท้า หลักสูตรนวดประคบและอบสมุนไพร หลักสูตรฤาษีดัดตน หลักสูตร
นวดหน้า เป็นต้น มีการฝึกอบรมให้ความรู้ การจัดนิทรรศการแสดงสินค้าและผลงาน ตลอดจนร่วมกันพัฒนา แลก
เปลี่ยนข้อมูล องค์ความรู้ และพัฒนาฐานข้อมูล การนวดแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์) ที่จะเป็นประโยชน์

ในการส่งเสริมและยกระดับชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อีกทั้งร่วมกันประชาสัมพันธ์การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว
OTOP นวัตวิถี ยกระดับการท่องเที่ยวตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ผ่านภูมิปัญญาการนวดแผนโบราณ ให้เป็นที่รู้จัก

ผ่านช่องทางและเครือข่ายความร่วมมือของท้งสองฝ่าย โดยร่วมกันส่งเสริมการตลาดและกระต้นการขายสินค้า


และบริการ และการเข้าไปจัดกิจกรรมการนวดแผนโบราณ ในพื้นที่ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ทั้งในเชิงพื้นที่
ที่เน้นสร้างความยั่งยืน และมุ่งให้ชุมชนพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการพัฒนาให้องค์
ความรู้เกี่ยวกับการนวดแผนโบราณ เชิงสินค้า OTOP และผลิตภัณฑ์ชุมชน ที่เน้นคุณภาพ มาตรฐาน และความ

คิดสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณชุมชน ให้บุคลากรมีองค์ความร้เก่ยวกับสมุนไพรและการนวดแผนโบราณ และเชิง



บริการ ที่จะร่วมกันสร้างสรรค์ ส่งเสริม แลกเปลี่ยนความรู้ระดับชุมชน ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ
ตลอดจนพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือการนวดแผนโบราณ

ทางพระราชรัตนสุนทร ผ้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ยังได้กล่าวถึงโครงการ



ท่เคยทาร่วมกับวัดในอาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ซ่งก็ประสบความสำาเร็จ มีโครงการสอนลูกเณร ที่จบ


การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) ได้มีใบประกาศแพทย์แผนไทย และต่อไปลูกเณรประกอบอาชีพได้ โครงการ
โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มีผู้ปกครองมาส่งเด็ก ๆ จึงนำาผู้ปกครองมาเรียนครบชั่วโมงก็สำาเร็จ อาตมาขอ
ขอบคุณ อนุโมทนา อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และทีมงานกรมการพัฒนาชุมชน ที่ได้สร้างโอกาสอันดีในวันนี้ เพื่อ

สานต่อสิ่งที่ดีและมีประโยชน์ให้แก่ประชาชน ประเทศชาติ และสุดท้ายทางวัด มีความยินดีอย่างยิ่ง ที่ได้มีส่วนร่วม


ในการสนับสนุนอย่างเต็มท่ ซ่งวัดโพธ์เป็นวัดกษัตริย์สร้างไม่โรยร้างร่งเรืองดังเมืองสวรรค์ และขออนุโมทนาท่าน


อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และทีมงานกรมการพัฒนาชุมชนทุกท่าน ซึ่งนอกจากตัวท่านจะได้รับประโยชน์แล้ว จะ
ยังประโยชน์ไปถึงประชาชน ประเทศชาติ โดยทางวัดโพธิ์ มีความยินดียิ่งในการให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่

67

8 พฤศจิกายน 2562

68

8 พฤศจิกายน 2562













ด้านนายปรีดา ต้งตรงจิตร ผ้อานวยการโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธ์) กล่าวด้วยว่า การ


แพทย์แผนไทย และการนวดไทย ตำารับวัดโพธิ์ ของโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ(วัดโพธิ์) มีความเป็น
มาตั้งแต่สมัยขอมเรืองอำานาจ จวบรัชสมัย รัชกาลที่ 1 เมื่อครั้งย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาตั้งที่กรุงเทพฯ ทรงให้
ปฏิสังขรณ์ “วัดโพธาราม” หรือ “วัดโพธิ์” ขึ้นเป็นพระอารามหลวง และได้รวบรวม ตำารายา ฤาษีดัดตน ตำาราการ





นวด ต่อมารัชกาลท่ 3 รวบรวมตาราการนวด ตาราการแพทย์ แล้วให้จารึกไว้ในวัดโพธ์ นามาจารึก และต้งวิทยาลัย



การแพทย์แผนโบราณเพ่อเผยแพร่ให้ประชาชนท่วไปได้ศึกษาและสามารถนำาไปใช้รักษาตนเองยามเจ็บป่วยได้ ใน
พ.ศ. 2498 ท่านเจ้าคุณพระธรรมวโรดม (ปุ่น ปุณณสิริ) สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 ได้จัดตั้งสมาคมแพทย์แผน
โบราณ และโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ(วัดโพธ์) ข้น เป็นโรงเรียนแห่งแรกที่มีการสอนวิชาแพทย์แผน


โบราณครบทั้ง 4 สาขา ตามกฎหมาย ได้แก่ วิชาเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย ผดุงครรภ์ไทย และวิชาการนวด



แผนโบราณ จนถึงปัจจุบัน กว่าห้าสิบห้าป่ท่เร่มต้นจากโรงเรียนเล็กๆภายในวัดปัจจุบันโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัด
พระเชตุพนฯ(วัดโพธิ์) ได้พัฒนาองค์ความรู้ ตลอดจนปรับปรุงมาตรฐานการเรียนการ สอน จนได้เป็นที่เชื่อถือและ
ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ
“ต้องขอขอบคุณ ท่านเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (พระธรรมรัตนากร) และ
ท่านผู้อำานวยการโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์) เป็นอย่างสูง โดยกรมการพัฒนาชุมชนจะขับ





เคล่อนการบูรณาการความร่วมมือคร้งน้ ไปส่การสร้างสรรค์องค์ความร้สาหรับการพัฒนาและประชาสัมพันธ์ชุมชน





ท่องเท่ยวให้เป็นท่ร้จักสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ยว อีกท้งได้รับการยกระดับมาตรฐานด้วยนวัตกรรม เน้น


สร้างความยั่งยืน และมุ่งให้ชุมชนพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยสร้างงาน สร้างอาชีพ
กระจายรายได้ให้แก่พี่น้องประชาชนในชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ได้อย่างแท้จริง ซึ่งโครงการนี้ เปิดรับสมัคร
ท้งหญิงและชายโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ และเม่อผ่านการฝึกอบรม จะได้รับวุฒิบัตรท่กระทรวงสาธารณสุขให้การ



รับรอง ใช้เป็นเอกสารประกอบการทำางานได้อย่างถูกต้อง โดยสามารถสมัครได้ที่สำานักงานพัฒนาชุมชนอำาเภอ ทุก
อำาเภอ สำานักงานพัฒนาการชุมชนจังหวัดทุกจังหวัดและที่กรมการพัฒนาชุมชน และหากพื้นที่จังหวัดใด อำาเภอใด
มีผู้สมัครเรียนตั้งแต่ 20 คน ขึ้นไป ทางคณะอาจารย์จะเดินทางไปเปิดการเรียนการสอนให้ถึงที่ จึงขอเชิญชวนให้พี่
น้องประชาชนที่สนใจ มาร่วมสมัครเรียนในโครงการนี้ ” อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กล่าว

69

8 พฤศจิกายน 2562



อธิบดี พช. นำาคณะผู้บริหาร ลงนามถวายพระพร


และถวายแจกันดอกไม้ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า


กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


19 พฤศจิกายน 2562

72

19 พฤศจิกายน 2562


































วันท่ 19 พฤศจิกายน2562 เวลา 13.30 น. นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนพร้อมด้วย ดร.วัน
ดี กุญชรยาคง จุลเจริญ ประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ และประธานชมรมแม่บ้านพัฒนาชุมชน

นำาคณะผู้บริหารกรมการพัฒนาชุมชน ถวายแจกันดอกไม้ และลงนามถวายพระพรเบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขอให้ทรงมีพระพลานามัยท ี ่

สมบูรณ์แข็งแรง และทรงหายจากพระอาการประชวรโดยเร็ววัน ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

73

19 พฤศจิกายน 2562



พช. จับมือ ราชภัฏทั่วประเทศ สร้างนักการตลาดรุ่นใหม่


เพิ่มรายได้สู่ชุมชน



25 พฤศจิกายน 2562

76

25 พฤศจิกายน 2562














กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย จับมือ 38 มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ ลงนามบันทึกข้อตกลง






ความร่วมมือ ม่งขับเคล่อนชุมชนท้องถ่นเข้มแข็งภายใต้หลักปรชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก้าวส่เศรษฐกิจครัวเรือน
มั่นคง สามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยการปั้นนักการตลาดรุ่นใหม่ซึ่งเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ให้
เป็นนักขายทางออนไลน์ ด้วยผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) และชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ที่มีอยู่ทั่วประเทศ เพิ่ม
ยอดขายให้ชุมชน สร้างรายได้ให้แก่นักศึกษาระหว่างเรียน

วันน้ 25 พฤศจิกายน 2562 นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน พร้อมผ้แทนจาก 38

มหาวิทยาลัยราชภัฏ ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกรมการพัฒนาชุมชนกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6 – 7 โรงแรมเซ็นทรา บายเซ็นทาราศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เผยว่า จากนโยบายรัฐบาลที่ให้ความสำาคัญในเรื่องการ

พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและลดความเหลื่อมล้ำาของเศรษฐกิจครัวเรือนทั่วประเทศ โดยกระทรวงมหาดไทย ได้มอบ















หมายใหกรมการพฒนาชมชนดาเนนโครงการหนงตาบล หนงผลิตภณฑ (OTOP) ดวยการสงเสรมและสนบสนนการ


พัฒนาสินค้า OTOP ควบคู่ไปกับงานชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนให้เกิดความเข้ม

แข็งภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่อให้ชุมชนก้าวไปส่เศรษฐกิจครัวเรือนม่นคง ประชาชนใช้ชีวิตอย ่ ู



ในชุมชนอย่างมความสุข กรมฯ จึงได้กาหนดนโยบายเพ่อพัฒนาศักยภาพผ้ผลิต ผ้ประกอบการ OTOP คณะกรรมการ




ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และบุคลากรของกรมฯ รวมไปถึงการส่งเสริมการตลาดให้กับสินค้า OTOP และ
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีในพื้นที่ ซึ่งสอดคล้องกับโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน และโครงการผลิตภัณฑ์
ชุมชน คนของพระราชา ตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2560 – 2579) จึงเป็น
ที่มาของความร่วมมือระหว่างกรมการพัฒนาชุมชนกับมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศในครั้งนี้

77

25 พฤศจิกายน 2562

78

25 พฤศจิกายน 2562



















โดยความร่วมมือในคร้งน้มีกรอบการดาเนินงาน 5 ปี ซ่งในระยะแรกกรมการพัฒนาชุมชนและมหาวิทยาลัย




ราชภัฏจะร่วมกันกาหนดรายละเอียดการดาเนินงานให้มีความสอดคล้องกับกฎหมายและบทบาทหน้าท่ของแต่ละ



ฝ่าย โดยอาจมีการจัดทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในรายละเอียดของการดาเนินการตามโครงการย่อยระหว่าง


กรมการพัฒนาชุมชนกับมหาวิทยาลัยราชภัฏบางแห่งหรือทั้งหมด เพื่อให้เกิดความร่วมมือที่ชัดเจน มากยิ่งขึ้น และ
เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการครั้งนี้ประสบความสำาเร็จ กรมฯ และมหาวิทยาลัยราชภัฏจะร่วมกันพัฒนาศักยภาพผู้
ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP คณะกรรมการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และบุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชน
รวมไปถึงร่วมกันส่งเสริมการตลาดสินค้า OTOP และชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีในพื้นที่



“ความร่วมมือคร้งน้ กระผมหวังอย่างย่งว่าจะเกิดประโยชน์แก่นักศึกษา ท้ง 38 แห่ง ให้โอกาสนักศึกษาฝึกขาย

และมีรายได้ในช่วงเรียน อีกทั้ง สร้างแรงบันดาลใจให้มีอาชีพ จนกลายเป็นผู้ประกอบการ OTOP ออนไลน์ที่ยิ่งใหญ่
ระดับโลก และกระผมขอขอบคุณคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะ Change for Good ด้วยกัน


พัฒนาบุคลากร พัฒนาชุมชนในหม่บ้านไปด้วยกัน เพ่อก้าวส่การพัฒนาท่เป็นมออาชีพ และห่วงใยสังคม ซ่งพวก









เราจะได้เห็นส่งท่ดีท่จะเกิดข้นในประเทศไทย โดยการขับเคล่อนการพัฒนาชุมชนภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการก้าวไปสู่เศรษฐกิจครัวเรือนมั่นคง สามารถพึ่งตนเองได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” อธิบดีกรม
การพัฒนาชุมชนกล่าว

79

25 พฤศจิกายน 2562







พช.ร่วมประกาศเจตนารมณ์ความร่วมมือการสืบสานศาสตร์พระราชา


ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้าหมายความยั่งยืนโลก



2 ธันวาคม 2562

84

2 ธันวาคม 2562















วันนี้ 2 ธันวาคม 2562 นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนนำาคณะข้าราชการกรม ฯ ร่วมงาน
“พลังงานสรรค์สร้างพลังแผ่นดิน เพื่อการฟื้นฟูโลก (Energy Drive Ecosystem)” พร้อมแสดงเจตนารมณ์ความ


ร่วมมือการศึกษาศาสตร์พระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่เป้าหมายความย่งยืนโลก และร่วมเสวนาในหัวข้อ



‘เป้าหมายโลกคือเป้าหมายเราด้วยศาสตร์พระราชา” โดยมีนายสุรพร ดนัยต้งตระกูล กรรมการผ้ช่วยรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงพลังงานเป็นประธานในพิธีเปิดงาน ณ บริเวณเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก
ซึ่งในช่วงเช้ามีการแสดงพลังแห่งความร่วมมือจากทุกภาค ทุกเครือข่ายด้วยกิจกรรมโบกธงแสดงเจตนารมณ์

สืบสานศาสตร์พระราชาเนื่องในวันดินโลก ณ บริเวณสันเขื่อนภูมิพล
จากนั้น นำาคณะ ฯ ร่วมพิธีเปิดงานและร่วมแสดงเจตนารมณ์ความร่วมมือในการสืบสานศาสตร์พระราชาของ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้าหมายความยั่งยืนโลก ระหว่าง 6 หน่วยงาน ประกอบด้วย กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ มูลนิธิรักษ์ดินรักษ์นา Earth Safe

Foundation ธนาคารเพ่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กระทรวง

พลังงาน ภายใต้กรอบระยะเวลา 3 ปี เป็นการแสดงถึงความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานหลายภาคส่วน เพื่อร่วม
กันขับเคลื่อนการดำาเนินงานที่มุ่งแก้ปัญหาใน 3 ประเด็นหลัก คือ น้ำา อาหาร และพลังงาน เพื่อสร้างความมั่นคง




ตามเป้าหมายความย่งยืนโลก (SDGs) โดยเปิดโอกาสให้ชุมชนท้องถ่นและประชาชนท่วไปได้มีส่วนร่วมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ
ให้เข้มแข็งต่อไป


โดยการจัดงานดังกล่าว นับเป็นจุดเร่มต้นของความร่วมมือระหว่างหน่วยงานหลายภาคส่วนท้งชุมชนและหน่วย


งานราชการภาคเอกชน ซ่งจะเป็นก้าวสาคัญท่จะนาไปส่การขยายความร่วมมือในทุกภาคีเครือข่ายต่อไปโดยการ





น้อมนาศาสตร์พระราชาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนเพ่อ
ให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ย่งยืนของประเทศไทย โดยการบูรณาการแนวคิดเพ่อแก้ปัญหาพัฒนาคุณภาพชีวิต








ชุมชนบริหารจัดการพ้นท่แบบโคกหนองนาโมเดลเพ่อพัฒนานา อาหาร และพลังงาน ซ่งเป็นปัจจัยจาเป็นพ้นฐาน



ของมนุษย์และเป็นการใช้พื้นที่ของชุมชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

85

2 ธันวาคม 2562

86

2 ธันวาคม 2562


















ซ่งหลังจากพิธีเปิดอย่างเป็นทางการได้มีการเสวนาในหัวข้อ “เป้าหมายโลกคือเป้าหมายเราด้วยศาสตร์พระ

ราชา” โดยผู้ทรงคุณวุฒิจาก 4 ภาคีเครือข่ายได้แก่ ดร.วิวัฒน์ ศัลยกำาธร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร

และสหกรณ์และท่ปรึกษามูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รศ.ดร.สุรินทร์
คำาฝอย รองอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และนายพัฒนา แสงศรีโรจน์ รองผู้
ว่าการยุทธศาสตร์กฟผ. ซึ่งได้บรรยายถึงความสำาคัญพร้อมผลักดันประชาชนให้ร่วมกันขับเคลื่อนและพัฒนาชุมชน

สู่เป้าหมายความยั่งยืนระดับโลก
ทั้งนี้ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ได้กล่าวในเวทีเสวนาว่า ความร่วมมือครั้งนี้สอดคล้องกับแนวทางการดำาเนิน
















งานของกรมการพฒนาชุมชนทไดกาหนดวสัยทศนในการทางาน ‘เศรษฐกจฐานรากมนคง และชมชนพงตนเองได ้
ภายในปี 2565’ โดยการขับเคลื่อนงานสู่วิสัยทัศน์นั้น ได้น้อมนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทาง
ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2563 ได้ดำาเนินการ 2 โครงการหลัก คือ โครงการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถิ่นตาม


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 74,655 หม่บ้าน ม่งเน้นหน่วยสาคัญท่สุดคือระดับครัวเรือน มีการส่งเสริมให้ครัว


เรือนสร้างความมั่นคงทางอาหาร สร้างสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม โดยมีกิจกรรมย่อย อาทิ


กิจกรรมหม่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมหม่บ้านโครงการบ้านน้มีรัก ปลูกผักกินเอง กิจกรรมหม่บ้านสัมมาชีพ


ชุมชน กิจกรรมพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตผู้มีรายได้น้อย ซึ่งเราต้องทำาทันที โดยหวัง 70% ของครัวเรือน จะ
ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ มีไข่อารมณ์ดี มีการจัดการคัดแยกขยะ มีการทำาปุ๋ยหมัก เป็นต้น


นอกจากน้ กรมฯ ยังสร้าง/พัฒนา “ศูนย์เรียนร้ศาสตร์พระราชาน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่วิถ ี



ชีวิต” ด้วยการยกระดับศูนย์บ่มเพาะอาชีพตามแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่อให้เป็นศูนย์เรียนร้อาชีพ แก ่

ข้าราชการและประชาชนทั่วไปในพื้นที่ของกรมการพัฒนาชุมชน จำานวน 18 แห่ง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และอยาก
เห็นคนที่จะเป็นผู้นำาหัวไวใจกล้าพัฒนาทำาพื้นที่ให้เหมือนอย่าง เช่น โคก หนอง นา โมเดลในพื้นที่ของตัวเอง ซึ่งจะ
สำาเร็จได้ง่ายเพราะมีภาคีอย่างเช่นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตที่พร้อมจะร่วมขับเคลื่อน

87

2 ธันวาคม 2562



สภาสตรีแห่งชาติฯ เดินหน้าลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU)


“โครงการสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำารงไว้ในแผ่นดิน”


ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น และร้อยเอ็ด


2 ธันวาคม 2562

90

2 ธันวาคม 2562






วันที่ 2 ธันวาคม 2562

ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ ประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ และประธานชมรมแม่บ้าน
พัฒนาชุมชน

พร้อมด้วยนางรชตภร โตดิลกเวชช์ ประธานคณะกรรมการบริหารสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์
และท่ปรึกษาประธานชมรมแม่บ้านพัฒนาชุมชน พร้อมด้วยคณะกรรมการจากสภาสตรีแห่งชาติ ฯ ลงนามบันทึกข้อ

ตกลง (MOU) “โครงการสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำารงไว้ในแผ่นดิน” กับ ดร.สมศักดิ์ จังตระกุล ผู้ว่าราชการ
จังหวัดขอนแก่น โดยมีนายโชคชัย แก้วป่อง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมการพัฒนา


ชุมชน นายสิทธิกุล ภูคาวงศ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวดขอนแก่น ผ้แทนมหาวิทยาลัยขอนแก่น นางมุกดา


พงษ์สมบัติ ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดขอนแก่น นายเข็มชาติ สมใจวงศ์ ผ้ทรงคุณวุฒิกิตติมศักด์ ิ

หอการค้าจังหวัดขอนแก่น นางสาวศันสนีย์ ทาสม ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน นายธีระเชษฐ สอนปะละ
พัฒนาการจังหวัดขอนแก่น ร่วมลงนาม และหน้าส่วนราชการ หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้าฝ่าย พัฒนาการอำาเภอ และเจ้า

หน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น ร่วมพิธีการรณรงค์ให้คนไทยทั้งประเทศร่วมมือร่วมใจกันใส่ผ้าทอไทย ณ ห้อง

ประชุมแก่นเมือง ชั้น 1 ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น อำาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
โดยมีชุมชนที่ทอผ้าไหม ซึ่งเป็นกลุ่มอาชีพการทอผ้า มากกว่า 30 กลุ่ม จากทั้ง 26 อำาเภอ ของจังหวัดขอนแก่น

และมีผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย ได้นำาผลิตภัณฑ์มาจัดแสดงและจำาหน่าย มากกว่า
15 ราย อาทิ ผ้าไหมอันเลื่องชื่อของจังหวัดขอนแก่น

จากน้นช่วงบ่าย ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง(MOU) กับ นายดารงค์ สิริวิชย อ่มวิเศษ รองผ้ว่าราชการจังหวัด




ร้อยเอ็ด และนายโชคชัย แก้วป่อง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ปฏิบัติราชการแทนอธิบดี กรมการพัฒนาชุมชน
พร้อมด้วยนางนงรัตน์ คงเกษม ประธานแม่บ้านมหาดไทย/ นายกสมาคมส่งเสริมวัฒนธรรมหญิง ดร.เกรียงศักดิ์
ศรีสมบัติ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏร้อยเอ็ด นายมังกร ยนต์ตระกูล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ร้อยเอ็ด นายสมศักดิ์ เศษโฐประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดร้อยเอ็ด นายบรรจง โฆษิตจิรนันท์ นายกเทศมนตรี
เมืองร้อยเอ็ด นางจิราพร เกษมทรัพย์ ประธานชมรมนายกองค์การบริหารส่วนตำาบล จังหวัดร้อยเอ็ด ดร.สถาพร


มงคลศรีสวัสด์ นายกสมาคมธุรกิจท่องเท่ยวจังหวัดร้อยเอ็ด นายธีระชัย แสนภูวา ท้องถ่นจังหวัดร้อยเอ็ด นาย


อำานวย ระดาบุตร ประชาสัมพันธ์จังหวัดร้อยเอ็ด นางจวงจิรา สุริยวนากูล นายกสมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพ
แห่งประเทศไทยจังหวัดร้อยเอ็ด ดร.สุมาลัย ศิริพานิช ประธานหอการค้าจังหวัดร้อยเอ็ด นางสมปอง ว่องสัธนพงษ์

ประธานกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดร้อยเอ็ด นางรัชนี พลซื่อ หัวหน้าคณะทำางานขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาท
สตรีจังหวัดร้อยเอ็ด นายเจนเจตน์ เจนนาวิน นายอำาเภอเมืองร้อยเอ็ด นายธนิต พันธ์หินกอง นายอำาเภอสุวรรณภูมิ

91

2 ธันวาคม 2562

92

2 ธันวาคม 2562









นายอภัย วุฒิโสภากร นายอาเภอเสลภูมินายชรินทร์ ภ่ชัย นายอาเภอธวัชบุรี นายวัลลพ จินดาเงิน นายอาเภอ



โพนทองนายสุเทพ พิมพ์พิรัตน์ นายอำาเภอพนมไพร
นายณรงค์ศักดิ์ สบาย นายอำาเภอเกษตรวิสัยนายเริงวิทย์ ถนอมแสง นายอำาเภออาจสามารถ นายคงคา ชื่น
จิต นายอำาเภอปทุมรัตต์นายประพันธ์พงษ์ โสภารัตน์ ปลัดอำาเภอ (เจ้าพนักงานปกครองชำานาญการพิเศษ) รักษา

ราชการแทนนายอำาเภอจตุรพักตรพิมาน นายสมหวัง วงศ์คำา ปลัดอำาเภอ (เจ้าพนักงานปกครองชำานาญการพิเศษ)

รักษาราชการแทนนายอำาเภอโพธิ์ชัย นายวิธรัช รามัญ นายอำาเภอหนองพอก นางละอองเพชร พุฒิพัฒน์พาณิชย์
ปลัดอำาเภอ (เจ้าพนักงานปกครองชำานาญการพิเศษ) รักษาราชการแทนนายอำาเภอศรีสมเด็จ ว่าที่ร้อยตรีอานพ ศรี
บุญลือ นายอำาเภอจังหาร นายเอกโอสถ รักเอียด นายอำาเภอทุ่งเขาหลวง นายวิเชียร สุดาทิพย์

นายอำาเภอเชียงขวัญ นายอภิชาติ อารีย์พัฒนไพบูลย์ นายอำาเภอเมืองสรวง ว่าที่ร้อยตรีอดุลเดช หมี่นวิชาชัย

ปลัดอำาเภอ (เจ้าพนักงานปกครองชำานาญการพิเศษ) รักษาราชการแทนนายอำาเภอโพนทราย นายวีระพงษ์ โคตร
พงษ์ นายอำาเภอเมยวดี ร้อยตำารวจเอกหญิง อรุณี อินทรมณี นายอำาเภอหนองฮี นางสาวศันสนีย์ ทาสม ผู้ตรวจ












ราชการกรมการพฒนาชุมชน นางนวลจันทร ศรมงคล หวหนากลมงานสงเสรมการพฒนาชุมชน รกษาราชการ

แทนพัฒนาการจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมลงนาม การรณรงค์ให้คนไทยท้งประเทศร่วมมือร่วมใจกันใส่ผ้าทอไทย เพ่อ

ช่วยกันสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก ลดความเหลื่อมล้ำา กระจายรายได้ให้แก่ชุมชน รักษาเอกลัษณ์ทาง
วัฒนธรรม และรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีกลุ่มองค์กรสตรี กลุ่มอาชีพทอผ้า ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ของ
จังหวัดร้อยเอ็ด เข้าร่วมจำานวน 400 คน ทั้งนี้ มีผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย ได้มา
จัดแสดงและจำาหน่ายผลิตภัณฑ์ ผ้าไหมอันลือชื่อของจังหวัดร้อยเอ็ด มากกว่า 13 ราย เป็นการกระตุ้นให้เกิดการ

ทอผ้า และสร้างรายได้ให้กับชุมชน โดยจัดกิจกรรม ณ ห้องประดับเพชร โรงแรมเพชรรัชต์การ์เด้นอาเภอเมือง
ร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด“โครงการสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำารงไว้ในแผ่นดิน” เพื่อสืบสานพระราชปณิธาน


สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในเร่องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่นของ

ไทย เพื่ออนุรักษ์ผ้าไทยศิลปะอันล้ำาค่าของชาติไทย ให้คงอยู่คู่แผ่นดิน และเพื่อเพิ่มรายได้ให้ผู้ประกอบการ OTOP
โดยเฉพาะกลุ่มสตรีในท้องถิ่น ในประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย สร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก ลดความ
เหลื่อมล้ำา กระจายรายได้ให้แก่ชุมชน รักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีชุมชนที่
ทอผ้าไหม ซึ่งเป็นกลุ่มอาชีพการทอผ้า มากกว่า 30 กลุ่ม จากทั้ง 26 อำาเภอ ของจังหวัดขอนแก่น และมีผู้ผลิต ผู้

ประกอบการ OTOP ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย ได้นำาผลิตภัณฑ์มาจัดแสดงและจำาหน่าย มากกว่า 15 ราย อาทิ
ผ้าไหมอันเลื่องชื่อของจังหวัดขอนแก่น

93

2 ธันวาคม 2562

94

2 ธันวาคม 2562























ฃดร.วันดี กล่าวว่า โครงการสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำารงไว้ในแผ่นดิน” เพื่อสืบสานพระราชปณิธาน



สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในเร่องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่นของ
ไทย เพื่ออนุรักษ์ผ้าไทยศิลปะอันล้ำาค่าของชาติไทย ให้คงอยู่คู่แผ่นดิน และเพื่อเพิ่มรายได้ให้ผู้ประกอบการ OTOP
โดยเฉพาะกลุ่มสตรีในท้องถิ่น ในประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย สร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก ลดความ




เหล่อมลา กระจายรายได้ให้แก่ชุมชน รักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และรักษาภูมิปัญญาท้องถ่น จึงขอเชิญชวน ให ้













คนไทยทกคนหนมาใสผาทอไทยดวยความภาคภมใจ ชวยกนสรางกระแสนยมการแตงกายดวยชดผาไทยให้เกดขนแก ่






ประชาชนทั่วไปในทุกเพศทุกวัย ทั่วทั้งประเทศ เพื่อเป็นการสนับสนุนส่งเสริมการสร้างงาน สร้างอาชีพ หากคนไทย
ทั้งประเทศพร้อมใจกันสวมใส่ผ้าไทยในทุกวันทั้งประเทศ จะช่วยเป็นการส่งเสริมการทอผ้าในชุมชน สร้างงาน สร้าง
อาชีพ ลดปัญหาการว่างงาน ลดปัญหาการย้ายถิ่นฐาน และลดความเหลื่อมล้ำาในสังคมได้ ถ้าคนไทยร่วมมือร่วมใจ
กันใส่ผ้าไทย เพียง 30 ล้านคน จะมีความต้องการใช้ผ้าไทยถึง 300 ล้านเมตร/ปี เฉลี่ยราคาเมตรละ 300 บาทจะ
มีมูลค่ากว่าปีละ 9,000 ล้านบาท เงินเหล่านี้ก็จะไปกระจายในชุมชน ทำาให้พี่น้องประชาชนมีกินมีใช้ และมีความสุข

95

2 ธันวาคม 2562


Click to View FlipBook Version