The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมิน RT 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichit, 2022-05-07 03:40:15

RT64

รายงานการประเมิน RT 2564

Keywords: RT64 สพป.บึงกาฬ

รายงานการประเมิน

ความสามารถดา้ นการอ่านของผ้เู รียน
(Reading Test: RT)

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564

เอกสาร ศน. เลขที่ 02/2564
กลุม่ งานวดั และประเมนิ ผลการศึกษา
กลุม่ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ

คำนำ

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ ดำเนินการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของ
นักเรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2564 ซึ่งเป็นการดำเนินการต่อเนื่องตามโครงการในปี
การศึกษา 2559 ที่กำหนดให้เป็นปีปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เมื่อ
จบชั้นแล้วต้องอ่านออกเขียนได้และมีมาตรการประเมินผลให้เป็นรูปธรรม ควบคู่กับการดำเนินกิจกรรมแนว
ทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาด้านการอ่านการเขียนของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ปีการศึกษา
2564 ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้านการอ่านการเขียนของนักเรียนให้มีความ
ย่ังยืน ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูลสำคัญท่ีสะท้อนคุณภาพการดำเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และเป็นตัวบ่งช้ีคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในภาพรวม เพื่อใช้เป็นข้อมูล
ประกอบการตัดสินใจในการกำหนดนโยบาย กำหนดยุทธศาสตร์ แผนการศึกษาของชาติ ระดับสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดบั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระดับสถานศึกษา ในการประเมินคณุ ภาพ
การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายเพ่ือ
การนำไปใช้เป็นข้อมูลกกรปรับปรุง พัฒนา และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและเป็นข้อมูล
ประกอบกำรตัดสินใจในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและ
ระดบั สถานศึกษาอนั จะนำไปสกู่ ารพัฒนาการศึกษาในระดบั ชาติต่อไป

กลมุ่ งานวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา
กล่มุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

สารบัญ หน้า

เรอ่ื ง
บทสรปุ ผู้บริหาร (Executive Summary) 1
บทท่ี 1 บทนำ 3
3
ความเปน็ มาและความสำคัญ 3
วตั ถปุ ระสงค์ 4
นยิ ามศัพท์เฉพาะ 4
กลุ่มเป้าหมาย 4
ตารางการประเมนิ
ประกาศผลการประเมิน 6
ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ 7
บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน 11
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช2551 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 12
ตัวชว้ี ัดทเ่ี ก่ียวข้องกบั การประเมนิ การอ่าน
ความหมายของการอา่ น 15
แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอำนาจในการบรหิ ารจัดการ (Decentralization) 17
แนวคดิ เก่ยี วกับความโปร่งใสในการจัดสอบ (Transparency) 18
บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การ 19
โครงสรา้ งและเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมนิ 21
การแปลความหมายของผลการประเมิน 26
กำหนดการบรหิ ารจัดการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รียน 27
การดำเนนิ การระดบั เขตพน้ื ท่ี
การดำเนินการระดบั สถานศกึ ษา 29
การดำเนินการสอบ 34
การรายงานผล
บทท่ี 4 ผลการประเมนิ
ผลการประเมนิ ของเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา ปีการศึกษา 2564
เปรยี บเทยี บผลการประเมินของเขตพ้นื ที่การศึกษา 3 ปีการศึกษา (2562 - 2564)

สารบัญ (ต่อ) หน้า
49
เรือ่ ง 55
55
ผลการประเมินของโรงเรยี นตามโครงการพระราชดำริฯ ปีการศึกษา 2564 57
บทที่ 5 สรุปรายงานผลการประเมนิ 59
61
วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมิน 64
วธิ ดี ำเนินการ
สรปุ ผลการประเมิน 67
อภปิ รายผล
ขอ้ เสนอแนะ 74
เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก 99
ภาคผนวก ก แบบสรุปรายงานผลการประเมินของเขตพื้นที่ (R-Local01)
106
ปีการศึกษา 2562 – 2564 113
ภาคผนวก ข สรุปผลการทดสอบการอ่าน (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1

ปกี ารศกึ ษา 2564 สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ
จำแนกตามสมรรถนะ
ภาคผนวก ค สรุปผลการทดสอบการอา่ น (RT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1
เปรยี บเทียบ 3 ปกี ารศกึ ษา (2562 – 2564)
สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ
ภาคผนวก ง สรปุ ผลการทดสอบการอา่ น (RT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ของโรงเรยี นตามโครงการพระราชดำรสิ มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ จำแนกตามสมรรถนะ
คณะทำงาน

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หน้า

1 ตารางการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 4

2 ตวั ชี้วัดที่เก่ียวข้อง และสาระการเรยี นรู้แกนกลางตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ด้านการอ่าน 8

3 ตัวชวี้ ัดทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และสาระการเรยี นรู้แกนกลางตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ดา้ นการเขียน 9

4 ตวั ชี้วดั ที่เกยี่ วข้อง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ดา้ นการฟัง การดูและการพดู 9

5 ตัวชี้วดั ท่ีเกย่ี วข้อง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 ดา้ นหลกั การใช้ภาษา 10

6 ตัวชีว้ ดั ที่เก่ยี วขอ้ ง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 ด้านวรรณคดีและวรรณกรรม 10

7 กรอบโครงสร้างทใ่ี ช้ในการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (RT)

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 15

8 การแปลความหมายของผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน (RT)

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 17

9 ปฏทิ ินการดำเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1

ปกี ารศึกษา 2564 ของสำนักทดสอบทางการศกึ ษา 18

10 คะแนนผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1

ปีการศกึ ษา 2564 จำแนกตามระดับ 29

11 จำนวนและร้อยละของนกั เรยี นท่ีประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของนักเรียน (RT)

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 จำแนกตามระดับคณุ ภาพ 31

12 คะแนนผลการอ่านรายด้านและประเภทของคำ 33

13 คะแนนผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของนักเรียน (RT) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1

ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 34

14 คะแนนผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของนักเรียน (RT) 3 ปีการศึกษา

(2562 – 2564) จำแนกตามระดบั 35

15 โรงเรียนตามโครงการพระราชดำรฯิ สังกดั สพป.บึงกาฬ 50

16 คะแนนประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรยี น (RT) ของโรงเรียนตามโครงการพระราชดำริฯ 52

สารบญั แผนภมู ิ หน้า
31
แผนภมู ทิ ี่ 35
36
1 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนผลการประเมินการอา่ นระหวา่ งเขตพนื้ ท่ีกบั ระดบั อนื่ ๆ 37
2 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมนิ การอ่าน 3 ปกี ารศกึ ษา (2562 - 2564) 37
3 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมนิ การอ่าน 3 ปกี ารศึกษา (2562 - 2564) 38
38
ในสมรรถนะการอ่านออกเสียง จำแนกตามระดับ 39
4 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนผลการประเมนิ การอา่ น 3 ปีการศึกษา (2562 - 2564) 39
40
ในสมรรถนะการอ่านรู้เรอ่ื ง จำแนกตามระดับ 40
5 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมินการอ่าน 3 ปีการศกึ ษา (2562 - 2564) 41
41
รวมท้ัง 2 สมรรถนะ จำแนกตามระดับ 42
6 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลมุ่ โรงเรียนบึงกาฬวิศษิ ฐ์ 3 ปกี ารศึกษา

(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ
7 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลุม่ โรงเรียนโนนสวา่ งโป่งเปือยไคสี

3 ปกี ารศึกษา (2562 - 2564) จำแนกตามระดบั
8 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลมุ่ โรงเรียนโนนสมบรู ณน์ าสวรรค์คำนาดี

3 ปีการศึกษา (2562 - 2564) จำแนกตามระดับ
9 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลุม่ โรงเรยี นโคกก่องชยั พร 3 ปกี ารศึกษา

(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั
10 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยร้อยละ กลุ่มโรงเรยี นหอคำหนองเลงิ 3 ปีการศกึ ษา

(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั
11 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลุ่มโรงเรยี นศรวี ไิ ลชมุ ภพู รนาสงิ ห์

3 ปกี ารศึกษา (2562 - 2564) จำแนกตามระดบั
12 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลุ่มโรงเรยี นนาสะแบงนาแสง 3 ปกี ารศึกษา

(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั
13 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยร้อยละ กลมุ่ โรงเรียนท่ากกแดงท่าสะอาด

3 ปกี ารศึกษา (2562 - 2564) จำแนกตามระดับ
14 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลุ่มโรงเรียนต้องโสกก่าม 3 ปีการศึกษา

(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

สารบญั แผนภมู ิ (ต่อ) หน้า

แผนภมู ทิ ่ี 42
43
15 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยร้อยละ กลุ่มโรงเรียนเซกา 3 ปีการศึกษา 43
(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั 44
44
16 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรียนซางหนองทมุ่ 3 ปีการศึกษา 45
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ 45
46
17 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลมุ่ โรงเรียนป่งไฮน้ำจ้นั 3 ปกี ารศึกษา 46
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ 47
47
18 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลมุ่ โรงเรยี นดอนหญ้างนาง 3 ปกี ารศกึ ษา 48
(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั 48

19 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลุ่มโรงเรียนพรเจริญ 3 ปีการศึกษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

20 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรียนบงึ โขงหลง 3 ปกี ารศึกษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

21 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรยี นดงบังท่าดอกคำ 3 ปกี ารศกึ ษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

22 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลมุ่ โรงเรยี นโซ่เหล่าทอง 3 ปีการศึกษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

23 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยร้อยละ กลุ่มโรงเรยี นคำแก้วถำ้ เจรญิ 3 ปกี ารศึกษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

24 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กล่มุ โรงเรียนหนองพนั ทาบวั ตูม 3 ปีการศึกษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

25 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลุ่มโรงเรียนศรีชมภู 3 ปกี ารศึกษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั

26 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลุ่มโรงเรยี นปากคาด 3 ปกี ารศกึ ษา
(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั

27 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลุ่มโรงเรยี นหนองยองสมสนกุ นาดง
3 ปกี ารศึกษา (2562 - 2564) จำแนกตามระดับ

สารบญั แผนภูมิ (ตอ่ )

แผนภมู ทิ ี่ หน้า

28 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลุ่มโรงเรยี นบงุ่ คลา้ 3 ปกี ารศึกษา 49
(2562 - 2564) จำแนกตามระดบั 52
53
29 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมินการอ่านออกเสยี งของโรงเรียนตามโครงการ 53
พระราชดำริฯ กับระดับอ่นื ๆ

30 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนผลการประเมนิ การอา่ นรู้เรือ่ งของโรงเรียนตามโครงการ
พระราชดำรฯิ กับระดับอื่น ๆ

31 กราฟเปรียบเทียบคะแนนผลการประเมนิ การอา่ น รวม 2 สมรรถนะของโรงเรยี นตามโครงการ
พระราชดำริฯ กับระดบั อื่น ๆ

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ของ
โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ให้สถานศึกษามี
เคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ท้ังในเร่ืองการอ่านออก
เสียง และการอ่านรู้เร่ือง และ 2) ทำให้ครูผู้สอนมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
เป็นรายบุคคลนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ซ่ึงผล
การประเมินดังกล่าวจะช่วยให้ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทราบปัญหา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาของนักเรียน
รายบุคคล ทำให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับผู้เรียน สำหรับครูท่ีสอนชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 สามารถนำผลการวิเคราะหก์ ารประเมินเปน็ รายบุคคลนี้มาศึกษา จะทำให้ครทู ราบพนื้ ฐานของ
ผู้เรียนแต่ละคน เพื่อจะได้แก้ไขและพัฒนาได้ตรงประเด็น โดยให้ครูพิจารณาผลการประเมินในแต่ละด้านว่า
ผู้เรียนแต่ละคนมีคะแนนในระดับปรับปรุง องค์ประกอบย่อยในเรื่องใด เช่น เรื่องคำ เรื่องประโยค หรือเร่ือง
ข้อความ สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ และผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดนโยบาย
แนวทางการพฒั นาคุณภาพนกั เรยี นท่ีมปี ระสทิ ธิภาพอย่างย่ังยนื และต่อเน่อื ง

ผลการประเมนิ ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ในปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มีโรงเรียนในสังกัดท่ีร่วม
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งสิ้น จำนวน 205 โรงเรียน มี
จำนวนนักเรียนที่เข้าทดสอบทั้งสิ้น จำนวน 3,963 คน จำแนกเป็น นักเรียนปกติ 3,780 คน และนักเรียนพิเศษ
จำนวน 183 คน

ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
จำแนกเป็นสมรรถนะ พบว่า การอ่านรู้เร่ืองมีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากกว่าการอ่านออกเสียง คือ มีค่าเท่ากับ
73.80 และ 72.26 ตามลำดบั

เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมท้ัง 2 สมรรถนะ จําแนกตามระดับ พบว่า ศึกษาธิการภาคมี
คะแนนเฉลี่ยร้อยละมากท่ีสุด คือ มีค่าเท่ากับ 74.87 รองลงมา คือ ระดับสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬ เท่ากับ 73.03 ระดับจังหวัด เท่ากับ 72.73 ระดับประเทศ เท่ากับ 71.38 และระดับสังกัด
(สพฐ.) เทา่ กบั 70.67 ตามลําดบั

สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า มีจํานวน 120 โรงเรียน (ร้อยละ 58.54) ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 5 ลำดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.38



2) บ้านท่าโพธิ์ เท่ากับ 99.00 3) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 4) บ้านโคกสว่าง เท่ากับ 97.07 และ 5) บ้าน
โนนสวรรค์ เทา่ กับ 97.00 ตามลำดบั เม่อื พิจารณาเปน็ กลุ่มโรงเรยี น พบวา่ มีจำนวน 15 กลุ่มโรงเรยี น (ร้อยละ
65.22) มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก คือ
1) กลุ่มโรงเรียนโซ่เหล่าทอง เท่ากับ 83.43 2) กลุ่มโรงเรียนโนนสว่างโป่งเปือยไคสี เท่ากับ 79.34 และ 3) กลุ่ม
โรงเรยี นหอคำหนองเลิง เท่ากับ 79.00 ตามลาํ ดับ

สมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง พบว่า มีจํานวน 116 โรงเรียน (ร้อยละ 56.59) ท่มี คี ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.23
2) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 3) บ้านนางวงสุ่มห้วยเนียม เท่ากับ 97.38 4) บ้านนาต้อง เท่ากับ 95.87 และ 5)
บ้านท่าโพธ์ิ เท่ากับ 94.75 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาเป็นกลุ่มโรงเรียน พบว่า มีจํานวน 14 กลุ่มโรงเรียน (ร้อยละ
60.87) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก คือ
1) กลุ่มโรงเรียนดอนหญ้านาง เท่ากับ 81.00 2) กลุ่มโรงเรยี นบึงกาฬวิศิษฐ์ เท่ากับ 80.57 และ 3) กลุ่มโรงเรียน
โซเ่ หล่าทอง เทา่ กบั 80.03 ตามลาํ ดับ

รวม 2 สมรรถนะ พบว่า มีจํานวน 118 โรงเรียน (ร้อยละ 57.56) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.30
2) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 3) บ้านท่าโพธิ์ เท่ากับ 96.87 4) บ้านนางวงสุ่มห้วยเนียม เท่ากับ 94.92 และ
5) บ้านโคกสวา่ ง เท่ากับ 94.84 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาเป็นกลุ่มโรงเรยี น พบว่า มีจํานวน 15 กลุม่ โรงเรียน (ร้อย
ละ 65.22) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก
คือ 1) กลุ่มโรงเรียนโซ่เหล่าทอง เท่ากับ 81.73 2) กลุ่มโรงเรียนโนนสว่างโป่งเปือยไคสี เท่ากับ 79.62 และ
3) กลมุ่ โรงเรียนบงึ กาฬวศิ ิษฐ์ เทา่ กบั 79.42 ตามลาํ ดบั (ปรากฏในภาคผนวก ข)

เมื่อพิจารณาจำนวนและร้อยละของนักเรียน (ยกเว้นเด็กพิเศษ และ Walk-in) ที่รับการประเมิน
ความสามารถด้านการอ่านของนักเรยี น (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามระดับคุณภาพ
ในแตล่ ะด้าน ดังนี้

สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า นักเรียนท่ีมีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมาก
ที่สุด คือ 1,992 คน คิดเป็นร้อยละ 54.75 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 977 คน คิดเป็นร้อยละ 26.85
ระดับคุณภาพพอใช้ จํานวน 422 คน คิดเป็นร้อยละ 11.59 และระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน 247 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 6.78 ตามลำดับ

สมรรถนะการอ่านรู้เร่ือง พบว่า นักเรียนที่มีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมากท่ีสุด
คือ 1,981 คน คิดเป็นร้อยละ 54.45 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 1,279 คน คิดเป็นร้อยละ 35.15
ระดับคณุ ภาพพอใช้ จํานวน 320 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.79 และระดบั คุณภาพปรับปรงุ จาํ นวน 58 คน คิดเป็นร้อย
ละ 1.59 ตามลำดบั



รวม 2 สมรรถนะ พบว่า นักเรียนท่ีมีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมากที่สุด คือ
2,038 คน คิดเป็นร้อยละ 56.03 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 1,102 คน คิดเป็นร้อยละ 30.29 ระดับ
คณุ ภาพพอใช้ จาํ นวน 385 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.58 และระดบั คุณภาพปรับปรุง จํานวน 112 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
3.07 ตามลำดับ (ปรากฏในภาคผนวก ก)

เม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้น
ประถมศึกษาปที ี่ 1 ตั้งแตป่ ีการศกึ ษา 2562 - 2564 ในแตล่ ะสมรรถนะ เปน็ ดังนี้

สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากที่สุด เท่ากับ 81.47
รองลงมาคือ ปีการศึกษา 2564 เท่ากับ 72.26 และปีการศึกษา 2562 เท่ากับ 71.95 ตามลำดับ (ปรากฏใน
ภาคผนวก ค)

สมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากท่ีสุด เท่ากับ 75.30
รองลงมาคอื ปีการศกึ ษา 2562 เทา่ กับ 73.95 และปกี ารศกึ ษา 2564 เท่ากบั 73.80 ตามลำดบั

รวม 2 สมรรถนะ พบวา่ ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากที่สุด เทา่ กบั 78.44 รองลงมาคือ
ปกี ารศกึ ษา 2564 เทา่ กบั 73.03 และปกี ารศกึ ษา 2562 เทา่ กบั 72.95 ตามลำดบั

และเม่ือพิจารณาคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT)
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จำแนกเป็นสมรรถนะ พบว่า การอ่านรู้เรื่อง มีคะแนน
เฉล่ียรอ้ ยละมากกวา่ การอ่านออกเสียง คอื มีค่าเทา่ กบั 67.32 และ 65.42 ตามลำดบั

เม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละรวมท้ัง 2 สมรรถนะ จําแนกตามระดับ พบว่า ระดับศึกษาธิการ
ภาค มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละมากที่สุด คือ มีค่าเท่ากับ 74.87 รองลงมา คือ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบงึ กาฬ เทา่ กับ 73.03 ระดับจังหวัด เทา่ กบั 72.73 ระดับประเทศ เท่ากบั 71.38 ระดับสังกดั เทา่ กับ
70.67 และ โรงเรยี นพระราชดำรฯิ เท่ากบั 66.50 ตามลําดบั

สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า มีจํานวน 16 โรงเรียน (ร้อยละ 43.24) ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 5 ลำดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 96.00
2) บา้ นดอนปอ เท่ากับ 93.50 3) บ้านหนองบัวแดง เท่ากับ 92.75 4) บ้านหนองเด่ินทุง่ เท่ากับ 90.72 และ
5) บ้านหัวแฮต เท่ากบั 90.42 ตามลำดับ

สมรรถนะการอ่านรู้เร่ือง พบว่า มีจํานวน 14 โรงเรียน (ร้อยละ 37.84) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 89.52
2) สงั วาลยว์ ิทย์ 1 เท่ากับ 88.28 3) บ้านหนองบัวแดง เทา่ กบั 86.25 4) บ้านป่งไฮราษฎร์สามคั คี เท่ากับ 84.83
และ 5) บา้ นดอนปอ เท่ากบั 83.50 ตามลาํ ดับ



รวม 2 สมรรถนะ พบว่า มีจํานวน 12 โรงเรียน (ร้อยละ 32.43) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 92.76
2) บ้านหนองบัวแดง เท่ากับ 89.50 3) บ้านดอนปอ เท่ากับ 88.50 4) สังวาลวิทย์ 1 เท่ากับ 86.23 และ
5) บ้านซอ่ มกอก เทา่ กับ 83.85 ตามลาํ ดบั (ปรากฏในภาคผนวก ง)

ขอ้ เสนอแนะ

จากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา
2564 ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่กล่าวมา ผวู้ ิเคราะหม์ ขี อ้ เสนอแนะในการนําผลการประเมินไปใช้ 2 ประเดน็ คือ
1) ข้อเสนอแนะสาํ หรับสถานศกึ ษา และ 2) ขอ้ เสนอแนะสาํ หรับผู้ทเ่ี กี่ยวข้อง ดังนี้

1. ข้อเสนอแนะสาํ หรบั การบรหิ ารจดั การศึกษา

ให้พิจารณาผลการประเมนิ เปน็ รายโรงเรียน และรายบุคคลท่ีเก่ยี วข้องกับบริบทของสถานศึกษา โดย
ผู้บรหิ าร ครผู ู้สอน และบุคลากรในสถานศกึ ษา ควรดาํ เนินการดังนี้

1.1 กําหนดนโยบาย แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน หรือโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อย่างชัดเจนและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อ
ผเู้ รียนได้มากทส่ี ดุ

1.2 เปลี่ยนให้ทุก ๆ ที่กลายเป็นโรงเรียน เพราะการเรียนรู้ยังต้องดำเนินต่อไปแม้ผู้เรียนจะไม่
สามารถไปโรงเรียนตามปกติได้ ด้วยการเรียนทางไกลรูปแบบต่างๆ โดยพิจารณาจากเง่ือนไขความพร้อมด้าน
อปุ กรณ์ ความพรอ้ มของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และความพร้อมตามชว่ งวัยของผู้เรียน

1.3 ครูควรกระชับหลักสูตรให้สอดคล้องกับสถานการณ์โควิด-19 โดยการจัดลำดับความสำคัญของ
เน้ือหาเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสิ่งจำเป็นและเรียนรู้อย่างมีความหมาย ใน 2 ลักษณะ คือ 1) เน้นตัวชี้วัดท่ีต้องรู้
และ 2) บรู ณาการตัวช้ีวัดควรรูก้ ับกิจกรรมภาคปฏิบัตหิ รือภาระงานของผเู้ รยี น

1.4 ครูควรออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และสอนอย่างมีแผนท่ีเหมาะสมในสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เพ่ิมความหลากหลายของรปู แบบการเรยี นรทู้ ี่มคี วามยืดหยุ่นในการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมและส่งเสรมิ การเรียนรู้
รายบุคคล (personalized learning) ได้

1.5 ยกระดับการประเมินเพื่อการพฒั นา (formative assessment) กลา่ วคือ ครูควรใช้การประเมิน
2 ลกั ษณะต่อไปน้ีเพ่ือไมใ่ ห้ผู้เรียนเสียโอกาสพัฒนาความรู้และทักษะ 1) การประเมินเพ่ือการเรยี นรู้ (assessment
for learning) ของผู้เรียน เพื่อให้ครูทราบถึงกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนสามารถสะท้อนผลให้กับผู้เรียนและ
ปรับแผนการเรียนรู้ได้ตรงตามสถานการณ์ และ 2) การประเมินซึ่งทำให้เกิดการเรียนรู้ (assessment as
learning) ของผู้เรียน โดยครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนย้อนคิดถึงกระบวนการเรียนของตนเอง กระบวนการนี้จะทำให้



ผู้เรียนมีความรับผิดชอบและเป็นเจ้าของการเรียนรู้ของตนเองมากข้ึน รวมถึงเม่ือผู้เรียนเข้าใจตนเองก็จะเป็น
โอกาสที่จะวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้ปกครองและครูได้

1.6 ดาํ เนนิ การพฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนในโรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
1.7 ครูผู้สอนควรมีการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษาที่ส่งเสรมิ สมรรถนะด้านการอ่านให้กับ
นกั เรยี นในทุกระดับช้นั มกี ารใช้สือ่ ในการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งเหมาะสม
1.8 ครูผู้สอนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อนําผลการวิเคราะห์ไปใช้
พัฒนาผู้เรยี นใหเ้ หมาะสมกับความสามารถเฉพาะบุคคล สอดคล้องตอ่ การจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็
สําคัญ ยังผลต่อการแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสมและตรงจดุ มากยง่ิ ขน้ึ
1.9 ดําเนินการตามแผนงาน มาตรการ วิธีการอย่างเข้มแข็ง ตรวจสอบและปรับปรุง โดยวงจร
คุณภาพมงุ่ ยกผลสมั ฤทธิ์
1.10 สร้างขวัญและกําลงั ใจ รวมทั้งสร้างความตระหนักถึงความสาํ คญั ของการประเมนิ ความสามารถ
ด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT) ใหก้ ับครู นักเรียนและผเู้ ก่ียวข้อง
1.11 นิเทศ กาํ กับ ติดตาม การจดั กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในระดับช้นั อย่างต่อเนอื่ ง
เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
1.12 จดั ทาํ สารสนเทศ ฐานข้อมลู ผลการเรยี นของนกั เรียน เพ่ือนําผลรายงานชมุ ชน ผู้ปกครอง

2. ข้อเสนอแนะสาํ หรบั ผทู้ เ่ี กี่ยวข้อง

จากผลการประเมินเป็นรายโรงเรียน และรายเขตพ้ืนที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ศึกษานิเทศก์
บุคลากรทางการศกึ ษาที่เกยี่ วข้อง ควรดาํ เนินการดงั น้ี

2.1 นําผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผน หรือกําหนดนโยบาย มาตรการ
โครงการ และกิจกรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื สง่ เสริมการจดั การศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ

2.2 สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ในการจัดการเรียนการสอนกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เช่น ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา อักษรควบไม่แท้ การแจกลูก สะกดคํา ให้กับครูผู้สอน
ภาษาไทยนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 2 และควรส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน เขียน ให้นักเรียน
ในช้นั ที่สูงขึน้ อยา่ งต่อเน่อื งและท่ัวถึง

2.3 สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาส่งเสริม สนับสนุน การสร้างส่ือและนวัตกรรมเพ่ื อ ยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและการเขียน ให้แก่ครูผู้สอนในสังกัด เพื่อช่วยให้ครูมีสื่อสนับสนุนการสอนที่หลากหลาย
สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาทักษะการสอน ให้ความรู้
เก่ยี วกับการสอนอา่ นและเขียน

2.4 นิเทศ กํากับติดตามการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ เพื่อกระตุ้นให้
ทกุ ฝ่ายเหน็ ความสาํ คญั ตอ่ การพัฒนาความสามารถด้านภาษาไทยแกผ่ ูเ้ รียน



2.5 จากผลการประเมินปีการศึกษา 2564 แม้ว่าคะแนนเฉล่ียร้อยละของสํานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬจะสูงกว่าระดับประเทศทุกสมรรถนะ แต่เมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2563
กลับมีคะแนนลดลงทุกสมรรถนะซึ่งสอดคล้องกับภาพรวมของประเทศ ดังน้ัน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬควรพัฒนานวัตกรรมการเพ่ิมความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1
เพอื่ ให้เกิดผลท่ียั่งยนื และเผยแพร่ผลงานสสู่ าธารณะตอ่ ไป

บทท่ี 1
บทนํา

ความเป็นมา และความสําคัญ

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 4 กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด มี
หน้าท่ีในการส่งเสริม กำกับดูแล และตรวจสอบการประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา ซึ่งเป็น
การส่งเสริมสถานศึกษาให้จัดการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้การดำเนินงานเก่ียวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา
ตามมาตรา 31 และตามมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มีประสิทธิภาพ มี
ความเป็นมาตรฐานสอดคล้องกับนโยบาย และวิธีการประเมินคุณภาพการศึกษา รวมท้ังเพ่ือตรวจสอบคุณภาพ
การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน และรายงานความก้าวหน้าผลการจัดการศึกษาให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุง
การเรียนการสอน ใช้เป็นข้อมูลส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง
กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้น เพ่ือให้การบริหารจัดการศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์ของแผน
การปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล เรื่อง การเตรียมคนในศตวรรษท่ี 21 ในระดับประถม
ศึกษา มุ่งคำนึงถึงพหุปัญญาของผู้เรียนรายบุคคลท่ีหลากหลายตามศักยภาพ โดยเฉพาะการเรียนภาษาไทยเน้น
เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้วิชาอื่น ให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยเฉพาะระดับช้ัน
ประถมศึกษาในช่วงช้ันแรก ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดเป็นนโยบายว่า ปีการศึกษา 2558 เด็กที่จบ
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ต้องอา่ นออกเขียนได้ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน จงึ ได้จัดทำยุทธศาสตร์
ปฏิรูปการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีการศึกษา 2558 โดยกำหนดเป็นนโยบายเร่งด่วน “เด็กจบช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
ต้องอ่านออกเขียนได้ และต้องมีระบบการประเมินที่เป็นรูปธรรม” และได้มอบหมายให้ สำนักทดสอบทาง
การศึกษาจัดบริการเคร่ืองมือมาตรฐานเพื่อใช้วินิจฉัยความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสามารถพ้ืนฐานที่สำคัญในการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการอ่านตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้ครูผู้สอนมีข้อมูลความสามารถด้านต่าง ๆ ของ
ผู้เรียน สำหรับนำไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคล นำข้อมูลไปสู่
การปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนในปีการศึกษาถัดไป อีกท้ัง ทำให้ผู้ปกครองและผู้เรียนได้รู้จุดที่ต้องปรับปรุงและ
พฒั นาของผูเ้ รยี นเพอื่ นำไปสู่การวางแผนพัฒนาผูเ้ รยี นในระดบั ช้ันทส่ี ูงข้นึ

ปีการศึกษา 2564 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายการจัดการศึกษา จำนวน 12 ข้อ โดย
นโยบายข้อ 5 ให้ปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบ วัดความรู้และ

2

ทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท้ังสายวิชาการและสายวิชาชีพ รวมทั้งลดภาระการประเมินให้กับ
ครู นักเรียน และผู้ปกครอง ให้ความสำคัญกับการประเมินระดับสถานศึกษา ยืดหยุ่นตามบริบทและสภาพการณ์
ประกอบกับสถานการณ์ปัจจบุ นั ประเทศไทยกำลงั อยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา
2019 อย่างรุนแรงและต่อเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการจึงได้มีนโยบายและมาตรการในการจัดการศึกษาเพ่ือรองรับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยให้สถานศึกษาสามารถกำหนดรูปแบบ
การจัดการเรียนการสอนทีแ่ ตกตา่ งกันตามสภาพบริบทและเหมาะสมกับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 ของแต่ละพื้นที่ ทำให้สถานศึกษาแต่ละแห่งไม่สามารถจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียน
ได้เต็มตามศักยภาพ ผู้ปกครองเกดิ ความวิตกกงั วลเก่ียวกบั คณุ ภาพของผู้เรียนจากการเรียนการสอนในสถานการณ์
ปัจจุบันประกอบกับนักเรียนมีความวิตกกังวลเก่ียวกับการวัดและประเมินผล กระทรวงศึกษาธิการเข้าใจถึง
สถานการณ์การจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษาทั่วประเทศ จึงได้กำหนดแนวทางการวัดและประเมินคุณภาพ
ผู้เรียนเพ่อื ลดความเครียดจากการทดสอบของผูเ้ รียน มุ่งวดั และประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นตามสภาพจรงิ ปรบั เปลี่ยน
การทดสอบปลายภาค หรือปลายปีให้เป็นการประเมินผลงานหรือโครงงาน และปรับเปล่ียนวิธีการทดสอบจาก
แบบทดสอบเป็นรูปแบบอื่นท่ีหลากหลาย รวมทั้งให้ทำการประเมินคุณภาพผู้เรียนจากหน่วยงานส่วนกลางให้
ดำเนินการตามความสมัครใจ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้สถานศึกษาดำเนินการจัดสอบตาม
ความสมัครใจ และให้บริการไฟล์ต้นฉบับเครื่องมือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 1 สำหรับให้สถานศึกษานำไปใช้ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน รวมท้ัง
มอบหมายให้สำนักทดสอบทางการศึกษาร่วมกับสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาดำเนินการประเมินความสามารถ
ดา้ นการอา่ นของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี นตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งประกอบด้วย 4 กลุ่มโรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียนพระ
ราชูปถัมภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 2) โรงเรยี นในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่น
ทุรกันดาร (กพด.) 3) โรงเรียนด้วยรักและห่วงใยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และ 4)
โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน โดยให้สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
เป็นหน่วยงานบรหิ ารจดั การทดสอบและประเมินนักเรยี นในโรงเรียนดังกลา่ ว สำนักงาน เขตพ้ื นท่ี การศึกษ า
ประถมศึกษาบงึ กาฬ จึงได้จดั ทำรายงานการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ปีการศึกษา 2564 ข้ึน เพื่อให้หน่วยงาน กลุ่มงาน และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องนำผลการประเมินความสามารถของ
ผเู้ รียนไปใช้ในการพฒั นานกั เรียนเป็นรายบคุ คลต่อไป

3

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือให้สถานศึกษามีเคร่ืองมือที่มีคุณภาพได้มาตรฐานในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน
ของผูเ้ รยี น ทงั้ ในเร่ืองการอ่านออกเสยี ง และการอ่านร้เู รื่อง

2. เพื่อทำให้ครูผู้สอนมีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
นำไปสู่การปรับปรุงและพฒั นาความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ

นยิ ามศพั ท์เฉพาะ

การดําเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
ไดก้ ําหนดนิยามไว้ ดังนี้

1. อ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านคํา ประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ที่เป็นคําในวงคําศัพท์ ในระดับชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งที่เป็นคําที่มีความหมายโดยตรงหรือคําท่ีมีความหมายโดยนัย ท่ีใช้ ในชีวิตประจําวัน โดย
วิธีการอ่านออกเสียง

2. อ่านรู้เร่ือง หมายถึง การอ่านคํา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ท่ีเป็นคําในวงคําศัพท์ ในระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งท่ีเป็นคําที่มีความหมายโดยตรงหรือคําท่ีมีความหมายโดยนัย ที่ใช้ ในชีวิตประจําวัน โดย
สามารถบอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สําหรับเด็ก (เป็นข้อความ ง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องท่ี
อ่าน ตอบคําถามจากเรื่องท่ีอ่าน บอกความหมายของเครื่องหมาย สัญลักษณ์ที่สําคัญที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน
คาดคะเนจากเร่ืองที่อ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องท่ี อ่านได้อย่างสมเหตุสมผล แปลความและสร้างสรรค์
จากภาพ

กลมุ่ เป้าหมาย

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบงึ กาฬ ดําเนินการจัดสอบให้กบั ผ้เู รยี นทก่ี ําลัง ศึกษาอยใู่ นช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ในปีการศึกษา 2564 จากสถานศึกษาในสังกัดต่าง ๆ โดยให้สถานศึกษาดำเนินการประเมิน
ผู้เรียนตามความสมคั รใจ ดังน้ี

1. โรงเรยี นสงั กดั สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ จาํ นวน 205 โรงเรียน
2. โรงเรยี นสังกดั สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาบงึ กาฬ จาํ นวน - โรงเรียน
3. โรงเรยี นกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน สงั กัดสาํ นกั งานตํารวจแหง่ ชาติ จํานวน 5 โรงเรยี น
4. โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลยั จาํ นวน - โรงเรยี น
5. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ จํานวน - โรงเรียน

4

6. โรงเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ จํานวน - โรงเรยี น
7. โรงเรียนการจดั การศึกษาโดยครอบครวั (Home school) จํานวน - โรงเรยี น
8. ศนู ย์การเรียนรูช้ มุ ชน จาํ นวน – โรงเรียน

ตารางการประเมนิ

ดําเนินการประเมินในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ระหว่างวันท่ี 1 - 4 มีนาคม 2565 พร้อมกันท้ัง
ประเทศ ดงั ตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ตารางการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของนกั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1

ประกาศผลการประเมิน

สํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จะประกาศผลการประเมิน
ในวันท่ี 20 เมษายน 2565 ทางระบบ NT Access

ประโยชน์ที่ได้รับ

1. การนําผลการประเมนิ ไปใช้ในการวินิจฉัยนักเรียน
1.1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียน ครูผู้สอน

สามารถนําผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนาผู้เรียนทั้งในภาพรวม จาก แบบรายงานผลค่าสถิติพื้นฐาน
รายโรงเรียน (R-Local 05) และผู้เรียนรายบุคคล จากแบบสรุป รายงานผลการประเมินของนักเรียน (R-Student
01) แบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจําแนก รายบุคคลในแต่ละสมรรถนะ (R-School 03) และแบบรายงาน

5

ผลการประเมินนักเรียนจําแนก รายบุคคลในแต่ละองค์ประกอบ (R-School 04) ซ่ึงผลการประเมินจากแบบ
รายงานดังกล่าวจะช่วย ให้ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทราบปัญหา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาของนักเรียน
รายบุคคล รวมถึง สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่น พบว่า ผู้เรียน
ส่วนใหญ่ อ่านผิดซ้ำ ๆ ที่คําเดียวกัน แสดงว่า คําน้ันเป็นคํายากสําหรับผู้เรียนในชั้นเรียนน้ัน ครูควรต้องปรับ
กระบวนการสอน ทาํ ความเข้าใจกบั นกั เรยี นและฝกึ ให้มากขึ้น เปน็ ตน้

1.2 สําหรับครทู ส่ี อนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 สามารถนําผลการวิเคราะหก์ ารประเมิน เป็นรายบคุ คลนี้
มาศึกษา จะทําให้ครูทราบพ้ืนฐานของผู้เรียนแต่ละคน เพ่ือจะได้แก้ไขและพัฒนาได้ ตรงประเด็น โดยให้ครู
พิจารณาผลการประเมินในแต่ละด้านว่าผู้เรียนแต่ละคนมีคะแนนในระดับ ปรับปรุง องค์ประกอบย่อยในเรื่องใด
อาทิ เรอื่ งคาํ เรอื่ งประโยค หรือเรอ่ื งข้อความ

2. การวเิ คราะห์ผลในภาพรวมของโรงเรียน
2.1 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสามารถนํา

ผลการประเมินจากแบบสรุปรายงานผลการประเมินของโรงเรียนแบบต่าง ๆ ไป วิเคราะห์ และหาจดุ บกพรอ่ งของ
การเรียนการสอนในภาพรวม เช่น พบว่า ผู้เรยี นส่วนใหญ่อ่าน-เขียน คําท่ีใช้วรรณยุกต์ไม่ถูกต้องในกลุ่มพยัญชนะ
เสียงสูง โรงเรียนควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาชุดฝึก ให้ผู้เรียนได้ฝึกอ่าน-เขียน คําที่ใช้วรรณยุกต์ โดยให้ทําซ้ำ ๆ
จนคลอ่ ง ก็จะเป็นการแกป้ ัญหาที่ตรงจุด เป็นตน้

2.2 สิ่งที่โรงเรียนวิเคราะห์ได้จากผลการประเมินจะช่วยให้ครูค้นหาเทคนิควิธีการจัด การเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับผู้เรียน หรือปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านเขียนของ ผู้เรียนทุกคน และ
ช่วยกันเสริมสร้างพ้ืนฐานการอ่านเขียนของผู้เรียนให้เข้มแข็ง จนเป็นเคร่ืองมือการ เรียนรู้ของผู้เรียนในชั้นเรียน
ถัดไปไดเ้ ปน็ อย่างดี

6

บทท่ี 2
กรอบแนวคดิ ในการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น

แนวคิดที่ใช้ในการบริหารจัดการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รยี น ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปี
การศึกษา 2564 น้ี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คำนึงถึงความสำคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แนวคิดเก่ียวกับการกระจายอำนาจใน
การบริหารจัดการ (Decentralization) และแนวคิดเกี่ยวกับความโปร่งใสในการจัดสอบ (Transparency) โดยมี
รายละเอียด ดงั ต่อไปนี

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ความสาํ คญั
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจําชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็น เอกภาพ และ
เสรมิ สร้างบุคลิกภาพของคนในชาติใหม้ ีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสาร เพือ่ สรา้ งความเขา้ ใจและ
ความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทําให้สามารถประกอบกิจธุรการงานและดํารงชีวิต ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่าง
สันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนา
ความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช้ใน การพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้
ยังเป็นสื่อท่ีแสดงภูมปิ ัญญาของ บรรพบุรษุ ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี ชวี ทัศน์ โลกทัศน์ และสนุ ทรยี ภาพ โดยบันทึก
ไว้เป็นวรรณคดี และวรรณกรรมอันล้ำค่า ภาษาไทยจึงเป็นสมบัติของชาติท่ีควรค่าแก่การเรียนรู้ เพ่ืออนุรักษ์และ
สืบ สานใหค้ งอยคู่ ชู่ าตไิ ทยตลอดไป (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2553)
คณุ ภาพผูเ้ รยี น
เม่อื จบหลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐานแล้วผู้เรียนต้องมีความรู้ ความสามารถและคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ
ค่านิยม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553) ดังน้ี
1. สามารถใช้ภาษาส่อื สารได้อยา่ งดี
2. สามารถอา่ น เขียน ฟงั ดู และพูด ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. มีความคิดสร้างสรรค์ คดิ อยา่ งมีเหตผุ ลและคิดเป็นระบบ
4. มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาในการพัฒนาตน และ สร้างสรรค์งาน
อาชีพ
5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใชภ้ าษาและความเป็นไทยภูมิใจและช่ืนชมในวรรณคดีและ วรรณกรรมซึ่ง
เป็นภมู ปิ ัญญาของคนไทย

7

6. สามารถนําทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง ตาม
กาลเทศะ และบคุ คล

7. มีมนษุ ยสมั พนั ธท์ ด่ี ี และสร้างความสามคั คใี นความเปน็ ชาติไทย
8. มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มีวสิ ัยทศั น์ โลกทัศน์ทกี่ วา้ งไกลและลกึ ซง้ึ
เม่ือจบแต่ละช่วงชั้นผู้เรียนต้องมีความรู้ความสามารถ คุณ ธรรมจริยธรรม และค่านิยม
(กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2553) ดงั น้ี
ช่วงช้นั ท่ี 1 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 3

1. สามารถอา่ นไดค้ ลอ่ งและอ่านได้เรว็
2. เข้าใจความหมายและหน้าท่ขี องคาํ
3. นําความรู้ท่ีได้จาการอ่านมาคิด คาดคะเนเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ และกําหนดแนวทาง
การปฏิบัติได้
4. เลอื กอ่านหนงั สือที่เปน็ ประโยชนท์ ้ังความรู้ และความบนั เทิง
5. ดูและเขยี นแสดงความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ ความตอ้ งการและจนิ ตนาการ
6. จดบันทกึ ความรู้ ประสบการณ์ และเรือ่ งราวในชีวติ ประจําวัน
7. จับใจความสําคัญ ตั้งคําถาม ตอบคําถาม สนทนา แสดงความคดิ เหน็ เลา่ เรอื่ ง ถา่ ยทอดความรู้
ความคิด ความร้สู ึก และประสบการณ์จากเรือ่ งทีฟ่ ังทดี่ ูได้
8. เขา้ ใจวา่ ภาษาไทยมีท้ังภาษาไทยกลางและภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ
9. ใช้คาํ คลอ้ งจองแต่งบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ
10. ท่องจาํ บทร้อยกรองทไี่ พเราะ และนาํ ไปใช้ในการพดู และการเขยี น
11. นําปรศิ นาคําทายและบทร้องเลน่ ในท้องถน่ิ มาใชใ้ นการเรียนและเลน่
12. ใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครอ่ื งมือการเรียน การแสวงหาความรู้ และใช้ได้ เหมาะสมกับบุคคล
และสถานการณ์
13. นําความรู้ทีไ่ ด้จากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมไปใช้ในชวี ิตมมี ารยาทการอ่าน การเขียน
การฟัง การดู และการพูด
14. มนี ิสยั รกั การอา่ นและการเขยี น

ตัวชว้ี ัดท่ีเกีย่ วข้องกบั การประเมินการอ่าน

การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 สํานัก
ทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กําหนดให้มีการประเมินตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้มาตรฐาน และตัวช้ีวัดท่ี เก่ียวข้อง ดังนี้
(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2553)

8

สาระท่ี 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนําไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา

ในการดาํ เนินชวี ิต และมีนสิ ยั รักการอ่าน ดงั ตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 ตัวชี้วัดท่ีเกี่ยวข้อง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551 ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ด้านการอา่ น

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป. 1 - อ่านออกเสียงคํา คาํ คล้องจอง และข้อความ • การอ่านออกเสยี งและบอกความหมายของคาํ คํา

สนั้ ๆ คลอ้ งจอง และข้อความท่ีประกอบด้วยคาํ และ

- บอกความหมายของคาํ และข้อความที่อ่าน ข้อความทอ่ี ่าน คําพน้ื ฐาน คอื คําท่ใี ชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน

ไมน่ ้อยกว่า 600 คํา รวมทั้งคําทีใ่ ช้เรียนรใู้ นกลุ่มสาระ

การเรยี นรูอ้ ่ืน ประกอบด้วย

- คาํ ท่มี รี ูปวรรณยุกตแ์ ละไม่มรี ปู วรรณยกุ ต์

- คําทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมต่ รง

ตามมาตรา

- คาํ ท่มี ีพยญั ชนะควบกลำ้

- คําท่มี อี กั ษรนํา

- ตอบคําถามเก่ยี วกับเร่ืองทอ่ี ่าน • การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่าง ๆ เช่น

- เลา่ เรื่องยอ่ จากเรื่องทอี่ า่ น - นิทาน

- คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องทีอ่ ่าน - เร่อื งสนั้ ๆ

- บทรอ้ งเลน่ และบทเพลง

- เรื่องราวจากบทเรยี นในกลุ่มสาระ การเรยี นรู้

ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อนื่

- บอกความหมายของเคร่ืองหมาย หรือ • การอ่านเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณป์ ระกอบดว้ ย

สัญลักษณส์ าํ คัญที่มักพบเหน็ ในชวี ิตประจําวัน - เครอ่ื งหมายสัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ท่ีพบเห็น

ในชวี ิตประจาํ วนั

- เครื่องหมายแสดงความปลอดภยั และแสดง

อันตราย

9
สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และ เขียนเรื่องราว
ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ ดงั ตารางท่ี 3

ตารางที่ 3 ตัวชี้วัดท่ีเก่ียวข้อง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ดา้ นการเขยี น

ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป. 1 - เขียนส่ือสารด้วยคาํ และประโยคงา่ ย ๆ • การเขียนสื่อสาร
- คาํ ทใี่ ช้ในชีวิตประจาํ วัน
- คําพืน้ ฐานในบทเรียน
- คําคลอ้ งจอง
- ประโยคงา่ ย ๆ

สาระที่ 3 การฟัง การดูและการพดู
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ

ความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ดงั ตารางที่ 4

ตารางท่ี 4 ตัวช้ีวัดที่เก่ียวข้อง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ดา้ นการฟงั การดแู ละการพูด

ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป. 1 - ตอบคำถามและเล่าเรือ่ งท่ฟี ังและดทู ั้งท่ี • การจบั ใจความและพดู แสดงความคิดเหน็ ความรสู้ กึ
จากเร่ืองทฟ่ี ังและดู ท้ังที่เป็นความรู้และความบนั เทิง
เป็นความรคู้ วามบันเทิง - เรอ่ื งเล่าและสารคดีสำหรับเด็ก
- นทิ าน
- การต์ ูน
- เรื่องขบขนั

10
สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของ ภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ ดงั ตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 ตัวช้ีวัดที่เกี่ยวข้อง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ด้านหลักการใชภ้ าษาไทย

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 1 - เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคาํ • การสะกดคาํ การแจกลูก และการอ่านเปน็ คาํ
• มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา
- เรียบเรียงคําเปน็ ประโยคง่าย ๆ • การผนั คาํ
• ความหมายของคํา
• การแต่งประโยค

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างเห็น

คณุ คา่ และนาํ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ดังตารางท่ี 6

ตารางที่ 6 ตัวชี้วัดที่เก่ียวข้อง และสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ด้านวรรณคดแี ละ วรรณกรรม

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 1 - บอกข้อคิดท่ไี ดจ้ ากการอา่ นหรือการฟัง • วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรองสาํ หรบั เด็ก เชน่

วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสําหรบั เด็ก - นิทาน เดก็
- เร่อื งสั้นง่าย ๆ
- ปริศนาคาํ ทาย
- บทร้องเลน่
- บทอาขยาน
- บทร้อยกรอง
- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน

11

ความหมายของการอ่าน

การดําเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ได้กําหนดนิยามความหมายไว้ (สํานักทดสอบทางการศึกษา,
2564) ดังนี้

1. การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านคํา ประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ที่เป็นคํา ในวงคําศัพท์ใน
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ทัง้ ท่ีเป็นคําทมี่ คี วามหมายโดยตรงหรือคาํ ที่มีความหมาย โดยนยั ที่ใช้ในชีวิตประจําวัน
โดยวิธกี ารอ่านออกเสียง

2. การอ่านรู้เร่ือง หมายถึง การอ่านคํา ประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ท่ีเป็นคําในวงคําศัพท์ ในระดับชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งท่ีเป็นคําที่มีความหมายโดยตรงหรือคําที่มีความหมายโดยนัยท่ีใช้ในชีวิตประจําวัน โดย
สามารถบอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สําหรับเด็ก (เป็นข้อความ ง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องท่ี
อ่าน ตอบคําถามจากเร่ืองท่ีอ่าน บอกความหมายของเคร่ืองหมาย สัญลักษณ์ที่สําคัญท่ีพบเห็นในชีวิตประจําวัน
คาดคะเนจากเรื่องท่ีอ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเร่ืองท่ี อ่านได้อย่างสมเหตุสมผล แปลความและสร้างสรรค์
จากภาพ

แนวคดิ เก่ียวกบั การกระจายอาํ นาจในการบรหิ ารจัดการ (Decentralization)

การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 น้ี
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ยึดหลัก
การกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบทุกแห่ง เริ่มตั้งแต่การวางแผน การดําเนินงานบริหารจัดการ
การตัดสินใจ และความรับผิดชอบ โดยมแี นวคิดสาํ คญั ดงั ตอ่ ไปน้ี

ความหมายของการกระจายอาํ นาจ
การกระจายอํานาจ คือ การถ่ายโอนอํานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจจาก ภาครัฐ

ส่วนกลางให้แก่องค์กรอ่ืนใด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน
โดยเฉพาะภาคประชาชนไปดําเนินการแทน ซ่ึงการถ่ายโอนดังกล่าว อาจจะมีลักษณะ เป็นการถ่ายโอนเฉพาะ
ภารกิจ ซึ่งเป็นการแบ่งภารกิจ ให้แก่องค์กรท่ีได้รับการกระจายอํานาจ ดําเนินการ หรือ เป็นการถ่ายโอนโดยยึด
พืน้ ทีเ่ ปน็ หลัก ซ่ึงเป็นการแบ่งพื้นท่ีเปน็ หนว่ ยงานยอ่ ยในการดาํ เนนิ การ

แนวคิดพ้ืนฐานเกย่ี วกบั การกระจายอำนาจ
การกระจายอํานาจ (Decentralization) เป็นหลักในการจัดระเบียบการปกครองของ ประเทศ

ซึ่งเป็นสิ่งสําคัญและจําเป็นอย่างยิ่งที่รัฐบาลจะต้องกระจายอํานาจการบริหารการพัฒนาจาก ส่วนกลางไปสู่
ประชาชน เพื่อให้สามารถบริหารการพัฒนาได้อย่างเป็นอิสระตามแนวคิดหลักการกระจาย อํานาจภายใต้

12

บทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันอันจะนําไปสู่เป้าหมายเพ่ือตอบสนอง ความต้องการของชุมชน
อย่างมีประสิทธิภาพ (สมบัติ ภูสง่า, 2556) การกระจายอํานาจจากส่วนกลางไปยังส่วนภูมิภาคจะดําเนิน
การกระจายในสิ่ง (สํานกั ทดสอบทางการศึกษา, 2564) ต่อไปนี้

1. การกระจายหน้าท่ี เป็นกระจายภารกิจหน้าท่ีจากส่วนกลางท่ีเป็นประโยชน์ โดยตรงกับส่วน
ภูมิภาค ให้สว่ นภูมิภาครบั ผดิ ชอบดําเนินการเอง

2. การกระจายอํานาจการตัดสินใจ เป็นการกระจายอํานาจการตัดสินใจดําเนินการ ตามหน้าที่
ทส่ี ่วนกลางกระจายไปให้สว่ นภูมภิ าคดาํ เนนิ การ

3. การกระจายทรัพยากรการบริหาร เป็นการกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยี ท่ี
เหมาะสมให้กับสว่ นภูมภิ าค

4. การกระจายความรับผิดชอบ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หน้าที่ที่รัฐกับ
ผู้บริหารสว่ นภูมิภาค และประชาชนร่วมกันรับผดิ ชอบ

5. การกระจายความพร้อม เป็นการกระจายความพร้อมที่มีอยู่ในส่วนกลางให้กับ ส่วนภูมิภาค
เพ่ือสรา้ งขดี ความสามารถให้แกส่ ่วนภูมิภาค เป็นการทําให้ส่วนภูมภิ าคมีความเข้มแข็ง สามารถบรหิ ารจัดการส่วน
ภูมิภาคได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

แนวคิดเกย่ี วกับความโปรง่ ใสในการจัดสอบ (Transparency)

การประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 จําเป็นตอ้ ง
มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน อันจะทําให้ผลท่ีได้จากการประเมินมีความน่าเช่ือ และ เป็นที่ยอมรับ จาก
หน่วยงานต่าง ๆ ในการประเมินครั้งน้ี สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ สังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ไดก้ าํ หนดแนวปฏบิ ัตเิ พื่อความโปร่งใสในการบรหิ ารจดั การสอบ ดงั ต่อไปน้ี

1. การจัดสนามสอบ
การจดั สนามสอบ ศูนย์สอบสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กําหนดใหท้ ุกโรงเรียน

เป็นสนามสอบ และทุกสนามสอบจะต้องดําเนินการจัดสอบพร้อมกันในวัน เดียวกัน โดยศูนย์สอบฯต้องคํานึงถึง
ความโปรง่ ใสและยตุ ิธรรมในการสอบเป็นสําคัญ

2. การแต่งตัง้ คณะกรรมการระดับสนามสอบ
ศูนย์สอบสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ แต่งต้ังคณะกรรมการระดับ สนามสอบ

ประกอบด้วย ประธานสนามสอบ กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน กรรมการบันทึก คะแนน นักการภารโรง
และกรรมการอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม ท้ังน้ี ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบฯ โดยต้อง
คาํ นงึ ถึงความโปร่งใสและยุติธรรมในการสอบ

13

3. การรบั แบบทดสอบ
การรับแบบทดสอบ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ สังกัดสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมรี ะบบการขนส่งเอกสารทมี่ ีความเครง่ ครัดและปลอดภัยสูง
3.1 ในการรับแบบทดสอบจากสพฐ. ผู้ประสานงานระดับศูนย์สอบฯ จะเป็นผู้ลงนามทุก ครั้ง และ

ศูนย์สอบฯ จะเก็บรักษากลอ่ งแบบทดสอบไว้ในห้องมน่ั คงหรือหอ้ งทปี่ ิดมิดชดิ มผี ู้ทคี่ อยดแู ล ตลอดเวลา
3.2 ศูนยส์ อบฯ ส่งมอบเอกสารประกอบการสอบ ให้กับประธานสนามสอบหรือตัวแทน ก่อนวันสอบ

อย่างนอ้ ย 3 วนั เพื่อใหป้ ระธานสนามสอบศกึ ษาคู่มอื พรอ้ มท้ังจัดประชมุ คณะกรรมการ ระดับสนามสอบ
3.3 ศูนย์สอบฯ ส่งมอบแบบทดสอบ ให้กับประธานศูนย์สอบย่อยระดับกลุ่มโรงเรียน ก่อนวันสอบ 1

วนั
3.4 หลังจากเสร็จสิ้นการสอบ ให้แต่ละสนามสอบเก็บรักษาแบบทดสอบไว้ท่ีสนามสอบ เพ่ือนําไปใช้

ประโยชนต์ อ่ ไป
4. กลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบ
การบรรจุแบบทดสอบ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะบรรจุแบบทดสอบ ใส่กล่อง

แยกเป็นรายห้องสอบ โดยกลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบตอ้ งแข็งแรงและปิดผนึกดว้ ยเทปกาว อนุญาต ให้ประธานสนาม
สอบเปดิ กลอ่ งบรรจุแบบทดสอบไดไ้ มเ่ กนิ 1 ชว่ั โมงก่อนถึงเวลาสอบต่อหน้าตัวแทน กรรมการคมุ สอบ

5. การตดิ ตามการบริหารการทดสอบ
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ศึกษานิเทศก์ และคณะกรรมการ ระดับศูนย์สอบ

ทีแ่ ตง่ ตง้ั ทําการติดตาม ตรวจเยี่ยมการบริหารการทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานการ ทดสอบ ในช่วงก่อนวันสอบ
วนั สอบ และหลังวนั สอบ

6. การรับแจ้งเรื่องรอ้ งเรยี นเกี่ยวกับความไมโ่ ปรง่ ใสในการสอบ
6.1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เปิดช่องทางรับแจ้งเรื่องร้องเรียนในความไม่

โปร่งใสในการสอบ 4 ชอ่ งทาง ได้แก่
- ศูนยส์ อบท่ดี าํ เนนิ การจัดสอบ
- โทรศัพทห์ มายเลข 0-2288-5783 และ 0-2288-5787
- E-mail: [email protected]
- Facebook ของ กลุม่ ประเมินคุณภาพการศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
6.2 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ เปิดช่องทางรับแจ้งเรื่องร้องเรียน ในความไม่

โปรง่ ใสในการสอบ 4 ชอ่ งทาง ได้แก่
- ศนู ย์สอบสํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ
- สายตรงผอ.เขต สพป.บงึ กาฬ http://www.bki.ictbk.net/

14

- Facebook นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬ

- โทรศัพท์หมายเลข 042-491247

7. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการปฏิบัติของผู้กํากับการสอบ พ.ศ. 2548 และ (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2555

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐาน ขอให้บุคลากรประจําสนามสอบทุกท่านปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร ว่าดว้ ยการปฏิบตั ิของ
ผู้กํากับการสอบ พ.ศ. 2548 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2548) และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 (กระทรวงศึกษาธิการ,
2555) อยา่ งเคร่งครดั เพือ่ ให้การทดสอบเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย

บทที่ 3
วิธดี ําเนินการ

แนวคิดท่ีใช้ในการบริหารจัดการประเมินความสามารถด้านการอ่านของของผู้เรียน (RT) ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 น้ี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ คำนึงถึงความสำคัญ
ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 แนวคดิ เก่ียวกับ
การกระจายอำนาจในการบริหารจัดการ (Decentralization) และแนวคิดเกี่ยวกับความโปร่งใสในการจัดสอบ
(Transparency) โดยมรี ายละเอียด ดังต่อไปน้ี

โครงสรา้ งและเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ

1. โครงการสร้างท่ีใช้ในการประเมนิ
โครงสร้างที่ใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี

การศึกษา 2564 เป็นการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่อง ซึ่งสอดคล้อง กับ
มาตรฐานและตัวช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย มรี ายละเอียดตามกรอบโครงสร้าง ดงั ตารางท่ี 7

ตารางท่ี 7 กรอบโครงสร้างที่ใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ปกี ารศกึ ษา 2564

16
ตารางที่ 7 กรอบโครงสร้างที่ใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1

ปกี ารศกึ ษา 2564 (ต่อ)

2. เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการประเมนิ
เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี

การศึกษา 2564 มที ง้ั หมด 2 ฉบบั ไดแ้ ก่
ฉบับที่ 1 การอา่ นรู้เรือ่ ง เป็นการประเมนิ โดยใชแ้ บบทดสอบ ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 การอา่ นรู้เรอื่ งเปน็ คาํ เป็นข้อสอบแบบจบั คู่คํา 10 คํา คะแนนเตม็ 10 คะแนน
ตอนท่ี 2 การอ่านรู้เรือ่ งเปน็ ประโยคมี 15 ขอ้ ประกอบดว้ ย

17
- ขอ้ สอบแบบเขียนประโยคเล่าเรอื่ งจากภาพมี 5 ภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
- ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบมี 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 20 คะแนน
ตอนท่ี 3 การอ่านรู้เร่ืองเป็นข้อความ เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบมี 5 ข้อ คะแนนเต็ม
10 คะแนน
ฉบบั ท่ี 2 การอ่านออกเสยี ง เป็นการประเมนิ ภาคปฏบิ ัติ ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 การอา่ นออกเสยี งเปน็ คาํ มี 20 คํา คะแนนเต็ม 20 คะแนน
ตอนที่ 2 การอ่านออกเสียงขอ้ ความ มี 1 ข้อความ ประกอบด้วย 10 ประโยค รวม 60 –
70 คำ คะแนนเตม็ 30 คะแนน

การแปลความหมายของผลการประเมิน

การแปลความหมายของผลการประเมินนั้น จำแนกผลการประเมินในรายองค์ประกอบ รายสมรรถนะ
และภาพรวม ซง่ึ สามารถแปลความหมายได้ ดงั ตารางที่ 8

ตารางท่ี 8 การแปลความหมายของผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษา
ปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

18

กาํ หนดการบรหิ ารจดั การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รยี น

สํานักทดสอบทางการศึกษา กําหนดการบริหารจัดการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
(RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ไวด้ งั ตารางที่ 9

ตารางที่ 9 ปฏิทินการดาํ เนนิ การประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ปีการศึกษา 2564 ของสาํ นักทดสอบทางการศึกษา

19

การดาํ เนนิ การระดับเขตพืน้ ที่

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ บริหารจัดการสอบระดับศูนย์สอบในการประเมิน
ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รียน (RT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ดงั นี้

1. ภารกจิ ระดับศูนยส์ อบ
ศูนย์สอบสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มีภาระหน้าที่และบทบาทท่ี สําคัญท่ีสุด

ในการบริหารการจัดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานการบริหารการทดสอบ ซ่ึงได้รับการกระจายอํานาจการบริหาร
จัดการมาจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท้ังในเรื่องของการวางแผนการจัดสอบ การตัดสินใจ
การบริหารจัดการและความรับผิดชอบ เพือ่ ให้การดาํ เนนิ งานการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียนช้ัน
ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 มปี ระสทิ ธิภาพและมาตรฐานเดยี วกนั โดยมภี ารกิจสําคญั ดังต่อไปน้ี

1.1 ประสานความรว่ มมือและวางแผนกับหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องในการบริหารการจัดสอบ
1.2 ดําเนินการจัดสอบใหเ้ ป็นไปตามแผนการดําเนนิ งาน
1.3 กาํ กับ ตดิ ตามการดําเนนิ การสอบ
1.4 รายงานผลการทดสอบ และเผยแพร่

2. บทบาทของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ
ศนู ย์สอบจะมีคณะกรรมการในการบริหารจัดการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (RT)

ให้แก่สถานศึกษา ประกอบด้วย ประธานศูนย์สอบ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ คณะกรรมการรับ-ส่ง
แบบทดสอบ เก็บรักษาแบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบ และคณะกรรมการตรวจเย่ียม โดยมีบทบาท
หนา้ ที่ ดงั ต่อไปนี

2.1 ประธานศูนย์สอบ ได้แก่ ผอู้ ํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา ทีเ่ ป็นศูนย์สอบ
หรือผทู้ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย หรอื ผู้บังคับบญั ชาของหน่วยงานท่เี ป็นศนู ย์สอบ มีหนา้ ท่ี ดงั นี้

2.1.1 ดําเนินการตามแนวปฏิบัติท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กําหนด
โดยบรหิ ารการจัดสอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการบริหารการทดสอบ

2.1.2 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการระดบั ศนู ย์สอบ และคณะกรรมการระดบั สนามสอบ
2.1.3 ควบคุม กํากับ ติดตามให้การดําเนินการบริหารการจัดสอบระดับศูนย์ สอบและสนาม
สอบเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย
2.1.4 พิจารณาตรวจสอบ ส่ังการ ติดตามกรณีท่ีเกิดปัญหาในการบริหารการจัด สอบท้ังระดับ
ศนู ยส์ อบ และระดบั สนามสอบ

20

2.2 คณะกรรมการระดับศูนยส์ อบ
คณะกรรมการ ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบงานวัดและประเมินผล หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย

จากประธานศูนย์สอบ มหี นา้ ท่ี ดังนี้
2.2.1 ประสานงานการรับ-ส่งเครื่องมือ ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ศูนยส์ อบและสนามสอบ
2.2.2 ก ำกั บ แ ล ะติ ด ต าม ให้ ส ถาน ศึ ก ษ าส่ งข้ อ มู ล นั ก เรีย น ใน ระบ บ NT Access

(http://nt.obec.go.th) ให้ครบถ้วนและถูกต้อง ภายในวันและเวลาท่ีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐานกำหนด

2.2.3 ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูลนกั เรยี น
2.2.4 ตรวจสอบและแกไ้ ขข้อมลู นักเรียนท่มี สี ทิ ธสิ์ อบผ่านระบบ NT Access
2.2.5 ดแู ลและประสานงานการนำส่งขอ้ มลู ผมู้ สี ิทธส์ิ อบ
2.2.6 แต่งตั้งคณะกรรมการระดบั ศูนยส์ อบ
2.2.7 จดั ประชมุ ชีแ้ จงคณะกรรมการท่เี กย่ี วขอ้ งในระดับศูนย์สอบและระดับสนามสอบ
2.2.8 ประสานงานการรับ-ส่งแบบทดสอบ จากสำนักงานคณ ะกรรมการการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน ตามวนั และเวลาทกี่ ำหนด
2.2.9 บรหิ ารการจัดสอบใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย
2.2.10 รับแบ บ บัน ทึกคะแน นการประเมิน ความ สามารถด้าน การอ่านของผู้เรียน
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 แบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 1)
แบบบันทึกคะแนนการอา่ นรู้เรือ่ ง (แบบบันทึกคะแนน 2) และเอกสารธุรการจากสนามสอบ
2.2.11 ศูนย์สอบตรวจสอบคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ให้ถูกต้องตามแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 ที่สนามสอบ
สง่ มาให้ศูนย์สอบ และยืนยันข้อมลู คะแนนทส่ี นามสอบสง่ ในระบบ NT Access
2.2.12 จดั ทำรายงานผลการทดสอบ ระดบั ศูนยส์ อบ
2.3 คณ ะกรรมการรับ -ส่งแบบทดสอบ เก็บรักษาแบ บทดสอบ และเอกสารประกอบ
การสอบ มหี น้าที่ ดงั นี้
2.3.1 จัดเตรียมห้องมั่นคงหรือสถานท่ีที่มีความเหมาะสม เพ่ือใช้ในการเก็บรักษา
แบบทดสอบ
2.3.2 ดูแล รักษาแบบทดสอบท่เี ก็บรกั ษาไวใ้ นที่ปลอดภยั
2.3.3 ควบคุม ดูแล กำกับกับการขนส่งแบบทดสอบจากศูนยส์ อบไปยังสนามสอบ

21

2.4 คณะกรรมการตรวจเยี่ยม
มีหน้าที่ กำกับ ติดตาม และตรวจเยี่ยม การดำเนินการจัดสอบของคณะกรรมการระดับสนาม

สอบในระหว่างวันที่ 1 – 4 มีนาคม 2565 เพ่ือให้การดำเนินการจัดสอบเป็นไปตามแนวปฏิบัติการจัดสอบและ
มาตรฐานการทดสอบ

การดาํ เนินการระดับสถานศกึ ษา

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ออกคําส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารจัดการสอบ
ระดับสนามสอบในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา
2564 ดังนี้

1. ภารกิจของสนามสอบ
ภารกิจของสนามสอบมีการดําเนินงานอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ก่อนการสอบ ระหว่างการสอบ และหลัง

การสอบ โดยมรี ายละเอียด ดังตอ่ ไปน้ี
1.1 ก่อนการสอบ
1.1.1 ประสานงานกบั ศูนยส์ อบ และดาํ เนนิ การตามคมู่ ือการจดั สอบอยา่ ง เคร่งครดั
1.1.2 เตรียมความพร้อมก่อนการจดั สอบในส่วนของสถานทส่ี อบ ติดประกาศรายชือ่ ผ้เู ขา้ สอบ
1.1.3 ประสานงานกบั ศูนย์สอบในกรณมี ผี ู้เขา้ สอบกรณีพเิ ศษ
1.1.4 ดาวน์โหลดแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 จากระบบ NT Access

(ไฟล์ Excel)
1.1.5 พิมพ์แบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 เพ่ือเตรียมส่งมอบให้กรรมการ

คมุ สอบ
1.1.6 รบั แบบทดสอบวดั ความสามารถด้านการอ่านจากศูนย์สอบในเช้าวันสอบ

1.2 ระหวา่ งการสอบ
ดําเนินการจัดสอบภายในสนามสอบให้มปี ระสิทธิภาพ มีความยุตธิ รรม โปรง่ ใส และเปน็ ไปตาม

แนวปฏิบัตใิ นคูม่ อื การประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
1.3 หลังการสอบ
1.3.1 ให้สนามสอบเก็บแบบทดสอบไวท้ ีโ่ รงเรียนตนเอง เพอ่ื นําไปใชป้ ระโยชน์ ตอ่ ไป
1.3.2 บันทึกคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1

ลงในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 เม่ือบันทึกคะแนนลงในแบบ บันทึกคะแนนท้ัง 2 ฉบับแล้ว
ให้กรรมการคุมสอบท้ัง 2 คน ลงลายมือช่ือ แล้วมอบให้สนามสอบทําสําเนา 1 ชุด จากน้ันกรรมการคุมสอบลง

22

ลายมือช่ือรับรองสําเนา เพ่ือเก็บรักษาไว้ท่ีสนามสอบ ส่วน แบบบันทึกคะแนนฉบับจริงทั้ง 2 ฉบับ ให้สนามสอบ
นาํ ส่งศนู ยส์ อบภายในวันสอบ ตามเวลาท่ีกาํ หนด

1.3.3 นําคะแนนจากแบบบันทึกคะแนนฉบับสําเนาท่ีสนามสอบเก็บไว้ ไปบันทึก ในแบบฟอร์ม
บันทึกคะแนนท่ีดาวน์โหลดจากระบบ NT Access ไว้ให้ถูกต้อง หลังจากนั้นให้นําเข้า ไฟล์ข้อมูลเข้าสู่ระบบ NT
Access พร้อมตรวจสอบความถกู ตอ้ งของคะแนนผู้เรยี นรายบุคคลอีกคร้ัง

2. คณะกรรมการระดบั สนามสอบ
คณะกรรมการระดบั สนามสอบ ประกอบดว้ ย
2.1 ประธานสนามสอบ ได้แก่ ผู้อํานวยการโรงเรยี นของโรงเรยี นท่เี ป็นสนามสอบ
2.2 กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน ได้แก่ ข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศึกษาหรือครู

อตั ราจา้ ง หรอื พนักงานราชการ โดยกําหนดให้มีกรรมการคมุ สอบ 2 คน ตอ่ 1 หอ้ งสอบ ดังน้ี
- กรรมการคุมสอบคนท่ี 1 เป็นครูประจําช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หรือครูผู้สอนวิชาภาษาไทย

ของโรงเรียนตนเอง
- กรรมการคุมสอบคนที่ 2 เปน็ ครผู ู้สอนท่มี คี วามรู้ ความสามารถในดา้ นการอ่านออกเสียง และ

อา่ นรเู้ รอ่ื งทม่ี าจากตา่ งโรงเรียน
2.3 กรรมการบันทึกคะแนน ได้แก่ ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความสามารถในการใช้

โปรแกรม Excel
2.4 นกั การภารโรง ได้แก่ นักการภารโรงของโรงเรียนทเี่ ปน็ สนามสอบ
2.5 กรรมการอ่ืน ๆ ตามที่คณะกรรมการอํานวยการระดับศูนย์สอบสามารถพิจารณาแต่งตั้ง

กรรมการเพมิ่ เตมิ ได้ตามความเหมาะสม

3. คุณสมบตั ิของกรรมการระดับสนามสอบ
3.1 เป็นข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศึกษา หรือพนักงานราชการ หรือครูอัตรา จ้างที่ปฏิบัติ

หน้าที่ในโรงเรียน
3.2 มีความรู้ ความสามารถในดา้ นการอา่ นออกเสียง และอา่ นรูเ้ ร่ือง
3.3 มคี วามรับผดิ ชอบ
3.4 ตรงต่อเวลา
3.5 เกบ็ รักษาความลับไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
3.6 ปฏิบัติหนา้ ทีต่ ามคมู่ ือการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (RT) ชน้ั ประถมศึกษาปี

ท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 อย่างเครง่ ครดั

23

4. บทบาทของคณะกรรมการระดบั สนามสอบ
4.1 ประธานสนามสอบ มหี นา้ ท่ี ดังนี้
4.1.1 ประสานงานกบั ศูนย์สอบและดําเนินการตามคู่มอื การประเมินความสามารถด้านการอา่ น

ของผูเ้ รยี น (RT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 อย่างเคร่งครดั
4.1.2 ประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนสอบ เพ่ือทําความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กระบวนการ

จดั สอบและขั้นตอนการดําเนินงานของกรรมการคุมสอบ
4.1.3 เตรียมความพร้อมสถานที่สอบ กํากบั การจัดห้องสอบ ตดิ รายชื่อผู้มีสิทธ์ิสอบและเอกสาร

การสอบอ่ืน ๆ ทป่ี ้ายประชาสัมพันธข์ องสนามสอบและหน้าหอ้ งสอบ
4.1.4 รับ-ส่งแบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบระหว่างศูนย์สอบและสนามสอบ

(ในกรณที ไ่ี ม่สามารถไปด้วยตนเองได้ให้มอบหมายผู้แทน โดยใช้บันทึกมอบหมายผูแ้ ทน เพื่อให้ศูนยส์ อบเกบ็ ไว้เป็น
หลักฐาน)

4.1.5 เปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบในวันสอบ ไม่เกิน 1 ช่ัวโมงก่อนเวลาสอบต่อหน้าตัวแทน
กรรมการคมุ สอบ

4.1.6 อนุมัติผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ที่ไม่มีเลขท่ีน่ังสอบ แล้วบันทึกในแบบสพฐ.5
นักเรยี น 1 คน ตอ่ 1 ฉบบั เพือ่ รายงานใหศ้ ูนย์สอบทราบ

4.1.7 กํากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
มีประสิทธิภาพ มีความยุติธรรม โปร่งใส และเป็นไปตามคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
(RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

4.1.8 ส่ังพักการปฏิบัติหน้าที่ในกรณีท่คี ณะกรรมการคุมสอบหรอื เจา้ หน้าท่ีสนามสอบบกพร่อง
ตอ่ หนา้ ที่หรือประพฤติปฏบิ ัติตนไมเ่ หมาะสม และรายงานใหศ้ นู ยส์ อบทราบ

4.1.9 ตรวจสอบคะแนนในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 ร่วมกับกรรมการ
คุมสอบใหถ้ กู ตอ้ ง ครบถ้วนก่อนนาํ ส่งขอ้ มูลเขา้ สรู่ ะบบ NT Access

4.1.10 หลังเสร็จสิ้นการสอบ ให้นําส่งเอกสารประกอบการสอบกับศูนย์สอบ โดยจะต้องนําส่ง
ในวันสอบ ดังน้ี

- แบบ สพฐ. 2 ใบเซ็นชือ่ ผู้เขา้ สอบในแตล่ ะห้องสอบ
- แบบ สพฐ.3 ใบเซน็ ชอื่ ผูเ้ ข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in)
- แบบ สพฐ.5 แบบฟอรม์ สําหรับผ้ปู ฏิบตั ผิ ดิ ระเบยี บการสอบ
- แบบ สพฐ.6 แบบคําขอแก้ไขขอ้ มูล
- แบบบนั ทึกคะแนนการอา่ นรเู้ รื่อง (แบบบันทกึ คะแนน 1) ฉบบั จริง
- แบบบนั ทึกคะแนนการอา่ นออกเสยี ง (แบบบันทกึ คะแนน 2) ฉบับจริง

24

4.2 กรรมการคมุ สอบและตรวจใหค้ ะแนน
4.2.1 ปฏิบัตติ ามคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษา

ปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
4.2.2 กํากับการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส และยุติธรรม ทั้งภายในห้องสอบ

และบริเวณใกล้เคียง
4.2.3 รับแบบทดสอบจากประธานสนามสอบ ตรวจนับแบบทดสอบให้ถูกต้อง และครบถ้วน

แล้วลงลายมือชอื่ ในแบบ RT 1
4.2.4 ปฏิบตั กิ ารประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ดงั นี้
4.2.4.1 การทดสอบการอา่ นรู้เรอื่ ง
- กรรมการคมุ สอบแจกแบบทดสอบตามลําดับเลขทน่ี ่ังสอบ จากน้อยไปหามาก
- กรรมการคุมสอบ ดําเนนิ การตามคาํ ชแี้ จงใน แบบทดสอบการอา่ นรูเ้ รอื่ ง
- กรรมการเก็บแบบทดสอบหลังจากหมดเวลาสอบ เรียงตามลําดับเลขที่น่ัง

สอบจากนอ้ ยไปหามาก
- กรรมการคมุ สอบทัง้ 2 คน ตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์การใหค้ ะแนน
- กรรมการคุมสอบบันทึกคะแนนของผู้เรียนแต่ละคนลงในแบบบันทึกคะแนน

การอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 1) พร้อมลงลายมือชื่อกรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน ในแบบบันทึกคะแนนให้
เรยี บรอ้ ย

- กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทกึ คะแนนใสซ่ อง (ไม่ต้องปดิ ผนึกซอง) ส่งคืน
ประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบนั ทึกคะแนนรว่ มกับประธานสนามสอบให้ถกู ต้อง

- สนามสอบทําสําเนาแบบบันทึกคะแนนการอา่ นรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน 1)
จํานวน 1 ชดุ แล้วให้กรรมการคมุ สอบลงลายชื่อรับรองสําเนาถูกตอ้ งเกบ็ ไวท้ ี่สนามสอบ

4.2.4.2 การทดสอบการอา่ นออกเสยี ง
กรรมการคุมสอบคนท่ี 1 (กรรมการท่ีมาจากโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ)

ปฏบิ ัติ ดังนี้
- ตรวจสอบรายชอื่ ผเู้ รียนในแบบบันทึกคะแนนการอ่านออก เสยี ง (แบบบันทึก

คะแนน 2) แล้วเตรียมผเู้ รยี นให้เขา้ สอบตามลาํ ดบั เลขที่ในแบบบันทกึ คะแนน 2
- สรุปคะแนนจากแบบทดสอบฉบับผู้เรียนที่กรรมการคนที่ 2 ดําเนินการสอบ

เรียบร้อยแลว้ จากนัน้ บันทึกคะแนนลงในแบบบนั ทกึ คะแนนการอา่ นออกเสยี ง (แบบบันทึกคะแนน 2)

25

- ตรวจสอบการบันทึกคะแนนของผู้เรียนให้ครบทุกคน แล้วลงลายมือชื่อ
กรรมการคุมสอบทง้ั 2 คน ในแบบบนั ทกึ คะแนน

- กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทกึ คะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิด ผนึกซอง) ส่งคืน
ประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบนั ทึกคะแนนรว่ มกบั ประธานสนามสอบให้ ถูกตอ้ ง

- สนามสอบทําสําเนาแบบบนั ทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทกึ คะแนน
2) จํานวน 1 ชุด แล้วให้กรรมการคมุ สอบลงลายช่อื รบั รองสําเนาถกู ต้อง เกบ็ ไวท้ ี่ สนามสอบ

กรรมการคุมสอบคนท่ี 2 (กรรมการทมี่ าจากโรงเรียนเดียวกนั ) ปฏิบตั ิดงั น้ี
- ให้ผู้เรียนทดสอบการอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล โดยให้ผู้เรียนอ่านทีละคน
ในห้องสอบทแี่ ยกเฉพาะ
- ให้กรรมการคมุ สอบอา่ นคําชี้แจงให้นักเรยี นฟังก่อนอ่านออกเสียง
- เม่ือผู้เรียนเริ่มอ่านออกเสียงให้กรรมการทําเคร่ืองหมาย / ในช่องของคําที่
ผู้เรียนอ่านออกเสียงถูกตอ้ ง และทาํ เครอื่ งหมาย X ในช่องคําท่ีผูเ้ รียนอ่านออกเสยี งผดิ
- ให้นักเรียนอ่านออกเสียงท้ัง 3 ตอน คนละไม่เกิน 10 นาที ถ้าผู้เรียนอ่านยัง
ไมเ่ สร็จใหผ้ ู้เรียนหยุดอ่านทันที (กรณีผ้เู รียนอ่านไม่ได้ กรรมการคุมสอบสามารถบอกให้ผู้เรียนขา้ มไปอ่านคําต่อไป
กอ่ น แล้วสามารถยอ้ นกลับมาอ่านคําเดมิ ไดภ้ ายในช่วงเวลาทกี่ ําหนด)
- ส่งแบบทดสอบฉบับกรรมการท่ีประเมินแล้วให้กรรมการคนที่ 1 บันทึก
คะแนนลงในแบบบนั ทึกคะแนนการอ่านออกเสยี ง (แบบบันทกึ คะแนน 2)
- ดําเนนิ การสอบอา่ นออกเสียงจนครบทกุ คน
- กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิดผนึกซอง) ส่งคืน
ประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบนั ทึกคะแนนรว่ มกบั ประธานสนามสอบให้ถูกต้อง
- สนามสอบทําสําเนาแบบบนั ทึกคะแนนการอา่ นออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน
2) จาํ นวน 1 ชุด แลว้ ให้กรรมการคุมสอบลงลายชอื่ รบั รองสําเนาถูกตอ้ งเก็บไวท้ ่ีสนามสอบ
4.2.5 ควบคุมมิให้ผู้เข้าสอบหรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องปฏิบัติผิดระเบียบหรือ กระทําการทุจริตใน
ระหวา่ งการสอบ
4.2.6 รายงานประธานสนามสอบ กรณีสงสัยว่าจะมีการทุจริตเกิดข้ึนและห้ามบุคคลที่ไม่
เกี่ยวขอ้ งเขา้ บริเวณห้องสอบ
4.2.7 รักษาความลับของแบบทดสอบและไม่ให้กรรมการหรือบุคคลอ่ืนดู หรือถ่ายรูป
แบบทดสอบเพ่ือเผยแพร่

26

4.3 กรรมการบันทกึ คะแนน
4.3.1 นําแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบ บันทึกคะแนน

การอา่ นออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 2) ฉบับสําเนา ไปบันทึกคะแนนในแบบฟอร์ม บันทกึ คะแนน (ไฟล์ Excel)
ทีด่ าวนโ์ หลดมาแล้ว

4.3.2 นาํ ไฟล์ Excel ที่บนั ทึกคะแนนแลว้ เข้าสูร่ ะบบ NT Access พร้อมตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ของคะแนนผู้เรยี นรายบคุ คลในระบบ NT Access อกี ครั้งหนงึ่

4.4 นักการภารโรง
4.4.1 อํานวยความสะดวกแกก่ รรมการคุมสอบ โดยดําเนนิ การตา่ ง ๆ ตามท่ีได้รับการร้องขอ
4.4.2 จัดเตรียมสถานท่ีในการจัดการสอบ ตดิ เอกสารประชาสัมพันธ์และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ

การสอบกอ่ นวันสอบให้เรยี บร้อย
4.4.3 ปฏบิ ัติงานอ่นื ตามทไี่ ด้รับมอบหมายจากประธานสนามสอบ

การดาํ เนนิ การสอบ

สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ บริหารจัดการดาํ เนนิ การสอบโดยมแี นวปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

1. การเตรียมการก่อนการสอบ ก่อนการสอบใหส้ นามสอบเตรียมการดงั น้ี
1.1 การจดั หอ้ งสอบ ให้จดั หอ้ งสอบตามคู่มือการประเมินฯ ของสพฐ.
1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ส่งมอบเอกสารการสอบ คู่มือการประเมินฯ และช้ีแจง

การดําเนินการสอบให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องรับทราบ โดยใช้เคร่ืองมือ วัดและประเมินผลท่ีสํานัก ทดสอบทางการศึกษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จดั ส่งให้สํานกั งานเขตพืน้ ที่ การศึกษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ

2. การดาํ เนนิ การสอบ ดาํ เนินการดงั นี้
2.1 ให้คณะกรรมการระดับสนามสอบ และระดับศูนย์สอบท่ีได้รับแต่งต้ัง ศึกษาทําความเข้าใจ

เอกสารตอ่ ไปนี้
- คู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปี

การศึกษา 2564
- คําช้ีแจงและเคร่ืองมือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้น

ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
2.2 ให้คณะกรรมการระดับสนามสอบทดสอบตามรายละเอียดท่ีกําหนดในคําช้ีแจงของแบบทดสอบ

แต่ละฉบบั

27
3. การดําเนินการหลงั สอบ ดําเนนิ การดังน้ี

คณะกรรมการระดับสนามสอบทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้บันทกึ คะแนน ดําเนนิ การบันทึกคะแนนในระบบ
NT Access พรอ้ มส่งไฟล์บนั ทึกคะแนนในรปู ไฟล์ excel ไปทก่ี ล่มุ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
สํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ทางระบบ AMSS++ ภายในวันที่ 5 – 31 มีนาคม 2565

การรายงานผล

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะรายงานผลการประเมินให้กับผู้เข้าสอบ โรงเรียน ศูนย์
สอบ หน่วยงานต้นสังกัด และประเทศ ผ่านระบบ NT Access โดยแบบรายงานผลการสอบจะแสดงรายละเอียด
ข้อมูลท่ัวไป ค่าสถิติผลการสอบรายด้าน และภาพรวม ได้แก่ คะแนนเฉล่ีย คะแนน เฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน จําแนกเปรียบเทียบตามระดับต่าง ๆ คะแนนสอบรายองค์ประกอบ และระดับคุณภาพรายสมรรถนะ
เปน็ ตน้ ซงึ่ มีจาํ แนกระดบั การรายงานได้ ดังนี้

1. การรายงานระดบั บุคคล
นกั เรยี นสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพิมพ์เลขประจําตวั ประชาชน แบบรายงาน ผลการทดสอบ

ของนักเรียนรายบุคคล คอื R-Student 01: แบบสรปุ รายงานผลการทดสอบของนักเรยี น

2. การรายงานระดบั โรงเรยี น
โรงเรียนสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพิมพ์รหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของโรงเรียน แบบรายงาน

มีดงั น้ี
R-School 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมนิ ของโรงเรียน
R-School 02: แบบรายงานค่าสถิติพืน้ ฐานผลการประเมนิ ของโรงเรียน
R-School 03: แบบรายงานผลการประเมนิ นักเรยี นจําแนกรายบคุ คลในแต่ละสมรรถนะ
R-School 04: แบบรายงานผลการประเมินนักเรยี นจาํ แนกรายบุคคลในแต่ละองคป์ ระกอบ
R-School 05: แบบรายงานผลคา่ สถิติพื้นฐานจําแนกนักเรยี นรายบุคคล

3. การรายงานระดบั ศูนย์สอบ
ศูนย์สอบสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพมิ พร์ หัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของศูนยส์ อบ แบบรายงาน

มดี ังน้ี
R-Local 01: แบบสรปุ รายงานผลการประเมนิ ของสงั กดั ย่อย
R-Local 02: แบบรายงานค่าสถติ ิพ้ืนฐานผลการประเมนิ ของสงั กดั ยอ่ ย
R-Local 03: แบบรายงานผลการประเมนิ จําแนกรายโรงเรียนในแต่ละสมรรถนะ
R-Local 04: แบบรายงานผลจําแนกรายโรงเรยี นในแต่ละองค์ประกอบ

28

R-Local 05: แบบรายงานผลคา่ สถิติพนื้ ฐานจาํ แนกรายโรงเรียน

4. การรายงานระดับจังหวดั หรอื ศึกษาธิการจงั หวัด
ศนู ย์สอบสามารถเข้าดูผลการประเมนิ โดยพิมพ์รหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของศนู ย์สอบ แบบรายงาน

มดี ังน้ี
R-Province 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมนิ ของจงั หวัด
R-Province 02: แบบรายงานค่าสถิตพิ ืน้ ฐานผลการประเมนิ ของจังหวัด
R-Province 03: แบบรายงานผลการประเมินจาํ แนกรายโรงเรียน (ทกุ สังกัดภายในจังหวดั ) ในแตล่ ะ

สมรรถนะ
R-Province 04: แบบรายงานผลจําแนกรายโรงเรียน (ทุกสังกัดภายในจังหวัด) ในแต่ละ

องคป์ ระกอบ
R-Province 05: แบบรายงานผลคา่ สถิติพืน้ ฐานจําแนกรายโรงเรยี น (ทกุ สงั กดั ภายในจงั หวดั )

5. การรายงานระดบั หนว่ ยงานตน้ สังกัด
ตน้ สังกัดสามารถเข้าดูผลการประเมิน โดยพิมพ์รหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของต้นสังกัด แบบรายงาน

มดี งั น้ี
R-Central 01: แบบรายงานผลการประเมนิ ของต้นสังกัด
R-Central 02: แบบรายงานคา่ สถิติพน้ื ฐานผลการประเมินของตน้ สงั กัด
R-Central 03: แบบรายงานผลการประเมินจําแนกรายสังกดั ยอ่ ย (เขตพ้ืนท่)ี ในแต่ละสมรรถนะ
R-Central 04: แบบรายงานผลการประเมนิ จําแนกรายสังกัดยอ่ ย (เขตพนื้ ที่) ในแต่ละ องค์ประกอบ
R-Central 05: แบบรายงานผลคา่ สถติ ิพืน้ ฐานจําแนกรายสังกดั ยอ่ ย

29

บทท่ี 4
ผลการประเมิน

สํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกาศผลการประเมิน
ความสามารถด้านการอา่ นของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในวันที่ 20 เมษายน 2565
ทางระบบ NT Access ผรู้ ายงานนาํ เสนอผลการประเมินในประเด็นต่อไปน้ี

1. ผลการประเมินของเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ปีการศึกษา 2564
2. เปรยี บเทยี บผลการประเมินของเขตพื้นท่ีการศกึ ษา 3 ปกี ารศึกษา (2562 – 2564)
3. ผลการประเมินของโรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ปีการศกึ ษา 2564

ผลการประเมนิ ของเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา ปีการศึกษา 2564

ขอ้ มลู พื้นฐาน
ในปีการศึกษา 2564 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มีโรงเรียนในสังกัดที่ร่วม
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งส้ิน จํานวน 205 โรงเรียน มี
จํานวนนักเรียนท่ีเข้าสอบท้ังสิ้น จํานวน 3,963 คน จําแนกเป็น นักเรียนปกติ จํานวน 3,780 คน นักเรียนพิเศษ
จาํ นวน 183 คน และ นักเรยี นทีเ่ ขา้ สอบกรณีพิเศษ (Walk-in) จาํ นวน - คน (ปรากฏในภาคผนวก ก)

คะแนนผลการประเมนิ การอา่ น
การประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรยี น (RT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ของ
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ ปรากฏผลการประเมนิ ดงั ตารางที่ 10

ตารางที่ 10 คะแนนผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนกั เรยี น (RT) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1

ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกตามระดบั

คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ จำแนกตามสังกดั

สมรรถนะ เขตพน้ื ท่ี จังหวดั ศกึ ษาธิการ สงั กดั ประเทศ
การศกึ ษา ภาค
69.95
การอา่ นออกเสยี ง 72.26 72.26 74.24 69.04 72.79
71.38
การอา่ นรเู้ ร่ือง 73.80 73.18 75.47 72.30

รวม 2 สมรรถนะ 73.03 72.73 74.87 70.67

30

จากตารางท่ี 10 คะแนนเฉล่ียร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำแนกเป็นสมรรถนะ พบว่า การอ่านรู้เรื่อง มีคะแนนเฉลย่ี ร้อยละมากกว่า
การอา่ นออกเสียง คอื มคี ่าเทา่ กับ 73.80 และ 72.26 ตามลำดับ

เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมท้ัง 2 สมรรถนะ จําแนกตามระดับ พบว่า ระดับศึกษาธิการ
ภาค มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละมากท่ีสุด คือ มีค่าเท่ากับ 74.87 รองลงมา คือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬ เท่ากับ 73.03 ระดับจังหวัด เท่ากับ 72.73 ระดับประเทศ เท่ากับ 71.38 และระดับสังกัด
เทา่ กับ 70.67 ตามลําดับ

ในสมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า มีจํานวน 120 โรงเรียน (ร้อยละ 58.54) ที่มคี ะแนนเฉล่ียร้อยละ
สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 5 ลำดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.38
2) บ้านท่าโพธิ์ เท่ากับ 99.00 3) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 4) บ้านโคกสว่าง เท่ากับ 97.07 และ 5) บ้าน
โนนสวรรค์ เท่ากบั 97.00 ตามลำดับ เมอ่ื พิจารณาเป็นกลมุ่ โรงเรยี น พบว่า มีจำนวน 15 กลุม่ โรงเรยี น (รอ้ ยละ
65.22) มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก คือ
1) กลุ่มโรงเรียนโซ่เหล่าทอง เท่ากับ 83.43 2) กลุ่มโรงเรียนโนนสว่างโป่งเปือยไคสี เท่ากับ 79.34 และ 3) กลุ่ม
โรงเรียนหอคำหนองเลิง เทา่ กบั 79.00 ตามลําดับ

ในสมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง พบว่า มีจํานวน 116 โรงเรียน (ร้อยละ 56.59) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูง
กว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.23
2) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 3) บ้านนางวงสุ่มห้วยเนียม เท่ากับ 97.38 4) บ้านนาต้อง เท่ากบั 95.87 และ 5)
บ้านท่าโพธิ์ เท่ากับ 94.75 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาเป็นกลุ่มโรงเรียน พบว่า มีจํานวน 14 กลุ่มโรงเรียน (ร้อยละ
60.87) ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก คือ
1) กลุ่มโรงเรียนดอนหญ้านาง เท่ากับ 81.00 2) กลุ่มโรงเรียนบึงกาฬวิศิษฐ์ เท่ากับ 80.57 และ 3) กลุ่มโรงเรยี น
โซเ่ หลา่ ทอง เทา่ กบั 80.03 ตามลาํ ดบั

รวม 2 สมรรถนะ พบว่า มีจํานวน 118 โรงเรียน (ร้อยละ 57.56) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.30
2) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 3) บ้านท่าโพธิ์ เท่ากับ 96.87 4) บ้านนางวงสุ่มห้วยเนียม เท่ากับ 94.92 และ
5) บ้านโคกสว่าง เท่ากับ 94.84 ตามลําดับ เม่ือพจิ ารณาเป็นกลุ่มโรงเรียน พบว่า มจี ํานวน 15 กลุ่มโรงเรียน (รอ้ ย
ละ 65.22) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก
คือ 1) กลุ่มโรงเรียนโซ่เหล่าทอง เท่ากับ 81.73 2) กลุ่มโรงเรียนโนนสว่างโป่งเปือยไคสี เท่ากับ 79.62 และ
3) กลมุ่ โรงเรยี นบึงกาฬวศิ ิษฐ์ เทา่ กบั 79.42 ตามลาํ ดับ (ปรากฏในภาคผนวก ข)

31
กราฟเปรียบเทียบคะแนนผลการประเมินการอา่ น
เม่ือนำข้อมูลคะแนนผลการประเมินการอ่านมาทำการเปรียบเทียบระหว่างเขตพื้นที่การศึกษา กับ
จงั หวดั ศึกษาธิการภาค สงั กดั และประเทศ ปรากฏผลดังแผนภมู ทิ ่ี 1

แผนภมู ิที่ 1 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนผลการประเมนิ การอ่าน ระหว่างเขตพ้นื ทกี่ บั ระดับอน่ื ๆ

จำนวนและรอ้ ยละของนักเรยี น จำแนกตามระดับคุณภาพ
จำนวนและร้อยละของนักเรียน จำแนกตามระดับคุณภาพของการประเมินความสามารถด้านการอ่าน
ของนักเรียน (RT) ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2564 ของสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ
ปรากฏดงั ตารางที่ 11
ตารางท่ี 11 จำนวนและรอ้ ยละของนักเรียนท่ปี ระเมินความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรยี น (RT)

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกตามระดับคุณภาพ

32
จากตารางท่ี 11 จำนวนและร้อยละของนักเรียน (ยกเว้นเด็กพิเศษ และ Walk-in) การประเมิน
ความสามารถดา้ นการอา่ นของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามระดับคุณภาพ
ในแตล่ ะดา้ น ดังน้ี
สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า นักเรียนที่มีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมาก
ท่ีสุด คือ 1,992 คน คิดเป็นร้อยละ 54.75 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 977 คน คิดเป็นร้อยละ 26.85
ระดับคุณภาพพอใช้ จํานวน 422 คน คิดเป็นร้อยละ 11.59 และระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน 247 คน คิดเป็น
ร้อยละ 6.78 ตามลำดบั
สมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง พบว่า นักเรียนที่มีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมากท่ีสุด
คือ 1,981 คน คิดเป็นร้อยละ 54.45 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 1,279 คน คิดเป็นร้อยละ 35.15
ระดับคณุ ภาพพอใช้ จํานวน 320 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.79 และระดับคุณภาพปรบั ปรุง จํานวน 58 คน คิดเป็นรอ้ ย
ละ 1.59 ตามลำดบั
รวม 2 สมรรถนะ พบว่า นักเรียนที่มีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมากท่ีสุด คือ
2,038 คน คิดเป็นร้อยละ 56.03 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 1,102 คน คิดเป็นร้อยละ 30.29 ระดับ
คณุ ภาพพอใช้ จํานวน 385 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.58 และระดับคณุ ภาพปรับปรุง จาํ นวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ
3.07 ตามลำดับ (ปรากฏในภาคผนวก ก)

ผลการประเมนิ การอ่านรายด้านและประเภทของคำ
คะแนนผลการประเมินรายด้านและประเภทของคำในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ
นักเรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ
ปรากฏดังตารางท่ี 12

33

ตารางท่ี 12 คะแนนผลการอ่านรายดา้ นและประเภทของคำ

จากตารางที่ 12 คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 จำแนกตามการอ่านรายดา้ นและประเภทของคำ ดังนี้

สมรรถนะการอ่านออกเสียง จำแนกออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ 1) การอ่านออกเสียงคำ และ 2) การอ่าน
ออกเสียงข้อความ พบว่า ด้านการอ่านออกเสียงคำ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากกว่าด้านการอ่านออกเสียงข้อความ
คือเทา่ กบั 77.78 อยู่ในระดับคณุ ภาพดมี าก และ 68.58 อย่ใู นระดบั คุณภาพดี ตามลำดับ

สมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง จำแนกออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) การอ่านรู้เร่ืองคำ (จับภาพ) 2) การอ่านรู้
เร่ืองข้อความ 3) การอ่านรู้เร่ืองประโยค (เล่าเร่ืองจากภาพ) และ 4) การอ่านรู้เรื่องประโยค (เลือกตอบ) พบว่า
ด้านการอ่านรู้เร่ืองคำ (จับภาพ) มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละมากที่สุด เท่ากับ 88.50 อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก
รองลงมาคือ ด้านการอ่านรู้เรื่องประโยค (เล่าเรื่องจากภาพ) มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 77.28 อยู่ในระดับ

34
คุณภาพดีมาก ด้านการอ่านรู้เรื่องประโยค (เลือกตอบ) เท่ากับ 70.72 อยู่ในระดับคุณภาพดี และด้านการอ่านรู้
เร่ืองข้อความ เทา่ กับ 61.79 อยู่ในระดบั คุณภาพดี ตามลำดับ

รวม 2 สมรรถนะ พบว่า มีคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ เทา่ กับ 73.03 อย่ใู นระดบั คุณภาพดี

เปรียบเทียบผลการประเมินของเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา 3 ปีการศึกษา (2562 – 2564)

คะแนนผลการประเมินการอ่าน
การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของนักเรยี น (RT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ตัง้ แต่ปกี ารศกึ ษา
2562 - 2564 ของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ ปรากฏผลการประเมิน ดังตารางท่ี 13

ตารางที่ 13 คะแนนผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของนักเรียน (RT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1

ปีการศึกษา 2562 - 2564

สมรรถนะ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 3 ปีการศกึ ษา
2562 2563 2564

การอ่านออกเสยี ง 71.95 81.47 72.26

การอา่ นรเู้ รื่อง 73.95 75.30 73.80

รวม 2 สมรรถนะ 72.95 78.44 73.03

จากตารางที่ 13 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ
นักเรยี น (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 ในแตล่ ะสมรรถนะ เป็นดังน้ี

สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากท่ีสุด เท่ากับ 81.47
รองลงมาคอื ปกี ารศึกษา 2564 เทา่ กบั 72.26 และปีการศึกษา 2562 เท่ากับ 71.95 ตามลำดับ

สมรรถนะการอ่านรู้เร่ือง พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากที่สุด เท่ากับ 75.30
รองลงมาคอื ปกี ารศกึ ษา 2562 เท่ากับ 73.95 และปีการศกึ ษา 2564 เท่ากับ 73.80 ตามลำดบั

รวม 2 สมรรถนะ พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละมากท่ีสุด เทา่ กับ 78.44 รองลงมาคือ
ปีการศึกษา 2564 เท่ากับ 73.03 และปกี ารศกึ ษา 2562 เทา่ กบั 72.95 ตามลำดับ

กราฟเปรียบเทยี บคะแนนผลการประเมนิ การอา่ น 3 ปีการศึกษา (2562 - 2564)
เมื่อนำข้อมูลคะแนนผลการประเมินการอ่านของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มา
ทำการเปรียบเทยี บ 3 ปกี ารศึกษา (2562 – 2564) ปรากฏผลดังแผนภมู ทิ ี่ 2

35

แผนภูมทิ ่ี 2 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนผลการประเมนิ การอา่ น 3 ปีการศกึ ษา (2562 - 2564)
คะแนนผลการประเมินการอ่าน 3 ปกี ารศึกษา (2562 - 2564) จำแนกตามระดับ
การเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) 3 ปีการศึกษา (2562 -
2564) จำแนกตามระดับ ปรากฏผลการประเมนิ ดงั ตารางท่ี 14
ตารางที่ 14 คะแนนผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรยี น (RT) 3 ปกี ารศกึ ษา (2562 - 2564)

จำแนกตามระดับ

จากตารางท่ี 14 คะแนนเฉล่ียร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) 3 ปี
การศกึ ษา (2562 – 2564) จำแนกตามระดบั ในแตล่ ะสมรรถนะ เป็นดงั นี้

36
สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า ปีการศึกษา 2564 ของทุกระดับ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากเป็น
อันดับสอง รองจากปีการศึกษา 2563 โดยมีคะแนนเฉล่ียร้อยละลดลงจากปีการศึกษา 2563 แต่เพิ่มขึ้นจากปี
การศึกษา 2562
สมรรถนะการอ่านรู้เร่ือง พบว่า ปีการศึกษา 2564 ของระดับศึกษาธิการภาค มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ
มากที่สุด เม่ือเทียบกับ 2 ปีการศึกษาที่ผ่านมา เท่ากับ 75.47 75.34 และ 74.03 ตามลำดับ ส่วนระดับอ่ืนอ่ืนมี
คะแนนเฉลี่ยลดลงจากปีการศึกษา 2563
รวม 2 สมรรถนะ พบวา่ ปีการศึกษา 2564 ของทุกระดับ มคี ะแนนเฉล่ียร้อยละมากเป็นอนั ดบั สอง รอง
จากปีการศึกษา 2563 โดยมีคะแนนเฉล่ียร้อยละลดลงจากปีการศึกษา 2563 แต่เพ่ิมข้ึนจากปีการศึกษา 2562
(ปรากฏในภาคผนวก ค)
กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมนิ การอา่ น 3 ปกี ารศึกษา (2562 - 2564) จำแนกตามระดับ
เม่ือนำข้อมูลคะแนนผลการประเมินการอ่านของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มา
ทำการเปรียบเทียบ 3 ปีการศึกษา (2562 – 2564) จำแนกตามระดับ ในแต่ละสมรรถนะ ปรากฏผลดังแผนภูมิที่
3, 4 และ 5

แผนภมู ิที่ 3 กราฟเปรียบเทียบคะแนนผลการประเมนิ การอ่าน 3 ปีการศึกษา (2562-2564)
ในสมรรถนะการอ่านออกเสียง จำแนกตามระดับ


Click to View FlipBook Version