37
แผนภมู ิที่ 4 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมินการอ่าน 3 ปีการศกึ ษา (2562-2564)
ในสมรรถนะการอ่านรูเ้ รอ่ื ง จำแนกตามระดับ
แผนภมู ิท่ี 5 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนผลการประเมนิ การอา่ น 3 ปกี ารศกึ ษา (2562-2564)
รวมทงั้ 2 สมรรถนะ จำแนกตามระดับ
38
และเม่ือนำข้อมูลคะแนนเฉลี่ยร้อยละ รวม 2 สมรรถนะ ในระดับกลุ่มโรงเรียนมาทำการเปรียบเทียบ 3
ปกี ารศึกษา (2562 – 2564) จำแนกตามระดับ ปรากฏผลดังแผนภูมทิ ี่ 6 – 28
แผนภมู ิท่ี 6 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กล่มุ โรงเรียนบึงกาฬวศิ ิษฐ์
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
แผนภูมิท่ี 7 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี ร้อยละ กลุ่มโรงเรยี นโนนสวา่ งโป่งเปอื ยไคสี
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
39
แผนภมู ทิ ี่ 8 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉลย่ี ร้อยละ กลมุ่ โรงเรยี นโนนสมบูรณน์ าสวรรคค์ ำนาดี
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
แผนภูมิท่ี 9 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ กล่มุ โรงเรยี นโคกก่องชยั พร
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
40
แผนภมู ิท่ี 10 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรียนหอคำหนองเลงิ
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
แผนภมู ทิ ่ี 11 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ กล่มุ โรงเรยี นศรีวิไลชมุ ภูพรนาสงิ ห์
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
41
แผนภูมทิ ่ี 12 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉลย่ี ร้อยละ กลุม่ โรงเรยี นนาสะแบงนาแสง
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
แผนภูมิที่ 13 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลมุ่ โรงเรียนท่ากกแดงท่าสะอาด
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
42
แผนภมู ทิ ี่ 14 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ กล่มุ โรงเรยี นตอ้ งโสกก่าม
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
แผนภูมทิ ี่ 15 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรยี นเซกา
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
43
แผนภมู ิที่ 16 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ กลุ่มโรงเรียนซางหนองท่มุ
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
แผนภูมิที่ 17 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลุ่มโรงเรียนปง่ ไฮน้ำจ้ัน
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
44
แผนภมู ิท่ี 18 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรียนดอนหญา้ นาง
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
แผนภูมิท่ี 19 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ กลมุ่ โรงเรยี นพรเจริญ
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
45
แผนภูมิที่ 20 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ กล่มุ โรงเรยี นบึงโขงหลง
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
แผนภูมิท่ี 21 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ กล่มุ โรงเรียนดงบังท่าดอกคำ
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
46
แผนภูมทิ ่ี 22 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรยี นโซเ่ หล่าทอง
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
แผนภมู ทิ ี่ 23 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรียนคำแกว้ ถ้ำเจริญ
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
47
แผนภมู ทิ ่ี 24 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ กลุ่มโรงเรียนหนองพันทาบวั ตมู
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
แผนภูมิท่ี 25 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลมุ่ โรงเรยี นศรชี มภู
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
48
แผนภมู ทิ ่ี 26 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละ กลุ่มโรงเรยี นปากคาด
3 ปีการศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดับ
แผนภูมทิ ่ี 27 กราฟเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ กลมุ่ โรงเรียนหนองยองสมสนกุ นาดง
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
49
แผนภูมิท่ี 28 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ กลุ่มโรงเรยี นบุ่งคล้า
3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) จำแนกตามระดบั
ผลการประเมินของโรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปีการศกึ ษา 2564
ข้อมลู พ้นื ฐาน
ในปีการศึกษา 2564 สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มีโรงเรียนในสังกัดท่ีเป็น
โรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช
กุมารี รวมท้ังสิ้น จำนวน 37 โรงเรียน มีจํานวนนักเรียนท่ีเข้าสอบทั้งสิ้น จํานวน 589 คน จําแนกเป็น นักเรียน
ปกติ จาํ นวน 589 คน นกั เรียนพิเศษ จํานวน - คน และ นักเรยี นทเ่ี ข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk-in) จํานวน - คน
รายละเอียดดังตารางที่ 15
50
ตารางที่ 15 โรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ
ที่ โรงเรยี น จำนวนนกั เรียนทเี่ ขา้ สอบ ประเภทโรงเรียน
(คน)
1 ชุมชนบา้ นซาง 28 ดว้ ยรกั และหว่ งใยฯ และ กพด.
2 สงั วาลวทิ ย์ 1 21 ดว้ ยรกั และหว่ งใยฯ และ กพด.
3 บ้านนาคำแคน 21 ดว้ ยรกั และห่วงใยฯ และ กพด.
4 บ้านดอนปอ 8 ดว้ ยรกั และหว่ งใยฯ
5 บา้ นบะยาวราษฎร์นุเคราะห์ 19 ด้วยรกั และห่วงใยฯ
6 บา้ นใหม่ศรชี มภู 15 ดว้ ยรักและห่วงใยฯ
7 บา้ นซอ่ มกอก 21 ด้วยรักและห่วงใยฯ
8 บา้ นโคกบริการสันกำแพง 8 ด้วยรักและหว่ งใยฯ
9 บา้ นหว้ ยผักขะ 14 ดว้ ยรักและห่วงใยฯ
10 บา้ นนางวั สายปัญญา 15 ด้วยรักและหว่ งใยฯ
11 บา้ นโนนเหมอื ดแอ่ 7 ด้วยรกั และห่วงใยฯ
12 บา้ นห้วยเรอื 9 ดว้ ยรกั และห่วงใยฯ
13 บ้านทรัพยว์ ังทองอดุ มทรัพย์ 2 ด้วยรักและหว่ งใยฯ
14 บ้านโนนสงู สุขสมบูรณ์ 13 ดว้ ยรกั และห่วงใยฯ
15 บ้านหนองบวั แดง 8 ดว้ ยรกั และหว่ งใยฯ
16 บา้ นโพธ์ินอ้ ยหนองสมิ 17 ดว้ ยรักและห่วงใยฯ
17 บา้ นใหม่สามคั คี 10 ดว้ ยรกั และห่วงใยฯ
18 บ้านหัวแฮต 14 ดว้ ยรกั และห่วงใยฯ
19 บ้านตาลเดีย่ ว 10 ดว้ ยรักและหว่ งใยฯ
20 บ้านดงกะพงุ หนองนาแซง 19 ดว้ ยรักและห่วงใยฯ
21 บา้ นเหล่าคาม 13 ด้วยรักและหว่ งใยฯ
22 บา้ นดอนเสียด 37 ด้วยรักและหว่ งใยฯ
23 บา้ นศริ ิพฒั น์ 12 ด้วยรักและห่วงใยฯ
24 บ้านโนนยางคำ 21 ด้วยรกั และหว่ งใยฯ
25 บา้ นท่าเชยี งเครอื 17 ด้วยรกั และหว่ งใยฯ
51
ตารางท่ี 15 โรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกมุ ารี สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบงึ กาฬ (ตอ่ )
ท่ี โรงเรียน จำนวนนักเรียนท่ีเข้าสอบ ประเภทโรงเรยี น
(คน)
26 บ้านหนองชัยวาน
27 บ้านหนองแก่งทราย 11 ด้วยรกั และหว่ งใยฯ
28 ท่าไรว่ ิทยา
29 บ้านป่งไฮราษฎรส์ ามคั คี 30 ด้วยรกั และห่วงใยฯ
30 บา้ นโสกก่ามนาตาไก้
31 บา้ นบ่อพนา 16 ดว้ ยรักและหว่ งใยฯ
32 บ้านโนนสำราญ-ยางเรยี น
33 หนองทมุ่ วิทยา 24 ดว้ ยรักและห่วงใยฯ
34 บา้ นเหล่าหนองยาง
35 บา้ นคำสมบูรณ์บึงเจริญ 21 ด้วยรักและหว่ งใยฯ
36 บ้านหนองเด่ินทุ่ง
37 กัลยาณวิ ัฒนา 2 15 ดว้ ยรักและหว่ งใยฯ
รวม 20 ด้วยรักและห่วงใยฯ
13 ด้วยรกั และห่วงใยฯ
23 ด้วยรักและห่วงใยฯ
3 ด้วยรักและหว่ งใยฯ
11 ดว้ ยรกั และห่วงใยฯ
23 พระราชูปถัมภ์ฯ
589
คะแนนผลการประเมนิ การอา่ น
การประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ของ
โรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช
กมุ ารี สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ปรากฏผลการประเมนิ ดังตารางที่ 16 และแผนภูมิ
ท่ี 29 – 31
52
ตารางท่ี 16 คะแนนผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของนกั เรียน (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1
ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรยี นตามโครงการพระราชดำรสิ มเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็
พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี จำแนกตามระดบั
คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ จำแนกตามสังกัด
สมรรถนะ โรงเรียน เขตพืน้ ที่ จังหวัด ศกึ ษาธิการ สงั กดั ประเทศ
พระราชดำรฯิ การศกึ ษา ภาค
การอ่านออกเสียง 67.32 72.26 72.26 74.24 69.04 69.95
การอา่ นรู้เร่ือง 65.42 73.80 73.18 75.47 72.30 72.79
รวม 2 สมรรถนะ 66.50 73.03 72.73 74.87 70.67 71.38
แผนภูมิท่ี 29 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมนิ การอา่ นออกเสยี ง ระหวา่ งโรงเรียนตาม
โครงการพระราชดำริฯ กบั ระดับอนื่ ๆ
53
แผนภูมิที่ 30 กราฟเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมนิ การอ่านร้เู รือ่ งระหว่างโรงเรยี นตามโครงการ
พระราชดำรฯิ กบั ระดับอ่นื ๆ
แผนภมู ทิ ่ี 31 กราฟเปรียบเทียบคะแนนผลการประเมินการอ่านรวม 2 สมรรถนะ ระหว่างโรงเรยี นตาม
โครงการพระราชดำริฯ กบั ระดับอื่น ๆ
54
จากตารางท่ี 16 และแผนภูมิท่ี 29 – 31 จะเห็นได้ว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละการประเมินความสามารถ
ด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนตามโครงการพระราชดำริ
สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จำแนกเป็นสมรรถนะ พบว่า
การอ่านร้เู รื่อง มีคะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละมากกวา่ การอ่านออกเสียง คอื มคี ่าเทา่ กบั 67.32 และ 65.42 ตามลำดับ
เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละรวมท้ัง 2 สมรรถนะ จําแนกตามระดับ พบว่า ระดับศึกษาธิการ
ภาค มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากท่ีสุด คือ มีค่าเท่ากับ 74.87 รองลงมา คือ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬ เทา่ กับ 73.03 ระดบั จังหวดั เทา่ กบั 72.73 ระดับประเทศ เท่ากบั 71.38 ระดับสงั กัด เทา่ กับ
70.67 และ โรงเรยี นพระราชดำรฯิ เท่ากบั 66.50 ตามลําดบั
ในสมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า มีจํานวน 16 โรงเรียน (ร้อยละ 43.24) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ
สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงคะแนนเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 5 ลำดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 96.00
2) บา้ นดอนปอ เท่ากับ 93.50 3) บ้านหนองบัวแดง เท่ากบั 92.75 4) บ้านหนองเดิ่นทงุ่ เท่ากับ 90.72 และ
5) บา้ นหัวแฮต เทา่ กับ 90.42 ตามลำดับ
ในสมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง พบว่า มีจํานวน 14 โรงเรียน (ร้อยละ 37.84) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูง
กว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 89.52
2) สงั วาลย์วิทย์ 1 เท่ากับ 88.28 3) บ้านหนองบัวแดง เท่ากับ 86.25 4) บ้านป่งไฮราษฎร์สามคั คี เท่ากับ 84.83
และ 5) บา้ นดอนปอ เท่ากบั 83.50 ตามลําดับ
รวม 2 สมรรถนะ พบว่า มีจํานวน 12 โรงเรียน (ร้อยละ 32.43) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 92.76
2) บ้านหนองบัวแดง เท่ากับ 89.50 3) บ้านดอนปอ เท่ากับ 88.50 4) สังวาลวิทย์ 1 เท่ากับ 86.23 และ
5) บา้ นซอ่ มกอก เท่ากบั 83.85 ตามลาํ ดบั (ปรากฏในภาคผนวก ง)
55
บทท่ี 5
สรุปและอภปิ รายผล
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรยี น (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ของ
โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ รายงานการนําเสนอข้อมูลการสรุป และ
อภิปรายผลตามลําดับ ดงั น้ี
1. วัตถุประสงคข์ องการประเมิน
2. วิธีดาํ เนินการ
3. สรุปผลการประเมนิ
4. อภิปรายผล
5. ขอ้ เสนอแนะ
วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน
1. เพื่อให้สถานศึกษามีเครื่องมือที่มีคุณภาพได้มาตรฐานในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน
ของผ้เู รยี น ท้งั ในเร่อื งการอา่ นออกเสียง และการอา่ นรเู้ รอ่ื ง
2. เพ่ือทำให้ครูผู้สอนมีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
นำไปส่กู ารปรบั ปรงุ และพัฒนาความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รยี นให้เต็มตามศักยภาพ
วิธดี าํ เนนิ การ
ปีการศึกษา 2564 สำนักทดสอบทางการศึกษา ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการสร้าง
เคร่ืองมือประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ซึ่งคณะผู้ดำเนินการสร้าง
เคร่ืองมือประเมิน ประกอบด้วย กลุ่มผู้เช่ียวชาญและผูท้ รงคุณวุฒิทางด้านจติ วิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้
ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ด้านการสอนภาษาไทยมากกว่า 5 ปีขึ้นไป ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล โดย
พจิ ารณากรอบแนวทางในการสร้างเคร่ืองมอื จากการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ตามระดับชั้นของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 การวิเคราะห์ระดับพัฒนาการเรียนรู้
ของนักเรียนและการวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ภาษาไทยท่ีถูกต้องตามหลักภาษา และใช้กรอบคำศัพท์ในบัญชี
คำพ้ืนฐาน เพื่อเป็นตัวช้ีวัดผลสำเร็จในการดำเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จุดเน้น
ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐา น อันจะนำไปสู่
การกำหนดนโยบายการศกึ ษา การนำไปใช้วนิ จิ ฉัยข้อบกพร่องความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียนได้ตรงประเด็น
การดําเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 น้ี เป็น
56
การทํางานร่วมกนั ระหวา่ งสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา (สพป.) และ
หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง โดยกาํ หนดหน้าท่แี ละผู้รบั ผดิ ชอบในการบริหารจัดการประเมิน ดังนี้
1. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน โดยสํานกั ทดสอบทางการศกึ ษา มีหน้าที่
1.1 สร้างแบบทดสอบการอา่ นและกําหนดเกณฑ์การประเมิน
1.2 แตง่ ตั้งคณะกรรมการอํานวยการทดสอบการอ่านระดบั สพฐ.
1.3 ประชุมชี้แจงผู้แทนศูนย์สอบของ สพฐ. และผู้แทนสังกัดอ่ืน ๆ เก่ียวกับแนวทาง การจัดสอบ
การอ่าน
1.4 ตรวจสอบการจัดสนามและออกเลขท่ีนง่ั สอบ
1.5 จดั ส่งค่มู ือ เอกสารธรุ การประจาํ สนามสอบ ข้อสอบและกระดาษคาํ ตอบไปยังศูนย์สอบ
1.6 ประมวลผลคะแนนการทดสอบ และประกาศผลการทดสอบ
2. ศูนย์สอบ คือ หน่วยงานจากสังกัดต่าง ๆ ที่เข้าร่วมการประเมิน ประกอบด้วย สํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา (สพป.) สํานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด สํานักงานคณะกรรมการการส่งเสริมเอกชน
สํานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สํานกั การศึกษากรงุ เทพมหานคร และสํานกั การศกึ ษาเมืองพัทยา มีหนา้ ที่
2.1 นาํ เข้าและตรวจสอบขอ้ มูลสถานศกึ ษาที่มีสทิ ธิ์สอบผา่ นระบบ NT Access
2.2 ตรวจสอบข้อมูลและจัดสนามสอบ
2.3 แต่งต้ังคณะกรรมการจัดสอบระดบั ศนู ยส์ อบ และสนามสอบ
2.4 ประชุมชี้แจงคณะกรรมการจัดการสอบระดับศูนย์สอบ และสนามสอบ เกี่ยวกับการบริหาร
จัดการสอบ
2.5 ดําเนินการจดั สอบ กาํ กับ ตดิ ตามการดาํ เนินการสอบให้เป็นไปตามแผน
2.6 รว่ มกบั สนามสอบในการนําเข้าผลการทดสอบรายบุคคลผ่านระบบ NT Access
2.7 รายงานผลการทดสอบ และเผยแพร่
3. สนามสอบ คอื สถานที่ทใ่ี ช้ดําเนินการทดสอบ โดยศูนย์สอบเป็นผกู้ ําหนด สามารถใหท้ ุกโรงเรียนเป็น
สนามสอบ หรือศูนย์สอบบริหารจัดการตามความเหมาะสม และทุกสนามสอบในแต่ละศูนย์สอบจะต้องดําเนิน
การจัดสอบพร้อมกนั ในวันเดยี วกัน ทง้ั น้ี ศูนย์สอบตอ้ งคาํ นึงถงึ ความโปรง่ ใสและยุติธรรมในการสอบเปน็ สําคญั
ปีการศึกษา 2564 ศูนย์สอบสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กําหนดให้ทุกโรงเรียนท่ี
สมัครใจเข้าร่วมทดสอบเป็นสนามสอบ มีจํานวนท้ังหมด 210 สนามสอบ แบ่งเป็นโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ จาํ นวน 205 แห่ง และโรงเรียนกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน สังกัด
สาํ นักงานตํารวจแหง่ ชาติ จํานวน 5 แหง่ มีหนา้ ท่ี
3.1 ประสานงานกบั ศูนย์สอบ และดําเนนิ การตามคมู่ ือการจัดสอบอย่างเคร่งครัด
3.2 ดําเนนิ การทดสอบอยา่ งต่อเนื่อง ต้ังแตก่ อ่ นการสอบ ระหว่างการสอบ และหลังการสอบ
57
3.3 นําเขา้ ผลการทดสอบรายบคุ คลผ่านระบบ NT Access
สรุปผลการประเมิน
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 มี
วัตถุประสงค์เพ่ือให้สถานศึกษามีเครื่องมือท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน
ของผู้เรียน ทั้งในเรื่องการอ่านออกเสียงและการอ่านรู้เร่ือง และเพ่ือทำให้ครูผู้สอนมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับ
ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียนเปน็ รายบุคคลนำไปสู่การปรบั ปรงุ และพัฒนาความสามารถด้านการอา่ นของ
ผ้เู รยี นใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพ
ในปีการศึกษา 2564 สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มีโรงเรียนในสังกัดท่ีร่วม
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งส้ิน จํานวน 205 แห่ง มี
จํานวนนักเรียนที่เข้าสอบท้ังสิ้น จํานวน 3,963 คน จําแนกเป็น นักเรียนปกติ จํานวน 3,780 คน นักเรียนพิเศษ
จํานวน 183 คน และนกั เรยี นทเี่ ขา้ สอบกรณพี ิเศษ (Walk-in) จํานวน - คน
ผลการการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี การศึกษา
2564 จําแนกเป็นสมรรถนะ พบวา่ การอ่านรเู้ รื่องมีคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละมากกว่าการอา่ นออกเสยี ง คือ มคี ่าเท่ากับ
73.80 และ 72.26 ตามลาํ ดับ
เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมทั้ง 2 สมรรถนะ จําแนกตามระดับ พบว่า ศึกษาธิการภาคมี
คะแนนเฉลี่ยร้อยละมากท่ีสุด คือ มีค่าเท่ากับ 74.87 รองลงมา คือ ระดับสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬ เท่ากับ 73.03 ระดับจังหวัด เท่ากับ 72.73 ระดับประเทศ เท่ากับ 71.38 และระดับสังกัด
(สพฐ.) เท่ากับ 70.67 ตามลําดบั
สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า มีจํานวน 120 โรงเรียน (ร้อยละ 58.54) ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 5 ลำดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.38
2) บ้านท่าโพธ์ิ เท่ากับ 99.00 3) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 4) บ้านโคกสว่าง เท่ากับ 97.07 และ 5) บ้าน
โนนสวรรค์ เท่ากบั 97.00 ตามลำดับ เม่ือพิจารณาเปน็ กลุ่มโรงเรียน พบวา่ มจี ำนวน 15 กลมุ่ โรงเรยี น (ร้อยละ
65.22) มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก คือ
1) กลุ่มโรงเรียนโซ่เหล่าทอง เท่ากับ 83.43 2) กลุ่มโรงเรียนโนนสว่างโป่งเปือยไคสี เท่ากับ 79.34 และ 3) กลุ่ม
โรงเรียนหอคำหนองเลิง เท่ากบั 79.00 ตามลาํ ดบั
สมรรถนะการอา่ นรู้เร่ือง พบว่า มีจาํ นวน 116 โรงเรียน (ร้อยละ 56.59) ที่มีคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.23
2) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 3) บ้านนางวงสุ่มห้วยเนียม เท่ากับ 97.38 4) บ้านนาตอ้ ง เท่ากับ 95.87 และ 5)
บ้านท่าโพธ์ิ เท่ากับ 94.75 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาเป็นกลุ่มโรงเรียน พบว่า มีจํานวน 14 กลุ่มโรงเรียน (ร้อยละ
58
60.87) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก คือ
1) กลุ่มโรงเรียนดอนหญ้านาง เท่ากับ 81.00 2) กลุ่มโรงเรียนบึงกาฬวิศิษฐ์ เท่ากับ 80.57 และ 3) กลุ่มโรงเรียน
โซเ่ หลา่ ทอง เทา่ กับ 80.03 ตามลาํ ดับ
รวม 2 สมรรถนะ พบว่า มีจํานวน 118 โรงเรียน (ร้อยละ 57.56) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉลี่ยร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านดงชมภู เท่ากับ 99.30
2) บ้านซำบอน เท่ากับ 98.00 3) บ้านท่าโพธิ์ เท่ากับ 96.87 4) บ้านนางวงสุ่มห้วยเนียม เท่ากับ 94.92 และ
5) บ้านโคกสวา่ ง เท่ากับ 94.84 ตามลําดับ เม่อื พจิ ารณาเป็นกลุ่มโรงเรียน พบวา่ มีจํานวน 15 กลุ่มโรงเรียน (รอ้ ย
ละ 65.22) ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก
คือ 1) กลุ่มโรงเรียนโซ่เหล่าทอง เท่ากับ 81.73 2) กลุ่มโรงเรียนโนนสว่างโป่งเปือยไคสี เท่ากับ 79.62 และ
3) กลุ่มโรงเรยี นบึงกาฬวิศิษฐ์ เทา่ กบั 79.42 ตามลําดับ (ปรากฏในภาคผนวก ข)
เม่ือพิจารณาจำนวนและร้อยละของนักเรียน (ยกเว้นเด็กพิเศษ และ Walk-in) ท่ีรับการประเมิน
ความสามารถด้านการอา่ นของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามระดับคุณภาพ
ในแตล่ ะดา้ น ดังน้ี
สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า นักเรียนท่ีมีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมาก
ท่ีสุด คือ 1,992 คน คิดเป็นร้อยละ 54.75 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 977 คน คิดเป็นร้อยละ 26.85
ระดับคุณภาพพอใช้ จํานวน 422 คน คิดเป็นร้อยละ 11.59 และระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน 247 คน คิดเป็น
ร้อยละ 6.78 ตามลำดบั
สมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง พบว่า นักเรียนท่ีมีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมากที่สุด
คือ 1,981 คน คิดเป็นร้อยละ 54.45 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 1,279 คน คิดเป็นร้อยละ 35.15
ระดับคุณภาพพอใช้ จํานวน 320 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8.79 และระดับคณุ ภาพปรับปรุง จาํ นวน 58 คน คิดเป็นร้อย
ละ 1.59 ตามลำดบั
รวม 2 สมรรถนะ พบว่า นักเรียนท่ีมีผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก มีจํานวนมากที่สุด คือ
2,038 คน คิดเป็นร้อยละ 56.03 รองลงมา คือ ระดับคุณภาพดี จํานวน 1,102 คน คิดเป็นร้อยละ 30.29 ระดับ
คุณภาพพอใช้ จาํ นวน 385 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.58 และระดบั คุณภาพปรับปรุง จาํ นวน 112 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
3.07 ตามลำดบั (ปรากฏในภาคผนวก ก)
เม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ต้งั แตป่ ีการศึกษา 2562 - 2564 ในแตล่ ะสมรรถนะ เปน็ ดังนี้
สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉล่ียร้อยละมากที่สุด เท่ากับ 81.47
รองลงมาคือ ปีการศึกษา 2564 เท่ากับ 72.26 และปีการศึกษา 2562 เท่ากับ 71.95 ตามลำดับ (ปรากฏใน
ภาคผนวก ค)
59
สมรรถนะการอ่านรู้เร่ือง พบว่า ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละมากท่ีสุด เท่ากับ 75.30
รองลงมาคอื ปกี ารศกึ ษา 2562 เทา่ กับ 73.95 และปกี ารศกึ ษา 2564 เทา่ กับ 73.80 ตามลำดบั
รวม 2 สมรรถนะ พบวา่ ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละมากที่สุด เท่ากบั 78.44 รองลงมาคือ
ปกี ารศกึ ษา 2564 เท่ากับ 73.03 และปีการศกึ ษา 2562 เทา่ กบั 72.95 ตามลำดบั
และเม่ือพิจารณาคะแนนเฉล่ียร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนตามโครงการพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จำแนกเป็นสมรรถนะ พบว่า การอ่านรู้เรื่อง มีคะแนน
เฉลี่ยรอ้ ยละมากกวา่ การอา่ นออกเสียง คอื มีค่าเทา่ กับ 67.32 และ 65.42 ตามลำดบั
เม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียร้อยละรวมท้ัง 2 สมรรถนะ จําแนกตามระดับ พบว่า ระดับศึกษาธิการ
ภาค มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละมากที่สุด คือ มีค่าเท่ากับ 74.87 รองลงมา คือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาบงึ กาฬ เท่ากับ 73.03 ระดบั จังหวัด เท่ากบั 72.73 ระดับประเทศ เท่ากบั 71.38 ระดับสงั กดั เท่ากับ
70.67 และ โรงเรยี นพระราชดำริฯ เทา่ กับ 66.50 ตามลาํ ดบั
สมรรถนะการอ่านออกเสียง พบว่า มีจํานวน 16 โรงเรียน (ร้อยละ 43.24) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ
สูงกว่าระดับประเทศ โดยเรียงคะแนนเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 5 ลำดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 96.00
2) บา้ นดอนปอ เท่ากบั 93.50 3) บ้านหนองบัวแดง เท่ากับ 92.75 4) บ้านหนองเดน่ิ ท่งุ เท่ากบั 90.72 และ
5) บา้ นหัวแฮต เท่ากับ 90.42 ตามลำดบั
สมรรถนะการอ่านรู้เร่ือง พบว่า มีจํานวน 14 โรงเรียน (ร้อยละ 37.84) ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 89.52
2) สังวาลยว์ ิทย์ 1 เท่ากับ 88.28 3) บ้านหนองบัวแดง เทา่ กบั 86.25 4) บ้านป่งไฮราษฎร์สามัคคี เท่ากับ 84.83
และ 5) บ้านดอนปอ เท่ากบั 83.50 ตามลําดบั
รวม 2 สมรรถนะ พบว่า มีจํานวน 12 โรงเรียน (ร้อยละ 32.43) ท่ีมีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า
ระดับประเทศ โดยเรียงค่าเฉล่ียร้อยละจากมากไปหาน้อย 5 ลําดับแรก คือ 1) บ้านนาคำแคน เท่ากับ 92.76
2) บ้านหนองบัวแดง เท่ากับ 89.50 3) บ้านดอนปอ เท่ากับ 88.50 4) สังวาลวิทย์ 1 เท่ากับ 86.23 และ
5) บ้านซ่อมกอก เทา่ กับ 83.85 ตามลําดับ (ปรากฏในภาคผนวก ง)
อภปิ รายผล
จากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี การศึกษา
2564 ของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ พบว่า ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนรวม 2
สมรรถนะ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ จํานวน 118 โรงเรียน (ร้อยละ 57.56) มีค่าเฉล่ียร้อยละสูง
กว่าปกี ารศึกษา 2563 จํานวน 79 โรงเรียน (ร้อยละ 38.54) โดยโรงเรียนบ้านดงชมภู มีค่าเฉล่ียร้อยละสูงสุด เม่ือ
60
พจิ ารณารายสมรรถนะการอ่านออกเสยี ง พบว่า มคี ะแนนเฉลี่ยร้อยละสงู กว่าระดบั ประเทศ จาํ นวน 120 โรงเรียน
(รอ้ ยละ 58.54) มีค่าเฉล่ียรอ้ ยละสูงกว่าปีการศึกษา 2563 จํานวน 56 โรงเรียน (ร้อยละ 27.32) โดยโรงเรียนบา้ น
ดงชมภู มีค่าเฉล่ียร้อยละสูงสุด ด้านสมรรถนะการอ่านรู้เรื่อง พบว่า มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่า ระดับประเทศ
จํานวน 116 โรงเรียน (56.59) มีค่าเฉล่ียร้อยละสูงกว่าปีการศึกษา 2563 จํานวน 98 โรงเรียน (ร้อยละ 47.80)
โดยโรงเรียนบ้านดงชมภู มีค่าเฉล่ียร้อยละสูงสุด และเมื่อพิจารณาระดับคุณภาพ พบว่า ในภาพรวม 2 สมรรถนะ
และในรายสมรรถนะการอ่านออกเสียงและอ่านรู้เร่ือง อยู่ในระดับดีมาก ทั้งน้ีเพราะสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬให้ความสําคัญต่อการดําเนินงานตามนโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ กอปรกับ
สาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาได้ดําเนินโครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนอย่างย่ังยืนอย่างต่อเน่ือง โดยเน้น
การพัฒนาความสามารถด้านภาษาไทยของผู้เรียน ต้ังแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3 แม้ประเทศไทยจะเผชิญกับ
สถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) อันส่งผลกระทบต่อระบบ
การจัดการเรียนการสอนทุกระดับ (บัลลังก์ โรหิตเสถียร, 2563) ทำให้การเรียนการสอนต้องปรับรูปแบบใหม่ที่มี
ความสอดคล้องกับมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค (วงศ์วรรธน์ เป็งราชรอง, 2564) โดยการนำรูปแบบ
การเรียนการสอนที่มีการจัดทำส่ือและนำเคร่ืองมือต่าง ๆ ท่ีทันสมัยมาใช้และสามารถถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้เข้าใจ
และมีความรู้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นในรูปแบบการเรียนรู้แบบออนไลน์ เรียกได้ว่าเป็นการเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี
(Technology–based learning) ซึ่งจะครอบคลุมวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบ (ปิยะวรรณ ปานโต,
2563) ทั้งนี้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนนักเรียนใน
สังกัดด้วยระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ผ่านช่องโทรทัศน์และเว็บไซต์ สื่อสารผู้ปกครองและ
นักเรียนด้วยระบบโทรศัพท์ (Line) และอื่น ๆ โดยนักเรียนต้องดูตารางสอนออกอากาศล่วงหน้า ศึกษาแฟ้มงาน
เอกสารประกอบการเรียน เข้าเรียนผ่านโทรทัศน์ และสรุปองค์ความรู้จากบทเรียน เข้าระบบเช็กชื่อออนไลน์ที่
ครูออกแบบไว้ นักเรียนสอบถามข้อสงสัยสื่อสารกับครูผ่านไลน์กลุ่ม ส่วนผู้ปกครอง เตรียมความพร้อมด้าน
อุปกรณ์และสถานที่เรียนท่ีบ้าน ศึกษาความเข้าใจตารางสอนและแผนการเรียน ติดต่อสื่อสารกับครูผ่านโทรศัพท์
และกลุ่มไลน์ สำหรับครูผู้สอน จัดเตรียมเอกสารแบบฝึกหัดให้นักเรียนและผู้ปกครอง มอบใบงานให้นักเรียนและ
ผู้ปกครอง สื่อสารกับนักเรียนและผู้ปกครองผ่านไลน์ ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์และผู้ที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่
ตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของ
สถานศึกษาในสังกัดครบทุกพื้นท่ีอย่างต่อเน่ือง เป็นการเข้าถึงสภาพและปัญหาท่ีแท้จริงในแต่ละพื้นท่ี ให้กำลังใจผู้
ที่เกี่ยวข้อง กระตุ้นให้สถานศึกษาดำเนินการตามจุดเน้นภายใต้ตามมาตรการป้องกันการระบาดของโรค จึงทําให้
การบริหารจัดการบรรลุเป้าหมายของการดําเนินงาน ครูผู้สอนให้ความสําคัญต่อการเรียนการสอนในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย โดยยึดหลักการเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญและความแตกต่างระหว่างบุคคล มีเครือข่ายใน
การพัฒนาครูผู้สอนร่วมกันระหว่างสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษากับสถานศึกษา และมีการทําบันทึกข้อตกลง
(MOU) ระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถด้าน
ภาษาไทยของผูเ้ รยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1
61
ข้อเสนอแนะ
จากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี
การศึกษา 2564 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่กล่าวมา ผู้วิเคราะห์มีข้อเสนอแนะในการนําผลการประเมินไปใช้ 2
ประเดน็ คอื 1) ข้อเสนอแนะสาํ หรับสถานศกึ ษา และ 2) ขอ้ เสนอแนะสาํ หรบั ผทู้ ่ีเก่ยี วข้อง ดงั นี้
1. ข้อเสนอแนะสําหรบั การบริหารจัดการศึกษา
ให้พิจารณาผลการประเมินเป็นรายโรงเรียน และรายบคุ คลท่ีเกย่ี วข้องกับบริบทของสถานศึกษา โดย
ผู้บรหิ าร ครผู สู้ อน และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ควรดําเนนิ การดงั นี้
1.1 กําหนดนโยบาย แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน หรือโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย อย่างชัดเจนและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อ
ผเู้ รยี นได้มากท่สี ุด
1.2 เปลี่ยนให้ทุก ๆ ท่ีกลายเป็นโรงเรียน เพราะการเรียนรู้ยังต้องดำเนินต่อไปแม้ผู้เรียนจะไม่
สามารถไปโรงเรียนตามปกติได้ ด้วยการเรียนทางไกลรูปแบบต่างๆ โดยพิจารณาจากเงื่อนไขความพร้อมด้าน
อุปกรณ์ ความพร้อมของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และความพรอ้ มตามชว่ งวยั ของผู้เรียน
1.3 ครูควรกระชับหลักสูตรให้สอดคล้องกับสถานการณ์โควิด-19 โดยการจัดลำดับความสำคัญของ
เน้ือหาเพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในส่ิงจำเป็นและเรียนรู้อย่างมีความหมาย ใน 2 ลักษณะ คือ 1) เน้นตัวชี้วัดที่ต้องรู้
และ 2) บรู ณาการตัวชีว้ ดั ควรรูก้ บั กิจกรรมภาคปฏิบัตหิ รือภาระงานของผู้เรยี น
1.4 ครูควรออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และสอนอย่างมีแผนท่ีเหมาะสมในสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เพมิ่ ความหลากหลายของรูปแบบการเรยี นรทู้ ่ีมีความยืดหยนุ่ ในการใช้เวลาเรียนทเ่ี หมาะสมและส่งเสรมิ การเรยี นรู้
รายบุคคล (personalized learning) ได้
1.5 ยกระดับการประเมินเพื่อการพัฒนา (formative assessment) กล่าวคอื ครูควรใชก้ ารประเมิน
2 ลกั ษณะต่อไปนี้เพ่ือไม่ให้ผเู้ รียนเสยี โอกาสพฒั นาความรู้และทักษะ 1) การประเมินเพ่ือการเรยี นรู้ (assessment
for learning) ของผู้เรียน เพื่อให้ครูทราบถึงกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนสามารถสะท้อนผลให้กับผู้เรียนและ
ปรับแผนการเรียนรู้ได้ตรงตามสถานการณ์ และ 2) การประเมินซ่ึงทำให้เกิดการเรียนรู้ (assessment as
learning) ของผู้เรียน โดยครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนย้อนคิดถึงกระบวนการเรียนของตนเอง กระบวนการนี้จะทำให้
ผู้เรียนมีความรับผิดชอบและเป็นเจ้าของการเรียนรู้ของตนเองมากข้ึน รวมถึงเม่ือผู้เรียนเข้าใจตนเองก็จะเป็น
โอกาสที่จะวางแผนการเรยี นรู้ของตนเองร่วมกบั ผ้ปู กครองและครูได้
1.6 ดาํ เนินการพฒั นาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนในโรงเรยี นอย่างตอ่ เน่ือง
62
1.7 ครูผู้สอนควรมีการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีส่งเสริมสมรรถนะด้านการอ่านให้กับ
นกั เรยี นในทกุ ระดบั ชน้ั มกี ารใชส้ ื่อในการจดั การเรยี นการสอนอย่างเหมาะสม
1.8 ครูผู้สอนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพ่ือนําผลการวิเคราะห์ไปใช้
พฒั นาผู้เรียนใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถเฉพาะบุคคล สอดคล้องต่อการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็
สาํ คัญ ยังผลต่อการแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสมและตรงจดุ มากยง่ิ ขึ้น
1.9 ดําเนินการตามแผนงาน มาตรการ วิธีการอย่างเข้มแข็ง ตรวจสอบและปรับปรุง โดยวงจร
คณุ ภาพมุง่ ยกผลสมั ฤทธิ์
1.10 สร้างขวญั และกําลงั ใจ รวมท้ังสร้างความตระหนักถึงความสําคญั ของการประเมินความสามารถ
ดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (RT) ใหก้ ับครู นกั เรียนและผ้เู กย่ี วขอ้ ง
1.11 นิเทศ กํากับ ติดตาม การจดั กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในระดบั ชนั้ อยา่ งต่อเนือ่ ง
เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
1.12 จดั ทาํ สารสนเทศ ฐานขอ้ มูลผลการเรยี นของนักเรียน เพ่ือนาํ ผลรายงานชุมชน ผูป้ กครอง
2. ข้อเสนอแนะสาํ หรับผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง
จากผลการประเมินเป็นรายโรงเรียน และรายเขตพ้ืนที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ศึกษานิเทศก์
บุคลากรทางการศกึ ษาท่เี กี่ยวขอ้ ง ควรดําเนนิ การดังนี้
2.1 นําผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผน หรือกําหนดนโยบาย มาตรการ
โครงการ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอื่ ส่งเสริมการจดั การศึกษาให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ
2.2 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ในการจัดการเรียนการสอนกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เช่น ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา อักษรควบไม่แท้ การแจกลูก สะกดคํา ให้กับครูผู้สอน
ภาษาไทยนักเรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 - 2 และควรส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน เขียน ให้นักเรียน
ในช้นั ที่สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนื่องและทว่ั ถงึ
2.3 สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาส่งเสริม สนับสนุน การสร้างส่ือและนวัตกรรมเพื่ อ ยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและการเขียน ให้แก่ครูผู้สอนในสังกัด เพ่ือช่วยให้ครูมีส่ือสนับสนุนการสอนที่หลากหลาย
สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาทักษะการสอน ให้ความรู้
เกีย่ วกบั การสอนอา่ นและเขียน
2.4 นิเทศ กํากับติดตามการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ เพื่อกระตุ้นให้
ทุกฝ่ายเห็นความสาํ คัญตอ่ การพัฒนาความสามารถดา้ นภาษาไทยแกผ่ เู้ รียน
2.5 จากผลการประเมินปีการศึกษา 2564 แม้ว่าคะแนนเฉล่ียร้อยละของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬจะสูงกว่าระดับประเทศทุกสมรรถนะ แต่เม่ือเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2563
กลับมีคะแนนลดลงทุกสมรรถนะซึ่งสอดคล้องกับภาพรวมของประเทศ ดังนั้น สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
63
ประถมศึกษาบึงกาฬควรพัฒนานวัตกรรมการเพ่ิมความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
เพอื่ ใหเ้ กิดผลที่ย่งั ยนื และเผยแพร่ผลงานสูส่ าธารณะต่อไป
เอกสารอ้างองิ
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2548). ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการปฏบิ ตั เิ ข้าสอบ พ.ศ. 2548.
กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. (2552). 2552 ทศวรรษท่ีสองของการปฏิรูปการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.
. (2553). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ:
ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
. (2555). ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการปฏบิ ัติเข้าสอบ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2555.
กรุงเทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. (2558). นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ).
กรงุ เทพฯ: สำนักปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธกิ าร.
บลั ลังก์ โรหติ เสถยี ร. (2563). ครม.รบั ทราบการเล่ือนเปิดภาคเรียนที่ 1/2563 เปน็ วันท่ี 1 ก.ค. 2563.
สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 6 มิถุนายน 2564, จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/28683
ปิยะวรรณ ปานโต. (2563). การจดั การเรียนการสอนของไทยภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด
เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 6 มถิ ุนายน 2564, จาก
https://library.parliament.go.th/th/radioscript/rr2563-jun5
วงศว์ รรธน์ เป็งราชรอง. (2564). มติชนมตคิ รู : การจัดการศกึ ษาในสถานการณ์แพรร่ ะบาด “โควิด-19”.
สืบค้นเมอื่ วันท่ี 6 มิถนุ ายน 2564, จาก https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2733008
สมบตั ิ ภูสง่า. (2556). การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการจดั ทำแผนพฒั นา 3 ป:ี ศกึ ษากรณีองคก์ ารบรหิ าร
สว่ นตำบลหนองบอน อำเภอเมอื งสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว. วิทยานพิ นธร์ ฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าการเมอื งการปกครอง มหาวทิ ยาลัยบูรพา.
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน. (2558). นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ.
สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2558). นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปี 2558.
สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 16 กมุ ภาพันธ์ 2563, จาก
http://www.bic.moe.go.th/newth/images/stories/pdf/policymoe58_ 18-9-2557.pdf
สำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน. (2560). มาตรฐานสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
พ.ศ.2560. กรงุ เทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
65
สำนักทดสอบทางการศกึ ษา. (2563). คมู่ ือการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของนักเรียน ชน้ั
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษา.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2563). การดำเนนิ งานพัฒนาการเรยี นการสอนภาษาไทยตามนโยบาย
“เดินหนา้ และพฒั นาการอ่านออกเขยี นได”้ ปกี ารศึกษา 2563. สืบคน้ เมื่อวันที่ 15 มิถนุ ายน 2564,
จาก https://academic.obec.go.th/official.php?ispage=2
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบสรปุ รายงานการประเมนิ ของเขตพื้นท่ี (R-Local01)
ปีการศึกษา 2562 - 2564
68
69
70
71
72
73
ภาคผนวก ข
สรุปผลการทดสอบการอา่ น (RT)
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ
จำแนกตามสมรรถนะ
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86