The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มสะสมผลงาน.จิราภรณ์ทองภู107

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 107จิราภรณ์ ทองภู, 2024-01-29 02:54:55

แฟ้มสะสมผลงาน.จิราภรณ์ทองภู107

แฟ้มสะสมผลงาน.จิราภรณ์ทองภู107

PORTFOLIO แฟ้มสะสมผลงาน สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี นางสาวจิราภรณ์ ทองภู รหัสนักศึกษา ๖๒๑๐๐๑๐๗๑๐๗


ก คำนำ แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ได้รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวกับการสอนสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๓ ที่เกิดจาการวิเคราะห์สภาพการจัดการเรียนการสอน เพื่อวางแผนพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพ โดยทุกขั้นตอนได้คำปรึกษา และตรวจสอบดูแลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่าง ๆ เป็นอย่างดี แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ประกอบด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์สภาพปัญหาการสอน การวางแผนการวัดผลและประเมินผลอย่างละเอียด และตัวอย่างเครื่องมือวัดผล ซึ่งทุกชิ้นได้ผ่านการตรวจ สอบ แล้ว เช่นเดียวกัน ขอขอบคุณนายบรรจง ดีแป้น ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านทับกุง รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาฝาย คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ตลอดจนผู้ที่มี ส่วนร่วมในการให้กำลังใจในการจัดทำทุกขั้นตอน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสิ่งที่ดีงามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์และผลดี ต่อการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาการศึกษาต่อไป นางสาวจิราภรณ์ ทองภู นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีครู สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข-ง ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑ ประวัติผู้จัดทำ ๑ ประวัติการศึกษา ๑ ประวัติสถานศึกษา ๑ ๑. ประวัติผู้จัดทำ........................................................................................................................................๒ ๒. ประวัติการศึกษา ...................................................................................................................................๓ ๓. ประวัติสถานศึกษา.................................................................................................................................๔ ๓.๑ ข้อมูลทั่วไป .....................................................................................................................................๔ ๓.๓ ข้อมูลครูและบุคลากร.........................................................................................................................๘ ๓.๔ ข้อมูลนักเรียน.....................................................................................................................................๘ ๓.๕ อาคารและสถานที่ ...........................................................................................................................๑๐ ๓.๖ แผนผังโรงเรียน................................................................................................................................๒๕ ๓.๗ แผนที่แสดงเส้นทางที่ตั้งของโรงเรียน ...............................................................................................๒๕ ๓.๘ แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารโรงเรียน..................................................................................๒๖ ส่วนที่ ๒ ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู ๒๗ ๑. ด้านการเรียนการสอน.........................................................................................................................๒๘ ๑.๑ สภาพการจัดการเรียนการสอน ....................................................................................................๒๘ ๑.๒ การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน......................................................................๒๙ ๑.๓ การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน .....................................๒๙ ๒. การวิเคราะห์หลักสูตร.........................................................................................................................๓๐


ค ๒.๑ หลักการ.......................................................................................................................................๓๐ ๒.๒ จุดมุ่งหมาย..................................................................................................................................๓๐ ๒.๓ เวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ................................................................๓๑ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา................................................................................................................๓๒ โครงสร้างหลักสูตร ระดับประถมศึกษา..............................................................................................๓๒ โครงสร้างหลักสูตร ระดับประมัธยมศึกษา..........................................................................................๓๓ ๒.๔ หนังสือส่งตัวจากคณะครุศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี..................................................๓๕ ๒.๕ ตารางสอน .......................................................................................................................................๓๖ ๒.๖ การวิเคราะห์หลักสูตร......................................................................................................................๓๗ คำอธิบายรายวิชา................................................................................................................................๓๗ ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา..............................................................๓๘ กำหนดการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม.................................................................๔๐ คำอธิบายรายวิชา ๔๑ ตารางโครงสร้างหลักสูตร ๔๒ ๒.๗ ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้..........................................................................................................๔๔ ๒.๘ ตัวอย่างข้อสอบ................................................................................................................................๕๒ บันทึกผลหลังจากการสอน.......................................................................................................................๕๕ แบบบันทึกนักเรียนเป็นรายบุคคล...........................................................................................................๕๕ ๒.๙ การจัดการเรียนรู้.............................................................................................................................๕๖ ๒.๑๐ การจัดการเรียนการสอน ...............................................................................................................๕๖ ๒.๑๐.๑ ภาระการจัดการเรียนการสอน...............................................................................................๕๖ ๒.๑๐.๒ ตัวอย่างรายงานผลการจัดการเรียนรู้.....................................................................................๕๗ ๒.๑๑ ด้านครูที่ปรึกษาและครูประจำชั้น..................................................................................................๕๗ ๒.๑๑.๑ บันทึกการโฮมรูม (Home room) .........................................................................................๕๘


ง ๒.๑๑.๒ บันทึกการเข้าแถวหน้าเสาธง.................................................................................................๕๙ ส่วนที่ ๓ การปฏิบัติงานพิเศษ ๖๐ ๑. โครงการทางการศึกษาที่รับผิดชอบ ....................................................................................................๖๑ ๑.๑ ตารางคำสั่ง/รายละเอียดการปฏิบัติงาน.......................................................................................๖๑ ๑.๒ ประมวลภาพคำสั่งโครงการทางการศึกษาที่รับผิดชอบ ................................................................๖๒ ๑.๓ ผู้ฝึกซ้อมและกรรมการการแข่งขันศิลปะหัตกรรมครั้งที่ ๗๑ ระดับกลุ่มเครือข่าย ประเภทมารยาท ไทย......................................................................................................................................................๗๒ ๒. วิจัยทางการศึกษา...............................................................................................................................๗๓ ๓. แผนการจัดการเรียนรู้.........................................................................................................................๗๔ ส่วนที่ ๔ การปฏิบัติตน ๗๕ ๑. การปฏิบัติตนในสถานศึกษา ...............................................................................................................๗๖ ๑.๑ ด้านการแต่งกาย..........................................................................................................................๗๖ ๑.๒ ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น................................................................................................................๗๖ ๑.๓ ด้านความประพฤติและการมีส่วนร่วมกิจกรรมในโรงเรียน ...........................................................๗๗ ภาคผนวก ๗๘ ภาคผนวก ก............................................................................................................................................๗๙ ภาพการปฏิบัติงานในสถานศึกษา............................................................................................................๗๙ ภาคผนวก ข............................................................................................................................................๘๗ ภาพการเรียนการสอนและผลงานนักเรียน...............................................................................................๘๗ ในปีการศึกษา ๒๕๖๖..............................................................................................................................๘๗


๑ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ประวัติผู้จัดทำ ประวัติการศึกษา ประวัติสถานศึกษา


๒ ๑. ประวัติผู้จัดทำ ชื่อ-สกุล : นางสาวจิราภรณ์ ทองภูชื่อเล่น : แอม หมู๋โลหิต : O เกิดวันที่ : ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ บิดา : นายสุระ ทองภู มารดา : นางพรพิศ ทองภู ที่อยู่ปัจจุบัน : บ้านนาฝาย ตำบลนาดี อำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ๔๑๓๔๐ ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ที่ : สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รหัสนักศึกษา : ๖๒๑๐๐๑๐๗๑๐๗ เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘๐-๐๐๖-๐๗๔๔ คติประจำใจ : อย่าดูถูกคนอื่น ถ้าตนเองยังไม่ดีพอ อาชีพที่อยากทำในอนาคต : รับข้าราชการครู อุปนิสัย : หงุดหงิดง่าย แต่เป็นมิตรกับผู้อื่น พูดบ่อย ขี้บ่น แต่ใจดี มีความอดทนสูง อีเมล์ : jrptp2001@gmail.com


๓ ๒. ประวัติการศึกษา ระดับการศึกษา สาขาวิชา สถานศึกษา ปีการศึกษา ประถมศึกษา - โรงเรียนอนุบาลหนองแสง ๒๕๕๐ – ๒๕๕๖ มัธยมศึกษาตอนต้น - โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙ มัธยมศึกษาตอนปลาย ศิลป์-คำนวน โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ ปริญญาตรี สาขาวิชาพุทธศาสน ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ๒๕๖๒ - ปัจจุบัน


๔ ๓. ประวัติสถานศึกษา ๓.๑ ข้อมูลทั่วไป ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนบ้านนาฝาย สังกัด : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตราประจำโรงเรียน อักษรย่อโรงเรียนบ้านนาฝานย : น.ฝ. สีประจำโรงเรียนบ้านนาฝาย : น้ำเงิน – ขาว คำขวัญโรงเรียน : ประพฤติดี มีวินัย ใฝ่วิชา อนามัยเยี่ยม เปี่ยมคุณธรรม ที่อยู่โรงเรียน : เลขที่ ๒๒๓ หมู่ที่ ๒ ตำบลนาดี อำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ๔๑๓๔๐ ระดับที่เปิดสอน : ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ e-mail : nafai2554@yahoo.co.th โทรศัพท์ : ๐๙๙-๓๐๗-๔๐๘๕ วิสัยทัศน์ ภายในปี พ.ศ. 2566 โรงเรียนบ้านนาฝาย มุ่งเน้นในการจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและปัญญา เป็น คนดีมีคุณธรรมตามพุทธวจน ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ สืบสานประเพณี มีใจรักสิ่งแวดล้อม น้อมนำแนวคิดเศรษฐกิจพอ เพียรู้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม


๕ เอกลักษณ์ของโรงเรียน : เครือข่ายต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย สู่โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล อัตลักษณ์: สุขนิสัยดี มีกตัญญู รู้รักสามัคคี มีคุณธรรม วิสัยทัศน์ (Vision) : โรงเรียนได้มาตรฐาน บุคลากรมืออาชีพ นักเรียนคุณภาพ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน พันธกิจ 1.ส่งเสริม สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม เพื่อเสริมสร้างความมั่นคง ของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2.ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาเป็นบุคลากรมืออาชีพ และพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลง 3.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.จัดกระบวนการที่เห็นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียน มีสมรรถนะตาม หลักสูตรสถานศึกษา และคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 5.ส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากร จัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 6.สร้างบรรยากาศแหล่งเรียนรู้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักการคิดที่ถูกต้องและเป็นพลเมืองที่ดี ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออมโอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม อย่างมีคุณภาพ 2. ผู้บริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้ มีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ เรียนรู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ มุ่งมั่น ตั้งใจทำงานให้สำเร็จ ทำงานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และมี จรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพ อย่างเป็นมืออาชีพ 3. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะดนตรี ภาษาและอื่นๆ ได้รับ การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและนำไปสู่การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 4. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียน คิดริเริ่มและสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มี ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกที่ดี 5. โรงเรียนบ้านนาฝาย จัดการศึกษา เพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน(Sustainable Development Goals : SDGs)มีบรรยากาศ แหล่งเรียนรู้ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของ


๖ เศรษฐกิจพอเพียง และเป็นไปตามระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับความร่วมมือจากทุก ภาคส่วน 6.โรงเรียนบ้านนาฝาย บริหารจัดการเชิงบูรนาการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล กำกับ ติดตาม ประเมินผล มีระบบข้อมูลสาระสนเทศที่มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน และรายงานอย่างเป็นระบบ ใช้ งานวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กลยุทธ์ 1. จัดกระบวนการเรียนรู้ กลยุทธ์ เพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ 2. พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทุกระดับ 4. พัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. ปรับสมดุลและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 6. จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่ดี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักการคิดที่ถูกต้องและเป็นพลเมืองที่ดี ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออมโอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม อย่างมีคุณภาพ 2. ผู้บริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้ มีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ เรียนรู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ มุ่งมั่น ตั้งใจทำงานให้สำเร็จ ทำงานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และมี จรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพ อย่างเป็นมืออาชีพ 3. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะดนตรี ภาษาและอื่นๆ ได้รับ การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและนำไปสู่การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 4. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียน คิดริเริ่มและสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มี ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกที่ดี 5. โรงเรียนบ้านนาฝาย จัดการศึกษา เพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน(Sustainable Development Goals : SDGs)มีบรรยากาศ แหล่งเรียนรู้ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และเป็นไปตามระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับความร่วมมือจากทุก ภาคส่วน 6.โรงเรียนบ้านนาฝาย บริหารจัดการเชิงบูรนาการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล กำกับ ติดตาม ประเมินผล มีระบบข้อมูลสาระสนเทศที่มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน และรายงานอย่างเป็นระบบ ใช้ งานวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา


๗ กลยุทธ์ 1. จัดกระบวนการเรียนรู้ กลยุทธ์ เพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ 2. พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทุกระดับ 4. พัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรสถานศึกษา 5. ปรับสมดุลและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 6. จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่ดี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน โรงเรียนบ้านนาฝายตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2485 โดยใช้ชื่อว่า "โรงเรียน ประชาบาล ตำบลปะโค 12" ที่วัดบ้านนาฝาย อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี โดยมี นายบัวลี มหิมา ดำรง ตำแหน่งเป็นครูใหญ่คนแรก มีนักเรียน 70 คน ใช้ปรำเล็ก ๆ เป็นอาคารเรียนชั่วคราว ปี พ.ศ. 2486 ชาวบ้าน ได้ก่อสร้างศาลาการเปรียญขึ้นจำนวน 1 หลัง โรงเรียนจึงได้อาศัยศาลาการเปรียญดังกล่าวเป็นอาคารเรียน เรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ.2497ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “ โรงเรียนวัดบ้านนาฝาย ” 1 ตุลาคม พ.ศ. 2509 เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนบ้านนาฝาย" จนถึงปัจจุบัน ๓.๒ ข้อมูลผู้บริหาร ชื่อ-สกุล : นายบรรจง ดีแป้น โทรศัพท์08-1260-5396 e-mail…bandeemodel@gmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด : ปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ 17 มกราคม 2566 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ...-.... ปี .....9….. เดือน


๘ ๓.๓ ข้อมูลครูและบุคลากร ครูประจำการ จำนวนครูที่สอนวิชาตรงเอก ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐ จำนวนครูที่สอนตรงความถนัด ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ครูอัตราจ้าง จำนวนครูที่สอนวิชาตรงเอก ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๖๖ จำนวนครูที่สอนตรงความถนัด ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓๓ ๓.๔ ข้อมูลนักเรียน จำนวนนักเรียนในโรงเรียนทั้งสิ้น ๒๑๙ คน จำแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน ระดับปฐมวัย ระดับชั้น จำนวน ห้องเรียน จำนวนเด็ก/ผู้เรียน ปกติ (คน) รวม ชาย หญิง อนุบาล ๑ ๑ ๑๒ ๑๒ ๒๔ อนุบาล ๒ ๑ ๙ ๙ ๑๘ อนุบาล ๓ ๑ ๗ ๙ ๑๖ รวม ๓ ๒๘ ๓๐ ๕๘


๙ ระดับชั้นประถมศึกษา ระดับชั้น จำนวน ห้องเรียน จำนวนเด็ก/ผู้เรียน ปกติ (คน) รวม ชาย หญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๑ ๙ ๙ ๑๘ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ๑ ๑๒ ๗ ๑๙ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑ ๑๐ ๑๓ ๒๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ๑ ๘ ๑๐ ๑๘ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑ ๑๐ ๘ ๑๘ รวม ๖ ๕๙ ๕๗ ๑๑๖ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๑ ๖ ๖ ๑๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑ ๖ ๙ ๑๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๑ ๑๑ ๗ ๑๘ รวม ๓ ๒๓ ๒๒ ๔๕ รวมทั้งสิ้น ๑๒ ๑๑๐ ๑๐๙ ๒๑๙


๑๐ ๓.๕ อาคารและสถานที่ ประกอบไปด้วย ๓.๕.๑ อาคารเรียน ๓ หลัง อาคารปฐมวัย


๑๑ อาคารประถมศึกษา อาคารมัธยม


๑๒ ๓.๕.๒ โรงอาหาร ๑ หลัง


๑๓ ๓.๕.๓ ห้องน้ำ ๓ หลัง ห้องน้ำ ๑ ห้องน้ำ ๒


๑๔ ห้องน้ำ ๓ ๓.๕.๔ ห้องสมุด ๑ หลัง


๑๕ ๓.๕.๕ อาคารสำนักงานธุรการ ๑ หลัง ๓.๕.๖ บ้านพักครู ๓ หลัง บ้านพักครู ๑


๑๖ บ้านพักครู ๒


๑๗ ๓.๕.๗ สนามเด็กเล่น ๑ สนาม ๓.๕.๘ สนามฟุตบอล ๑ สนาม


๑๘ ๓.๕.๙ สนามวอลเลย์บอล ๑ สนาม ๓.๕.๑๐ สนามเปตอง ๒ สนาม


๑๙ ๓.๕.๑๑ ห้องพุทธจิต ๑ ห้อง ๓.๕.๑๒ โรงจอดรถ ๑ โรง


๒๐ ๓.๕.๑๓ สวนพฤกษศาสตร์


๒๑ ๓.๕.๑๔ หน้าเสาธง ๓.๕.๑๕ โดม ๑ หลัง (กำลังก่อสร้าง)


๒๒ ๓.๕.๑๖ ถนนโรงเรียน ๓.๕.๑๗ สวนแปลงเกษตรโรงเรียน


๒๓ ๓.๕.๑๘ อ่างแปรงฟันนักเรียน ๓.๕.๑๙ ศาลาพัก


๒๔ ๓.๕.๒๐ ประตูหน้าโรงเรียน ๓.๕.๒๑ ป้ายหน้าโรงเรียน


๒๕ ๓.๖ แผนผังโรงเรียน ๓.๗ แผนที่แสดงเส้นทางที่ตั้งของโรงเรียน


๒๖ ๓.๘ แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารโรงเรียน


๒๗ ส่วนที่ ๒ ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู


๒๘ ๑. ด้านการเรียนการสอน ๑.๑ สภาพการจัดการเรียนการสอน ภาพ ห้องเรียน ด้านการจัดการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนแบบออนไซต์ ( on-site) โดยใช้ทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 (The Twenty-First Century Skills) สภาพภายในห้องเรียนมีขนาดที่พอดีต่อการจัดโต๊ะเรียน รวมไปถึงการทำกิจกรรมต่าง ๆ อากาศถ่ายเทสะดวก ไม่ร้อนจนเกินไป โดยในห้องเรียนจะมีการนั่งเป็น คู่ เพื่อให้นักเรียนช่วยเพื่อนในการเรียนและการทำกิจกรรมต่าง ๆ ภายในห้องเรียน นอกจากนี้ยังจัดมุมต่าง ๆ ภายในห้องเรียนที่ค่อนข้างเป็นระเบียบเรียบร้อยทำให้ครูผู้สอนสะดวกในการเดินสำรวจผู้เรียนขณะทำการ เรียนการสอน ในส่วนของอุปกรณ์ช่วยในการเรียนการสอนมีเพียงพอต่อการใช้งาน เช่น โทรทัศน์ เป็นต้น การเรียนการสอนวิธีการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เน้นการเรียนรู้ที่ลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรงและต่อยอดความรู้นั้นได้ ด้วยตนเอง เช่น การแสดงบทบาทสมมุติในการนำหลักธรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน การเชื่อมโยงความรู้ หรือแลกเปลี่ยนความรู้กับชุมชนและสังคม เช่น การสอบถามผู้นำชุมชนเกี่ยวกับความรู้ในอาชีพที่ผู้นำชุมชนทำ การอภิปราเกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างสมดุลและเหมาะสม เช่น การใช้ แบบทดสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนการใช้เกมส์ การสังเกต ชิ้นงาน สื่อ เป็นต้น เพื่อดู พัฒนาการของนักเรียนในด้านความเข้าใจต่อเนื้อหาที่สอนควบคู่กับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพ จริงในห้องเรียน และให้นักเรียนมีการสะท้อนกลับ(Feedback) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วมวางแผนการเรียนรู้


๒๙ และเสนอในสิ่งที่ตนเองต้องการจากการเรียนในเนื้อหาถัดไป การบรรยากาศการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้น การจัดชั้นเรียนให้ทำงานแบบกลุ่มและแบบทีมใช้เกมส์บ้างบางชั่วโมงเพื่อเพิ่มความน่าสนใจของเนื้อหาและ กระตุ้นความอยากรู้ของนักเรียน อีกทั้งยังให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านสื่อวิดิทัศน์ ๑.๒ การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน ปัญหาปัจจุบันนั้นมีหลากหลายซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นได้ 2 ส่วนสำคัญคือ ปัญหาของผู้เรียน และ ปัญหาเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน ปัญหาผู้เรียนคือขาดทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูล ขาดทักษะในเรื่องของ การทำงานกลุ่มหรือการทำงานร่วมกัน และผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ในบางเนื้อหา เนื่องจากในระยะเวลาที่ผ่านมา นักเรียนเรียนแบบออนไลน์ที่บ้าน และไม่สามารถเข้าใจในบทเรียนใหม่ๆได้ เพราะว่าขาดความรู้ ส่วนปัญหาเกี่ยวกับการสื่อนั้นพบว่าสื่อไม่ดีพอต่อการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้ เกิดกับผู้เรียนได้อย่างเต็มที่ สภาพปัญหา พบว่านักเรียนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ในเรื่องที่เรียนน้อยกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ อีกทั้งการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้ายังไม่เกิดขึ้นกับนักเรียนส่วนมากในแต่ละห้อง การแก้ไขปัญหา ใช้วิธีสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดโดยเฉพาะการสืบค้นข้อมูลที่ครูแนะนำ ให้แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และประเมินสถานการณ์จากเรื่องที่เรียน พบว่าทักษะในการคิดวิเคราะห์เพิ่มขึ้น จากเดิมอยู่ในระดับปานกลาง และสามารถแก้ปัญหาภายในกลุ่มได้ดีขึ้น ๑.๓ การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน ๑.๓.๑ การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลในปีการศึกษา ๒๕๖๖ ได้วิเคราะห์ข้อมูลจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ โรงเรียนบ้านนาฝาย อำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โดยวิเคราะห์ตามประเด็นการ วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ๒ ด้านคือ ๑) ด้านข้อมูลภูมิหลังครอบครัว ๒) ด้านพฤติกรรม จากการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ ๑. ด้านข้อมูลภูมิหลังครอบครัว พบว่าการประกอบอาชีพส่วนใหญ่ของอาชีพผู้ปกครองประกอบ อาชีพเกษตรกรรม รับราชการ ค้าขาย และรับจ้างทั่วไป ตามลำดับ โดยส่วนมากนักเรียนอยู่กับบิดามารดาแต่ ส่วนน้อยที่บิดามารดา แยกทางกัน ต้องอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย รวมถึงญาติ ๒. ด้านพฤติกรรม พบว่าจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนในแต่ละห้องบางคนไม่ตั้งใจ เรียน ขาดเรียนบ่อย สมาธิสั้น แต่ภาพรวมของแต่ละห้องโดยรวมอยู่ในระดับดี ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ พฤติกรรมที่แสดงออก การเข้าเรียน การตั้งใจเรียน


๓๐ ๒. การวิเคราะห์หลักสูตร ๒.๑ หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย ควบคู่กับความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ มีคุณภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น ๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการ จัดการเรียนรู้ ๕. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ ๒.๒ จุดมุ่งหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญามีความสุขมีศักยภาพใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


๓๑ ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีจิต สาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ๒.๓ เวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานซึ่งระบุการจัดเวลา เรียนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาส่วนรายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาสามารถจัดให้เหมาะสมสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และ บริบทของ สถานศึกษาโดยการกำหนดเวลาเรียนในแต่ละระดับการศึกษา ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ระดับประถมศึกษา : กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้๘ กลุ่ม มี เวลาเรียนรวม ๘๔๐ ชั่วโมงต่อปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ชั่วโมงต่อปี และรายวิชา/กิจกรรมที่ สถานศึกษา จัดเพิ่มติมตามความพร้อมและจุดนันไม่น้อยกว่า ๔๐ ชั่วโมงต่อปี รวมไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ชั่วโมงต่อปี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้๘ กลุ่ม มีเวลาเรียนรวม ๘๘๐ ชั่วโมงต่อปี(๒๒ หน่วยกิต) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ชั่วโมงต่อปี และรายวิชา/ กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้นปีละไม่น้อยกว่า ๒๐๐ ชั่วโมงต่อปี รวมไม่น้อย กว่า ๑,๒๐๐ ชั่วโมงต่อปี


๓๒ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ป.1 – ม.3) โรงเรียนบ้านนาฝาย สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 จังหวัดอุดรธานี โครงสร้างหลักสูตร ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตใน สังคม - เศรษฐศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ - การป้องกันการทุจริต 80 80 80 80 80 80 ประวัติศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศิลปะ 40 40 40 40 40 40 การงานอาชีพ 40 40 40 80 80 80 ภาษาต่างประเทศ 160 160 160 80 80 80


๓๓ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 840 840 840 840 840 840 รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 40 40 40 - - - หน้าที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร - - - 40 40 40 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 80 80 80 80 80 80 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมแนะแนว 30 30 30 30 30 30 - กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ – เนตรนารี - ชุมนุม 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 - กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10 รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ บูรณาการ บูรณาการ บูรณาการ บูรณาการ บูรณาการ บูรณาการ รวมเวลาทั้งหมด 1,040 ชั่วโมง 1,040 ชั่วโมง หมายเหตุ : ชั้น ป.1 – 6 หลักสูตรการป้องกันการทุจริตบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โครงสร้างหลักสูตร ระดับประมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ม.1 ม.2 ม.3 • กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -วิทยาศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)


๓๔ -วิทยาการคำนวณ (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม -ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม และ การดำเนิน ชีวิตในสังคม -การป้องกันการทุจริต -เศรษฐศาสตร์ -ภูมิศาสตร์ -ประวัติศาสตร์ 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) สุขศึกษา พลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ ดนตรี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพ -การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ แนะแนว ชุมนุม กิจกรรมสาธรณประโยชน์ 120 40 40 25 15 120 40 40 25 15 120 40 40 25 15 • รายวิชาเพิ่มเติม เสริมทักษะคณิตศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ภาษาอังกฤษสื่อสาร หน้าที่พลเมือง 200 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 200 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 200 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) รวมเวลาเรียนทั้งหมด 1200 1200 1200 **หมายเหตุ วิชาการป้องกันทุจริต บูรณาการกับการเรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ


๓๕ ๒.๔ หนังสือส่งตัวจากคณะครุศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


๓๖ ๒.๕ ตารางสอน ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา1/2566 นางสาวจิราภรณ์ ทองภู ตารางสอนภาคเรียนที่ 2/2566


๓๗ ๒.๖ การวิเคราะห์หลักสูตร คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญของ วัฒนธรรมไทย ประวัติศาสดาของศาสนา พระไตรปิฎก ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิด จากประวัติสาวก ชาดก และศาสนิกชนตัวอย่าง แสดงความเคารพพระรัตนตรัย เห็นคุณค่าของการสวดมนต์ แผ่เมตตา พัฒนาจิต และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา เห็นความสำคัญของศาสนวัตถุ ศาสนสถาน ศาสนบุคคล และประเพณีวัฒนธรรม รู้จักพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่น วันหยุดราชการ บุคคลสำคัญในท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆตาม กระบวนการประชาธิปไตย รวมไปถึงความแตกต่างของกระบวนการตัดสินใจ การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้ทักษะทาง ภูมิศาสตร์ด้านการสังเกตุ การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ รวมถึงทักษะด้านการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์ และมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ด้านการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันเพิ่งประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความรับผิดชอบ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ ส ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ส ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ รวม ๑๗ ตัวชี้วัด


๓๘ ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านนาฝาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน ๑ พระพุทธศาสนาน่ารู้ ส ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๖ การศึกษาพระพุทธศาสนา มีความสำคัญต่อ พุทธศาสนิกชนชาวไทย เพราะเป็นเครื่องยึด เหนี่ยวจิตใจ เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต และเป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย และการศึกษาพุทธประวัติตั้งแต่การบำเพ็ญ เพียรไปจนถึงปรินิพพานทำให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความศรัทธา และความเลื่อมใส ในศาสนาพุทธ ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็น แบบอย่างในการดำเนินชีวิต พุทธประวัติทำให้เกิดความศรัทธา และ ความเลื่อมใสในศาสนาพุทธ ซึ่งสามารถนำ แบบอย่างในการดำเนินชีวิตและข้อคิดที่ได้ จากหลักธรรมคำสอน ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างที่เคารพและศรัทธา มาประยุกต์ใช้ในการประพฤติปฏิบัติตนให้ ถูกต้องตามหลักของศาสนา การปฏิบัติตนใน ศาสนาพิธีและวันสำคัญทางศาสนาต่างๆก็ ถือเป็นการส่งเสริมจิตสาธารณะของตนเอง และเป็นการธำรงค์ไว้ของศาสนาที่ตนนับถือ ๒ ๑๐ ๒ เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ส ๑.๑ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๗ พระพุทธศาสนามีคัมภีร์ซึ่งเป็นแหล่งอ้างอิง หลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ได้สอน ให้พุทธศาสนิกชนนั้นได้ปฏิบัติตามเพื่อที่จะ ได้เป็นคนดีมีศีลธรรม การศึกษาหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนานั้นจะทำให้มีความรู้ ๓ ๑๕


๓๙ หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน ความเข้าใจในหลักธรรมคำสอน และ สามารถนำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๓ แบบอย่างที่ดี ส ๑.๑ ป.๓/๓ การเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติพุทธสาวก และ ศาสนิกชนตัวอย่างทำให้เราเห็นแบบอย่าง การทำความดี เห็นคุณค่าของการทำความดี เกิดการชื่นชม แล้วนำแบบอย่างนี้ไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน ๒ ๑๐ ๔ ชาวพุทธที่ดี ส ๑.๑ ป.๓/๖ ส ๑.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ พุทธศาสนิกชนที่ดีจะต้องรู้จักปฏิบัติตนและ เห็นคุณค่าของศาสนบุคคล ศาสนวัตถุ ศาสน สถาน เพื่อที่จะได้อนุรักษ์ไว้เป็นวัฒนธรรม ของไทยสืบต่อไป รวมไปถึงการเห็นคุณค่า ความสำคัญของการปฏิบัติศาสนพิธี พิธีกรรมต่างๆ และพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาได้อย่างถูกต้อง เพื่อแสดง ความเคารพศรัทธาในพระพุทธศาสนา ๔ ๑๕ ๕ กระบวนการ ประชาธิปไตย ส ๒.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ การอยู่ร่วมกันในสังคม เราต้องปฏิบัติตนให้ ถูกต้องและเหาะสมตามบทบาทหน้าที่ของ สมาชิกที่ดีในสังคม และการเลือกผู้นำในแต่ ละระดับ ทั้งระดับห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน ถือเป็นกระบวนการประชาธิปไตยที่สำคัญ และมีผลต่อการพัฒนาสังคมในระดับนั้นๆ ๔ ๑๐ ๖ การดำเนินชีวิตใน ครอบครัวท้องถิ่น ส ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ๓/๔ การศึกษาประเพณีและวัฒนธรรมใน ครอบครัวและท้องถิ่น พฤติกรรมการดำเนิน ชีวิตของผู้คนที่อยู่ในวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทำให้เราเกิดความรู้ความเข้าใจ และยอมรับ ในความแตกต่างระหว่างกัน และการศึกษา วันหยุดราชการ ตลอดจนประวัติของบุคคล ที่ทำคุณประโยชน์ให้กับชุมชนท้องถิ่น ทำให้ ๔ ๑๐


๔๐ หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของการทำความ ดี อันเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนเป็น พลเมืองดีของชาติ ระหว่างปี ๑๙ ๗๐ ปลายปี ๑ ๓๐ รวม ๒๐ ๑๐๐ กำหนดการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต แผนการสอนที่ เรื่องที่สอน จำนวน(ชม.) ๑ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ๑ ๒ พุทธประวัติ ๑ ๓ พระไตรปิฎก ๑ ๔ หลักธรรมสำคัญทางพระพุทธศาสนา ๑ ๕ ศาสนบุคคล ศาสนวัตถุ และศาสนสถาน ๑ ๖ ประวัติพุทธสาวก ๑ ๗ มารยาทชาวพุทธ ๑ ๘ ศาสนพิธี ๑ ๙ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ๑ ๑๐ การฝึกสติและสมาธิ ๑ ๑๑ การฝึกยืน เดิน นั่งนอน อย่างมีสติ ๑ ๑๒ บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน ๑ ๑๓ การมีส่วนร่วมในชุมชนตามกระบวนการประชาธิปไตย ๑ ๑๔ การเลือกตัวแทนในชั้นเรียนและโรงเรียน ๑ ๑๕ การเลือกตัวแทนในชุมชน ๑ ๑๖ ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น ๑ ๑๗ พฤติกรรมการดำเนินชีวิตในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย ๑ ๑๘ บุคคลตัวอย่างในชุมชนและท้องถิ่น ๑


๔๑ ๑๙ วันหยุดราชการสำคัญ ๑ ๒๐ สอบปลายภาค ๑ รวม ๒๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๒ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย จำแนกความต้องการและความจำเป็นในการใช้สินค้าและบริการ วิเคราะห์ หารใช้จ่ายของตนเอง อธิบายทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดมีผลต่อการผลิตและการบริโภค สินค้าและบริการที่รัฐ จัดหาให้ ภาษี ที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและวัฒนธรรมชุมชน แผนผัง แผนที่ และภาพถ่าย เปรียบเทียบสภาพแวดล้อมของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน สภาพแวดล้อมที่มีผล ต่อการดำเนินชีวิต ลักษณะของเมืองและชนบท มลพิษที่เกิดจากมนุษย์ และมีส่วนร่วมในการจัดการ สิ่งแวดล้อม ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้ทักษะทาง ภูมิศาสตร์ด้านการสังเกตุ การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ รวมถึงทักษะด้านการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์ และมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ด้านการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันเพิ่งประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความรับผิดชอบ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก ตัวชี้วัด ส ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ส ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๕.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ รวม ๑๔ ตัวชี้วัด


๔๒ ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านนาฝาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน ๒.๐ หน่วยกิต เวลา ๔๐ ชั่วโมง หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน ๑ สินค้าและบริการกับ การดำรงชีวิต ส ๓.๑ ป.๓/๑ ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของคนเรา โดยทั่วไปมีไม่จำกัดหรือไม่สิ้นสุด แต่เงินที่ใช้ จ่ายสำหรับซื้อสินค้าและบริการมีจำกัด ดังนั้น เพื่อให้สามารถเลือกซื้อสินค้าและ บริการให้พอเพียงกับความต้องการของเรา จึงจำเป็นต้องรู้หลักการเลือกซื้อสินค้าและ บริการ เพื่อวางแผนการใช้จ่ายเงิน โดย พิจารณาถึงความจำเป็นมากกว่าความ ต้องการ ๕ ๑๐ ๒ การวางแผนการใช้ จ่ายเงินของตนเอง ส ๓.๑ ป.๓/๒ ส ๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ การวางแผนการใช้จ่ายเงิน เป็น สิ่งจำเป็นที่ทุนคนควรฝึกปฏิบัติ เพราะจะทำ ให้เราใช้จ่ายเงินเหมาะสมกับรายรับที่มี และ ช่วยทำให้เรามีเงินออม ซึ่งจะทำให้มีเงินใช้ เมื่อยามจำเป็น ๘ ๒๐ ๓ การผลิตและการ แข่งขันทางการค้า ส ๓.๑ ป.๓/๓ ส ๓.๒ ป. ๓/๓ ทรัพยากรที่เรานำมาใช้ในการผลิต สินค้าและบริการมีอยู่อย่างจำกัด ดังนั้น เรา จึงควรใช้ทรัพยากรอย่างฉลาดคุ้มค่า ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ทั้งในฐานะที่เป็นผู้ผลิตและ ผู้บริกโภค ๖ ๘ ๔ เครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ ส ๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ รอบบริเวณโรงเรียนและชุมชนมี สถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น ศาสนสถาน โรงพยาบาล ที่ทำการไปรษณีย์ เราสามารถ สืบค้นข้อมูลทางภูมิศาสตร์ของสถานที่ ๖ ๗


๔๓ หน่วย ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) น้ำหนัก คะแนน สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชนได้โดยใช้ แผนผัง แผนที่ และรูปถ่าย เป็นเครื่องมือใน การแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญใน บริเวณโรงเรียนและชุมชน นอกจากนี้ การวาดแผนผังยังช่วยทำ ให้เรามีความเข้าใจเกี่ยวกับสถานที่สำคัญใน บริเวณโรงเรียนและชุมชนมากขึ้น ๕ ชุมชนของเรา ส ๕.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ลักษณะทางกายภาพของชุมชนเป็น ปัจจัยสำคัญที่ส่งต่อการดำรงชีวิตของผู้คนใน ชุมชนแต่ละแห่ง ซึ่งแวดล้อมของชุมชนใน ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมาก ส่งผลให้วิถีชีวิตของผู้คนในชุมชน เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย เนื่องจากมนุษย์ จำเป็นต้องใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการดำรงชีวิต ๑๐ ๑๕ ๖ สิ่งแวดล้อมในชุมชน ส ๕.๒ ป.๓/๓ ป.๓/๖ มนุษย์จำเป็นต้องพึ่งพาอาศัย สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในการ ดำรงชีวิต แต่ในขณะเดียวกันมนุษย์ก็มีส่วน ทำให้สิ่งแวดล้อมเกิดการเปลี่ยนแปลงและ เกิดมลพิษ ก่อให้เกิดผลเสียต่อการดำรงชีวิต ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตต่างๆ ดังนั้น เราทุก คนจึงต้องช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนให้อยู่ในสภาพดี มีความเป็นธรรมชาติ น่าอยู่อาศัย และสามารถพัฒนาได้อย่าง ยั่งยืน ๔ ๑๐ ระหว่างปี ๓๙ ๗๐ ปลายปี ๑ ๓๐ รวม ๔๐ ๑๐๐


๔๔ ๒.๗ ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง ศาสนาของเรา เวลา ๑๑ ชั่วโมง เรื่อง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ผู้สอน นางสาวจิราภรณ์ ทองภู ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ป.๓/๑ อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็น รากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย ๒. สาระสำคัญ พระพุทธศาสนา มีความสำคัญต่อพุทธศาสนิกชนชาวไทย เพราะเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็น แนวทางในการดำเนินชีวิต และเป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑) นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่มีต่อพุทธศาสนิกชนชาวไทยได้ (K) ๒) นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่มีต่อพุทธศาสนิกชนชาวไทยได้ (P) ๓) นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่มีต่อพุทธศาสนิกชนชาวไทย (A) ๔. สาระการเรียนรู้ • ความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนากับการดำเนินชีวิต • การสร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทย ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์


๔๕ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) มุ่งมันในการทำงาน ๘) มีจิตสาธารณะ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ ๑) ครูกล่าวทักทายนักเรียน แนะนำวิชาที่สอน และเรื่องที่จะสอน ๒) นักเรียนเล่าสิ่งที่ไปทำมาในช่วงปิดภาคเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ๓) นักเรียนตอบคำถาม “นักเรียนรู้จักพระพุทธศาสนา หรือศาสนาพุทธหรือไม่” ขั้นสอน ๔) นักเรียนฟังคำอธิบายจากครูว่า “พระพุทธศาสนามีบทบาทสำคัญต่อพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้ง ด้านการดำเนินชีวิตและด้านศิลปะวัฒนธรรม” พร้อมยกตัวอย่างความสัมพันธ์ทางด้านการดำเนินชีวิตและการ สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะวัฒนธรรมไทยให้นักเรียนฟัง ๕) นักเรียนจับกลุ่ม ๕-๖ คนยกตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยที่ได้รับอิทธิพลจาก พระพุทธศาสนา โดยแบ่งเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ประติมากรรม จิตรกรรม สถาปัตยกรรม ลงบนสมุด ๖) นักเรียนทำใบงานที่ ๑.๑ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ขั้นสรุป ๗) นักเรียนร่วมกันอธิบายความสำคัญของศาสนาพุทธที่มีบทบาทต่อพุทธศาสนิกชนในการดำเนินชีวิต ให้ครูฟังเพื่อเป็นการสรุปบทเรียน ๘) ครูนัดหมายนักเรียนในการเรียนชั่วโมงถัดไป ๘. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๘.๑ สื่อการเรียนรู้ ๑) หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๒) ใบงานที่ ๑.๑ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ๓) สื่อ Powerpoint เรื่อง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ๘.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๑) ห้องเรียน ๒) ห้องสมุด ๓) โซเชียลมีเดีย


Click to View FlipBook Version