The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือครูนักเรียนและผู้ปกครองปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Paw.69426942, 2021-05-26 06:36:24

คู่มือครูนักเรียนและผู้ปกครองปีการศึกษา 2564

คู่มือครูนักเรียนและผู้ปกครองปีการศึกษา 2564

พระราชกระแสของ
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอย่หู วั

รัชกาลท่ี 10
ดา้ นการศกึ ษาในภาพรวม
1. สืบสานพระราชปณธิ านหรอื พระราชกระแสรบั สงั่ รัชกาลท่ี 9 เรอ่ื งการสร้างคนดี
2. การศกึ ษาต้องมงุ่ สรา้ งพื้นฐานใหแ้ กเ่ ดก็ ทัศนคตทิ ่ีถกู ต้อง (อปุ นสิ ยั ) ทม่ี นั่ คงเข้มแข็ง
มอี าชพี -มงี านทำ� ฯลฯ
3. เนน้ การสรา้ งทัศนคติ (Attitude)
4. การศกึ ษาในภาพรวมท�ำ อยา่ งไรให้เยาวชนมีความสนใจและเขา้ ใจ เรอ่ื งของสถาบนั
และประวตั ิศาสตร์
พระราชกระแสรับสั่งสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ฯ รัชกาลที่ 10 เรอ่ื งการศกึ ษา
เมื่อวนั ท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2560 เวลา 15.30 - 16.30 น.
ณ หอ้ งประชมุ สพฐ. 1 อาคาร 4 สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน











9





สารบญั

สัญลกั ษณ์โรงเรยี น 7
เพลงมาร์ชโรงเรียน 9
คุณธรรมพนื้ ฐาน 8 ประการ 10
ค�ำน�ำ 11
สารบัญ 12
ขอ้ มูลทว่ั ไปโรงเรียนอุตรดิตถ์ 13
โรงเรียนอตุ รดิตถ์ โรงเรยี นมาตรฐานสากล 21
ท�ำเนียบบุคลากรโรงเรียนอตุ รดิตถ์ 22
ฝ่า่ ยวิชิ าการ 44
งานแนะแนว 94
งานห้อ้ งสมุุด 100
งานประชาสััมพัันธ์์ 103
งานโสตทััศนศึกึ ษา 105
งานโภชนาการ 107
อาคารสถานที่� 109
ฝ่่ายกิจิ การนัักเรียี น 117
ทรงผมและการแต่่งกายที่่�ถููกต้้องตามระเบีียบของโรงเรียี น 123
ระเบีียบว่่าด้้วยการประพฤติปิ ฏิบิ ัตั ิติ นของนัักเรียี น 2562 131
ระเบียี บโรงเรีียนอุุตรดิิตถ์์ ว่า่ ด้ว้ ยการปกครองนักั เรียี น พ.ศ.2562 140
ระเบียี บโรงเรียี นอุตุ รดิติ ถ์์ ว่า่ ด้้วยคณะกรรมการเครืือข่า่ ยผู้�ปกครอง พ.ศ.2559 147
(ฉบัับปรัับปรุงุ พ.ศ.2563)
บทบาทหน้้าที่�คณะกรรมการเครืือข่า่ ยผู้�ปกครองโรงเรีียนอุตุ รดิิตถ์์ 152
การประกัันอุบุ ััติิเหตุุนักั เรีียน 161
กลุ่�มบริิหารงานงบประมาณ 164

12

ข้อมูลทัว่ ไปโรงเรียนอุตรดิตถ์

1. ภาพรวมของโรงเรียนอตุ รดิตถ์
โรงเรยี นอตุ รดติ ถ์ ตัง้ อย่เู ลขที่ 15 ถนนอินใจมี ตำ�บลทา่ อิฐ อ�ำ เภอเมือง จงั หวัด
อุตรดิตถ์ รหสั ไปรษณีย์ 53000 โทรศัพท์ 0-5541–1104 โทรสาร 0–5541–4074
เว็บไซต์โรงเรยี น https://www.utd.ac.th/ สังกดั สำ�นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาพิษณโุ ลก
อุตรดิตถ์ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปกี ารศึกษา 2552
โรงเรียนอตุ รดิตถไ์ ด้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตพื้นทีก่ ารศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1
ให้เปดิ หลักสตู รหอ้ งเรียนพเิ ศษดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
จำ�นวน 2 ห้อง และระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนปลายจ�ำ นวน 2 หอ้ ง ปกี ารศกึ ษา 2553
ได้รบั การคดั เลอื กเขา้ โครงการเสรมิ สร้างศักยภาพดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิง่ แวดล้อมใหเ้ ปดิ ห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จ�ำ นวน
1 ห้องเรียน และปกี ารศกึ ษา 2562 ได้รบั อนมุ ัตจิ ากส�ำ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
เขต 39 ให้เปดิ หลกั สตู รหอ้ งเรยี นพิเศษภาษาองั กฤษ INTENSIVE ENGLISH PROGRAM
(IEP) ปีการศกึ ษา 2563 ได้รับการอนมุ ตั ิจากสำ�นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา
พษิ ณโุ ลก อุตรดติ ถ์ ใหเ้ ปิดหลักสตู รหอ้ งเรียนพเิ ศษหลักสตู รเตรยี มวิศวกรรมศาสตร์
(Pre Engineering Program : PEP) และหอ้ งเรยี นพิเศษหลักสตู รอัจฉรยิ ภาพดา้ นไอซีที
(ICT Talent Program : ICT)

2. ประวตั ิของโรงเรยี นอุตรดิตถ์
เมอ่ื ปพี ทุ ธศกั ราช 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 5
ไดเ้ สดจ็ ประพาสอุตรดติ ถ์ (สมัยกอ่ นขนึ้ อยกู่ บั เมอื งพิชยั ) ทรงเหน็ ว่าชุมชน “บางโพ” มี
ความเจริญมากเป็นศนู ยก์ ลางทางการคา้ ของหัวเมืองทางเหนอื เป็นยา่ นชุมชนทีม่ ีผูค้ น
อาศยั อยมู่ ากมาย เรอื สินคา้ จากเมืองหลวง หรือเมืองทางใต้ น�ำ สนิ ค้ามาขายและเอาเมอื ง
ทา่ อฐิ นี้เปน็ จดุ รบั ส่งสินคา้ ไปยงั เมอื งทางเหนอื เช่น เชียงตงุ เชียงรุ้ง เชยี งราย เชยี งแสน
จงึ นับว่าเป็นเมอื งทา่ ท่ีสำ�คัญของประเทศสยาม พระองค์ทรงเหน็ ถงึ อนาคตของเมอื งท่าอฐิ
วา่ จะตอ้ งเป็นเมืองท่าทน่ี า่ จะเจริญยิ่งๆ ข้นึ ไปในอนาคต จึงทรงโปรดให้ย้ายตวั เมืองจาก
“เมอื งพชิ ัย” มาอยูท่ ี่บางโพ ต้ังแต่นนั้ เป็นตน้ มา จงึ ทำ�ใหเ้ มอื งบางโพเจริญยิ่งๆ ข้นึ มาเป็น
ล�ำ ดบั แลว้ ต่อมาก็เปลย่ี นชอ่ื จาก “บางโพ” เปน็ “เมอื งอุตรดิตถ์” มาจนกระทัง่ ปัจจบุ ันน้ี

13

ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รชั กาลที่ 5 พระองคท์ รงเหน็
ความส�ำ คัญในการศกึ ษาของเด็กไทย ทรงสง่ เสริมใหก้ ารศกึ ษาแกค่ นไทยอยา่ งทั่วถึง
ให้โอกาสแก่ประชาชนได้มีโอกาสเรียนหนังสือท่ีท้องถิ่นจึงได้จัดต้ังกระทรวงที่ดูแลงาน
ด้านการศึกษา ศาสนา และพยาบาล คือ “กระทรวงธรรมการ” ในปีพทุ ธศกั ราช 2450
จึงมีการจัดต้ังก่อสร้างโรงเรียนข้ึนทั่วประเทศสยามตามแนวพระราโชบายของพระองค์
ท่าน จึงนับไดว้ า่ เปน็ กา้ วที่ย่ิงใหญ่ของวงการการศกึ ษาของสยามประเทศ
ตามพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั รัชกาลท่ี 5
ทางจังหวดั อตุ รดิตถ์ จึงได้ก่อต้งั โรงเรียนข้นึ ในจังหวดั อตุ รดิตถ์ และทางจงั หวดั ไดเ้ หน็ ถงึ
ความสำ�คญั ของโรงเรียนในวัดต่างๆ ซ่งึ มศี กั ยภาพในการสอนหนงั สอื ดังน้ัน “วดั วังเตาหม้อ”
หรือวัดท่าถนนในปัจจุบันจึงเป็นวัดหนึ่งท่ีทางการเห็นว่าสมควรก่อต้ังให้เป็นโรงเรียนขึ้น
และตง้ั ชอื่ วา่ “โรงเรียนวัดทา่ ถนนวิทยาคม” ต้งั แตพ่ ทุ ธศกั ราช 2452 เปน็ ตน้ มา
โรงเรยี นอุตรดติ ถ์เป็นโรงเรียนประจำ�จังหวดั อุตรดิตถ์ สังกัดกรมสามัญศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเริ่มก่อตง้ั เมอ่ื ปี พ.ศ.2452 ณ บรเิ วณวดั ท่าถนน ต่อมาปี พ.ศ. 2471
ยา้ ยไปต้ังอยู่ที่บริเวณโรงเรียนอนุบาลอุตรดติ ถ์ ตอ่ มาเมอื่ ปี พ.ศ. 2484 ย้ายมาตัง้ อยู่
ณ ที่ตั้งปจั จุบนั เปิดสอนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น และเม่อื ปีพุทธศักราช 2495 เปล่ียนช่อื
จาก “โรงเรยี นประจำ�จงั หวัดอุตรดิตถ”์ เป็น “โรงเรียนอตุ รดติ ถ”์ โรงเรียนอตุ รดิตถ์ ได้
รบั รางวลั โรงเรียนพระราชทาน ประจำ�ปีการศกึ ษา 2534 ประเภท โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา
ขนาดใหญ่ ประจำ�ปกี ารศึกษา 2544 ประเภทโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญ่

3. ทตี่ ้ัง/ขนาด
โรงเรียนอตุ รดติ ถ์ ต้ังอยเู่ ลขท่ี 15 ถนนอนิ ใจมี ต�ำ บลทา่ อฐิ อำ�เภอเมือง จังหวดั
อุตรดิตถ์ มีเนอ้ื ท่ี ดังนี้
แปลงที่ 1 ทีต่ ั้งอาคารเรียน : ทีด่ นิ ราชพสั ดุ เขตเทศบาลเมืองอตุ รดติ ถ์ เนอื้ ท่ี
: 19 ไร่ 3 งาน 67 ตารางวา หลกั ฐานท่ีดินเลขท่ี (โฉนด) 5165 ทร่ี าชพสั ดุ เลขทะเบยี น
1420 เม่ือวนั ที่ : 17 พฤษภาคม 2484
แปลงที่ 2 ที่ดนิ ฝึกปฏิบัตกิ ารวิชาเกษตรกรรมนักเรยี น ตัง้ อยู่ ณ ต�ำ บลชัยจมุ พล
อำ�เภอลับแล จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ : ทดี่ นิ สาธารณประโยชน์ กระทรวงมหาดไทย มอบให้กรม
สามญั ศกึ ษา โรงเรียนอุตรดิตถ์ เป็นผดู้ ูแล เนอ้ื ที่ : 63 ไร่ 2 งาน 29 ตารางวา หา่ งจาก
แปลงที่ 1 ประมาณ 8 กโิ ลเมตร หลักฐานท่ีดนิ เลขที่ 9790 (หนงั สือสำ�คญั ส�ำ หรบั ทหี่ ลวง)
เม่ือวันที่ : 10 มิถุนายน 2525

1244



5. สภาพภูมิประเทศและชมุ ชนเขตพืน้ ที่บริการโรงเรยี นอุตรดิตถ์
โรงเรียนอุตรดิตถ์ ให้บริการการศึกษาช่วงช้ันที่ 3 ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น และ
ช่วงชั้นที่ 4 ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลายมีเขตพื้นทีบ่ ริการให้การศกึ ษา ดังน้ี
เขตพื้นทีบ่ รกิ ารชว่ งชนั้ ท่ี 3 ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ไดแ้ ก่ ต�ำ บลทา่ อฐิ (เขต
เทศบาลเมอื งอุตรดิตถ์) เขตตำ�บลท่าเสา และตำ�บลบ้านเกาะ
มีพ้นื ทบี่ รกิ าร ตามประกาศของสถานศึกษา และมสี ดั สว่ นการรบั นกั เรียนตาม
ประกาศส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน โดยมีคณุ สมบัติพ้ืนฐานดังน้ี
1. เปน็ นกั เรียนทีจ่ บการศกึ ษาในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 หรอื เทียบเทา่
ตามหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ
2. มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ย มีระเบียบวนิ ยั และอยู่รว่ มกบั ผ้อู นื่ ได้เปน็ อยา่ งดี
3. ผู้ปกครองมีความพร้อมท่ีจะให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียน
การสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือส่งเสริมพัฒนาและพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาใหน้ กั เรียนเกนิ มาตรฐานรฐั และคา่ ใช้จ่ายอ่นื ๆ ทโี่ รงเรยี นก�ำ หนด ตลอดเวลาท่ี
ศึกษาอยู่ในโรงเรยี น
4. ผู้ปกครองมีความพร้อมในการร่วมดูแลความประพฤติของนักเรียนกับทาง
โรงเรียนตลอดเวลาท่ีก�ำ ลังศกึ ษา
5. ในกรณีมที ีม่ คี วามจ�ำ เปน็ ตอ้ งรบั นักเรียนเพ่ิมเติมในระดบั ชั้นอนื่ ๆ ให้เป็นไป
ตามความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
การรับนกั เรยี นเขา้ ศึกษาในระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 มพี ื้นท่บี รกิ าร ตามประกาศ
ของสถานศึกษา และมสี ัดส่วนการรบั นกั เรียนตามประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน โดยมีคุณสมบตั พิ ืน้ ฐานดังน้ี
1. เปน็ นกั เรียนที่จบการศกึ ษาในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หรอื เทยี บเท่าตาม
หลกั สูตรการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ
2. มีความประพฤติเรยี บรอ้ ย มีระเบยี บวนิ ัย และอยู่รว่ มกบั ผูอ้ ่นื ได้เป็นอย่างดี
3. ผู้ปกครองมีความพร้อมที่จะให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียน
การสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานเพ่ือส่งเสริมพัฒนาและพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาให้นกั เรยี นเกนิ มาตรฐานรฐั และค่าใชจ้ ่ายอืน่ ๆ ทีโ่ รงเรียนกำ�หนด ตลอดเวลาท่ี
ศกึ ษาอย่ใู นโรงเรียน
4. ผู้ปกครองมีความพร้อมในการร่วมดูแลความประพฤติของนักเรียนกับทาง
โรงเรียนตลอดเวลาที่ก�ำ ลงั ศึกษา
5. ในกรณีมที ม่ี ีความจำ�เปน็ ต้องรบั นักเรยี นเพิม่ เตมิ ในระดบั ชน้ั อนื่ ๆ ใหเ้ ป็นไป
ตามความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

1264



6. แผนผังโรงเรยี นอุตรดิตถ์ แสดงทีต่ ั้งอาคารเรียนและอาคาร
ประกอบ

แผนผังท่ีต้งั โรงเรยี นอตุ รดติ ถ์
แสดงท่ตี งั้ อาคารเรียนและอาคารประกอบ

1. อาคาร 1 12. อาคารสมาคมศิิษย์เ์ ก่่า
2. อาคาร 2 13. บ้้านพัักผู้้�อำำ�นวยการ
3. อาคาร 3 14. บ้้านพักั ครูู
4. อาคาร 4 15. ห้อ้ งน้ำำ��นัักเรียี น
5. อาคาร 5 16. ป้้อมยาม
6. โรงฝึกึ งาน 1 และห้้องเรียี นแทบเล็็ต 17. สนามมวย
7. โรงฝึกึ งาน 2 18. มณฑปหลวงพ่่อเพชร
8. อาคารใหม่่ 19. ศาลพระพรหม
9. หอประชุมุ น้ำำ��เงิินชมพููและโรงอาหาร 20. ศาลาพีีระมิดิ
10. เรืือนพยาบาลและเรือื นเวชบุตุ ร 21. บ้้านพักั พนักั งานบริิการ
11. ศาลาธรรม(บรรหารมณีีรัตั น์)์

18







ทำ�เนียบบคุ ลากร

โรงเรียนอุตรดิตถ์

22

23

ฝา่ ยบริหารโรงเรียนอุตรดิตถ์

นายบญั ชร จันทรด์ า
ผ้อู ำ�นวยการโรงเรียนอตุ รดิตถ์

24

นางรงุ่ รัตน์ วาทหงษ์ นางสาวฤทธี กุลพรม
รองผ้อู �ำ นวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ รองผู้อำ�นวยการกลมุ่ บริหารทั่วไป

นายธนพงษ์ เกษศรี นายชาญฤทธ์ิ เตชา

รองผูอ้ �ำ นวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ รองผู้อำ�นวยการกลมุ่ บริหารบุคคล

24 25

นายเอนก อว่ มแจง นายพนพงษ์ คิดอา่ น
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน นายกสมาคมผ้ปู กครองและครู
โรงเรียนอตุ รดติ ถ์ โรงเรียนอุตรดติ ถ์

นายกัมพล หฤทยั วจิ ติ รโชค

ประธานเครือขา่ ยผปู้ กครองนกั เรียน
โรงเรียนอตุ รดิตถ์

26

คณะกรรมการบริหารโรงเรียน

นางทศพร เพียี สามารถ นายมานพ รัตั คธา นางอุศุ นา ธีีระวรรณ
หััวหน้า้ กลุ่�มบริิหารงานบุุคคล หััวหน้า้ กลุ่�มงานอาคารสถานที่่� หััวหน้า้ กลุ่�มงานอำำ�นวยการ

นายนิยิ ม เกตุกุ อ นางวัันเพ็็ญ ห่อ่ ทอง นายเกีียรติิศัักดิ์� แก้้วหล้้า
หัวั หน้้ากลุ่�มงานทะเบียี น และวััดผล หัวั หน้้ากลุ่�มงานแผนงานและสารสนเทศ หััวหน้้ากลุ่�มงานวิิชาการและหลักั สูตู ร

นางภัทั ณีี วงสกุลุ นายวงกต จุุงรังั สี ี
หัวั หน้้ากลุุ่ม� งานการเงินิ และพััสดุ ุ หัวั หน้า้ กลุ่�มุ บริหิ ารกิจิ การนักั เรียี น

27

งานแนะแนว

น.ส.หธัมวั หนนว้้ารงราณนแนคำะ�ำ แสนุวุ วร รณ น างพรรณนิกิ า ทองศิริ ิ ิ นางสุุธีรี า ดัังดีี

นางสหาัวยหปนญัา้ งญานาพสยาธุ บีราภลิญโญ นักนวาชิ งาวกาารรณุเงินี แแกล้วะผบัญัดชี นาหงัวอหุษนณา้ งแากนว้หไอ้ ทงรสหมงุดวน น.ส.อุมาพร สายพา

หัวหน้าระดบั ช้ัน

นางหดัวั วหงนฤ้า้ ทรัะยั ดัปบั ัันมน.1า วินิ หันาวัยหณนั้ชั้ารพะลดัับดีีอมุดุ.2ม หันวั าหยนช้า้ ลรธะดรัับคมงช.3ูู

นหัาัวยหวนิ้ิฑา้ ูรรู ะย์ด์ัับอิินมศ.ิ4ริ ิ ิ หันายัวธิหิตินิส้้ารรระคด์ั์บั แยม้้ม.5ม ูลู หันางวักัหลั นน้ิ้าิกราะดัศบั รีภีมิ.ริ 6มย์์

28

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา

นายมะเนศร์์ อ่อ่ นทอง

หััวหน้า้ กลุ่ม�ุ สาระ

นางเฉลียี ว ทับั อิ่�ม นายจิเิ รศ นาคมููล นายสมบููรณ์์ แว่่นวิชิ ัยั

นายสมชาย สุขุ สมบููรณ์ ์ นายมานพ รััตคธา นายสุพุ จน์์ ปานทอง

นายนิธิ ิิพััฒน์์ ไพเราะ น.ส.ธิิดารััตน์์ บุุญเมิงิ น.ส.วาสนา จันั ทร์์น้้อย

29

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

นางสุุดใจ มีจี ันั ทร์์

หัวั หน้้ากลุ่�มุ สาระ

นางศรีอี ุุบล อ่่วมแจง นายณัชั พล ดีดี ุุดม

นางดวงฤทัยั ปันั นาวินิ นายสมคิดิ อินิ ทร์ท์ รา นางทศพร เพีียสามารถ นางสาวิิตรีี เรือื นจัันทร์ ์ นางสุวุ ิิมล ยงไสว

นางพรชีวี ิิน นนทการ นางวราภรณ์์ สีีนาค นางอรชร จันั ทร์ผ์ ่อ่ ง นายพิิเชษฐ์์ จันั ทร์์ผ่อ่ ง น.ส.จิริ นันั ท์์ จิิตจง

นางจันั จิิรา จุลุ รังั สี ี นายวงกต จุลุ รัังสี ี นางธััญญลัักษณ์์ ปาด้้วง น.ส.สิริ ินิ ทร์ร์ ัตั น์์ แก้้วเปี้้�ย น.ส.สุกุ านดา แย้ม้ เยื้�อน

นางดวงกมล อภิิเดช นายนฤพนธ์์ น่ว่ มศิริ ิ ิ นายสุุรพััศ ฤทธิ์�หิรััญ น.ส.แสงแก้ว้ พานจัันทร์ ์ น.ส.ศิลิ ป์ศ์ ุุภา ติ๊�บตุ้�ย

30

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (คอมพิวเตอร์)

นายหเักัวียีหนร้ต้าิกชิ ัล่ัยุม�ุ สาแรสะนศรีี

นางขวัญั มณัฐั รวดพวง นายโกมุุท แก้ว้ ไทรหงวน นางนุสุ ลา รััฐธรรม

นางภััทณีี วงสกุลุ นายกิิตติิพงษ์์ สว่า่ งทิิตย์ ์ น.ส.นัทั ธ์ธ์ นััน ธนันั ฐิิติิรัตั น์์

น.ส.ชนกนาถ นมะภััทร

31

กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์

นายหววั ิฑหรูนยา้ ก์ เลขุ่มียสวารชะะอุ่ม

นายนิิยม เกตุกุ อ นางอััชรีี อุ่�นุ มาก นายเกีียรติศิ ัักดิ์� แก้ว้ หล้้า นางนฎานิิษฐ์์ มีศี ิิริิพัันธ์ุ�

นางระวีีวรรณ ดอนท้้วม น.ส.นวรััตน์์ เกตุุศรี ี นางวิไิ ลวรรณ ด้้วงรัักษา นางสรรค์ส์ ิิริิ สิินธุุวงศานนท์์

นางสายใจ เกรททิ ิ นางจัันทร์์แรม บุญุ ส่ง่ นางสุุรรณิกิ าร์์ ธนาบูรู ณศัักดิ์� น.ส.ประดิษิ ฐ์์พร ดิษิ บรรจง น.ส.เฉลิิมพร ทองศรีอี ้น้

น.ส.อนุุตรียี ์์ พานกุุหลาบ น.ส.สุุทธิริ ััตน์์ อิินมา นายนาวีี ศัักดาเดช นายมานพ ขัันเอียี นายณััฐวััฒน์์ กองปา

32

กลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งประเทศ

นาหงวั นหรินมา้ กลลุม่ชสยั าสระิทธิ์

นางปทุุมทิพิ ย์์ จรเกตุ ุ น.ส.จงรัักษ์์ ธีรี ะวรรณ นางกััลนิิกา ศรีภี ิิรมย์ ์ นางธััญญารััตน์์ พรหมแก้ว้ ต่อ่ นางวัันเพ็็ญ ห่อ่ ทอง
นางเตือื น พิิมพ์จ์ ันั ทร์ ์ น.ส.ธมนวรรณ คำ�ำ สุุวรรณ น.ส.ปััจฉิมิ า วานิชิ สรรพ์ ์ น.ส.จิินตนา อินิ ดา นางกรจิิรััสย์์ ชััยวัณั ณคุปุ ต์์
นางรัชั นีี เตชา น.ส.สฐาปรานีี เพ็็งปั้�น นายมานิธิ ธนคุณุ ากาญจน์์ น.ส.นิติ ยา แก้้วทองมา น.ส.กฤตยา ฉิิมกล่อ่ ม
น.ส.หนึ่�งฤทััย ศรีีจัันทร์์ น.ส.ชนกานต์์ พันั ธุ์�พิศาลสหกิิจ น.ส.พิิมพิชิ า คลังั สีดี า นายรัชั กฤช จันั ทรคุณุ าภาส นายจิริ วรรธ ท้ว้ มภู่�ทองดีี

33

กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ

นายหชัวูชหนาต้ากิ ลโรมุ่ จสนารอะงั กรู

นางอุุศนา ธีรี ะวรรณ นายประดิิษฐ์์ เหล็ก็ สิิงห์ ์ นางจัันทร์์ตรา ดีมี ููล

นายชลธร คงชู ู นางณััฐธยาน์์ ชััยวรรณธรรม นวยชวน ตันั แก้ว้

น.ส.เนตรดาว โพธิ์�สา นายณััฐภล ศักั ดิ์�สงวน นายธนกร บุญุ เอ็็ม

34

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

น.ส.สัญั ลัหกั ัวัษหณน้์า้ ์ กสล่กุุม�ุ ลุ สสาัรังะขะพิพิ ััฒน์์

นางเฉลิิมศรีี เลีียงกลกิิจ น.ส.กรอุุมา เกีียรติจิ ิิตมงคล น.ส.ฐปนีีย์์ พัันธชาติิ

นางอิ่�มฤทัยั สาหร่่าย นายทัพั ไทย ตัันติอิ ำำ�ไพ นางธนิกิ า สัังข์ม์ งคล นายชานน นพศรีี

นายนิิพนธ์์ หมููทอง น.ส.นิภิ าพร ฟูใู จ นายศุภุ ชััย คำ�ำ ใส น.ส.ศุุภาพิชิ ญ์์ พุ่�มสิริ ิโิ รจน์์

35

กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

นางสเุ พหวั ญ็ หนรัตา้ กนล์ มุ่จสาานระศรเี พ็ญ

น ายธงศัักดิ์� บุุญธนาธรรม นางจำ�ำ รอง สุุอรุณุ นางสายปััญญา สุธุ ีรี ภิิญโญ นางเฉลิิมรััตน์์ ชููเนีียม
น ายชโลธร จัันทร์์น้ำำ��ท่ว่ ม นายวิิวััฒชััย หล่ม่ ศรีี นายวิิฑููรย์์ อินิ ศิิริิ นางอรัญั ญา ยาสา
นายวัชั รศัักดิ์� แย้้งจันั ทร์ ์ น.ส.ปรียี าพร ใจนิ่�ม น.ส.ศิิริิพร อิินทรา น.ส.สาริิสา อิินจ่า่ ย
น.ส.นพรััตน์์ บุุญรักั ษ์ ์ นายชยุุตม์์ ปั้�นม่่วง

36

กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

นางกหฤัวัษหฏิน์้์�า้ ปิกิญลุ่ธม�ุ าสารกะาวิชิ ัยั

นายสุุธีรี ์์ สััตยาภรณ์์ นางอาภรณ์์ สอนจรููญ น.ส.เอื้�อมเดืือน อยู่�ไกล

นายมณฑล วังั วลสิินธุ์� นายวััชรพงษ์์ ยงไสว นายธิิติสิ รรค์์ แย้้มมูลู

นายวุุฒิิภัทั ร วงษ์ต์ าวันั

37

ครอู ัตราจ้าง (ลูกจา้ งช่ัวคราว)

นายทรงพล พรหมน้อ้ ย นายเลิศิ สุวุ ัฒั น์์ ทองก้อ้ นศิิลา นายณััฐภััทร กลัดั เจริญิ นางธนิิดา แก้ว้ คำำ�ฟูู
ครููอัตั ราจ้้างคอมพิวิ เตอร์์ ครูอู ัตั ราจ้า้ งคอมพิิวเตอร์ ์ ครูอู ัตั ราจ้้างคอมพิวิ เตอร์ ์ ครููอััตราจ้า้ งคอมพิวิ เตอร์์

น.ส.เขมภิมิ า ชาญวิิกรััย น.ส.ศิิริลิ ัักษณ์์ ศรีีเพชร น.ส.นิภิ าพิิมพ์์ พิิธรรมมา นายพัทั ธพล ไกรสร
ครูอู ััตราจ้า้ งภาษาจีนี ครููอัตั ราจ้้างภาษาจีีน ครูอู ัตั ราจ้า้ งภาษาจีนี ครููอััตราจ้้างนาฏศิิลป์์

Miss YI QIU YUN
ครููอััตราจ้้างภาษาจีนี

38

ลูกจา้ งชั่วคราว ส�ำ นกั งาน

นางระวีีวรรณ เชยเกลี้�ยง นางอิินทิิรา ขำ�ำ ฉา น.ส.ยลนภา บรรณากิจิ น.ส.ปาริิชาติิ แก้้วเทศ
ธุุรการโรงเรียี น งานวััดผลประเมินิ ผล งานพัสั ดุ ุ งานแผนงาน

น.ส.สุทุ ธินิ ีี คลิ่�นเพ็็ง น.ส.ศุภุ รัตั น์์ วงค์ด์ าว นางจิริ าพร อุชุ มวดีี น.ส.จิิตรา บััตรมาก
งานบุุคคล งานทะเบีียน งานห้อ้ งสมุุด งานพยาบาล

น.ส.บุศุ งราานวกดาีีรเศงิรินีีส ืบื วงหษ์ ์ ้้องนปาฏยิบิอังัติอกิ าาจรคอแมก้พ้วิผวิ ัเัดต อร์ ์ นง.สาน.วิปภิ ราะวีชี าแสัยมั ้้มพักันลธี์ีบ์ งนาานยโสณัตฐั ทััศเนดููปชกก้ร้อณง์ ์

ห้อ้ นง.ปสฏ.ิกิบัวตัิสิิิกราารคจอันัมทพิริว์์ดเตาอ ร์ ์ นายวโิปชิ รญแะกรพมเงมวอรรา์์สิทิ ธิ์�

39

พนักงานบริการ

นายสายััณห์์ ปัญั ญา นายสอาด มายรรยงค์ ์ นายขุุน เมือื งสำ�ำ นััก นายสมชาย ต่่ายลำำ�ยงค์์

พนักงานขับรถ

นายฉัตั รชััย ปิ่่น� แก้้ว นายพลวััฒน์์ วังั แสง

พนกั งานรกั ษาความปลอดภัย

นายพงษ์ศ์ ักั ดิ์� ม่ว่ งทิมิ นายปัญั ญา สุุขหอม นายมงคล สุขุ เกษม

40

พนกั งานรกั ษาความสะอาด

นางฉลวย สุุวรรณรอด นางดวงรััตน์์ ตาสดใส นางณัฎั ฐิิญา อ่่อนคง นางนุุชจรีีย์์ พููลบุญุ
นายเกรีียงศักั ดิ์� จััทร์์แจ่่มศรีี นายจรููญ พรมสุวุ รรณ์์ นายเดวิิด คงอยู่� นางจรููญ อินิ กล่ำำ��
นางสมร วังั แสง นายไพโรจน์์ สืบื สุนุ ทร นายรณกรานต์์ แม้น้ เดช

41

สมาชิกสภานักเรียนโรงเรียนอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2564

นายรพีีภัทั ร จันั ทร์เ์ เย้ม้ สงค์์
ประธานสภานักั เรียี น

รองประธานนาสยภณาฝพ่ิา่ ิชยญบ์ร์ ิหิ จัานั รทแาล ะปกครอง นราองงสปารวะนธ้ำ�ำา�ฝนนฝ่า่ ยกัวิันิชพากราหรม

นายวิศิ วิินท์์ เขาดี ี นายกฤตนูู ทาแก้้ว นายโชคทองแท้้ โยกเกณฑ์ ์ นายปฏิิภาณ เทพอาจ
หัวั หน้า้ ฝ่า่ ยสวััสดิิการ หััวหน้้าฝ่า่ ยสารวัตั รนัักเรียี น หััวหน้า้ ฝ่า่ ยบริหิ ารทั่�วไป หัวั หน้้าฝ่่ายนโยบายและแผน

นางสาววิจิ ิิตรา เทือื กจัันคำ�ำ นางสาวศิิลป์์ศุุภา ตัันคำ�ำ นายศักั ริินทร์์ สุวุ ิิลาวงษ์์ นางสาวเกศเพชร คลัังเพชร
หััวหน้า้ ฝ่่ายชุมุ ชนสัมั พัันธ์์ หัวั หน้้าฝ่่ายวัฒั นธรรมฯ หััวหน้า้ ฝ่่ายกิจิ กกรม หััวหน้า้ ฝ่่ายประชาสัมั พัันธ์์

นางสาวอรนภา เกิดิ อ่ว่ ม นายพงศกร รอดพวง นางสาวภัชั ชา พรรณา นายชัชั ติิภูมู ิิ อุ่�นเอมใจ
หััวหน้า้ ฝ่่ายกีฬี าและนัันทนาการ หััวหน้้าฝ่า่ ยกิิจกกรมพิเิ ศษ เหรัญั ญิิก เลขานุกุ าร

42

แนะนำ�

โรงเรียนอุตรดิตถ์

43

44

4259

ระเบยี บโรงเรียนอตุ รดติ ถ์
การวศ่าึกดษว้ ายขกน้ัารพว้นื ดั ฐแาลนะปพรุทะธเศมกันิ รผาลชกา2ร5เร5ยี 1น(ตฉาบมบั หปลรกัับสปูตรรุงแพกน.ศก.ล2า5ง60)

พ.ศ. 2564

------------------------------------------
โดยที่�โรงเรีียนอุุตรดิิตถ์์ ได้้ประกาศใช้้หลักั สููตรโรงเรียี นตามหลักั สููตรแกนกลางการ
ศึึกษาขั้�นพื้�นฐาน พุุทธศักั ราช 2551 ตามคำำ�สั่่�งกระทรวงศึึกษาธิกิ าร ที่� สพฐ. 293/2551 ลง
วันั ที่� 11 กรกฎาคม 2551 เรื่�อง ให้ใ้ ช้้หลัักสููตรแกนกลางการศึึกษาขั้�นพื้�นฐาน พุทุ ธศักั ราช
๒๕๕๑ และคำำ�สั่่�งกระทรวงศึกึ ษาธิิการที่� สพฐ. 1239/2560 เรื่�อง ให้้ใช้้มาตรฐานการเรียี นรู้�
และตัวั ชี้�วัด กลุ่�มสาระการเรีียนรู้�คณิติ ศาสตร์์ วิทิ ยาศาสตร์์และสาระภููมิศิ าสตร์์ ในกลุ่�มสาระ
การเรียี นรู้�สังคมศึึกษา ศาสนา และวััฒนธรรม (ฉบับั ปรับั ปรุงุ พ.ศ. 2560) ตามหลัักสููตรแกน
กลางการศึึกษาขั้�นพื้�นฐาน พุุทธศักั ราช 2551 จึึงเป็น็ การสมควรที่่�กำำ�หนดระเบีียบโรงเรีียน
อุตุ รดิติ ถ์์ ว่่าด้้วยการวัดั และประเมิินผลการเรีียน ตามหลักั สูตู รแกนกลางการศึกึ ษาขั้�นพื้�นฐาน
พุทุ ธศัักราช 2551 (ฉบัับปรับั ปรุุง พ.ศ. 2560) พ.ศ. 2564 เพื่�อให้้สามารถดำำ�เนินิ การได้อ้ ย่่าง
มีีประสิทิ ธิิภาพและสอดคล้้องกัับคำ�ำ สั่่�งดังั กล่่าว
ฉะนั้�น อาศัยั อำำ�นาจตามความในมาตรา 39 แห่่งพระราชบัญั ญัตั ิริ ะเบีียบบริิหาร
ราชการกระทรวงศึกึ ษาธิิการ พ.ศ.2546 และกฎกระทรวงแบ่่งส่ว่ นราชการ คณะกรรมการ
บริหิ ารหลักั สูตู รและงานวิิชาการสถานศึึกษาขั้�นพื้�นฐาน โดยความเห็็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศึึกษาขั้�นพื้�นฐาน จึึงวางระเบีียบไว้้ดังั ต่่อไปนี้�
ข้้อ 1 ระเบียี บนี้�เรียี กว่า่ “ระเบีียบโรงเรีียนอุตุ รดิติ ถ์์ ว่่าด้ว้ ยการวััดและประเมิินผล
การเรียี นตามหลัักสููตรแกนกลางการศึกึ ษาขั้�นพื้�นฐาน พุุทธศักั ราช 2551 พ.ศ. 2564”
ข้อ้ 2 ระเบียี บนี้�ให้้ใช้้บังั คัับตั้�งแต่่ภาคเรีียนที่� 1 ปีกี ารศึกึ ษา 2564 เป็็นต้้นไป
ข้อ้ 3 ให้้ยกเลิิกระเบีียบข้้อบัังคัับหรืือคำำ�สั่่�งอื่�นใดในส่่วนที่่�กำ�ำ หนดไว้้ในระเบีียบนี้�
หรืือซึ่�งขััดหรืือแย้้งกับั ระเบียี บนี้� ให้้ใช้ร้ ะเบีียบนี้�แทน
ข้อ้ 4 ระเบีียบนี้�ให้้ใช้ค้ วบคู่่�กับั หลักั สููตรสถานศึึกษาของโรงเรีียนอุุตรดิิตถ์์ ตามหลักั สููตร
แกนกลางการศึึกษาขั้�นพื้�นฐาน พุุทธศักั ราช 2551 (ฉบับั ปรับั ปรุุง พ.ศ. 2560) พ.ศ.2564
“ผู้�เรีียน” หมายถึึง นัักเรีียนโรงเรีียนอุตุ รดิิตถ์์
“ผู้�สอน” หมายถึงึ ครููที่่�ทำำ�หน้า้ ที่่�จััดการเรียี นรู้�ในโรงเรีียนอุตุ รดิิตถ์์

46

“หััวหน้้างานวััดและประเมินิ ผล” หมายถึึง ครูผูู้�สอนที่�โรงเรียี นแต่ง่ ตั้�งให้้ทำ�ำ
หน้้าที่�ในการจััดทำ�ำ ข้อ้ มููลเกี่�ยวกับั การวัดั และประเมิินผลของผู้�เรีียน
“นายทะเบีียน” หมายถึึง ครููผู้�สอนที่�โรงเรีียนแต่่งตั้�งให้ท้ ำำ�หน้้าที่�ในการจััดทำ�ำ
เอกสาร หลัักฐาน เกี่�ยวกับั การประเมินิ ผลของผู้�เรียี น
“ผู้�บริหิ ารสถานศึึกษา” หมายถึงึ ผู้้�อำ�ำ นวยการโรงเรียี นอุตุ รดิติ ถ์์
“สถานศึึกษา” หมายถึึง โรงเรียี นอุตุ รดิิตถ์์
“คณะกรรมการบริหิ ารหลัักสูตู รและวิิชาการของสถานศึึกษา” หมายถึึง ครูู
ผู้ �สอนที่ �โรงเรีียนแต่่งตั้ �งให้้ทำำ�หน้้าที่ �ในการมีีส่่วนร่่วมบริิหารงานหลัักสููตรและงานวิิชาการของ
โรงเรียี นอุตุ รดิิตถ์์
ข้อ้ 5 ให้ผู้้�บริิหารสถานศึกึ ษารักั ษาการให้เ้ ป็็นไปตามระเบียี บนี้�

หมวด 1
หลัักการดำ�ำ เนินิ การวัดั และประเมิินผลการเรีียนรู้�
ข้อ้ 6 การวัดั และประเมินิ ผลการเรีียนให้้เป็น็ ไปตามหลักั การดำำ�เนิินการต่่อไปนี้�
6.1 สถานศึึกษาเป็็นผู้�รับผิิดชอบการวััดและการประเมิินผลการเรีียนรู้�ของ
ผู้�เรีียน โดยเปิิดโอกาสให้ผู้้�ที่�เกี่�ยวข้อ้ งมีสี ่่วนร่่วม
6.2 การวััดและการประเมิินผลการเรีียนรู้� ต้้องสอดคล้้องและครอบคลุุม
มาตรฐานการเรีียนรู้ �/ตััวชี้ �วัดตามกลุ่ �มสาระการเรีียนรู้ �ที่ �กำ�หนดในหลัักสููตรและจััดให้้มีีการ
ประเมินิ การอ่า่ น คิดิ วิเิ คราะห์์และเขียี นคุณุ ลักั ษณะอันั พึึงประสงค์์ ตลอดจนกิิจกรรมพัฒั นาผู้�เรียี น
6.3 การวััดและประเมิินผลการเรีียนรู้�ต้องสอดคล้้องและครอบคลุุมมาตรฐาน
การเรีียนรู้�/ตัวั ชี้�วัดตามกลุ่�มสาระการเรียี นรู้�ที่�กำ�หนดในหลัักสูตู รสถานศึกึ ษา และจัดั ให้้มีกี าร
ประเมิินการอ่า่ น คิดิ วิเิ คราะห์์ และเขีียน คุณุ ลักั ษณะอัันพึึงประสงค์์ตลอดจนกิจิ กรรมพัฒั นาผู้�เรียี น
6.4 การวััดและประเมิินผลการเรีียนรู้�เป็็นส่่วนหนึ่�งของกระบวนการจััดการ
เรียี นการสอนต้อ้ งดำำ�เนิินการด้้วยเทคนิคิ วิธิ ีกี ารที่�หลากหลาย เพื่�อให้้สามารถวััดและประเมิิน
ผลผู้�เรีียนได้้อย่่างรอบด้้านทั้�งด้า้ นความรู้� ความคิิด กระบวนการ พฤติิกรรมและเจตคติิ เหมาะ
สมกัับสิ่�งที่่�ต้อ้ งการวัดั ธรรมชาติวิ ิชิ า และระดัับชั้�นของผู้�เรียี น โดยตั้�งอยู่�บนพื้�นฐานของความ
เที่�ยงตรง ยุตุ ิธิ รรมและเชื่�อถือื ได้้
6.5 การประเมิินผู้�เรียี นพิจิ ารณาจากพัฒั นาการของผู้�เรียี น ความประพฤติิ
การสัังเกตพฤติกิ รรมการเรียี นรู้�การร่ว่ มกิิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่�ไปในกระบวนการ
เรียี นการสอนตามความเหมาะสมของแต่่ละระดัับและรููปแบบการศึึกษา
6.6 เปิิดโอกาสให้้ผู้�เรีียนและผู้้�มีีส่่วนเกี่�ยวข้้องตรวจสอบผลการประเมิินผล
การเรียี นรู้�

47

6.7 ให้้มีีการเทีียบโอนผลการเรีียนระหว่่างสถานศึึกษาและระหว่่างรููปแบบ
การศึึกษาต่า่ ง ๆ
6.8 ให้้สถานศึกึ ษาจััดทำำ�และออกเอกสารหลักั ฐานการศึกึ ษา เพื่�อเป็็นหลัักฐาน
การประเมินิ ผลการเรียี นรู้� รายงานผลการเรียี น แสดงวุุฒิิการศึึกษาและรัับรองผลการเรียี นของ
ผู้�เรียี น

หมวด 2
วิิธีกี ารวััดและประเมินิ ผลการเรีียนรู้�
ข้อ้ 7 สถานศึึกษาต้้องดำ�ำ เนิินการวััดและประเมินิ ผลให้ค้ รบองค์ป์ ระกอบทั้�ง 4 ด้า้ น
คืือ กลุ่�มสาระการเรีียนรู้� 8 กลุ่�มสาระ การอ่า่ น คิิดวิิเคราะห์์และเขีียน คุุณลักั ษณะอันั พึงึ
ประสงค์์และกิิจกรรมพััฒนาผู้ �เรีียน
วิิธีีการวัดั และประเมิินผลการเรียี น มีอี งค์์ประกอบต่่าง ๆ ดังั แผนภาพที่� 1

แผนภาพท่ี 1 แสดงความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
7.1 การวัดั และประเมินิ ผลการเรียี นรู้�ตามกลุ่�มสาระการเรีียนรู้�ทั้�ง 8 กลุ่�มสาระ
ผู้้�สอนทำำ�การวััดและประเมิินผลการเรีียนรู้ �ผู้ �เรีียนเป็็นรายวิิชาตามตััวชี้ �วัด
ที่่�กำำ�หนด ในรายวิชิ าพื้�นฐานและตามผลการเรียี นรู้�ในรายวิิชาเพิ่�มเติิม ตามที่่�กำำ�หนดในหน่ว่ ย
การเรียี นรู้�ด้วยวิธิ ีกี ารที่�หลากหลาย จากแหล่ง่ ข้อ้ มูลู หลาย ๆ แหล่ง่ เพื่�อให้ไ้ ด้้ผลการประเมิิน
ที่�สะท้้อนความรู้�ความสามารถที่�แท้้จริงิ ของผู้�เรีียนโดย ทำำ�การวัดั และประเมิินผลการเรีียนรู้�
อย่า่ งต่่อเนื่�องไปพร้้อมกัับการจัดั การเรียี นการสอน ได้้แก่่ การสัังเกตพััฒนาการและความ
ประพฤติิของผู้�เรียี น การสัังเกตพฤติิกรรมการเรีียน การร่ว่ มกิิจกรรม และการทดสอบ ผู้�สอน
ควรนำ�ำ นวัตั กรรมการวััดและประเมิินผลตามสภาพจริิง เช่่น การประเมิินการปฏิิบัตั ิิงาน การ

48

ประเมิินจากโครงงาน หรืือการประเมิินจากแฟ้้มสะสมงาน ฯลฯ ไปใช้ใ้ นการประเมิินผลการ
เรียี นรู้�ควบคู่�ไปกับั การใช้แ้ บบทดสอบแบบต่่างๆ อย่่างสมดุลุ และต้้องให้ค้ วามสำำ�คััญกับั การ
ประเมิินระหว่่างภาค มากกว่่าการประเมินิ ปลายภาค และใช้เ้ ป็น็ ข้้อมูลู เพื่�อประเมิินการเลื่�อน
ชั้�นเรีียนและการจบการศึกึ ษาระดับั ต่า่ ง ๆ ดังั แผนภาพที่� 2

แผนภาพท่ี 2 แสดงองคป์ ระกอบการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูต้ ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
7.2 การประเมิินการอ่่าน คิิดวิิเคราะห์์และเขียี นของผู้�เรียี น
การประเมิินการอ่า่ น คิดิ วิเิ คราะห์์และเขียี น เป็น็ การประเมิินศักั ยภาพ
ของผู้�เรียี นในการอ่า่ น การฟััง การดูู และ การรับั รู้�จากหนัังสือื เอกสารและสื่�อต่า่ งๆ เพื่�อ
หาความรู้� เพิ่�มพูนู ประสบการณ์์ เพื่�อความสุุนทรียี ์์ และประยุกุ ต์ใ์ ช้้ แล้้วนำ�ำ เนื้�อหาสาระที่่�อ่่าน
มาคิดิ วิิเคราะห์์ นำ�ำ ไปสู่�การแสดงความคิดิ เห็็น การสังั เคราะห์์ สร้้างสรรค์์ การแก้ป้ ััญหาใน
เรื่�องต่่างๆ และถ่่ายทอดความคิิดนั้�นด้้วยการเขีียนซึ่�งสะท้้อนถึงึ สติปิ ััญญา ความรู้� ความเข้า้ ใจ
ความสามารถในการคิิดวิิเคราะห์์ แก้้ปััญหาและสร้า้ งสรรค์์จิินตนาการอย่่างเหมาะสม และมีี
คุุณค่่าแก่่ตนเอง สัังคมและประเทศชาติิ พร้้อมด้ว้ ยประสบการณ์์ และทัักษะในการเขีียนที่่�มีี
สำำ�นวนภาษาถููกต้้อง มีีเหตุผุ ลและลำำ�ดับั ขั้�นตอนในการนำ�ำ เสนอ สามารถสร้้างความเข้้าใจแก่่
ผู้้�อ่่านได้อ้ ย่า่ งชัดั เจนตามระดัับความสามารถในแต่่ละระดับั ชั้�น
การประเมิินการอ่า่ น คิดิ วิเิ คราะห์แ์ ละเขีียน สถานศึึกษาต้อ้ งดำำ�เนิินการ
อย่า่ งต่่อเนื่�อง และสรุปุ ผลเป็็นรายปีี/รายภาค เพื่�อวินิ ิิจฉัยั และใช้เ้ ป็น็ ข้้อมูลู ในการพัฒั นาผู้�เรียี น
และประเมินิ การเลื่�อนชั้�นเรีียนตลอดจนการจบการศึกึ ษาระดัับต่า่ งๆ

49

การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี นเป็นกระบวนการท่ีตอ่ เน่อื ง ดังแผนภาพที่ 3

แผนภาพที่ 3 แสดงการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
7.3 การประเมิินคุณุ ลักั ษณะอัันพึงึ ประสงค์ข์ องผู้�เรีียน
การประเมิินคุุณลักั ษณะอัันพึึงประสงค์์ เป็็นการประเมิินคุุณลักั ษณะที่�
ต้้องการให้เ้ กิดิ ขึ้�นกับั ผู้�เรียี น อันั เป็็นคุุณลัักษณะที่่�สังั คมต้้องการในด้้านคุณุ ธรรม จริิยธรรม
ค่่านิยิ ม จิติ สำ�ำ นึึก สามารถอยู่�ร่วมกับั ผู้�อื่�นในสัังคมได้อ้ ย่า่ งมีีความสุุข ทั้�งในฐานะพลเมือื งไทย
และพลโลก หลัักสูตู รแกนกลางการศึึกษาขั้�นพื้�นฐาน พุุทธศัักราช 2551 กำำ�หนดคุณุ ลัักษณะ
อันั พึงึ ประสงค์์ ๘ คุณุ ลัักษณะ การประเมิินให้ป้ ระเมิินแต่ล่ ะคุุณลักั ษณะ แล้ว้ รวบรวมผลการ
ประเมินิ จากผู้�ประเมินิ ทุุกฝ่า่ ยและแหล่่งข้้อมูลู หลายแหล่่ง เพื่�อให้้ได้้ข้้อมูลู นำำ�มาสู่�การสรุุปผล
เป็น็ รายปี/ี รายภาค และใช้เ้ ป็น็ ข้อ้ มูลู เพื่�อประเมิินการเลื่�อนชั้�นเรีียนและการจบการศึึกษา
ระดัับต่า่ งๆ ดังั แผนภาพที่� 4

แผนภาพท่ี 4 แสดงการวดั และประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

50


Click to View FlipBook Version