เรื่อง สระบุรีบ้านเรา หนังสืออ่านเพิ่มเติม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดย นางสาวณัฏธิภา จันทร์คำ โรงเรียนหนองแค "สรกิจพิทยา" จังหวัดสระบุรี สังกัด สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระบุรี
ค ำน ำ หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องสระบุรีบ้านเรา จัดสร้างขึ้ นส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา” ในสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา เพิ่มเติม ส 31202 ท้องถิ่นของเรา เพื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเนื้อหาในหนังสืออ่าน เพิ่มเติมเล่มนี้ แบ่งออกเป็ น 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี หน่วยที่ 4 สารพันมรดก นอกจากนี้ ในหนังสืออ่านเพิ่มเติมยังมีค าถามชวนคิดท้ายหน่วยให้นักเรียนได้ท า เพื่อทบทวน ความรู้และพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตัวของนักเรียนเอง ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับจังหวัดสระบุรี และจะน าไปสู่ความรัก ความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ตลอดจนเห็น ความส าคัญของการสืบทอดและอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นสระบุรีให้ด ารงอยู่ สืบไป ณัฏธิภา จันทร์ค า ก
สำรบัญ หน้า ค ำน ำ ก สำรบัญ ข หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทำง -สาระการเรียนรู้ประจ าหน่วยที่ 1 1 -ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดสระบุรี 2 -ค าขวัญจังหวัดสระบุรี 3 -สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี 4 - ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7 - ค าถามชวนคิดหน่วยที่ 1 12 หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต -สาระการเรียนรู้ประจ าหน่วยที่ 2 13 -ประวัติความเป็ นมาของจังหวัดสระบุรี 14 -ประวัติความเป็ นมาของอ าเภอต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรี 17 -ค าถามชวนคิดหน่วยที่ 2 37 หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี -สาระการเรียนรู้ประจ าหน่วยที่ 3 38 -แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 40 -แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ 45 -แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 48 -ค าถามชวนคิดหน่วยที่ 3 51 หน่วยที่ 4 สำรพันมรดก -สาระการเรียนรู้ประจ าหน่วยที่ 4 52 -ชาวไทยเชื้ อสายต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรี 54 -ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและงานประจ าปี ของจังหวัดสระบุรี 62 -ค าถามชวนคิดหน่วยที่ 4 66 บรรณำนุกรม ค ข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม หน่วยที่ 1 ที่ เปิดประตูสู่เมืองชุมทาง เรื่อง สระบุรีบ้านเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนหนองแค "สรกิจพิทยา" จังหวัดสระบุรี สังกัด สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระบุรี สำ หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 1 สาระการเรียนรู้ประจ าหน่วยที่ 1 : เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 1. สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี 1.1. ที่ตั้งและอาณาเขต 1.2. ลักษณะภูมิประเทศ 1.3. ลักษณะภูมิอากาศ 2. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.1.ทรัพยากรป่ าไม้ 2.2.ทรัพยากรสัตว์ป่ า 2.3.ทรัพยากรดิน 2.4.ทรัพยากรน ้า ผลการเรียนรู้ อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศที่มีผลต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสระบุรีได้ จุดประสงค์ 1. ระบุสภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรีได้ 2. สืบค้นลักษณะทางภูมิศาสตร์ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ โดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ที่หลากหลาย 3. อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศที่มีผลต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสระบุรีได้ 4. สืบค้นและน าเสนอเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสระบุรีได้ 5. มีความกระตือรือร้น ตั้งใจ และใฝ่ เรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัดสระบุรี
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 2 ข้อมูลทั ่วไปจังหวัดสระบุรี ภูมิภาค : ภาคกลาง ความหมายของชื่อ : เมืองที่ตั้งอยู่ใกล้หนองน ้าใหญ่ ชื่อเดิม : เมืองสระบุรี พ้ืนที่ : 3,582.63 ตารางกิโลเมตร สูงกว่าระดบัน้า ทะเล : ก าหนด ณ จุดที่ตั้งศาลากลางจังหวัด 14.99 เมตร เขตการปกครอง : แบ่งเป็ น 13 อ าเภอ 1.เมืองสระบุรี 5.วิหารแดง 9.พระพุทธบาท 13.เฉลิมพระเกียรติ 2.แก่งคอย 6.หนองแซง 10.วังม่วง 3.บ้านหมอ 7.เสาไห้ 11.หนองแค 4.มวกเหล็ก 8.ดอนพุด 12.หนองโดน ตราประจ าจังหวัด รูปมณฑปครอบรอยพระพุทธบาท ดอกไม้ประจ าจังหวัด ดอกสุพรรณิการ์ ต้นไม้ประจ าจังหวัด ต้นตะแบกนา
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 3 ค าขวัญจังหวัดสระบุรี “พระพุทธบาทสูงค่า เข ื่อนป่ าสกัชลสิทธ ์ิ ฐานผลิตอุตสาหกรรม เกษตรน าล ้าแหล่งเที่ยว หนึ่งเดียวกะหรี่ปั๊บนมดี ประเพณีตักบาตรดอกไม้งาม เหลืองอร่ามทุ่งทานตะวัน ลือลั่นเมืองชุมทาง”
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 4 1. ที่ต้งัและอาณาเขต จังหวัดสระบุรี ตั้งอยู่ภาคกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ กรุงเทพมหานคร ละติจูดที่14 องศา 31 ลิปดา43.59439 ฟิ ลิปดาเหนือ กับลองติจูดที่100 องศา 54 ลิปดา 35.58478 ฟิ ลิปดาตะวันออก ระยะทางจากกรุงเทพมหานครถึงจังหวัดสระบุรี ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ระยะทางประมาณ 108 กิโลเมตร (อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ-ศาลากลางจังหวัด) และ ตามทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ 113 กิโลเมตร และตามแม่น ้าเจ้าพระยา แยกเข้าแม่น ้าป่ าสักประมาณ 165 กิโลเมตร เนื้ อที่จังหวัดสระบุรีมีเนื้ อที่ทั้งหมด 3,576,486 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ2,235,30 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ0.70 ของพื้ นที่ประเทศ ภาพแผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตจังหวัดสระบุรี ที่มา https://shorturl.at/fpCH4 สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 5 จังหวัดสระบุรีมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ เขตอ าเภอเมือง อ าเภอหนองโดน อ าเภอพระพุทธบาท ติดต่อกับจังหวัดลพบุรี ทิศใต้ เขตอ าเภอวิหารแดง ติดต่อกับจังหวัดนครนายก เขตอ าเภอหนองแค ติดต่อกับจังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันออก เขตอ าเภอแก่งคอย และอ าเภอมวกเหล็ก ติดต่อกับจังหวัดนครนายก และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตก เขตอ าเภอหนองแค อ าเภอหนองแซง อ าเภอเสาไห้ อ าเภอบ้านหมอ และ อ าเภอดอนพุด ติดต่อกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. ลักษณะภูมิประเทศ พื้ นที่จังหวัดสระบุรีเป็ นส่วนหนึ่งของบริเวณลุ่มน ้าที่ราบลุ่มภาคกลาง สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป มีลักษณะแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด 3 ลักษณะ คือ 2.1. บริเวณที่ราบลุ่ม คือส่วนหนึ่งของที่ราบลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง ส่วนใหญ่คลุมพื้ นที่ด้านตะวันตก ของจังหวัด บางส่วนคลุมพื้ นที่ตอนกลางและด้านทิศใต้ของจังหวัด นับตั้งแต่ อ าเภอ พระพุทธบาท อ าเภอหนองโดน อ าเภอบ้านหมอ อ าเภอดอนพุด อ าเภอเสาไห้ อ าเภอเมือง สระบุรี อ าเภอหนองแซง จนถึงบางส่วนของอ าเภอหนองแคและอ าเภอวิหารแดง ส่วนใหญ่ มีลักษณะภูมิประเทศแบบที่ราบตะกอนน ้าพา ซึ่งที่ทั้งที่เป็ นที่ราบน ้าท่วมถึงและที่ราบเป็ นขั้นๆ หรือตะพักริมน ้า บริเวณที่ราบลุ่ม บริเวณเขาหย่อม (เขาเต้ีย) บริเวณเขาสูง
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 6 2.2. บริเวณเขาหย่อมหรือเขาเต้ีย มีลักษณะเป็ นเขาลูกโดด (Monad rock)กระจายตามบริเวณที่ ราบตอนกลางของจังหวัด อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอ มวกเหล็ก 2.3. บริเวณเขาสูง เกิดจากการวางตัวของแนวเทือกเขา โดยมีพื้ นที่บางส่วนอยู่ในเขตของทิวเขาดง พญาเย็นและทิวเขาเพชรบูรณ์ โดยมียอดเขาที่สูงที่สุดคือ ยอดเขาอินทนี มีความสูง 1,052 เมตร จากระดับน ้าทะเลปานกลาง 3. ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดสระบุรีมีลักษณะอากาศแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู (Tropical Savanna Climate, Aw) ระบบ จ าแนกประเภทภูมิอากาศของ Koppen มีฝนน้อย แห้งแล้งในฤดูหนาว และอุณหภูมิค่อนข้างสูงในฤดู ร้อน และค่อนข้างจะหนาวเย็นในฤดูหนาว และมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ภาพสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติเจ็ดคต โป่ งก้อนเส้า ที่มา https://travel.kapook.com/view153469.html อุณหภูมิจังหวัดสระบุรีเป็ นจังหวัดในภาคกลางและอยู่ลึกเข้ามาในแผ่นดิน ปกติมีอุณหภูมิ ค่อนข้างสูง จึงท าให้อากาศร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน ส่วนในฤดูหนาวไม่หนาวจัด โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย ตลอดปี 28-29 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33-34 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต ่าสุดเฉลี่ย 23-24 องศาเซลเซียส เดือนเมษายนเป็ นเดือนที่มีอากาศร้อนที่สุดในรอบปี ส่วนฤดูหนาวอากาศจะ หนาวที่สุดในเดือนมกราคม ฝน ที่เกิดขึ้ นในจังหวัดสระบุรีส่วนใหญ่ เป็ นฝนจากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และร่อง ความกดอากาศต ่า ที่พัดผ่านประเทศไทยตอนบน ทั้งปีมีจ านวนวันฝนตกเฉลี่ยประมาณ70-90 วัน นอกจากนี้ ในบางปี อาจมีพายุดีเปรสชั่นเคลื่อนผ่านเข้ามาในบริเวณจังหวัดสระบุรีหรือจังหวัดใกล้เคียง ท าให้มีฝนตกเพิ่มขึ้ นได้อีก อุทยานแห่งชาติ เจ็ดคต-โป่ งก้อนเส้า สายธารน ้า จากน ้าตก โกรกอีดก ลานดูดาว ในฤดูหนาว เห็ดแชมเปญ จากเส้นทาง ศึกษา ธรรมชาติ
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 7 1. ทรัพยากรป่ าไม้ ป่ าไม้ในจังหวัดสระบุรี ส่วนใหญ่มีสภาพเป็ นป่ าดิบแล้ง และป่ าเบญจพรรณ มีไม้ที่ส าคัญ ได้แก่ ไม้ยาง ไม้ตะเคียน ไม้เต็ง ไม้มะค่า ไม้ประดู่ เป็ นต้น ซึ่งป่ าไม้ของสระบุรี ประกอบด้วย ป่ าสงวน แห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน และพื้ นที่ป่ าลักษณะอื่นๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1. ป่ าสงวนแห่งชาติ 1.2.อุทยานและวนอุทยาน • อยู่ในเขตอ าเภอ พระพุทธบาทและอ าเภอ เมืองสระบุรี • เป็ นป่ าเบญจพรรณ • มีพื้ นที่บางส่วนเป็ นเขาหินปูน ป่ าพระพุทธบาท ป่ าพุแค • อยู่ในเขตอ าเภอมวกเหล็ก อ าเภอแก่งคอย และบางส่วนของ อ าเภอวิหารแดง • เป็ นป่ าดิบแล้งและป่ า เบญจพรรณ • ด้านตะวันออกติดต่อกับเขาใหญ่ ป่ ามวกเหล็ก ป่ าทับกวาง • อยู่ในเขตอ าเภอมวกเหล็กและ อ าเภอวังม่วง • เป็ นป่ าดิบแล้งและ ป่ าเบญจพรรณที่ถูกท าลาย ป่ าล าทองหลาง ป่ าล าพญากลาง • อยู่ในอ าเภอมวกเหล็ก • สภาพป่ าเดิมเป็ น ป่ าเบญจพรรณ • ปัจจุบันเป็ นป่ าเสื่อมโทรม ป่าลานท่าฤทธ์ิ • อยู่ในอ าเภอแก่งคอยใกล้กับ ป่ าเขาพระ • สภาพป่ าถูกท าลาย เป็ นป่ าเสื่อมโทรม เหลือสภาพ เป็ นภูเขาและเนินเขา ป่ าเขาโป่ ง-เขาถ ้าเสือ ในจังหวัดสระบุรี เขตต าบล มวกเหล็ก ต าบลมิตรภาพ อ าเภอมวกเหล็ก และต าบล ชะอม อ าเภอแก่งคอย มีพื้ นที่ส่วนหนึ่งครอบคลุมถึง อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีสภาพเป็นป่ าดิบแล้ง เนื้ อที่ ประมาณ 70,570 ไร่ คิด เป็น 5 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาพแสดงที่ตั้งและอาณาเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ที่มา https://www.khaoyainationalpark.com
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 8 1.3. พ้ืนที่ป่าลกัษณะอื่น ๆ ป่ าไม้ของสระบุรีนอกจากจะได้ประกาศเป็ นเขตป่ าสงวนแห่งชาติ และวนอุทยานแล้ว ยังมี พื้ นที่ป่ าในลักษณะอื่น ๆ เช่น สวนรุกขชาติมวกเหล็ก อยู่ในท้องที่อ าเภอมวกเหล็ก เนื้ อที่ ประมาณ 100 ไร่ และสวนพฤกษศาสตร์ภาคกลาง(พุแค) อยู่ในต าบลพุแค มีเนื้ อที่ประมาณ 1,850 ไร่ ปัจจุบันพื้ นที่ป่ าไม้ของจังหวัดสระบุรีส่วนใหญ่ได้ถูกท าลาย และถูกบุกรุกให้ลดลงเรื่อยๆ บริเวณที่มีป่ าไม้อุดมสมบูรณ์ส่วนใหญ่พบได้ในบริเวณภูเขาสูงชัน ซึ่งเป็ นเขตอุทยานแห่งชาติ เขตสวนรุกขชาติ และเขตสวนพฤกษศาสตร์เท่านั้น เดิมอุทยานแห่งชาติน ้าตก สามหลั่น เป็นเขตป่ า สงวนแห่งชาติ อยู่ใน ท้องที่อ าเภอเมืองสระบุรี อ าเภอหนองแค และ อ าเภอวิหารแดง เป็นป่ าดิบแล้งและ ป่ าไผ่รวก มีพื้ นที่ประมาณ 17,856 ไร่ ภาพอุทยานแห่งชาติน ้าตกสามหลั่น ที่มา https://shorturl.at/wCNUX ภาพสวนพฤกษศาสตร์พุแค ที่มา https://www.dnp.go.th/botany/garden/index.html
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 9 2. ทรัพยากรสัตว์ป่ า ป่ าในพื้ นที่จังหวัดสระบุรีมีไม่มากนัก โดยเฉพาะสัตว์ป่ าหายากจะพบได้น้อยมาก เนื่องจาก พื้ นที่ป่ าจ านวนมากถูกบุกรุกท าลาย เพื่อใช้ในการเกษตรกรรม ซึ่งมีผลต่อแหล่งที่อยู่ แหล่งหลบภัย จากศัตรูและแหล่งอาหารสัตว์ สัตว์ป่ าบางส่วนอพยพไปอยู่บริเวณอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยาน แห่งชาติเขาสามหลั่น และวนอุทยานน ้าตกเจ็ดสาวน้อย ส าหรับสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ไม่ปรากฏในพื้ นที่ จังหวัดสระบุรี สามารถจ าแนกสัตว์ป่ าที่พบในสระบุรี ได้ 4 ประเภท ดังนี้ 3. ทรัพยากรดิน โดยทั่วไปพบดินเหนียว ดินเหนียวปนทรายแป้ง ที่มีการระบายน ้าเลวหรือค่อนข้างเลวใช้ท า นาปลูกข้าว บางแห่งมีชั้นของสารจาไรไซท์อยู่ตื้ น มีปฏิกิริยาเป็ นกรด ซึ่งเป็ นพิษต่อข้าว บางแห่งอาจ มีน ้าท่วมท าให้ผลผลิตเสียหาย ส าหรับดินเหนียวที่มีการระบายน ้าดีและมีความลาดชันใช้ส าหรับ ปลูกพืชไร่ และไม้ผลบางแห่งพบชั้นกรวดหนาแน่นอยู่ตื้ นและบางแห่งถูกกัดกร่อน ส่วนที่มีความ ลาดชันสูงๆ จะเป็ นภูเขาบางแห่งพบชั้นหินพื้ นอยู่ตื้ น 4. ทรัพยากรแร่ธาตุ ลักษณะทางธรณีวิทยาบริเวณพื้ นที่จังหวัดสระบุรีพบหินและแร่ธาตุหลายชนิด ส่วนใหญ่ ประกอบไปด้วยหินตะกอน หินแปร หินดินดาน หินทรายแป้ง หินอัคนีและหินปูน ส่วนใหญ่วางตัวใน ทิวเขาดงพญาเย็น ทางอ าเภอพระพุทธบาท อ าเภอแก่งคอย และอ าเภอมวกเหล็ก นอกจากนี้ สภาพ หินปูนบางส่วนยังแปรสภาพเป็ นหินอ่อนและหินตะกอน ส่วนแร่ธาตุ ส่วนใหญ่พบแร่ทองแดง สังกะสี แคดเมียม และแมงกานีส สตัวเ์ล้ียงลกู ด้วยนม โดยทั่วไปพบกระรอก และกระจง กระแต ค้างคาวและสัตว์ขนาด เล็ก สัตว์ที่ขนาดใหญ่จะ พบใกล้เขาใหญ่ เช่น ช้าง เสือ เป็นต้น สัตว์ปี ก พบเห็นได้ง่ายใน สถานที่ต่างๆ เช่น นกเขา นก ปรอดสวน นก กางเขน เหยี่ยว นกแซงแซว นก กิ้ งโครง เป็นต้น สัตว์ สะเทินน้า สะเทินบก ที่พบเห็นได้ ทั่วไป เช่น คางคก อึ่งอ่าง กบ เป็นต้น สตัวเ์ล้ือยคลาน เป็นสัตว์ป่ ามีกระดูกสัน หลังและเลือดเย็น โดยทั่วไปมักจะพบ ตะพาบน ้า กิ้ งก่า จิ้ งเหลน งู แย้ เป็นต้น
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 10 5. ทรพัยากรน้า จังหวัดสระบุรี มีแหล่งน ้าสายส าคัญ ดังนี้ 5.1. แม่น้า ป่าสกั มีต้นน ้าที่เกิดจากการวางตัวของภูเขาในจังหวัดเลย ไหลผ่านจังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดลพบุรี และไหลผ่าน อ าเภอแก่งคอย อ าเภอเมือง อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี จากนั้นไหลผ่านอ าเภอ ท่าเรือ อ าเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วไหลไปรวมกับแม่น ้าเจ้าพระยาที่อ าเภอ พระนครศรีอยุธยา เฉพาะส่วนที่ไหลผ่านจังหวัดสระบุรีประมาณ 105 กิโลเมตร โดยมีเขื่อนป่ าสัก ชลสิทธ์ิเป็นแหล่งกกัเก็บน้ า อยูบ่ริเวณรอยต่อจงัหวดัลพบุรีกบัจงัหวดัสระบุรี 5.2. คลองมวกเหล็ก มีต้นก าเนิดอยู่บริเวณเทือกเขาอินทนี อ าเภอแก่งคอย ไหลไปทางทิศเหนือ ผ่านอ าเภอ มวกเหล็ก อ าเภอวังม่วง และไหลลงสู่แม่น ้าป่ าสัก เป็ นแนวแบ่งเขตจังหวัดนครราชสีมากับจังหวัด สระบุรี 5.3. ห้วยท่ามะปราง มีต้นก าเนิดจากบริเวณเขาโกรกสีดา ในอ าเภอแก่งคอย ไหลไปทางทิศตะวันตก ไปบรรจบกับ ห้วยแห้งที่บ้านท่ามะปราง และไหลไปบรรจบกับห้วยตะเคียน แล้วไหลลงสู่แม่น ้าป่ าสักในต าบล ปากเพรียว อ าเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 5.4. ห้วยใหญ่ มีต้นก าเนิดอยู่ที่เขาคลองใหญ่และเขาอินทนีในท้องที่อ าเภอแก่งคอย ไหลไปทางทิศใต้ผ่าน ต าบลชะอม เข้าเขตอ าเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก ในฤดูแล้งห้วยใหญ่จะตื้ นเขิน ส่วนฤดูฝน มักจะมีน ้าหลากและเกิดน ้าท่วมเกือบทุกปี
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 11 แผนที่แสดงเสน้ทางไหลผ่านของแม่น้า ป่าสกั
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 1 เปิ ดประตูสู่เมืองชุมทาง 12 1. นักเรียนคิดว่าแมน่้ าป่าสกัและเขื่อนป่าสกัชลสิทธ์ิมีความส าคัญต่อวิถีชีวิตคนสระบุรี หรือไม่ อย่างไร 2. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ใดบ้าง ที่นักเรียนคิดว่าเกี่ยวข้องกับการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม ในจังหวัดสระบุรี 3. นักเรียนจะช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในจังหวัดสระบุรีได้อย่างไรบ้าง ค าถามชวนคิด
หนังสืออ่านเพิ่มเติม หน่วยที่ 2 ที่ ย้อนรอยอดีต เรื่อง สระบุรีบ้านเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนหนองแค "สรกิจพิทยา" จังหวัดสระบุรี สังกัด สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระบุรี สำ หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 13 สาระการเรียนรู้ประจ าหน่วยที่ 2 : ย้อนรอยอดีต 1. ประวัติความเป็ นมาของจังหวัดสระบุรี 2. ประวัติความเป็ นมาของอ าเภอต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรี 2.1. อ าเภอเมืองสระบุรี 2.2. อ าเภอเสาไห้ 2.3. อ าเภอแก่งคอย 2.4. อ าเภอดอนพุด 2.5. อ าเภอบ้านหมอ 2.6. อ าเภอพระพุทธบาท 2.7. อ าเภอมวกเหล็ก 2.8. อ าเภอวังม่วง 2.9. อ าเภอวิหารแดง 2.10. อ าเภอหนองแค 2.11. อ าเภอหนองแซง 2.12. อ าเภอหนองโดน 2.13. อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ผลการเรียนรู้ อธิบายประวัติความเป็ นมาของจังหวัดสระบุรี และความเป็ นมาของอ าเภอต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรีได้ จุดประสงค์ 1. อธิบายประวัติความเป็ นมาของจังหวัดสระบุรีได้ 2. บอกความเป็ นมาของอ าเภอต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรีได้ 3. สืบค้นประวัติความเป็ นมาของจังหวัดสระบุรีและความเป็ นมาของอ าเภอต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรีโดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย 4. สืบค้นและน าเสนอเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของจังหวัดสระบุรีได้ 5. มีความกระตือรือร้น ตั้งใจ และใฝ่ เรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัดสระบุรี 6.
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 14 เมือง“สระบุรี” ถูกสันนิษฐานว่าตั้งขึ้ นประมาณ พ.ศ. 2092 ในรัชสมัยสมเด็จพระมหา จักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา สืบเนื่องมาจากยามมีศึกสงครามประชิดติดพระนคร ไม่สามารถเรียกระดม พลรักษาพระนครได้ทันท่วงที เพราะหัวเมืองต่าง ๆ ตามที่มีการแบ่งการปกครอง อยู่ห่างจากกรุงศรี อยุธยามาก จึงต้องตั้งเมืองใหม่ขึ้ น เพื่อให้สะดวกรวดเร็วและได้ผลทันต่อเหตุการณ์ยามเกิดศึกสงคราม ส่วนที่ตั้งเมืองสระบุรีคราวแรกไม่มีการก าหนดเขตแดนไว้แน่นอน สันนิษฐานว่าแบ่งมาจากบางส่วนจาก ทางเมืองลพบุรี แขวงเมืองนครราชสีมา แขวงเมืองนครนายก ตั้งขึ้ นเป็ นเมืองสระบุรี ทั้งนี้ เพราะเขตที่ตั้ง ขึ้ นเป็ นเมืองสระบุรี เป็ นเขตที่คลุมบางส่วนของแม่น ้าป่ าสัก ซึ่งสะ ดวกต่อการเดินทางไปทาง ภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ ส าหรับประวัติความเป็ นมาของสระบุรีมีปรากฏในหนังสือ เรื่อง “เที่ยวตามทางรถไฟ” พระนิพนธ์ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาด ารงราชานุภาพ ซึ่งได้ทรงอธิบายแยกเรื่องความ เป็ นมาของสระบุรี ในแต่ละยุคแต่ละสมัยดังนี้ “ท้องที่อันเป็ นเขตจังหวัดสระบุรีนี้ แต่โบราณครั้งเมื่อพวกขอมยังเป็ นใหญ่ ในประเทศนี้ อยู่ในทางหลวงสายหนึ่งซึ่งพวกขอมไปมาติดต่อกับราชธานีที่นครหลวง (ซึ่งเรียกในภาษาขอมว่า นครธม) ยังมีเทวสถานซึ่งพวกขอมสร้างเป็ นปรางค์หินไว้ตามที่ได้ตั้งเมือง ปรากฏอยู่เป็ นระยะ คือในเขตจังหวัดปราจีนบุรีมีที่อ าเภอวฒันานครแห่งหนึ่ง ที่ดงศรีมหาโพธ์ิแห่งหนึ่ง ต่อมาถึงเขตจังหวัด นครนายกมีที่ดงละครแห่งหนึ่ง แล้วมามีที่บางโขมดทางขึ้ นพระพุทธบาทอีกแห่งหนึ่ง ต่อไปก็ถึงลพบุรี ซึ่งเป็ นเมืองหลวงของมณฑลละโว้ที่พวกขอมมาตั้งปกครองแต่ที่ใกล้ล าน ้าป่ าสัก ซึ่งตั้งจังหวัดสระบุรี หาปรากฏสิ่งส าคัญครั้งขอมอย่างหนึ่งอย่างใดไม่ เพราะฉะนั้น เมืองสระบุรีเห็นจะเป็ นเมืองตั้งขึ้ นต่อเมื่อ ไทยได้ประเทศนี้ จากขอมแล้ว ข้อนี้ สมด้วยเค้าเงื่อนในพงศาวดารด้วยชื่อเมืองสระบุรีปรากฏในเรื่อง พงศาวดารเป็ นครั้งแรก เมื่อรัชกาลสมเด็จพระมหินทราธิราช…” “เมื่อพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองยกกองทัพมาล้อมพระนครศรีอยุธยา พระไชยเชษฐา เจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต ยกกองทัพเมืองเวียงจันท์ลงมาช่วยไทย เดินกองทัพเลียบล าน ้าป่ าสักลงมา พระเจ้าหงสาวดีให้พระมหาอุปราชคุมกองทัพไปซุ่มดักทางอยู่ที่เมืองสระบุรี ตีกองทัพ ประวัติความเป็ นมาของจังหวัดสระบุรี สมัยกรุงละโว้(ลพบุรี) ต่อมาถึงสมัยอโยธยา สมัยกรุงศรีอยุธยา
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 15 กรุงศรีสัตนาคนหุตแตกกลับไป ดังนี้ เป็ นอันได้ความว่าเมืองสระบุรีตั้งมาก่อน พ.ศ. 2112 แต่จะตั้ง เมื่อใดข้อนี้ ได้สันนิษฐานตามเค้าเงื่อนที่มีอยู่ คือ เมื่อในแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระราชบิดา ของสมเด็จพระมหินทราธิราชนั้น พระเจ้าหงสาวดีตะเบงชะเวตี้ ยกกองทัพเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2091 ในสมัยนั้นมีเมืองป้อมปราการเป็ นเขื่อนขัณฑ์กันราชธานีอยู่ทั้ง 4 ทิศ คือ เมืองสุพรรณบุรี อยู่ทางตะวันตก เมืองลพบุรีอยู่ทางทิศเหนือ เมืองนครนายกอยู่ทางทิศตะวันออก และเมืองพระประแดง อยู่ทางทิศใต้กองทัพพระเจ้าหงสาวดียกเข้ามาทางด่านพระเจดีย์สามองค์ข้างทิศตะวันตก กองทัพไทย จึงไปตั้งต่อสู้อยู่ที่เมืองสุพรรณบุรี รับข้าศึกไม่อยู่ต้องถอยเข้ามา เอาพระนครศรีอยุธยาเป็ นที่มั่น จึงได้ ชัยชนะ เป็ นเหตุให้เห็นว่า เป็ นเมืองที่ตั้งเป็ นเขื่อนขัณฑ์กันพระนครนั้นหาเป็ นประโยชน์ ดังที่คาดมา แต่ก่อนไม่สร้างป้อมปราการไว้ถ้าข้าศึกเอาเป็ นที่มั่นส าหรับท าการสงคราม แรมปี ตีพระนคร ก็จะกลับ เป็ นประโยชน์แก่ข้าศึก จึงให้รื้ อป้อมปราการเมืองสุพรรณบุรีเมืองลพบุรี และเมืองนครนายกเสีย ทั้ง 3 เมือง คงไว้แต่เมืองพระประแดงซึ่งรักษาทางปากน ้า อีกประการหนึ่งเห็นว่าที่รวบรวมผู้คนในเวลา เกณฑ์ทัพยังมีน้อยแห่งนัก จึงได้ตั้งตัวเมืองเพิ่มเติมขึ้ นอีกหลายเมือง ส าหรับเป็ นที่รวบรวมผู้คน เพื่อจะ ได้เรียกระดมมารักษาพระนครได้ทันท่วงทีในเวลาการสงครามมีมา อีกเมืองที่ตั้งใหม่ครั้งนั้นระบุชื่อไว้ ในหนังสือพระราชพงศาวดาร.แต่ทางทิศใต้กับทางทิศตะวันตก.คือ.เมืองนนทบุรี.1เมืองสาครบุรี1 (สมุทรสาคร) และเมืองนครไชยศรีเมือง 1 แต่ทางทิศอื่นหาได้กล่าวไม่เมืองสระบุรี(และเมือง ฉะเชิงเทรา) เห็นจะตั้งขึ้ นในคราวนี้ นั่นเอง คือตั้งเมื่อราว พ.ศ.2092 ก่อนปรากฏชื่อในพระราช พงศาวดารเพียง 20 ปี เหล่าเมืองที่ตั้งครั้งนั้น เป็ นแต่ส าหรับรวบรวมผู้คนดังกล่าวมาจึงก าหนดแต่เขต แดนมิได้สร้างบริเวณเมืองผู้รั้งตั้งจวนอยู่ที่ไหน ก็ชื่อว่าเมืองอยู่ตรงนั้น ไม่เหมือนเมืองที่ตั้งมาแต่ก่อน เช่น เมืองราชบุรีและเมืองเพชรบุรีเป็ นต้นเมือง ตั้งส าหรับรวบรวมคนเช่นว่ามานี้ มีอีกหลายเมือง พึ่งมา ตั้งบริเวณเมืองประจ าที่ทั่วกันต่อเมื่อรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์” นามเจ้าเมืองสระบุรีคนแรก ไม่ปรากฏหลักฐาน คงมีเพียงต าแหน่งบรรดาศกัด์ิเจา้เมืองสระบุรี ซึ่งปรากฏเด่นชัดในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช.เมื่อ พ.ศ.2125.ทราบแต่ว่า มีบรรดาศกัด์ิเป็น “พระสระบุรี” เท่านั้น โดยสันนิษฐานว่าน่าจะเป็ นคนไทยภาคกลาง มีหน้าที่คุมรักษาฉางข้าวไว้ให้ กองทัพครั้งยกไปตีเขมร ซึ่งคงจะเป็ นเพราะให้ชาวเมืองสระบุรีสมัยนั้น ท าไร่ท านาเก็บเกี่ยวไว้ส าหรับ งานสงคราม จวบจนถึงสมัยรัชกาลที่ 3 เจา้เมืองสระบุรีบรรดาศักด์ิเป็น “พระยาสุราราชวงศ์”ซึ่งตาม พงศาวดาร ว่าเป็ นชนเผ่าลาวพุงด า ซึ่งถูกเกณฑ์อพยพมาแต่ครั้ง เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก.(รัชกาล ที่1).พาทัพไปตีนครเวียงจันทร์(สมัยกรุงธนบุรี) แล้วมาตั้งรกราก ณ แขวงเมืองสระบุรี พ.ศ. 2324 ล่วงถึงสมัยรัชกาลที่ 4 ทางการมีการแต่งชื่อเจ้าเมืองใหม่ ดังนี้ สมัยรัตนโกสินทร์
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 16 เจ้าเมืองพระพุทธบาท (แกว้ประศักด์ิเมืองปรันตปะ) เดิมนามว่าขุนอนันตคีรี ตั้งใหม่เป็ น หลวงสัจจภัญฑคิรีศรีรัตนไพรวันเจติยาสันคามวาสีนพคูหาพนมโขลน เจ้าเมืองสระบุรีเดิมนามว่า ขุนสรบุรีปลัดตั้งใหม่เป็ น พระสยามลาวบดีปลัดต าแหน่งเจ้าเมือง ในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2435) มีการจัดรูปการปกครองใหม่ เป็ นเทศาภิบาล โดยจัดตั้งเป็ นมณฑล เทศาภิบาล จังหวัด อ าเภอ ต าบล หมู่บ้าน ลดหลั่นกันลงไป เมืองสระบุรีขึ้ นอยู่กับมณฑลกรุงเก่า มีการส่งข้าราชการมาปกครองแทนการตั้งเจ้าเมือง ส าหรับที่ตั้งเมืองสระบุรีครั้งแรกไม่ปรากฏหลักฐาน ที่แน่นอน ทราบแต่เพียงว่าตั้งอยู่ที่หัวจวน บริเวณบึงหนองโง้ง ใกล้วัดจันทบุรีต าบลศาลารีลาว ปัจจุบันคือต าบลเมืองเก่า อ าเภอเสาไห้มีพระยาสระบุรี(เลี้ ยง) เป็ นเจ้าเมืองปี พ.ศ. 2433 พระยาสระบุรี(เลี้ ยง) ถึงแก่กรรม จ่าเริงเป็ นเจ้าเมืองแทน ได้ย้ายศาลากลางเมืองสระบุรีไปอยู่ที่ บ้านไผ่ล้อมน้อย อ.เสาไห้(บ้านเรือนที่เจ้าเมืองสร้างอาศัยคือ ศาลากลางเมือง) จนถึงสมัยที่ พระยาพิชัยรณรงค์สงครามเป็ นเจ้าเมือง เห็นว่าตัวเมืองเดิมที่เสาไห้อยู่ห่างไกลจากทางรถไฟมาก (รัชกาลที่ 5 ได้โปรดให้สร้างทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือขึ้ นมาถึงเมืองสระบุรี เมื่อ พ.ศ.2439) ประกอบกับภูมิประเทศไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ในสมัยนั้น ยากแก่การขยายเมืองในอนาคต จึงได้สร้างศาลาขึ้ นใหม่ ณ บริเวณต าบลปากเพรียว การก่อสร้างเสร็จในสมัยเจ้าเมืองคนที่ 3 คือ พระยาบุรีสราธิการ (เป้า จารุเสถียร) บิดาของจอมพลประภาส จารุเสถียร ศาลากลางหลังเก่าได้รับใช้ประชาชนเมืองสระบุรีมาจวบกระทั่งปีพ.ศ. 2509 ก็ได้รื้ อและสร้าง ศาลากลางหลังใหม่ขึ้ นแทน ในสมัยของนายประพจน์ เรขะรุจิ ด ารงต าแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี ในสมัยนั้น
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 17 อ าเภอเมือง สระบุรี อ าเภอเสาไห้ อ าเภอแก่งคอย อ าเภอดอนพุด อ าเภอบ้านหมอ อ าเภอ พระพุทธบาท อ าเภอมวกเหล็ก อ าเภอวังม่วง อ าเภอวิหารแดง อ าเภอหนองแค อ าเภอหนองแซง อ าเภอหนองโดน อ าเภอ เฉลิมพระเกียรติ ประวัติความเป็ นมาของอ าเภอต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรี
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 18 อ าเภอเมืองสระบุรี ค าขวัญอ าเภอ พระพุทธฉายสูงค่า ครกหินชั้นดี ถิ่นคนดีมีน ้าใจ ล ้าสมัยเมืองชุมทาง ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอเมืองสระบุรีตั้งอยู่ทางตอนกลาง ค่อนไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขต การปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอวิหารแดงและอ าเภอหนองแค ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอแก่งคอย ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอหนองแซงและอ าเภอเสาไห้ ประวัติความเป็ นมา อ าเภอเมืองสระบุรี ตั้งอยู่ที่ ริมแม่น ้าป่ าสักตอนปากครองเพรียว ต าบลปากเพรียว มีลักษณะ ปากคลองกว้างและเรียวไปทางต้นคลอง คดเคี้ ยวไปมาชาวบ้านจึงเรียกว่า “คลองเพรียว” และเรียกว่า “ต าบลปากคลองเพรียว” ต่อมาเรียกสั้น ๆ ว่า “ปากเพรียว” เดิมอ าเภอเมืองสระบุรีตั้งอยู่ที่ต าบลปากเพรียวโดยขึ้ นตรงต่อจังหวัดสระบุรี ส่วนศาลากลาง จังหวัดเดิมอยู่ที่ต าบลเมืองเก่า อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ต่อมาทางราชการเห็นว่าอ าเภอเมือง สระบุรี อยู่ห่างจากที่ตั้งศาลากลางจังหวัด จึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็ น อ าเภอปากเพรียวเพื่อให้เหมาะสมกับ สภาพภูมิประเทศ ต่อมามีการสร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดนครราชสีมา ได้ผ่านต าบลปากเพรียว การคมนาคมทางบกสะดวกขึ้ น ต าบลปากเพรียว จึงได้เจริญขึ้ น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงได้มีพระบรมราชโองการให้ย้ายไปตั้ง ศาลากลางจังหวัดสระบุรี จากต าบลเมืองเก่า อ าเภอเสาไห้ มาตั้งที่ต าบลปากเพรียว อ าเภอ ปากเพรียว และได้เปลี่ยนชื่อเป็ นอ าเภอ เมืองสระบุรี ซึ่งได้ชื่อนี้ มาจนถึงปัจจุบัน ภาพพระพุทธฉาย ที่วัดพระพุทธฉาย ต าบลปากเพรียว อ าเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี ที่มา https://www.touronthai.com
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 19 อ าเภอเสาไห้ ค าขวัญอ าเภอ เสาตะเคียนคู่บ้าน ถิ่นข้าวสารพันธุ์ดี ผ้าทอหลากสี ประเพณีเรือยาว ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอเสาไห้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอพระพุทธบาทและอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอเมืองสระบุรีและอ าเภอหนองแซง ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอเฉลิมพระเกียรติและอ าเภอเมืองสระบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอท่าเรือ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) อ าเภอบ้านหมอ และอ าเภอพระพุทธบาท ประวัติความเป็ นมา พ.ศ.2437 พระราชวรินทร์ ได้จัดตั้งอ าเภอเสาไห้ขึ้ นที่บ้านสระแก้ว ต าบลศาลารีลาว พ.ศ.2433 เมื่อพระยาสระบุรี(เลี้ ยง)ถึงแก่กรรม จ่าเร่ง ได้ด ารงต าแหน่งแทน และย้ายที่ตั้งเมืองสระบุรี ไปอยู่ที่บ้านไผ่ล้อมน้อย ต าบลเสาไห้ ด้านทิศตะวันตกของวัดสมุหประดิษฐาราม จนมาสมัย พระยาสระบุรี(เชย) ได้ท าการย้ายเมืองสระบุรีไปตั้งที่บ้านเมืองเก่าอีกครั้ง พ.ศ.2099 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตัดแบ่งเขตท้องที่ของเมืองลพบุรีรวมกับเมือง นครนายกเอามารวมตั้งเป็ นจังหวัดสระบุรี เพื่อเป็ นการสะดวกในการระดมพล แต่ไม่ปรากฏหลักฐาน แน่นอนว่าเมืองสระบุรีที่ตั้งครั้งแรก ณ ที่ใด เพียงแต่ว่าที่ตั้งเมืองสระบุรี อยู่ที่บ้านหัวจวน ต าบลศาลา รีลาว ที่ตั้งปัจจุบัน คือ ต าบลเมืองเก่าโดยมีพระยาสระบุรี(เลี้ ยง)ได้ด ารงต าแหน่งผู้ว่าราชการ เมืองสระบุรี อ าเภอเสาไห้จัดตั้งขึ้ นเมื่อพ.ศ. 2437
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 20 ต านานชื่ออ าเภอเสาไห้ ชื่ออ าเภอเสาไห้เป็ นการกร่อนค ามาจากค าว่า “เสาร้องไห้” เป็ นต านานเรื่องเล่าของ เสาไม้ตะเคียนทอง ซึ่งมีขนาดความยาว 13 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.75 เมตร นับว่ามีขนาดใหญ่ต้น หนึ่ง ที่ไม่ได้รับการคัดเลือก เป็ นเสาเอกในการสร้างราชวังที่ประทับเชื้ อพระวงศ์ต่าง ๆ ในสมัย ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ นางตะเคียนที่สิงสถิตอยู่ เสียใจมาก ตกกลางคืนจึงแสดงอภินิหารลอยทวน น ้าขึ้ นมา ขณะลอยมานั้นชาวบ้านริมน ้าได้ยิน เสียงร้องไห้ และเสาดังกล่าวได้มาจมลงในบริเวณ คุ้งน ้าป่ าสัก ห่างจากที่ว่าการอ าเภอเสาไห้ปัจจุบัน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 50 เมตร บริเวณนั้นจึงถูกเรียกว่า “สาวร้องไห้” ต่อมา เหลือเพียงค าว่า “เสาไห้” พ.ศ.2529 ได้มีการก่อสร้างที่ว่าการอ าเภอแทนหลังที่ช ารุด พ.ศ. 2467 ขุนนราภัยพิทักษ์(นายป่ วน เขตนันท์) นายอ าเภอเสาไห้ ได้ท าการย้ายที่ตั้ง ที่ว่าการอ าเภอเสาไห้ มาสร้างขึ้ นใหม่ในปัจจุบัน โดยนายบุญยงค์ พงษ์บริบูรณ์ (นายกิมยัง แซ่อึ้ ง) เจ้าของตลาดเสาไห้ ได้ยกที่ดิน 8 ไร่เศษ เพื่อสร้างที่ว่าการอ าเภอเสาไห้ และสถานีต ารวจอ าเภอ เสาไห้ ตลอดจนบ้านพักข้าราชการ พ.ศ.2439 มีการย้ายเมืองสระบุรีไปตั้งที่ต าบลปากเพรียว อ าเภอเมืองสระบุรีจนถึงปัจจุบัน เมื่อเมืองสระบุรีย้ายไป ที่ว่าการอ าเภอเสาไห้ก็ไปตั้งที่บ้านไผ่ล้อมใหญ่ ปัจจุบัน คือ ต าบลสวน ดอกไม้ ประมาณ 3 ปี ก็ท าการย้ายที่ว่าการอ าเภอเสาไห้ไปอยู่ที่บ้านไผ่ล้อมน้อย ปัจจุบัน คือ ต าบลเสาไห้ บริเวณศาลเจ้าปู่ ตรงข้ามวัดสูง อ าเภอเสาไห้ ปัจจุบัน ภาพเสาไม้ตะเคียน(เสาร้องไห้) ที่วัดสูง อ าเภอเสาไห้ ที่มาhttps://saraburi2015.wordpress.com
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 21 อ าเภอแก่งคอย ค าขวัญอ าเภอ ถิ่นหลวงพ่อลาคู่เมือง รุ่งเรืองอุตสาหกรรม แก่งงาม ล ้าล าน ้าป่าสัก พระต าหนักวังสีทา ร าลึก ร.5 ผาเสด็จ เขตป่ า เขางาม นามเมืองแก่งคอย ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอแก่งคอยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอพัฒนานิคม (จังหวัดลพบุรี) และอ าเภอวังม่วง ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอเมืองนครนายก อ าเภอบ้านนา (จังหวัดนครนายก) และอ าเภอวิหารแดง ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอมวกเหล็ก ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอเมืองสระบุรีและอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ประวัติความเป็ นมา ค าว่า “อ าเภอแก่งคอย”เป็ นค าภาษาไทยแท้ อ่านและฟังเข้าใจทันที แต่ถ้าจะแยกค าออกจะได้ 2 พยางค์ ดังนี้ “แก่ง” หมายถึง หินตั้งขวางน ้าที่กีดที่ขวางกระแสน ้า ขยายความออกไปได้ว่าโขดหินที่โผล่ขึ้ น ขวางกระแสน ้าที่ปรากฏเห็นตามล าธาร ล าแม่น ้า “คอย” หมายถึง รอ รอคอย หรือการรอ การคอย ขยายความออกไปได้ว่า อาจจะเป็ นการรอ หรือคอยมิตรสหาย รอพาหนะเดินทางเพื่อขึ้ นล่องต่อไป รวมความว่า “แก่งคอย” หมายถึง บริเวณโขดหิน(แก่ง)ที่คนมานั่งรอคอยเรือโดยสารที่จะขึ้ น หรือร่องตามล าน ้าป่ าสัก ประชากรแก่งคอยที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ในแขวงแก่งคอยสมัยนั้น ส่วนมากเป็ น คนลาวที่อพยพมาจากนครเวียงจันทร์(กรุงศรีสัตนาคนหุต ช้างเผือกร่มขาวนครเวียงจันทร์)เดิมทีเป็ น แขวงเมืองชายแดนเมืองชัยภูมิกับเมืองนครราชสีมา การอพยพลงมาในสมัยนั้นอาศัยล าน ้าป่ าสักเป็ น ปัจจัยส าคัญ ส่วนใหญ่เป็ นครัวเชลยที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แห่งกรุงธนบุรีโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก(ต่อมาคือพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) กับพระ ยาสุรสีห์(บุญมา) เป็ นแม่ทัพยกกองทัพไทยขึ้ นไปปราบกบฏเวียงจันทร์ เมื่อได้รับชัยชนะแล้วได้กวาด
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 22 ต้อนครัวลาวลงมา ให้พ านักสร้างบ้านปลูกเรือนท ามาหากินอยู่ในเขตเมืองลพบุรีบ้าง เมืองสระบุรีบ้าง เป็ นต้น ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พ.ศ.2369 ประชากรที่แก่ง คอยไม่มีมากนัก ท้องที่แห่งนี้ เต็มไปด้วยป่ าไม้ใหญ่น้อยและเทือกเขา จะมีคนอาศัยปลูกบ้านเรือน ก็อยู่เฉพาะริมฝั่งแม่น ้าป่ าสักเป็ นบางแห่งเท่านั้น ที่ใดมีพื้ นที่ราบ ดินอุดมสมบูรณ์ดี ราษฎรก็พากันเข้า ไปจับจองบุกรุกถางป่ า เผาพง ท านา ท าไร่ ตั้งบ้านเรือนขึ้ นเป็ นกลุ่มย่านชุมชนค่อยเจริญเติบโตขึ้ น โดยล าดับ เมื่อชุมชนแก่งคอยมีจ านวนคนมากขึ้ น ทางราชการสระบุรีจึงก าหนดเขตนี้ ขึ้ นเป็ น “แขวง” มีการปกครองตนเองตามลักษณะการปกครองหัวเมือง ในสมัยนั้นเจ้าเมืองสระบุรีดูแลไม่ทั่วถึง จึงแต่งตั้งลูกหลานลาวอพยพที่มีอิทธิพลขึ้ นเป็ นหัวหน้า ประมาณปี 2370 จึงตั้งท้าวโนรีขึ้ นเป็ นหัวหน้า แขวง(เทียบเท่ากับนายอ าเภอในปัจจุบัน) ต่อมาท้าวโนรีมีความดีความชอบได้เป็ นที่ยกกระบัตรและ ต่อมาไดบ้รรดาศักด์ิเป็นคุณหลวง นามว่า “หลวงพลกรมราช” นับเป็ นนายอ าเภอคนแรกของอ าเภอ แก่งคอย ระหว่างปี พ.ศ. 2370 ที่ว่าการอ าเภอแก่งคอยที่แท้จริงนั้นไม่มี คงใช้บ้านเรือนของท่านหลวง พลกรมราชเป็ นตัวที่ว่าการอ าเภอ และต่อมามีการย้ายไปที่บ้านตาลเดี่ยว หลังจากนั้นมามีความเจริญ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองขึ้ นเรื่อย ๆ ในปี พ.ศ. 2497 คุณพระพายับได้ยกที่ดินให้ทางราชการสร้างที่ว่าการอ าเภอแก่งคอยพร้อมกับ สถานีต ารวจอ าเภอแก่งคอยจนเสร็จเรียบร้อย สามารถบริการประชาชนได้ในปี พ.ศ. 2505 ในสมัยของ นายพิบูลย์ ธุรภาคพิบูลย์ เป็ นนายอ าเภอแก่งคอยสมัยนั้น และใช้เป็ นที่ว่าการอ าเภอสืบมาจนถึง ปัจจุบัน
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 23 อ าเภอดอนพุด ค าขวัญอ าเภอ วิปัสสนาลือเลื่อง พระเครื่องหลวงพ่อเฮ็น ดีเด่นเครื่อง จักสาน กล่าวขานเรื่องงูเห่า นกเขาขันเสียงดี ประเพณีก าฟ้า ปลามีชุกชุม ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอดอนพุดตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอเมืองลพบุรี (จังหวัดลพบุรี) ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอบ้านหมอ อ าเภอท่าเรือ อ าเภอนครหลวง และอ าเภอบางปะหัน (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอหนองโดนและอ าเภอบ้านหมอ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอมหาราชและอ าเภอบ้านแพรก (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ประวัติความเป็ นมา อ าเภอดอนพุด เดิมเป็ นต าบลหนึ่งขึ้ นกับอ าเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี ต่อมาได้ยกฐานะขึ้ น เป็ นกิ่งอ าเภอ โดยรวบรวมเอาต าบลต่าง ๆ 4 ต าบล เข้าเป็ นเขตการปกครอง ได้แก่ ต าบลดอนพุด ต าบลดงตะงาว ต าบลบ้านหลวง และต าบลไผ่หลิว ตั้งเป็ นกิ่งอ าเภอดอนพุด ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2514 ต่อมาในปีพ.ศ.2536 กิ่งอ าเภอดอนพุด ได้รับการประกาศยกฐานะขึ้ นเป็ นอ าเภอดอนพุด โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 110 ตอนที่ 179 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2536 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2536 เป็ นต้นมา โดยมีนายประพนธ์ บุญช่วย เป็ นนายอ าเภอคนแรก เชื้ อสายเดิมของชาวบ้านอ าเภอดอนพุดและพื้ นที่ใกล้เคียง มีเชื้ อสายมาจากชาวพวน ซึ่งอพยพ มาจากเมืองเชียงของ หลวงพระบาง และนครเวียงจันทร์ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี ในครั้งแรกได้อพยพมาตั้งรกรากอยู่ที่บ้านบางกุ่ม และบ้านขล้อ ในเขตอ าเภอบางปะหัน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ต่อมาได้อพยพมาอยู่ที่บ้านหนองมน ต าบลบ้านหลวง อ าเภอดอนพุด จังหวัดสระบุรี ครั้งเมื่อเกิดไฟไหม้ที่บ้านหนองมน ได้มีการอพยพมาอยู่บ้านหนองกระทะ และต่อมามีการ อพยพมาอยู่ที่บ้านดอนพุด ซึ่งมีเขตติดต่อกับบ้านหนองกระทะมากขึ้ นเรื่อง ๆ จนกลายเป็ นชุมชนใหญ่ ส าหรับสาเหตุที่เรียกหมู่บ้านนี้ ว่า “บ้านดอนพุด” นั้นกล่าวคือ สมัยก่อนพื้ นที่บ้านดอนพุด เป็ น ดอน น ้าท่วมไม่ถึง และมีต้นพุดขึ้นอยู่มาก จึงเรียกท้องที่นี้ ว่า “ดอนพุด”และเนื่องจากที่ตั้งของที่ว่าการ อ าเภอตั้งอยู่ในเขตท้องที่ต าบลดอนพุด จึงได้เอาชื่อของต าบลนี้ ตั้งเป็ นชื่อของอ าเภอว่า “อ าเภอ ดอนพุด”
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 24 อ าเภอบ้านหมอ ค าขวัญอ าเภอ เผือกหัวโต แตงโมหวาน ถิ่นฐานอุตสาหกรรม นกน ้าทะเลเทียม ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอบ้านหมอตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอหนองโดน ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอท่าเรือ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอพระพุทธบาทและอ าเภอเสาไห้ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอดอนพุด ประวัติความเป็ นมา ในปี พ.ศ.2149ในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมแห่งกรุงศรีอยุธยา มีการค้นพบรอย พระพุทธบาท พระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงศรีอยุธยาได้เสด็จนมัสการพระพุทธบาท เป็ นประจ าปี สืบมาจน ทุกรัชกาล โดยอาศัยเส้นทางที่สร้างขึ้ นมาตั้งแต่ครั้งสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ซึ่งการสร้างถนนหลวงใน สมัยนั้นต้องใช้แรงงานช้างเป็ นจ านวนมาก เมื่อช้างเจ็บป่ วย ได้น าตัวไปรักษาที่วัดโคก โดยหมอควาญ ช้างบริเวณนั้นจึงเรียกว่า “วัดโคกบ้านหมอ” ซึ่งเป็ นที่มาของชื่อต าบลและอ าเภอบ้านหมอในปัจจุบัน แต่ก่อนนั้นมีต าแหน่งขุนโขลน เป็ นผู้ดูแลรักษามณฑปพระพุทธบาท อยู่ที่ "เมืองพระพุทธบาท" ซึ่งเป็ นเมืองจัตวาผู้ปกครองเมืองขึ้ นตรงต่อเมืองสระบุรี แต่เนื่องจากบริเวณเมืองพระพุทธบาทระยะนั้น เกิดโรงระบาดเป็ นไข้ป่ า ใครไปอยู่ก็อยู่ได้ไม่นานก็ล้มตาย ต้องเปลี่ยนต าแหน่งขุนโขลนกันบ่อย ๆ จนใคร ๆ ก็ไม่กล้าเข้าไปอยู่ จึงต้องย้ายที่ว่าการอ าเภอมาอยู่ที่ต าบลสะพานช้าง มาจนถึงรัชกาลที่ 5 จึงได้ย้ายที่ท าการจากต าบลบางโขมด (สะพานช้างเดิม) ไปตั้งที่ต าบลขุนโขลนเรียกว่า “ศาลาว่าการ อ าเภอพระพุทธบาท” ต่อมาปี พ.ศ.2445 มีการสร้างทางรถไฟไปถึงลพบุรี ต าบลหนองโดนก็มีทางรถไฟผ่าน ครั้นปี พ.ศ.2456 ในสมัยรัชกาลที่ 6 พระพุทธบาทเกิดโรคห่าระบาดขึ้ น จึงได้ย้ายที่ว่าการอ าเภอ ไปตั้งที่
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 25 ต าบลหนองโดน เพื่อสะดวกต่อการคมนาคมในสมัยนั้น และเปลี่ยนชื่อเป็ น “ที่ว่าการอ าเภอหนองโดน” บ้านหมอและพระพุทธบาทก็กลายเป็ นต านานหนึ่งของอ าเภอหนองโดน ต่อมา พ.ศ.2464 มีการค้นพบดินขาวที่ใช้ผสมปูนซีเมนต์ได้ที่บ้านหมอ และมีการจ้างกรรมกร ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นคนจีนขุด ขนส่งไปป้อนโรงงานที่บางซื่อ จากชุมชนเล็ก ๆ บ้านหมอ ก็ได้ขยายตัวจนเป็ น ชุมชนที่ใหญ่ขึ้ นตามล าดับ จนในปี พ.ศ.2484 บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ ากัด ได้มาตั้งโรงงานที่ท่า ลาน ต าบลบ้านครัว ประกอบกับที่ว่าการอ าเภอ หนองโดนอยู่ในสภาพที่ทรุดโทรม ทางราชการ ไม่มีงบประมาณซ่อมแซม หลวงพัฒน์ พงศ์พานิช (พ่อค้าคหบดีชาวจีน ต้นสกุล “ผู้พัฒน์”) ได้สร้าง ที่ว่าการอ าเภอให้ใหม่ที่ต าบลบ้านหมอ และย้าย อ าเภอมาไว้ที่นี่ อ าเภอใหม่จึงชื่อว่า “ที่ว่าการอ าเภอ บ้านหมอ” สืบมาจนปัจจุบัน ส่วนหนองโดนและพระ พุทธบาทก็กลายเป็ นต าบลของอ าเภอบ้านหมอ และ ยกฐานะขึ้ นเป็ นอ าเภอในเวลาต่อมา ภาพหลวงพัฒน์ พงศ์พานิช ผู้สร้างที่ว่าการอ าเภอบ้านหมอ ที่มา http://www.reurnthai.com
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 26 อ าเภอพระพุทธบาท ค าขวัญอ าเภอ มะพร้าวเผาน ้าหวาน ปูนมาร์ลชั้นดี พระพุทธบาท เป็ นศรี ประเพณีตักบาตรดอกไม้ ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอพระพุทธบาทตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอเมืองลพบุรีและอ าเภอพัฒนานิคม (จังหวัดลพบุรี) ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอเสาไห้และอ าเภอบ้านหมอ ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอพัฒนานิคม (จังหวัดลพบุรี) อ าเภอเฉลิมพระเกียรติและ อ าเภอเสาไห้ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอหนองโดน ประวัติความเป็ นมา อ าเภอพระพุทธบาทเป็ นอ าเภอหนึ่งของจังหวัดสระบุรี เดิมเคยเป็ นกิ่งอ าเภอ ขึ้ นอยู่กับการ ปกครองของอ าเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี ต่อมาเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2499 ได้มีพระราชกฤษฎีกา ประกาศยกฐานะของกิ่งอ าเภอพระพุทธบาท ขึ้ นเป็ นอ าเภอพระพุทธบาท เดิมในสมัยโบราณ เมื่อยังไม่มีอ าเภอพระพุทธบาทนั้น การปกครองบริเวณพระพุทธบาทสมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชกาล สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ได้โปรดก าหนดเขตท้องที่จากรอย พระพุทธบาทออกไปด้านละโยชน์ (16 กิโลเมตร) และทรง ตั้งเมืองพระพุทธบาทขึ้ น จัดเป็ นเมืองชั้นจัตวาขึ้ นกับ กรุงศรีอยุธยา นามพระพุทธบาทจาก “อธิบายเรื่องพระบาท” ของ สมเด็จกรมพระยาด ารงราชานุภาพ ในหนังสือบุญโณวาท ค าฉันท์ ความว่า “ในรัชกาลพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ.2163- 2171) มีพระภิกษุไทยออกไปถึงลังกาทวีป จะไปบูชารอย พระพุทธบาทที่เขาสุมนกูฏพระสงฆ์ลังกา ถามว่ารอยพระพุทธ บาทมีถึง 5รอย ที่เขาสุวรรณบรรพต ซึ่งอยู่ในประเทศไทยก็ ปรากฏรอยพระพุทธบาท ท าไมจึงไม่ไปบูชารอยพระพุทธบาท ภาพรอยพระบาทภายในมณฑป วัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ที่มา https://www.silpa-mag.com
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 27 ที่นั่น ต้องออกไปบูชาถึงลังกาทวีป เมื่อภิกษุสงฆ์ไทยกลับมาแล้ว จึงน าความกราบบังคมทูลให้ทรง ทราบ พระเจ้าทรงธรรมจึงได้โปรดตราสั่งไปถึงหัวเมืองต่าง ๆ ให้เที่ยวส ารวจตรวจค้นตามภูเขาต่าง ๆ ว่าจะมีรอยพระพุทธบาทอยู่ ณ ที่แห่งใด ตามที่พระสงฆ์ลังการบอกหรือไม่ ในครั้งนั้น ผู้ว่าราชการเมืองสระบุรีสืบทราบความจากพรานบุญว่า ครั้งหนึ่ง ออกไปท าการไล่เนื้ อในป่ าริมเนินเขาสุวรรณบรรพต ยิง ถูกเนื้ อบาดเจ็บล าบาก หนีขึ้ นไปบนไหล่เขาเข้าไปในพุ่มไม้เชิงป่ า หายไป พอบัดเดี๋ยวก็เห็นเนื้ อตัวที่ถูกยิงวิ่งออกมาเป็ นปกติ จึง ประหลาดใจขึ้ นไปดูบนเชิงเขานั้นเห็นมีรอยเท้าคนขนาดยาว ประมาณ 1 ศอกเศษ และมีน ้าขังอยู่ในรอยเท้านั้น ก็ส าคัญเอาว่า เนื้ อคงหายบาดแผลเพราะกินน ้านั้น จึงตักเอามาลองทาตัวดูกลาก เกลื้ อนที่เป็ นอยู่ช้านานก็หายหมด ผู้ว่าราชการเมืองสระบุรีจึง ออกไปตรวจดูเห็นมีรอยจริงดังพรานบุญว่า จึงมีใบบอกไปยังกรุง ศรีอยุธยา พระเจ้าทรงธรรมจึงเสด็จออกไปทอดพระเนตร ทรง พระราชด าริวิเคราะห์เห็นเป็ นรอยพระพุทธบาท ตรงตามที่ พระภิกษุลังกาบอกมาเป็ นแน่แท้ ก็ทรงโสมนัสศรัทธาด้วยทรงเห็น ว่า เป็ นบริโภคเจดีย์เนื่องชิดติดต่อถึงพระพุทธองค์ประเสริฐกว่า อุทเทสิกเจดีย์ เช่น พระพุทธรูป และพระสถูปเจดีย์ ซึ่งเป็ นของที่ สร้างขึ้ นโดยสมมติจึงโปรดให้สร้างขึ้ นเป็ นมหาเจดียสถาน มีพระมณฑปสวมรอยพระพุทธบาท และ สังฆารามที่พระภิกษุอยู่บริบาล และสร้างบริเวณ พระราชนิเวศน์ที่เชิงเขาพระพุทธบาทแห่งหนึ่งที่ ท่าเจ้าสนุก ล าน ้าป่ าสัก แห่งหนึ่ง ส าหรับประทับ เวลาเสด็จไปบูชา แล้วโปรดให้ฝรั่งชาติฮอลันดา ส่องกล้องท าถนนตั้งแต่ท่าเรือขึ้ นไปจนถึงเขา สุวรรณบรรพต เพื่อให้เป็ นทางมหาชนไปมาได้ สะดวก และทรงพระราชอุทิศที่ดินหนึ่งโยชน์ โดยรอบพระพุทธบาท ที่บริเวณพระราชอุทิศนั้น ได้นามว่า “เมืองปรันตปะ” หรือเรียกกันเป็ น สามัญว่า “เมืองพระพุทธบาท” และเกิดเทศกาล มหาชนขึ้ นไปสักการบูชารอยพระพุทธบาทใน กลางเดือน 3 ครั้งหนึ่ง และกลางเดือน 4 อีกครั้งหนึ่ง ตั้งแต่นั้นมาตราบเท่าทุกวันนี้ ภาพมณฑปครอบรอยพระบาท ที่มา https://www.silpa-mag.com ภาพทางขึ้นไปบูชารอยพระบาท ที่มา https://www.silpa-mag.com
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 28 อ าเภอมวกเหล็ก ค าขวัญอ าเภอ เนื้ อนุ่ม นมดี กะหรี่ปั๊บดัง คลังเครื่องหนัง วังรีสอร์ต ยอดน ้าตก ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอมวกเหล็กตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกและ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขต การปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติ ดต่ อกับ อ า เ ภ อพัฒ นา นิ ค ม อ า เ ภ อท่ า ห ลว ง อ า เ ภ อชัย บ า ดา ล และอ าเภอล าสนธิ(จังหวัดลพบุรี) ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอเมืองนครนายก (จังหวัดนครนายก) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอสีคิ้ วและอ าเภอปากช่อง (จังหวัดนครราชสีมา) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอแก่งคอยและอ าเภอวังม่วง ประวัติความเป็ นมา อ าเภอมวกเหล็ก เดิมเป็ นต าบลหนึ่งขึ้ นอยู่กับ อ าเภอแก่งคอย ซึ่งเป็ นอ าเภอที่มีพื้ นที่กว้างขวาง การเดินทางระหว่างต าบลต่าง ๆ ยากล าบาก ต่อมาจึงแบ่งการปกครองของอ าเภอแก่งคอยออก โดย แยกเป็ น ต.มวกเหล็ก ต.ค าพราน และ ต.แสลงพัน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2511 มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งอ าเภอขึ้นมาใหม่ เป็ นการจัดตั้งอ าเภอที่ ไม่เคยเป็ นกิ่งอ าเภอมาก่อน โดยมีนายกฤตทอง บัญญัติ ได้มาด ารงต าแหน่งเป็ นนายอ าเภอคนแรกของ อ าเภอมวกเหล็ก อ าเภอมวกเหล็กยกฐานะขึ้ นเป็ นอ าเภออย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2512 ซึ่งตัวอ าเภอมวกเหล็กตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสระบุรี มีลักษณะภูมิประเทศเป็ นที่ราบสูงเชิง เขาใหญ่สลับกับทุ่งราบ ด้วยลักษณะพื้ นที่คล้ายกับตะวันตก ประชาชนส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเลี้ ยง โคนม เหตุที่ชื่อ “อ าเภอมวกเหล็ก” มีความหมายอยู่สองนัย นัยหนึ่งชื่อว่า “มวกเหล็ก” เป็ นชื่อของ เถาไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้ นอยู่ทั่วไปตามริมห้วย อีกนัยหนึ่งมีเรื่องเล่าว่าเคยพบเห็น หมวกเหล็ก ของนักรบ โบราณที่ห้วยแห่งนี้ จึงเรียกว่าบ้านหมวกเหล็ก ต่อมาเรียกเพี้ ยนเป็ น “มวกเหล็ก” จนถึงปัจจุบัน
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 29 อ าเภอวังม่วง ค าขวัญอ าเภอ เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิแหล่งผลิตหมวกใบลาน หนาว สะท้านอากาศสวิตเซอร์แลนด์ แดนดอกทานตะวันบาน สืบสานวัฒนธรรม งามล ้าน ้าตกป่ าลานหินดาด ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอวังม่วง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอพัฒนานิคม (จังหวัดลพบุรี) ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอมวกเหล็กและอ าเภอแก่งคอย ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอมวกเหล็ก ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอพัฒนานิคม (จังหวัดลพบุรี) ประวัติความเป็ นมา อ าเภอวังม่วง มีที่มาจากเดิมเป็ นป่ ามะม่วง ซึ่งป่ าอยู่ในล าห้วย จึงเรียกว่า “วังมะม่วง” และมี การลดค าเรียกกันเป็ น “วังม่วง” เดิมเป็ นต าบล 3 ต าบล คือ ต าบลวังม่วง ต าบลค าพราน และต าบล แสลงพัน ขึ้ นอยู่กับอ าเภอมวกเหล็ก แยกออกจากอ าเภอมวกเหล็ก ยกฐานะเป็ น กิ่งอ าเภอวังม่วง เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2533 ได้รับการยกฐานะเป็ นอ าเภอเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2538 ราษฎรในท้องที่ อพยพมาจากหลายจังหวัด มาตั้งถิ่นฐานท ามาหากินเป็ นเวลานาน จึงมีพื้ นเพที่ต่างกัน และในฤดู การเก็บเกี่ยวพืชไร่จึงมีคนงานจากต่างจังหวัดเข้ามาท างานจ านวนมาก
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 30 อ าเภอวิหารแดง ค าขวัญอ าเภอ เจดีย์พระคุณแม่ ธรรมชาติแท้ท่องไพร อ่างใหญ่ ซบั ปลาก้งัอุโมงคท์างรถไฟ บึงใหญ่หนองโพธ์ิไขโ่ต สม้หวาน ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอวิหารแดงตั้ งอยู่ทางทิ ศใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอเมืองสระบุรีและอ าเภอแก่งคอย ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอบ้านนา (จังหวัดนครนายก) และอ าเภอหนองเสือ (จังหวัดปทุมธานี) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอบ้านนา (จังหวัดนครนายก) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอหนองแค ประวัติความเป็ นมา อ าเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี เป็ นอ าเภอขนาดเล็ก เดิมอยู่ในการปกครองของอ าเภอหนองแค ต่อมาในปี พุทธศักราช 2480 ได้แยกมาตั้งเป็ นกิ่งอ าเภอหนองหมู เนื่องจากมีการตัดถนนระหว่างหัว เมืองต่อหัวเมือง ทางทิศเหนือของกิ่งอ าเภอหนองหมู ทางราชการได้ตัดถนนสายหินกอง-ปราจีนบุรีขึ้น เป็ นถนนลาดยาง เรียกว่า ถนนสายสุวรรณศร ในปี พุทธศักราช 2500พ่อเมืองในสมัยนั้นเห็นว่าการเดินทางไปติดต่อกับจังหวัดไปมาล าบาก จึงด าริให้ยา้ยกิ่งอ าเภอหนองหมูมาต้ัง ณ ริมถนนสุวรรณศร ใกล้บึงหนองโพธ์ิหมู่ที่ 1 ต าบล หนองสรวง พร้อมทั้งยกฐานะระดับขึ้ นเป็ นอ าเภอ เรียกว่า “อ าเภอวิหารแดง” ความเป็ นมาของอ าเภอวิหารแดง คือ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้มีชาวละว้า อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ณ บริเวณคลอง “คันล า” (หมายถึง คันคลอง) ในจ านวนนี้ มีพระภิกษุชาวละว้าเดินทางมาด้วย ท่านและชาวละว้าได้ช่วยกันก่ออิฐมอญ ซึ่งมีสีน ้าตาล แดง สร้างเป็ นส านักสงฆ์ที่คันคลอง เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์รูปนั้นได้จ าวัด ซึ่งต่อมาคนในละแวกนั้นเรียก บริเวณนั้นว่า “คลองวิหารแดง” ในปัจจุบันส านักสงฆ์ดังกล่าวไปปรักหักพังหมดแล้ว คงเหลือแต่ซาก ซึ่งอยู่คันคลอง หมู่ที่ 4 ต าบลหนองสรวง อ าเภอวิหารแดง
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 31 อ าเภอหนองแค ค าขวัญอ าเภอ ระพีพัฒน์เย็นฉ ่า เกษตรกรรมรุ่งเรือง อุตสาหกรรม ลือเลื่อง เมืองนักพัฒนา ปวงประชาใฝ่ คุณธรรม ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอหนองแคตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ จังหวัดสระบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอหนองแซงและอ าเภอเมืองสระบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอวิหารแดง, อ าเภอหนองเสือ (จังหวัดปทุมธานี) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอวิหารแดง ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอวังน้อย อ าเภออุทัย และอ าเภอภาชี (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ประวัติความเป็ นมา อ าเภอหนองแค ในอดีตอยู่ในความปกครองของกรุงศรี อยุธยาซึ่งเป็ นราชธานี สภาพบ้านเมืองยึดธรรมชาติเป็ นหลัก และ ท้องที่มีคูคลองผ่าน คือคลองนาเริ่ง ซึ่งเป็ นคลองเดิมที่แยกจากล า น ้าป่ าสัก สภาพบ้านเรือนและชุมชนตั้งอยู่ที่ราบลุ่มริมฝั่งคลอง นาเริ่ง และใช้เป็ นเส้นทางคมนาคมติดต่อกับกรุงศรีอยุธยา แต่ เดิมพลเมืองประกอบด้วย พลเมืองเชื้ อสายคนเมืองเหนือ เมือง เวียงจันทน์ที่เหลือตกค้างตั้งแต่สมัยอดีตที่ไทยท้าศึกสงครามกับ พม่า เขมร และลาวเวียงจันทน์ อ าเภอหนองแคได้รับการจัดตั้งขึ้ นเมื่อ พ.ศ. 2441 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระบรมราชโองการให้ตั้งขึ้ นเมื่อวัน อาทิตย์ที่ 12 มีนาคม ร.ศ.117 ตรงกับขึ้ น 1 ค ่าเดือน 5 ปี จอ จ.ศ.1260 พ.ศ.2441 เป็ นปี ที่ 31 ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 15 แผ่นที่ 50 มีขุนพรหมสัสดี (บุต)ด ารงต าแหน่งนายอ าเภอคนแรก ส าหรับอาคารที่ว่าการอ าเภอหนองแคหลังเดิมเป็ นอาคารไม้สองชั้น ตั้งอยู่ที่ชุมชนต าบล หนองแคใกล้คลองนาเริ่ง ต่อมาด้วยความเจริญเติบโตและการขยายตัวของชุมชนต าบลหนองแค ท าให้บริเวณที่ตั้งที่ว่าการอ าเภอหลังเดิมคับแคบ ประกอบกับอาคารเดิมมีสภาพช ารุดทรุดโทรม ภาพคลองระพีพัฒน์ บริเวณอ าเภอหนองแค
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 32 ต่อมาในปี พ.ศ.2541 จึงได้มีการย้ายอาคารที่ว่าการอ าเภอไปท าการก่อสร้างใหม่เป็ นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ชั้น ในบริเวณพื้ นที่ของชลประทาน ริมคลองระพีพัฒน์ฝั่งซ้าย ใกล้กับถนน พหลโยธิน ภาพที่ว่าการอ าเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 33 อ าเภอหนองแซง ค าขวัญอ าเภอ มะม่วงมันต้นต ารับ เครื่องประดับโบราณ ชลประทาน หลากหลาย ทางรถไฟสู่อีสาน ศูนย์ต านานวัฒนธรรม ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอหนองแซงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอท่าเรือ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) และอ าเภอเสาไห้ ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอหนองแค ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอเมืองสระบุรีและอ าเภอหนองแค ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอภาชีและอ าเภอท่าเรือ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ประวัติความเป็ นมา แต่เดิมคนหนองแซง อพยพมาจากนครเวียงจันทร์ ตั้งถิ่นฐานใกล้หนองน ้า ซึ่งห่างจากที่ว่าการ อ าเภอไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 300 เมตรเศษ และมีต้นแซงขึ้ นงอกงามเขียวชอุ่มปกคลุมไป ทั่วบริเวณโดยรอบหนองน ้า ชาวบ้านจึงขนานนามว่า “บ้านหนองแซง” การค้นคว้าหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ ปรากฏว่าในแผ่นดินแห่งสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา พม่าได้ยกกองทัพ ไปตีกรุงศรีสัตนาคนหุตเวียงจันทร์ อันเป็ นเหตุให้ชาวเวียงจันทร์ต้องพากันอพยพหนีเพื่อความปลอดภัย จากกองทัพพม่า พวกชาวเวียงจันทร์ที่อพยพหนีพม่าต่างพากันมาตั้งภูมิล าเนาท ามาหากินอยู่ในท้องที่ จังหวัดสระบุรี ในปัจจุบัน และคงมีพวกชาวเวียงจันทร์หลายครอบครัวที่เดินทางเข้ามาอยู่ในท้องที่ อ าเภอหนองแซงและตั้งหมู่บ้านขึ้นโดยตั้งชื่อหมู่บ้านของตนว่า “บ้านหนองแซง” สันนิฐานว่าพวกชาว เวียงจันทร์เหล่านี้อพยพในราว พ.ศ.2001 ปรากฏหลักฐานอีกว่าในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช พวกพม่าได้ยกกองทัพไปตีกรุงศรีสัตนาคนหุตเวียงจันทร์อีกครั้งหนึ่ง เป็ นเหตุให้ชาวลาวเวียง จันทร์ต้องพากันอพยพหลบหนีทางเมืองนครราชสีมามาเป็ นจ านวนมาก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงโปรดประทานอนุญาตให้ตั้งภูมิล าเนาอยู่ในแขวงเมืองสระบุรี และต่อมาในปี พ.ศ. 2021 เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ด ารงต าแหน่งเป็ นสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก และสมเด็จพระราชวังบวรสุรสิงหนาท ด ารงพระยศเป็ นเจ้าพระยาสุรสีห์ ยกกองทัพจากกรุงธนบุรี ขึ้ นไปตีกรุงศรีสัตนาคนหุตเวียงจันทร์ และได้กวาดต้อนเอาครอบครัวพวกชาวเวียงจันทร์แล้วมีการ อพยพมาอยู่ที่หนองแซงด้วย
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 34 อ าเภอหนองโดน ค าขวัญอ าเภอ ผู้คนน ้าใจงาม แหล่งน ้าบริบูรณ์ เพิ่มพูนผลกสิกรรม ถิ่นวัฒนธรรมไทยพวน ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอหนองโดนตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ จังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอเมืองลพบุรี (จังหวัดลพบุรี) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอพระพุทธบาท ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอบ้านหมอและอ าเภอดอนพุด ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอเมืองลพบุรี (จังหวัดลพบุรี) ประวัติความเป็นมา ประวัติอ าเภอหนองโดนมีประวัติเล่ากันว่า เดิมภูมิประเทศที่ตั้งบ้านหนองโดน เป็ นป่ าดงทึบ อยู่ ระหว่างบ้านหนองแก และบ้านคลองควาย (คลองบุญ) เขตพื้ นที่อ าเภอบางโขมด (บ้านหมอ) จังหวัด สระบุรี มีหนองน ้าอยู่แห่งหนึ่งข้างๆ หนองน ้ามีต้นกระโดนใหญ่ ชาวบ้านจึงเรียกว่า “หนองกระโดน” ต่อมาได้เรียกเพี้ ยนไปจากเดิมว่า “หนองโดน” เมื่อมีชาวบ้านได้อพยพมาท ามาหากินมากขึ้ นจึงได้ตั้งชื่อ ต าบลว่า “หนองโดน” แต่เดิมมาอ าเภอหนองโดนนี้ เคยเป็ นอ าเภอมาก่อน ชื่อว่าอ าเภอหนองโดน เป็ น อ าเภอใหญ่อ าเภอหนึ่งในจังหวัดสระบุรี ตั้งขึ้ นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2456 ตัวอาคารก็ตั้งอยู่ในบริเวณที่ว่า การอ าเภอปัจจุบัน แต่ก่อนอ าเภอหนองโดนมีพื้ นที่ กว้างขวางคลุมท้องที่อ าเภอบ้านหมอ กิ่งอ าเภอดอน พุด และอ าเภอพระพุทธบาทปัจจุบัน และรวมถึงต าบลกกโก ต าบลโคกล าพาน อ าเภอเมือง จังหวัด ลพบุรี โดยเฉพาะอ าเภอพระพุทธบาทนั้น เคยเป็ นกิ่งอ าเภอ ขึ้ นอยู่กับอ าเภอหนองโดน ตลาดหนอง โดน แต่ก่อนเคยมีความเจริญรุ่งเรืองมาก เพราะมีทางรถไฟสายเหนือผ่าน ประชาชนที่จะไปนมัสการ พระพุทธบาทโดยสารรถไฟมาลงที่หนองโดน แล้วเดินทางไปพระพุทธบาทอีกทอดหนึ่ง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2484 ทางราชการมีเหตุผลบางประการ ได้ย้ายสถานที่ราชการทั้งหมดไปตั้ง ที่ต าบลบ้านหมอ ระยะแรกยังใช้ชื่ออ าเภอหนองโดน ต่อมาจึงได้เปลี่ยนเป็ นอ าเภอบ้านหมอ ตลาด หนองโดนที่เคยรุ่งเรืองกลับซบเซาลง โจรผู้ร้ายก าเริบเสิบสานถึงกับปล้นตลาดหนองโดน ในเวลา กลางวัน แต่ประชาชนก็มิได้เสียขวัญ ได้สามัคคีรวมก าลังป้องกันทรัพย์สินจัดให้มีเวรยาม สร้างรั้วบ้าน เพื่อป้องกันโจรผู้ร้ายโดยเฉพาะประชาชนที่มีศรัทธา ได้ช่วยกันท านุบ ารุงวัดซึ่งมีอยู่แล้ว 3 วัด ให้มีความ เจริญรุ่งเรือง เป็ นที่พึ่งทางใจเป็ นแหล่งอบรมปลูกฝังศีลธรรมอันดีให้กับประชาชน
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 35 จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2506 ทางราชการจึงได้ตั้งเป็นสุขาภิบาล หนองโดนขึ้ น ชื่อว่า “สุขาภิบาล หนองโดน” ในปี พ.ศ. 2511 ประชาชนร้องเรียนขอตั้งเป็ นกิ่งอ าเภอ กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศตั้งเป็ น กิ่งอ าเภอ กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศตั้งเป็ นกิ่งอ าเภอหนองโดน เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2511 ในขั้นแรกไม่มีอาคารที่ท าการกิ่งอ าเภอ ได้อาศัยสถานีอนามัยชั้น 2 ของต าบลหนองโดนเป็ นที่ท าการ ต่อมาได้งบประมาณสร้างที่ว่าการกิ่งอ าเภอและบ้านพักข้าราชการ ได้เปิ ดอาคาร และยกฐานะจากกิ่ง อ าเภอเป็ นอ าเภอเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2518 ในปี พ.ศ.2535 กรมการปกครอง ได้พิจารณาจัดสรร งบประมาณให้ก่อสร้างอาคารที่ว่าการอ าเภอหนองโดนใหม่ โดยก่อสร้างเสร็จในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2536
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 36 อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ค าขวัญอ าเภอ ต้นแบบทฤษฏีใหม่ วัดมงชัยพัฒนา สวนป่ าพุแค สินแร่แหล่งอุตสาหกรรม งามล ้าห้วยหินขาว ประเพณีเก่า ชาวไท - ยวน ที่ต้งัและอาณาเขต อ าเภอเฉลิมพระเกียรติตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ าเภอพระพุทธบาท และอ าเภอพัฒนานิคม (จังหวัดลพบุรี) ทิศใต้ ติดต่อกับอ าเภอเมืองสระบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ าเภอแก่งคอย ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ าเภอเสาไห้และอ าเภอพระพุทธบาท ประวัติความเป็ นมา ในปี พ.ศ.2539 ซึ่งเป็ นปี ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงครองราชย์เป็ นปี ที่ 50 ชาวไทยทั่วประเทศได้มีการจัดท าโครงการต่าง ๆ ร่วมเฉลิมฉลองในวโรกาสมหามงคลดังกล่าว กระทรวงมหาดไทย ได้จัดตั้งอ าเภอขึ้ นใหม่ รวม 5 อ าเภอ เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติโดยได้พิจารณา คัดเลือกอ าเภอที่มีความส าคัญอันเกี่ยวเนื่องกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งจังหวัดสระบุรีมีโครงการพัฒนาพื้ นที่อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ณ วัดมงคลชัยพัฒนา โดยมูลนิธิชัยพัฒนา เข้ามาด าเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.2532 เป็ นโครงการที่มีความส าคัญยิ่งในด้าน การเกษตรและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของเกษตรกรที่ยากไร้ มีปัญหาการขาดแคลนน ้าเพื่อการเกษตร นอกเขตชลประทาน พระองค์ท่านจึงพระราชทานการบริหารการใช้น ้าให้แก่เกษตรกรดังกล่าว ที่เรียก กันว่า “ทฤษฏีใหม่พระราชทาน” จังหวัดสระบุรีขอ จัดตั้งอ าเภอใหม่ โดยแบ่งพื้ นที่อ าเภอเมืองสระบุรี จ านวน 6 ต าบล (ต.ห้วยบง ต.บ้านแก้ง ต.ผึ้ งรวง ต. เขาดินพัฒนา ต.พุแค และ ต.หน้าพระลาน ) เป็ น อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โดยมีพระราช กฤษฎีกาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2539 ภาพพื้ นที่ทดลองเกษตรทฤษฎีใหม่ ที่มา https://www.chaipat.or.th
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 2 ย้อนรอยอดีต 37 1. ภูมิล าเนาของนักเรียนอยู่ในอ าเภอใดของจังหวัดสระบุรี และมีความเป็ นมาอย่างไร 2. นักเรียนคิดว่าประวัติศาสตร์จังหวัดสระบุรีมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ชาติไทย หรือไม่ อย่างไร 3. จากประวัติความเป็ นมาของอ าเภอต่าง ๆ ในจังหวัดสระบุรี นักเรียนคิดว่าอ าเภอใด มีความน่าสนใจที่สุด เพราะเหตุใด ค าถามชวนคิด
หนังสืออ่านเพิ่มเติม หน่วยที่ 3 ที่ ท่องไปในสระบุรี เรื่อง สระบุรีบ้านเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนหนองแค "สรกิจพิทยา" จังหวัดสระบุรี สังกัด สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระบุรี สำ หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี 38 สาระการเรียนรู้ประจ าหน่วยที่ 3 : ท่องไปในสระบุรี 1. แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติในจังหวัดสระบุรี 2. แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดสระบุรี 3. แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดสระบุรี ผลการเรียนรู้ เสนอแนวทางในการอนุรักษ์และเผยแพร่ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดสระบุรี จุดประสงค์ 1. ยกตัวอย่างแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและอธิบายเกี่ยวกับสถานที่นั้น ๆ ได้พอสังเขป 2. อธิบายความเป็ นมาของแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดสระบุรีได้ 3. ยกตัวอย่างการปฏิบัติตนเมื่อเข้าชมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได้ 4. สืบค้นและน าเสนอแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสระบุรีโดยวิธีการที่หลากหลาย 5. เสนอแนวทางในการอนุรักษ์และเผยแพร่ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดสระบุรี 6. มีความกระตือรือร้น ตั้งใจ และใฝ่ เรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัดสระบุรี
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี 39 จังหวัดสระบุรีเป็ นจังหวัดที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านสภาพภูมิประเทศ สภาพ ภูมิอากาศ ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณี และมีประวัติศาสตร์การตั้งเมืองที่ยาวนานตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา จึงส่งผลให้มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีความหลากหลาย ซึ่งสามารถจ าแนกแหล่งท่องเที่ยว ได้ดังนี้ แหล่ง ท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ แหล่ง ท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม แหล่ง ท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ ภาพแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสระบุรี ที่มา http://www.saraburi.go.th
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี 40 1. แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 1. ศูนย์ศึกษาธรรมชาติเจ็ดคด-โป่ งก้อนเส้า 2. อุทยานแห่งชาตนิ้า ตกเจด็สาวนอ้ย 3. เขาหินปูน พระพุทธบาทน้อย 4. สวนรุกขชาติมวกเหล็ก 5. อุทยานแห่งชาตนิ้า ตกสามหลนั่ 6. สวนพฤกษศาสตร์ภาคกลาง (พุแค) 7. น้า ตกซบัเหว 8. ถ้า พระโพธิสตัว์ 9. ถ้า ผาเสด็จ
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี 41 3. เขาหินปูน พระพุทธบาทน้อย ต.สองคอน อ.แก่งคอย จ.สระบุรี มีพื้ นที่ 3,200 ไร่ ขุนเขาแห่งนี้ มีลักษณะเป็น ภูเขาหินปูนสูงชันโดดเด่นสลับซับซ้อนเรียงรายด้วยยอดเขาแหลม ไม่น้อยกว่า 14 ยอด เป็นเทือกเขาหินปูนที่มีระบบ นิเวศน์ที่ค่อนข้างสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่ง ภาพศูนย์ศึกษาธรรมชาติเจ็ดคด-โป่ งก้อนเส้า เป็ นเส้นทางศึกษา ธรรมชาติ โดยตั้งอยู่ในเขต อ.แก่งคอย มีน ้าตกที่เกิด ท่ามกลางป่ าดิบชื้ นที่สมบูรณ์ มีเส้นทางเดินป่ า น ้าตก มีความสวยงามแตกต่างกัน ได้แก่ น ้าตกเจ็ดคดเหนือ น ้าตกเจ็ดคดกลาง น ้าตก เจ็ดคดใต้ น ้าตกเจ็ดคดใหญ่ และน ้าตกโกรกอีดก ภาพน ้าตกเจ็ดสาวน้อย อยู่ในเขตอ าเภอมวกเหล็ก และอ าเภอวังม่วง มีล าห้วย มวกเหล็กไหลผ่าน จุดเด่นคือ น ้าตกเจ็ดสาวน้อย เป็ นน ้าตก ที่ไหลลดหลั่นมาตามแนว ล าธาร มีประมาณ 7 ชั้น แต่ละชั้นมีความสูงราว 2-5 เมตร แอ่งน ้ามีบริเวณที่เล่น น ้ากว้าง และร่มรื่น นอกจากนี้ ยังมีการจัด กิจกรรมล่องแก่งเรือคายัคใน ห้วยมวกเหล็กอีกด้วย 1.ศูนย์ศึกษาธรรมชาติเจ็ดคด-โป่ งก้อนเส้า 2.อุทยานแห่งชาตนิ้า ตกเจ็ดสาวนอ้ย ภาพเขาหินปูน พระพุทธบาทน้อย ที่มา https://thailandtourismdirectory.go.th ที่มา https://thai.tourismthailand.org ที่มา https://travel.kapook.com
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี 42 4. สวนรุกขชาติมวกเหล็ก อยู่ภายในบริเวณ ป่ าสงวนแห่งชาติป่ าดงพญาเย็น บนพื้ นที่ประมาณ 375 ไร่ ตั้งอยู่ที่ ต าบลมิตรภาพ อ าเภอมวกเหล็ก ได้จัดตั้งขึ้ นเมื่อปี พ.ศ.2497ภายในสวนรุกขชาติมวกเหล็ก มีล าธารน ้าตกมวกเหล็ก ซึ่งมีแหล่งก าเนิดมาจากป่ าในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ พื้ นที่ร่มรื่นสวยงาม ปกคลุมไปด้วยพรรณไม้นานาชนิด ถือเป็ นแหล่งรวบรวม และศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพรรณไม้ยืนต้นที่ ส าคัญของประเทศ ทั้งพรรณไม้ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ และมีความส าคัญในด้านต่าง ๆ เช่น พรรณไม้ ในวรรณคดีพรรณไม้ในพุทธประวัติ พืชสมุนไพร และพรรณไม้ที่มีคุณค่าหายาก 5. อุทยานแห่งชาตนิ้า ตกสามหลนั่ . . . มีเนื้ อที่ประมาณ 44 ตารางกิโลเมตร หรือ27,856 ไร่ ในช่วงประมาณเดือนตุลาคม - มกราคม เป็นช่วงที่อากาศ หนาวเย็นเหมาะสมส าหรับการเดินทางไปท่องเที่ยว พักผ่อน โดยประกอบด้วยภูเขาน้อยใหญ่ มีที่ราบในหุบเขา ป่ าเบญจพรรณและป่ าดิบแล้ง สัตว์ป่ าที่อาศัยอยู่เป็นสัตว์ ขนาดเล็ก เช่น ไก่ฟ้า ไก่ป่ า ลิง หมูป่ า และนกนานาชนิดที่ ส าคัญได้แก่ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรในบริเวณอุทยานฯ มีน ้าตก และอ่างเก็บน ้าสวยงามหลายแหล่ง ภาพสวนรุกขชาติมวกเหล็ก ที่มา https://thailandtourismdirectory.go.th ภาพอุทยานแห่งชาติน ้าตกสามหลั่น ที่มา https://thailandtourismdirectory.go.th
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี 43 6. สวนพฤกษศาสตร์ภาคกลาง (พุแค) สวนพฤกษศาสตร์ภาคกลาง(พุแค) • กรมป่ าไม้ได้เข้ามาจัดตั้งเป็ นสวนพฤกษศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2484 และ ด าเนินการอย่างเป็ นทางการในวันที่ 18 กันยายน 2493 ซึ่งเป็นวัน สถาปนากรมป่ าไม้ครบรอบปี ที่ 54 จึงถือได้ว่าสวนพฤกษศาสตร์แห่ง แรกของประเทศไทย เส้นทางศึกษาธรรมชาติป่ าธรรมชาติ พรรณไม้ในสวน • พรรณไม้ดั้งเดิมเป็ นพรรณไม้ในป่ าดิบแล้ง ได้แก่ ยางนา ประดู่ป่ า มะค่าโมง มะเกลือ มะหาด สมอพิเภก และคงคาเดือด เป็ นต้น กิจกรรมป่ าในเมือง: ลานดนตรีในสวน กิจกรรมป่ าในเมือง: การออกก าลังกาย ภาพน ้าตกซับเหว 7. น้า ตกซับเหว มีความสูงกว่า 30 เมตร จากจุดเริ่มต้นเข้าไปสู่น ้าตก ด้วยระยะทางประมาณ 800 เมตร เป็ นลักษณะผาดินสูงประมาณ 30 เมตร ล้อมรอบด้วยหุบเขาร่มครึ้ มด้วย ป่ าเขียวขจี มีแอ่งน ้าขนาดใหญ่ให้ลง เล่นน ้าได้ น ้าตกมีลักษณะเด่นคือ ตรง กลางสายน ้าตกที่ไหลลงมาจะมีช่อง โพรงลึกลงไปกลางหน้าผา ด้านขวาของ น ้าตกมีทางเดินขึ้ นไปชมโพลงถ ้าขนาด เล็กซึ่งมีหินงอก หินย้อยภายในถ ้า การ เดินทางเข้าไปที่น ้าตกค่อนข้างล าบาก ที่มา https://thai.tourismthailand.org
สระบุรีบ้านเรา : หน่วยที่ 3 ท่องไปในสระบุรี 44 8. ถ้า พระโพธิสตัว์ ถ ้าพระโพธิสัตว์ภายในถ ้าประกอบด้วยคูหาน้อยใหญ่ 6 คูหา บริเวณปากทางเข้ามีสถูปเจดีย์ ตั้งอยู่ตรงกลาง มีสิ่งที่โดดเด่นและถือเป็ นไฮไลท์ของการมาชมถ ้า คือ ภาพสลักนูนต ่าซึ่งเป็ นศิลปกรรม สมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 13-14) อยู่บนผนังถ ้าด้านบนทางซ้ายมือต้องแหงนหน้ามอง สันนิษฐานว่าภาพสลักนูนต ่านี้ น่าจะเป็ นภาพของพระพุทธเจ้าก าลังเทศนาโปรดเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ 2 องค์คือพระศิวะและพระนารายณ์ ที่ส าคัญ คือเป็ นภาพสลักที่มีพระพุทธเจ้าและเทพเจ้าในศาสนาฮินดู อยู่ร่วมกันที่เก่าแก่ที่สุดในไทย 9. ถ้า ผาเสด็จ อยู่ที่บ้านซับบอน ต าบลทับกวาง อ าเภอแก่งคอย รัชกาลที่ 5 และสมเด็จ พระบรมราชินีนาถ เคยเสด็จและทรงจารึกพระปรมาภิไธยไว้ ภาพสลักนูนต ่าซึ่งเป็ นศิลปกรรมสมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 13-14) ภาพทางเข้าถ ้าพระโพธิสัตว์ ภาพรอยจารึก จปร.ที่ผาเสด็จ ภาพสถานีรถไฟผาเสด็จ ที่มา https://www.coemorry.com B8%9C%E0%B8%B2%E0%B9 %80%E0%B8%AA%E0%B8%9 4%E0%B9%87%E0%B8%88- %E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0 %B8%B0%E0%B8%9A%E0%B 8%B8%E0%B8%A3%E0%B8% ที่มา https://www.lovethailand.org/travel