The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by punyaweebuakhongsa, 2021-08-04 13:18:30

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 4

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 4

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ สมบัตขิ องวสั ดุรอบตัวเรา

แผนผงั หวั ขอ้ หน่วยการเรยี นรู้

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ 1

สมบตั ิของวัสดุรอบตัวเรา

๑. สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุ

สิง่ ของรอบตวั เราทาจากวสั ดุตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ผ้า แก้ว พลาสติก ยาง
ไม้ อิฐ หนิ กระดาษ โลหะ ซงึ่ วัสดเุ หลา่ นม้ี สี มบตั ทิ างกายภาพบางอยา่ ง
เหมือนกนั บางอยา่ งแตกตา่ งกัน วัสดปุ ระเภทแก้วและไม้ตา่ งก็มี
ความแขง็ เหมือนกนั แตแ่ ก้วแตกงา่ ยกว่าไม้

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ แกว้ เปน็ วัสดทุ ีม่ ีความแขง็ แตแ่ ตกง่าย 2

วสั ดแุ ตล่ ะชนิดมคี วามแขง็ แตกต่างกนั วัสดุชนิดใดท่ที นตอ่ แรงขูดขีด
เราเรยี กวัสดนุ นั้ ว่าเป็นวสั ดุทมี่ คี วามแขง็ โดยวสั ดุท่ีมคี วามแขง็ มากกว่าจะขดู
วสั ดุท่มี ีความแขง็ นอ้ ยกวา่ ใหเ้ ปน็ รอยได้ เชน่ เม่ือนาตะปูขูดบนแผน่ พลาสติก
พบว่ามีรอยขูดบนแผ่นพลาสตกิ แสดงว่าตะปูมคี วามแขง็ มากกวา่ แผน่ พลาสติก
หรอื เม่ือนาตะปูขดู บนไมบ้ รรทัดเหลก็ พบว่าไมม่ ีรอยขดู บนไมบ้ รรทัดเหลก็
แสดงว่าตะปกู ับไมบ้ รรทัดเหล็กมคี วามแขง็ ไม่แตกต่างกัน

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ 3

นอกจากวสั ดุจะมสี มบตั ิด้านความแขง็ แล้ว วสั ดบุ างชนิดยงั มสี มบตั ิ
ด้านสภาพยดื หยุ่น เช่น เด็ก ๆ กระโดดบนแทรมโพลนี ซงึ่ เป็นเครอ่ื งเล่น
ที่ทาจากยาง

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ เดก็ เล่นเครอื่ งเลน่ แทรมโพลีน 4

วสั ดุแต่ละชนดิ มสี ภาพยดื หยุ่นแตกตา่ งกัน วัสดุชนิดใดทม่ี ีการเปล่ียนแปลงรปู รา่ ง
เม่อื มีแรงมากระทา และสามารถกลับคนื สรู่ ปู ร่างเดิมได้ เมอ่ื หยุดออกแรงกระทา
เราเรียกว่า วสั ดุนนั้ มีสภาพยดื หยุ่น

แตถ่ ้าวัสดชุ นิดใดที่มีการเปล่ยี นแปลงรูปร่างเม่อื มีแรงมากระทา แตไ่ ม่สามารถ
กลบั คนื สูร่ ูปรา่ งเดิมได้ เมื่อหยุดออกแรงกระทา เราเรียกวา่ วสั ดนุ ั้นไมม่ ีสภาพยืดหยุ่น

วัสดทุ ี่มีสภาพยืดหยุน่ จะหมดสภาพความยืดหยุ่นได้ หากออกแรงกระทา
มากเกนิ ไป ออกแรงกระทาบ่อย ๆ หรือออกแรงกระทาเปน็ ระยะเวลานาน ๆ

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ สายรดั ของทาจากยาง
ซ่งึ เป็นวัสดุทีม่ ีสภาพยดื หยนุ่

5๔

นอกจากวัสดุจะมีสมบัติดา้ นความแข็งและสภาพยืดหย่นุ แลว้ วัสดุบางชนดิ
ยังมีสมบัติดา้ นการนาความรอ้ น เช่น ของใชบ้ างชนดิ ในครัวทีต่ ้องใช้ความร้อน
ในการทาให้อาหารสกุ กต็ อ้ งทาจากวัสดทุ ี่นาความรอ้ นได้

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ กระทะทาจากวัสดทุ น่ี าความรอ้ นได้ 6

วัสดุแต่ละชนดิ เม่อื ได้รับความร้อนแลว้ จะยอมใหค้ วามร้อนผา่ นได้ไม่เท่ากัน
วสั ดุทีย่ อมใหค้ วามร้อนผ่านได้ดี เราเรียกวสั ดุนัน้ ว่า ตัวนาความร้อน ซงึ่ ส่วนใหญ่
เปน็ วสั ดุประเภทโลหะ เชน่ เงนิ ทองแดง เหล็ก อะลมู ิเนียม

สว่ นวสั ดุที่ไมย่ อมใหค้ วามร้อนผ่านได้ เราเรยี กวัสดุนั้นว่า ฉนวนความร้อน
ซึง่ วัสดุที่เปน็ ฉนวนความรอ้ น เชน่ แกว้ พลาสตกิ ผา้ กระดาษ กระเบอื้ ง ไม้

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ กระทะ 7

นอกจากวสั ดุจะมีสมบตั ดิ า้ นความแขง็ สภาพยดื หยนุ่ และการนาความรอ้ นแลว้
วัสดบุ างชนิดยงั มสี มบัตดิ ้านการนาไฟฟา้ ซึ่งของใช้บางอย่างต้องทาจากวสั ดุที่นาไฟฟ้าได้

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ การชารจ์ ไฟฟา้ เข้าโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ 8

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 9

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ 10

๒. การใช้ประโยชนจ์ ากวัสดุ

สิง่ ของเครือ่ งใช้ที่อยู่รอบตวั ทาจากวัสดุหลากหลายชนดิ โดยการเลือก
วสั ดุเพื่อใชท้ าสงิ่ ของต่าง ๆ นัน้ จาเปน็ ตอ้ งพจิ ารณาสมบตั ิทางกายภาพ
ของวสั ดตุ ่าง ๆ เช่น ความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความรอ้ น การนาไฟฟา้
เพ่อื เหมาะสมต่อการใช้งานและเกิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ 11

๒.๑ การใช้ประโยชน์จากความแข็งของวสั ดุ
วัสดแุ ต่ละชนดิ มคี วามแขง็ แตกตา่ งกนั ออกไป เราจงึ เลอื กใช้ประโยชนจ์ ากสมบัติ
ด้านความแข็งของวสั ดุ เพ่ือใช้เป็นโครงสรา้ งหรอื ชน้ิ สว่ นของสง่ิ ของเครือ่ งใช้ ดังนี้

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 12

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ 13

๒.๒ การใช้ประโยชน์จากสภาพยดื หยนุ่ ของวสั ดุ
วัสดทุ ม่ี ีสภาพยืดหยุ่นเปน็ วสั ดทุ เี่ ปลี่ยนแปลงรูปร่างไดเ้ มอ่ื มแี รงกระทา
และจะกลับคนื สรู่ ปู รา่ งเดมิ ไดเ้ มื่อหยดุ ออกแรงกระทา เราสามารถนาสมบตั ิ
ดงั กล่าวมาใช้ทาสิ่งของเคร่อื งใช้ต่าง ๆ ดังน้ี

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 14

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ 15

๒.๓ การใชป้ ระโยชนจ์ ากการนาความร้อนของวัสดุ
ในการประกอบอาหารส่วนใหญ่มกั จะเกย่ี วข้องกับการใชค้ วามร้อน
เพ่ือทาให้อาหารสุก ดงั น้นั ของใช้ในครวั จึงตอ้ งทาจากวสั ดุที่สามารถ
นาความร้อนได้ เช่น เหลก็ อะลมู เิ นียม สเตนเลส เพือ่ ให้นาความร้อน
ไปยงั อาหารและทาให้อาหารสกุ ได้เร็ว แตอ่ งค์ประกอบสว่ นด้ามหรือหจู บั
ทาจากพลาสติกซ่งึ เปน็ ฉนวนความร้อน จึงทาใหค้ วามรอ้ นไมส่ ามารถ
ถา่ ยโอนมายงั มือของเราได้

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ หม้อ 16

ถุงมอื กันความรอ้ น เปน็ อปุ กรณท์ ี่ทาจากวสั ดทุ ี่เปน็ ฉนวนความรอ้ น
จงึ ปอ้ งกนั ไม่ให้ความร้อนถ่ายโอนมายงั มือเรา

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ ถุงมอื กันความร้อน 17

๒.๔ การใช้ประโยชนจ์ ากการนาไฟฟ้าของวสั ดุ
วสั ดุแต่ละชนิดมสี มบัติด้านการยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้
แตกต่างกัน เราสามารถนาสมบัติทแี่ ตกต่างกนั ดงั กล่าวมาใชป้ ระโยชน์
ในการทาส่งิ ของเครอ่ื งใช้ เชน่ เตา้ เสยี บ ซ่ึงทามาจากทง้ั วัสดุทนี่ าไฟฟ้า
เพื่อใหส้ ามารถนากระแสไฟฟา้ ไปยงั เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าใหส้ ามารถทางานได้
และวัสดทุ ่ีเป็นฉนวนไฟฟ้า เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หไ้ ฟฟ้าดดู

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.๔ เตา้ เสยี บ 18

แบบสอบปรนัยเพอื่ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๔ สมบตั ิของวสั ดรุ อบตวั เรา

สมบตั ขิ องวสั ดรุ อบตวั เรา ป.๔ 19

๑. สงิ่ ของในขอ้ ใดทามาจากวัสดชุ นิดเดยี วกัน

๑ ลูกแกว้ ยางรัด
๒ หม้อ ไม้แปรงฟนั

๓ สมดุ ผ้าขนหนู
๔ กระจกใส เลนส์แว่นขยาย

เฉลย ๔ เหตผุ ล กระจกใส เลนสแ์ ว่นขยาย ทามาจากแก้ว

ส่วน ๑ ลูกแกว้ ทามาจากแกว้

ยางรดั ทามาจากยาง

๒ หมอ้ ทามาจากโลหะและพลาสตกิ

ไม้แปรงฟนั ทามาจากพลาสติก

๓ สมุด ทามาจากกระดาษ

สมบัตขิ องวัสดุรอบตวั เรา ป.๔ ผา้ ขนหนู ทามาจากผ้า 20

๒. ขอ้ ใดเรียงลาดับความแขง็ ของวัตถุจากมากไปน้อยไดถ้ ูกต้อง

๑ A>B>C>D เฉลย ๔ เหตผุ ล
๒ B>C>D>A วตั ถุ D มคี วามแข็ง
มากทส่ี ุด รองลงมาคือ
๓ C>D>A>B B C และ A ตามลาดบั
๔ D>B>C>A

สมบัติของวัสดุรอบตัวเรา ป.๔ 21

๓.
วตั ถุ A และ B ไดแ้ ก่ข้อใด






เฉลย ๔ เหตุผล วัตถุ A จานพลาสตกิ ทามาจากพลาสตกิ เมอ่ื ใชต้ ะปูขดู จะเกิด
รอย เนื่องจากพลาสติกมีความแข็งแรงน้อยกว่าตะปู วัตถุ B แท่งเหล็กทามาจาก

โลหะเหมอื นกบั ตะปู เม่อื นามาขดู กันจงึ ไมเ่ กิดรอยขดู เพราะมีความแขง็ เท่ากัน

สมบัติของวสั ดรุ อบตวั เรา ป.๔ 22

๔. เฉลย ๒ เหตุผล A คือ ลูกโป่ง
เม่ือใช้น้ิวกดเกิดรอยบุ๋ม เม่ือปล่อย
A และ B คอื วสั ดุในข้อใด นิ้วท่ีกด รูปร่างกลับสู่สภาพเดิม
แสดงวา่ มสี ภาพยดื หยุ่น
๑ B คอื ดินน้ามนั เม่อื ใชน้ ิว้ กด
๒ เกิดรอยบุ๋ม เมอ่ื ปล่อยนิ้วทก่ี ด
๓ รูปร่างไม่กลบั สูส่ ภาพเดิม
๔ แสดงว่าไม่มสี ภาพยืดหย่นุ

สมบัตขิ องวสั ดรุ อบตวั เรา ป.๔ 23

๕. 24

ขอ้ ใดเป็นสมบตั ิของฟองนา้

๑ สภาพยืดหยุ่น
๒ ความเหนียว
๓ การนาไฟฟ้า
๔ ความแข็ง

เฉลย ๑ เหตุผล สมบัตดิ า้ นสภาพ
ยดื หย่นุ คือ การทวี่ ัตถุเปลี่ยนแปลง
รปู รา่ งไป แลว้ กลับส่สู ภาพเดิม

สมบัติของวัสดุรอบตัวเรา ป.๔

๖. ถา้ จัดจาแนกวัสดอุ อกเป็น ๒ กลมุ่ ดังนี้

กลุ่มที่ ๑ เหลก็ ทองแดง เงนิ

กลมุ่ ท่ี ๒ ไม้ กระเบือ้ ง พลาสติก

ข้อใดเป็นเกณฑ์ท่ใี ชจ้ ดั จาแนกวสั ดุ

๑ สี เฉลย ๔ เหตุผล
๒ พนื้ ผวิ กลมุ่ ที่ ๑ คือ ตัวนาความรอ้ น
เป็นวสั ดทุ ี่ยอมใหค้ วามร้อนผ่านไดด้ ี
๓ สภาพยดื หยุน่ กลมุ่ ท่ี ๒ คือ ฉนวนความร้อนเป็น
๔ การนาความรอ้ น วสั ดทุ ่ียอมให้ความรอ้ นผา่ นไดไ้ ม่ดี

สมบตั ขิ องวสั ดรุ อบตัวเรา ป.๔ 25

๗. ข้อใดกลา่ วถกู ต้อง

๑ ข้อ A และ B เฉลย ๒ เหตุผล B วสั ดทุ ่ยี อมใหค้ วามร้อน
๒ ข้อ B และ C ผา่ นไดด้ ี เช่น โลหะ เรยี กว่า ตวั นาความรอ้ น
C ด้ามจับกระทะเป็นฉนวนความร้อน เพื่อไม่ให้
๓ ข้อ A และ C นาความร้อนมายงั มือเรา
๔ ข้อ A B และ C สว่ น A ผ้า กระดาษ แก้ว เป็นฉนวนไฟฟา้

สมบัติของวสั ดรุ อบตวั เรา ป.๔ 26

๘. วัตถขุ ้อใดเป็นตวั นาไฟฟา้ ท้ังหมด

๑ ทองแดง แกว้ ยาง

๒ ไม้ สังกะสี เสน้ ด้าย

๓ เงนิ อะลมู ิเนยี ม ทองคา

๔ เหล็ก กระดาษ กระเบ้ือง

เฉลย ๓ เหตผุ ล เงิน อะลมู ิเนยี ม ทองคา เป็นตวั นาไฟฟ้า

เพราะยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี

ส่วน ๑ ทองแดง เป็นตวั นาไฟฟา้

แกว้ ยาง เป็นฉนวนไฟฟ้า

๒ ไม้ เส้นดา้ ย เปน็ ฉนวนไฟฟา้

สงั กะสี เปน็ ตัวนาไฟฟ้า

๓ เหล็ก เป็นตัวนาไฟฟา้

สมบัติของวสั ดรุ อบตัวเรา ป.๔ กระดาษ กระเบือ้ ง เป็นฉนวนไฟฟา้ 27

๙. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ การนาวสั ดมุ าใชป้ ระโยชนไ์ ม่เหมาะสม

๑ เหลก็ ใชท้ าหจู บั หม้อ
๒ โลหะ ใช้ทาแผ่นเตารดี

๓ ฟองนา้ ใชท้ าเบาะชดุ รบั แขก
๔ ยาง ใชท้ าหนา้ ไมเ้ ทเบลิ เทนนิส

เฉลย ๑ เหตุผล หจู บั หมอ้ ควรทาจากพลาสติก

เพราะเป็นฉนวนความรอ้ น ไมน่ าความรอ้ นมายังมอื เรา
ส่วน ๒ โลหะ ใชท้ าแผน่ เตารดี เพราะเปน็ ตัวนาความรอ้ น

ยอมให้ความร้อนผ่านได้ดี
๓ ฟองนา้ ใชท้ าเบาะชุดรบั แขก เพราะมสี ภาพยดื หยนุ่

และนุ่ม
๔ ยาง ใชท้ าหน้าไม้เทเบิลเทนนิส เพราะมสี ภาพยดื หยนุ่

สมบัติของวสั ดรุ อบตัวเรา ป.๔ 28

๑๐. เพราะเหตุใดต้องใช้ยางในการหมุ้ สายไฟฟ้า 29
ของเคร่ืองใชต้ า่ ง ๆ

๑ เพือ่ ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย
๒ เพือ่ ป้องกนั ไม่ให้ไฟฟา้ ดดู
๓ เพอื่ ให้สะดวกต่อการใช้งาน
๔ เพอ่ื ใหใ้ ชง้ านไดเ้ ปน็ ระยะเวลานาน

เฉลย ๒ เหตผุ ล การใช้ยางหมุ้ สายไฟฟา้
ของเครื่องใช้ตา่ ง ๆ เพื่อปอ้ งกันไมใ่ หไ้ ฟฟา้ ดูด
เน่อื งจากด้านในเปน็ ทองแดง ซ่งึ เป็นตวั นา
ไฟฟา้

สมบตั ขิ องวสั ดุรอบตัวเรา ป.๔


Click to View FlipBook Version