The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอนประมาณราคางานสถาปัตยกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prangrak, 2022-05-05 03:54:00

เอกสารประกอบการสอนประมาณราคางานสถาปัตยกรรม

เอกสารประกอบการสอนประมาณราคางานสถาปัตยกรรม

129

บทท่ี 7
การประมาณราคางานไฟฟา้

งานไฟฟ้าเป็นส่วนประกอบทส่ี ำคญั ของอาคารท่ีตอ้ งดำเนนิ การเตรยี มความพร้อม เพ่ือติดต้ัง
อุปกรณ์ต่าง ๆ ควบคู่ไปกับงานก่อสรา้ งส่วนประกอบอื่น ๆ ของอาคาร การประมาณราคางานไฟฟ้า
คือ การกำหนดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการติดตั้งงานไฟฟ้าตามรูปแบบรายการที่กำหนดในแบบและ
รายการประกอบแบบก่อสร้าง ผู้ประมาณราคางานก่อสร้างต้องศึกษารูปแบบรายละเอียดและ
ขอ้ กำหนดตา่ ง ๆ จากแบบแปลนและสญั ลกั ษณข์ องงานไฟฟา้ ให้ละเอียดรอบคอบ

7.1 ความรู้เบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั งานไฟฟ้า

งานระบบไฟฟ้า หมายถงึ ลักษณะการสง่ จ่ายกระแสไฟฟา้ จากแหล่งกำเนิดไปยงั ผู้ใช้ไฟฟา้ ตามประเภท
การใช้งาน โดยสง่ จากสถานีไฟฟ้าผ่านสายไฟฟ้าแรงสูง สถานไี ฟฟ้ายอ่ ยและหม้อแปลงแปลงไฟฟ้าให้
ต่ำลง ไปยังบนพักอาศัย สำนักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ผู้ทำหน้าที่ประมาณราคงน
ก่อสรา้ งควรมีความรเู้ กีย่ วกบั งานระบบไฟฟา้ ดงั นี้

7.1.1 วิธกี ารเดนิ สายไฟฟ้าภายในอาคาร
1. เดนิ ลายไฟฟ้าแบบปดิ เปน็ การเดนิ สายไฟฟา้ ในทอ่ รอ้ ยสาย ไฟฟา้ (Electrical Conduit)
เรียกว่า "เดินสายไฟฟ้าแบบร้อยท่อ" พบได้ทั้งแบบเดินลอยและแบบฝังในผนัง มักใช้สายไฟฟ้า
ประเภท THW ร้อยในท่อร้อยสายไฟฟ้า โดยท่อ 1 เส้นสามารถมีสายไฟฟ้าได้หลายเส้นที่เป็นวงจร
เดียวกนั
2. การเดินสายไฟฟ้าแบบเปิด เป็นการเดินสายไฟฟ้าโดยมีคลิป (Clip) รัดสายไฟฟ้าเพื่อ
ทำหน้าที่ยึดสายไฟฟ้าให้ติดกับผนัง หรือเพดานของอาคารทุกระยะ ประมาณ 10 ซม. บางครั้งอาจ
เรยี กว่า "เดินสายไฟฟา้ แบบตกี ๊ิบ" มกั ใช้สายไฟฟ้าประเภท VAF

7.1.2 ชนิดของสายไฟฟ้า
1. สายไฟฟ้าชนิดวีเอเอฟ (VAF) มที ้งั ชนดิ ทเ่ี ป็นสายเดย่ี วที่มีลักษณะเปน็ สายกลม และสาย
คู่ชนิด 2 แกน หรือ 3 แกน ที่มีลักษณะเป็นสายแบน ตัวนำไฟฟ้านอกจากจะมีฉนวนหุ้มแล้วยังมี
เปลือกห้มุ อีกชน้ั หน่ึง นยิ มใชใ้ นงานเดนิ สายไฟฟา้ แบบเปดิ โดยใช้คลิปรัดสายไฟฟ้า ใช้เดินสายไฟฟ้า
ในท่ีแหง้ ห้ามนำไปใช้งานเดนิ ร้อยทอ่ ฝงั ดนิ หรอื ฝังดนิ โดยตรง

130

2. สายไฟฟ้าชนิดทีเอชดับเบิลยู (THW) เป็นสายชนิดสายเดี่ยว เหมาะสำหรับใช้งานเดิน
สายไฟฟ้าทว่ั ไป ท้งั งานเดินร้อยในท่อร้อยสาย หรอื งานเดนิ ลอยในอากาศ และตอ้ งป้องกนั ไมใ่ ห้นำ้ เขา้
ไปในช่องเดนิ สายไฟฟ้า ห้ามนำไปใชง้ านเดินรอ้ ยท่อฝงั ดิน รวมถงึ หา้ มนำไปฝังดินโดยตรง

3. สายไฟฟา้ ชนิดเอ็นวายวาย (NYY) มีทั้งชนิดแกนเดียวและหลายแกน ทั้งแบบมสี ายดิน
และไมม่ ีสายดิน นิยมใช้อยา่ งกว้างขวาง เน่ืองจากมคี วามทนต่อสภาพแวดล้อม เพราะมีปลือกหุ้มอีก
หนึง่ ช้ัน หรอื อาจเรียกว่าสายฉนวน 3 ช้นั เหมาะสำหรับใช้งานเดินสายไฟฟ้าท่ัวไป วางบนรางเคเบิล
และเดนิ สายไฟฟา้ ฝังดินได้โดยตรง

4. สายไฟฟ้าชนิดวีทีซี (VTC) เป็นสายกลมชนิด 1 แกน 2 แกน 3 แกน และ 4 แกน ทั้ง
ชนิดสายเดียวและสายคู่ ทั้งแบบมีสายดินและไม่มีสายดิน มีลักษณะอ่อนตัวและทนต่อสภาพการ
สั่นสะเทือน ได้ดี เหมาะสำหรับงานเดินสายไฟฟ้าเข้าเครื่องจักรกลที่มกี ารสัน่ สะเทือนขณะใช้งาน
สามารถเดินแบบฝงั ดินไดโ้ ดยตรง

7.1.3 ชนดิ ของทอ่ รอ้ ยสายไฟฟา้
ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ท่อโลหะ และท่ออโลหะ ซึ่งมี
รายละเอยี ดดังนี้
1. ทอ่ โลหะ สามารถจำแนกตามการใช้งานไดด้ ังน้ี
1. ท่อโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing; EMT) ผลิตจากแผ่นเหล็กกล้าชนิดรีด
รอ้ นหรอื รีดเยน็ หรอื แผ่นเหล็กกล้าเคลือบสังกะสี ผวิ ภายในเคลือบด้วยอีนาเมล ทำให้ผิวท่อเรียบท้ัง
ภายในและภายนอก มีความมันวาว ปลายท่อเรียบทั้ง 2 ด้าน ไม่สามารถทำเกลียวได้ใช้ตัวอักษรสี
เขียวระบุชนิดและขนาดของท่อ มีขนาดตั้งแต่ 1/2" - 2" ความยาวท่อนละ 3 ม. ใช้งานได้เฉพาะ
ภายในอาคารเท่านน้ั ห้ามใชฝ้ งั ดินและระบบไฟฟ้าแรงสงู
2. ท่อโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit; IMC) ผลิตจากวัสดุชนิด
เดียวกับท่อ EMT แต่มีความหนามากกว่า มีเกลียวที่ปลายท่อทั้ง 2 ด้าน ใช้ตัวอักษรสีส้มหรือสีแดง
ระบุชนิดและขนาดของท่อ มีขนาดตั้งแต่ 12" - 4" ความยาวท่อนละ 3 ม. ใช้งานได้ทั้งภายในและ
ภายนอกอาคาร สามารถฝงั ดินได้
3. ท่อโลหะหนา (Rigid Steel Conduit; ท่อ RSC) ผลิตจากแผ่นเหล็กกล้าชนิครีดร้อน
หรือ
รดี เย็น หรือแผน่ เหล็กกล้าเคลอื บสงั กะสีท้งั ผิวภายนอกและภายในเพื่อปอ้ งกนั สนิม ทำให้ผิวท่อเรียบ
ทงั้ ภายในและภายนอกทอ่ แตผ่ วิ มีความด้านและหนากว่าท่อ EMT และ IMC เกลียวทปี่ ลายท่อทั้ง 2
ดา้ น ใช้ตัวอกั ษรสดี ำระบุชนิดและขนาดของท่อ มีขนดต้ังแต่ 12" - 6" ความยาวทอ่ นละ 3 ม. ใช้งาน
ได้ทงั้ ภายในและภายนอกอาคาร สามารถฝังดนิ ได้

131

4. ท่อโลหะอ่อน (Flexible Metal Conduit; ท่อ FMC) ผลิตจากแผ่นเหล็กกล้าเคลือบ
สงั กะสที ง้ั ผิวภายนอกและภายใน เปน็ ทอ่ ทีม่ คี วามอ่อนตวั โค้งงอไปมาได้ เหมาะสำหรบั ต่อเข้ากับดวง
โคม มอตอร์ หรือเครื่องจักรกลที่มีการสั่นสะเทือน มีขนาดตั้งแต่ 12" -4" ห้ามใช้เดินในสถานท่ี
เปยี ก งานฝงั ดนิ หรอื ฝงั ในผนังคอนกรีต

5. ทอ่ โลหะอ่อนกันน้ำ เปน็ ท่อโลหะออ่ นท่ีมีเปลอื ก PVC หมุ้ ดา้ นนอก เพื่อป้องกันความขึ้น
ไม่ให้เข้าไปภายในท่อได้ มีขนาดตั้งแต่ 12" - 4" เหมาะสำหรับใช้งานในบริเวณที่มีความชื้นหรือ
ต้องการความอ่อนตัวของท่อ เพื่อป้องกันสายไฟฟ้าชำรุดจากไอของเหลวหรือของแข็งหรือในท่ี
อันตราย หา้ มใชใ้ นบรเิ วณทีอ่ ณุ หภมู ิสูง เพราะอาจทำใหท้ อ่ เสยี หาย

2. ทอ่ อโลหะ สามารถจำแนกตามการใชง้ านได้ดังน้ี
1. ท่อพีวีซี (PVC) ทำด้วยพลาสติกพีวีซีที่มีคุณสมบัติต้านเปลวไฟ แต่ข้อเสียคือ ไม่ทนต่อ
แสงแดด มขี นาดตัง้ แต่ 12" -4" และยาวทอ่ นละ 4 ม. เหมาะสำหรับใชง้ านเดนิ ลอยในอากาศหรือฝัง
ในผนงั คอนกรตี ทใ่ี ชง้ านในปัจจุบันมี 2 สคี อื ทอ่ สีเหลอื ง เหมาะสำหรบั ระบบไฟฟา้ ท่ฝี ังในผนัง และ
ทอ่ สีขาว นยิ มใช้ในงานต่อเตมิ และงานเดินลอยบนผนงั
2. ท่อเอชดพี อี ี (HDPE) ทำด้วยพลาสตกิ Polyethylene ชนดิ High Density ท่มี ีคณุ สมบัติ
ต้านทานเปลวไฟ มีความแข็งแรงสงู ยืดหยุ่นตัวได้ดี จึงไม่ต้องดดั ท่อ ทำให้เดินท่อได้ละดวก มีขนาด
ต้ังแต่ 1/2" ขึน้ ไป เหมาะสำหรับใช้งานเดนิ สายบนผิวในท่ีโล่งหรือซ่อนบนฝา้ เพดานในอาคาร
3. ท่อพีเฟล็กซ์ (P Fex) เป็นท่อที่มีลักษณะเป็นปล้องๆ มีความอ่อนตัว โค้งงอได้สะดวก
คล้ายกับท่อโลหะอ่อน มีความยาวตั้งแต่ 30-50 ม. ขึ้นอยู่กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ มีท้ัง
ชนิดฝงั ในคอนกรตี และชนิดผสมสารกนั ไฟ เพอื่ ใชใ้ นทโี่ ล่งหรือวางบนฝา้ เพดาน

7.1.4 รางเดนิ สายไฟฟ้า
รางเดนิ สาไฟฟ้าท่ใี ช้งานเดนิ สายไฟฟา้ สามารถจำแนกตามการใช้งานได้ดังนี้
1. รางเดินสายชนิดโลหะ หรือที่เรียกว่า รางไวร์เวย์ (Wire Way) เป็นรางชนิดที่ผลิตจาก
เหล็กแผ่นบางเคลือบโลหะผสมระหวา่ งอะลูมิเนียมกบั สังกะสี เหมาะสำหรับตดิ ตั้งในท่ีเปดิ โล่ง ห้ามใช้
เป็นตวั นำสำหรับตอ่ ลงดิน
2. รางเดนิ สายชนดิ พีวซี ี (PVC) เปน็ รางชนดิ ทีผ่ ลติ จากพลาสติกพวี ซี ี มที งั้ ชนดิ ทบึ และ
ชนดิ แข็ง เหมาะสำหรบั ใช้เกบ็ สายไฟฟ้า สายโทรศัพท์ และสายสัญญาณคอมพวิ เตอรใ์ นอาคาร

132

7.2 หลักเกณฑ์การประมาณราคางานไฟฟ้า

ระบบไฟฟ้า หมายถึงลักษณะการส่งจ่ายกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกำเนิดไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าตาม
ประเภทการใช้งาน โดยสง่ จากสถานไี ฟฟ้าผา่ นสายไฟฟ้าแรงสูง สถานีไฟฟา้ ยอ่ ย และหม้อแปลงแปลง
ไฟฟ้าให้ต่ำลงไปยังบ้านพักอาศัย สำนักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรมกรมบัญชีกลางได้กำหนด
หลักกณฑเ์ ก่ียวกบั การประมาณราคางานระบบไฟฟา้ ไวด้ งั น้ี

7.21 ลักษณะของการถอดแบบสำรวจปรมิ าณวัสดุอปุ กรณง์ านระบบไฟฟา้ แบง่ ออกเปน็
2 แบบไดแ้ ก่

1. วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องนับจำนวน หมายถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ปรากฎในแบบหรือรายการ
ประกอบท่ใี ช้วิธีการถอดแบบดว้ ยวิธนี ับจำนวน ได้แก่ หมอ้ แปลง แผงสวิตช์ เซอรก์ ติ เบรกเกอร์ ดวงโคม
สวติ ช์ เตา้ รับ อุปกรณ์ระบบโทรศัพท์ ระบบสอ่ื สาร ระบบคอมพวิ เตอร์ ระบบแจ้งเหตเุ พลิงไหม้
ระบบเสียงประกาศ ระบบทีวีรวม ระบบทีวิวงจรปิด และอื่น ๆ ที่มีอยู่ในแบบและรายการประกอบ
แบบ

2. วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องวัดปริมาณ หมายถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ปรากฎในแบบ ซึ่งต้องใช้
วิธีการถอดแบบด้วยวิธีวัดความยาว ได้แก่ ท่อร้อยสายรางเดินสาย รางเคเบิล Busways สายไฟฟ้า
สายโทรศัพท์ สายสัญญาณต่าง ๆ มีหน่วยความยาวเปน็ เมตร และใช้วิธีการถอดแบบดว้ ยวิธวี ดั พื้นท่ี
ได้แก่ ระบบป้องกันไฟลาม มีหน่วยเปน็ ตารางเมตร เปน็ ต้น

7.2.2 หลกั เกณฑ์การถอดแบบสำรวจปริมาณงานระบบไฟฟ้า
1. งานระบบไฟฟ้าแรงสงู

1. สวิตช์เกยี ร์แรงสงู (RMU) บ่อดึงสาย บอ่ พักสาย นบั จำนวนเป็นชดุ
2. เสาไฟฟา้ แรงสงู และอุปกรณ์ นบั จำนวนเปน็ ชุด (รวมอปุ กรณป์ ระกอบการตดิ ต้งั )
3. สายไฟฟ้าแรงสูง วัดความยาวมีหน่วยเป็นเมตร โดยวัดเผื่อปลายสายแนวตั้งทั้ง
ดา้ นตน้ ทางและปลายทางตามสควร (ใหอ้ ยู่ในดุลพินิจของผคู้ ำนวณราคากลาง)
4. Duct Bank วัดความยาวมีหนว่ ยเป็นเมตร
2. งานท่อสายเมน ท่อสายป้อน (Feeder) และ ท่อสายวงจรย่อย (Branch Circuit)
ถอดแบบสำรวจปรมิ าณด้วยวิธีการวัดปริมาณความยาวทั้งตามแนวนอนและแนวต้ังตามความเป็นจริง
โดยคำนึงถึงสภาพหนา้ งานจรงิ ท่จี ะติดตัง้ ด้วย
3. ดวงโคมไฟฟ้า
1. นับจำนวนเป็นชุด โดยแยกเป็นแต่ละชนิดตามที่กำหนดในแบบ สัญลักษณ์ และ
รายละเอียดของดวงโคม
2. ดวงโคมทีใ่ ชช้ ดุ ควบคุมการเปล่ียนสีหรือชุด Drive หรือชดุ หมอ้ แปลงรวมกัน เชน่
ดวงโคมที่ใช้หลอด LED ควรถอดแบบนับจำนวนแยกรายการชุดควบคมุ ตามทใี่ ช้งานจริง

133

3. ดวงโคมประเภทติดต้ังบนราง (Track Light) ให้ถอดแบบนับจำนวนควงโคมเป็น
ชุดส่วนราง Track Light ระบุความยาวเป็นเมตร และถอดแบบนับจำนวนเป็นชุดแยกตาม
ขนาดความยาวทีร่ ะบุ

4. สวติ ชแ์ ละเต้ารับไฟฟา้
1. นับจำนวนเป็นชุด แยกเป็นแต่ละชนิดตามที่กำหนดในแบบ สัญลักษณ์ และ
รายละเอยี ดสวิตช์และเต้ารบั ไฟฟา้
2. สวิตช์หรี่ไฟระบบดิจิตอลและชุดควบคุม ควรถอดแบบสำรวจปริมาณวัสดุและ
อปุ กรณแ์ ยกรายการเป็นชดุ

7.2.3 หลกั เกณฑ์การเผ่อื ปริมาณงานระบบไฟฟา้

1. งานระบบไฟฟา้ แรงสูง

1. สายไฟฟ้าแรงสงู สายอากาศ เผื่อความยาว 20-30% และเผอื่ เบ็ดเตล็ด 5-10%

2. สายไฟฟ้าแรงสงู ใต้ดิน เผ่อื ความยาว 10-15% และเผือ่ เบด็ เตลด็ 10-15%

3. HV Duct Bank เผ่ือความยาว 10-15% และเผ่ือเบด็ เตล็ด 10-15%

2. งานท่อสายเมน

1. ทอ่ รอ้ ยสายไฟฟา้ เผ่อื ความยาว 5-10% และเผ่ือเบ็ดเตล็ด 15-20%

2. สายไฟฟา้ เผ่ือความยาว 5-10% และเผอื่ เบ็ดเตลด็ 5-10%

3. งานทอ่ สายปอ้ น (Feeder)

1. ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า เผ่อื ความยาว 10-15% และเผื่อเบ็ดเตลด็ 15-20%

2. สายไฟฟ้า เผื่อความยาว 10-15% และเผื่อเบด็ เตล็ด 5-10%

4. งานทอ่ สายวงจรยอ่ ย (Branch Circuit)

1. ทอ่ ร้อยสายไฟฟา้ เผื่อความยาว 15-20% และเผ่ือเบด็ เตลด็ 15-20%

2. สายไฟฟ้า เผอื่ ความยาว 15-20% และเผ่อื เบ็ดเตลด็ 5-10%

5. เปอร์เซ็นต์การเผื่อความยาว หมายถึงการเผือ่ เศษท่อ เศษสาย ความสูญเสียจากการตดิ ตั้ง และ

เผ่ือความสญู เสีย จากความยาวทอ่ ทไ่ี มส่ ามารถใช้ทอ่ ไดเ้ ตม็ ความยาว

6. เปอร์เซ็นต์การเผ่ือเบด็ เตล็ด หมายถึงการเผือ่ อุปกรณ์ท่อสาย อุปกรณ์ประกอบไฟฟ้าท่ีใชใ้ นการ

เดนิ สายไฟฟ้า เช่น กล่องดงึ สาย ข้อตอ่ ข้องอ เทปพันสาย น้ำยาร้อยสาย เป็นตน้

134

7.3 วิธีการประมาณราคางานไฟฟา้

การประมาณราคางานระบบไฟฟ้า มวี ธิ ีการดังน้ี
1. ศึกษาแบบแปลนไฟฟ้าของอาคารแต่ละชั้น รายการประกอบแบบ และสัญลักษณ์ต่าง ๆ
ของงานไฟฟ้า
2. นับจำนวนวัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ ของระบบไฟฟ้าที่ใช้หน่วยเป็นจำนวนนับจากแบบ
แปลนไฟฟา้ โดยแยกตามสญั ลักษณท์ ี่กำหนด
3. ศึกษาวธิ ีการเดินสายไฟฟ้าของอาคาร เชน่ เดนิ แบบเปดิ (คลปิ รัดสาย) หรอื เดนิ แบบปิด
(รอ้ ยทอ่ ) และข้อมลู วสั ดทุ ี่ใชใ้ นงนเดินสายไฟฟา้ จากรายการประกอบแบบไฟฟ้า
4. ศกึ ษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั วสั ดุอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นระบบไฟฟา้ ทกุ ชนิดทรี่ ะบุในรายการประกอบแบบ
เพอ่ื ให้ทราบลกั ษณะท่ีสำคัญเกย่ี วกบั วสั ดุแตล่ ะชนิด เช่น ชนิดของท่อรอ้ ยสายไฟฟ้า และสายไฟฟา้
5. ศกึ ษาระบบการเดนิ สายไฟฟา้ และระบบทอ่ รอ้ ยสายไฟฟ้าแตล่ ะจุด
6. หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟา้ โดยประมาณระยะความยาวในแนวราบแตล่ ะจดุ จาก
แบบแปลนไฟฟ้า และหาระยะตามแนวดงิ่ จากระดบั ฝา้ เพดานถึงความสงู ของตำแหน่งสวิตช์หรือ
ตำแหนง่ เต้ารบั

ปริมาณทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง

7. หาความยาวของสายไฟฟา้ โดยประมาณระยะความยาวในแนวราบแต่ละจุดจาก
แบบแปลนไฟฟา้ และหาระยะตามแนวด่ิงจากระดับฝา้ เพดานถึงความสงู ของตำแหนง่ สวิตช์หรอื
ตำแหนง่ เต้ารับ เชน่ เดียวกบั ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า

ปริมาณสายไฟฟ้างานระบบดวงโคมแสงสว่าง

เดินแบบเปิ ด (คลปิ รัดสาย) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง)

เดินแบบปิ ด (ร้อยท่อ) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง) × 2

ปริมาณสายไฟฟ้างานระบบเต้ารับ

เดินแบบเปิ ด (คลิปรดั สาย) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง)

เดินแบบปิ ด (ร้อยทอ่ ) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง) × 3

8. คำนวณหาปริมาณวสั ดุอุปกรณ์ทง้ั หมดและเผอ่ื ความยาวของวสั ดุแต่ละชนดิ และเผ่ือ
เบ็ดเตลด็ เปน็ เปอร์เซน็ ตต์ ามหลักเกณฑก์ ารเผอ่ื ปรมิ าณงานระบบไฟฟา้ ของกรมบญั ชกี ลาง

9. สืบราคาวัสดุ ค่าแรง งานระบบไฟฟ้าตา่ ง ๆ จากแหลง่ ขอ้ มูลที่เกย่ี วข้อง เพอื่ คำนวณ
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของงานระบบไฟฟา้

135

ตัวอยา่ งที่ 7.1 จากแบบท่กี ำหนดให้ต่อไปนี้ จงหาปรมิ าณวัสดุงานระบบไฟฟ้าแสงสวา่ งทมี่ ีหน่วยเป็น
จำนวนนับของอาคารพกั อาศยั ชัน้ เดยี ว

รายการประกอบแบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง

สัญลกั ษณ์ รายละเอยี ด หมายเหตุ

โคมไฟกลม 1x 36 วตั ต์ 1. การเดนิ สายไฟฟา้ ท้ังหมดเดิน
ลอยท้ังสิ้น

ดาวน์ไลท์ 2. สายไฟฟ้าทงั้ หมดใช้ตาม
มาตรฐานการไฟฟ้า

โคมนีออน 1 x 36 วัตต์ 3. สายไฟฟา้ ท่ีเดนิ บนโครงหลงั คาให้
ร้อยด้วยท่อพีวซี ี

S สวติ ช์ปิด-เปิด สงู จากพ้นื 1.50 ม. 4. บลอ็ คไฟใหฝ้ ังผนัง

P พดั ลมดดู อากาศขนาด 12 นว้ิ 5. ตดิ ตง้ั ออดภายในอาคาร 1 ชุด

TV เต้ารับมีขาดิน สูงจากพนื้ 1.50 ม. โคมไฟภายในและภายนอกอาจมีการ
เปล่ียนแปลงได้

ขณะกอ่ สรา้ ง

T เตา้ รบั โทรศพั ท์ จำนวนไฟแสงสวา่ งอาจมีการเพ่มิ จดุ

หรือลดลงตามความเหมาะสม

แผงควบคุม (ตามมาตรฐานการ
ไฟฟ้า)

หลักสายดินทองแดงหมุ้ เหล็ก

ยาว 1.50 ม.

(ตามมาตรฐานการไฟฟา้ )

136

137

วิธที ำ

นับจำนวนวสั ดุและอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ของระบบไฟฟ้าจากแบบแปลนไฟฟ้าแสงสวา่ งได้ดังนี้

สญั ลกั ษณ์ รายละเอยี ด จำนวน

โคมไฟกลม 1x 36 วตั ต์ 7 ชุด

ดาวนไ์ ลท์ 25 ชดุ

โคมนอี อน 1 x 36 วตั ต์ 3 ชุด

S สวิตชป์ ิด-เปิด สงู จากพ้ืน 1.50 ม. 14 ชดุ

P พัดลมดดู อากาศขนาด 12 นิ้ว 31 ชดุ

TV เตา้ รับมขี าดนิ สูงจากพ้นื 1.50 ม. 4 ชุด

T เตา้ รบั โทรศพั ท์ 4 ชดุ

แผงควบคุม (ตามมาตรฐานการไฟฟา้ ) 1 ชุด

หลักสายดินทองแดงหมุ้ เหล็ก ยาว 1.50 ม. 1 ชดุ

(ตามมาตรฐานการไฟฟา้ )

138
ตัวอย่างท่ี 7.2 จากแบบรูปตดั ท่ีกำหนดให้ตอ่ ไปนี้ และข้อมลู ตามตัวอย่างท่ี 7.1 จงหาปริมาณวัสดุ
และอุปกรณง์ านไฟฟ้าแสงสวา่ งท่ใี ชว้ ธิ กี ารหาปรมิ าณ โดยการวัดความยาวภายในหอ้ งอาหารและ
ห้องรบั แขกของอาคารพกั อาศัยชน้ั เดยี ว

รายละเอยี ดขอ้ กำหนดเก่ียวกับงานไฟฟ้าแสงสว่าง
สายวงจรย่อยแสงสว่าง สายแยกจากสวิตช์เข้าดวงโคม และสายดินใชส้ าย IEC 01 ขนาด 2.5 ตร.ม
ม. เดินในทอ่ รอ้ ยสายอโลหะชนดิ ยูพีวซี ี (uPVC)
สายวงจรย่อยเต้ารบั ไฟฟา้ สายระหวา่ งตา้ รับไฟฟา้ และสายดินใช้สาย IEC 01 ขนาด 2.5 ตร.มม.
เดินในทอ่ รอ้ ยสายอโลหะชนดิ ยูพีวีซี (uPVC)

139

วิธีทำ

1. ศึกษารายการประกอบแบบและรปู ตัดอาคาร เพ่อื ใหท้ ราบขอ้ มูลดังน้ี

ความสงู จากพ้ืนชนั้ ท่ี 1 ถงึ ระดบั ฝ้าเพดาน = 3.30 ม.

ความสงู ของตู้แผงเมนสวติ ช์สูงจากพืน้ = 1.80 ม.

ความสงู ของสวิตช์จากพนื้ = 1.50 ม.

สายเมนวงจรย่อยขนาด = 2.50 ตร.มม. (สาย IEC 01)

สายวงจรย่อยแสงสวา่ งและเต้ารบั = ขนาด 2.50 ตร.มม. (สาย IEC 01)

ระยะแนวด่งิ ของตู้แผงเมนสวติ ช์ = ความสงู จากพนื้ ถึงฝา้ เพดาน - ความสงู ของตู้

แผงเมนสวิตช์จากพืน้

= 3.30-1.80

= 1.50 ม.

ระยะแนวดงิ่ ของสวติ ช์ = ความสูงจากพน้ื ถึงฝ้าเพดาน - ความสูงของสวิตซ์จากพ้นื

= 3.30-1.50

= 1.80 ม.

ทอ่ รอ้ ยสายไฟฟา้ ท้งั หมด = ทอ่ อโลหะชนิด uPVC

หมายเหตุ : สายไฟฟ้าชนิด IEC 01 นิยมเรียกว่า "สาย THW " เป็นสายไฟฟ้าชนิดแกนเดียว
ใชใ้ นงานติดต้งั เดินสายไฟฟ้าทวั่ ไป นิยมนามาเดินสายไฟฟ้าแบบร้อยท่อ ห้ามใชง้ านเดิน
สายไฟฟ้าร้อยทอ่ ฝังดินหรือฝังดินโดยตรง การเดินสายระบบไฟฟ้าแสงสว่างดว้ ยสายไฟฟ้า
ชนิดน้ีแตล่ ะจดุ จะใชส้ ายไฟฟ้า 2 เสน้ ไดแ้ ก่ สายไฟฟ้าและสายดิน ดงั น้นั

ปริมาณสายไฟฟ้าท้งั หมด = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง) x 2

140
2. กำเนดิ จดุ เดนิ สายไฟฟา้ เพื่อตดิ ต้ังวงจรดวงโคมภายในอาคารตามสวิตซ์แต่ละจุดดังรูป

141

3. หาปรมิ าณวัสดโุ ดยแยกตามจุดท่ีกำหนดไว้
3.1 ภายในห้องนอน จดุ ที่ 1 (ต่อจากแผนเมนสวิตซ์)

1. เขียนเสน้ แนวเดินสายไฟฟ้าเพื่อติดตงั้ ดวงโคมและวัดความยาวตามแนวเสน้ ประดงั ในรูป
ต่อไปน้ี

142

2. หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟา้

ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟา้ = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่งิ

ความยาวแนวราบ = ระยะจากต้เู มนสวิตช์ ถงึ ตำแหน่งสวิตชแ์ ละดวงโคม

= 3.50 + 3.50

= 7 ม.

ความยาวแนวดิ่งของตู้แผงเมนสวติ ช์ = ความสูงเพดาน - ความสงู ของตู้แผงเมนสวิตช์จากพ้นื

= 1.50 ม.

ความยาวแนวดิง่ ของสวิตช์ = ความสงู ฝา้ เพดาน - ความสูงของสวิตชจ์ ากพื้น

= 1.80 ม.

ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า = 7 + 1.50 + 1.80

= 10.30 ม. ตอบ

3. หาความยาวของสายไฟฟ้า

3.1 สายเมนวงจรย่อย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.

ความยาวของสายไฟฟ้าจากตู้แผงเมนสวติ ช์ - ตำแหน่งสวิตช์

= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่งิ ) x 2

= (3.50 + 1.50) x 2

= 10 ม. ตอบ

3.2 สายวงจรยอ่ ย ชนดิ IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.

ความยาวของสายไฟฟ้าจากตำแหน่งสวติ ช์ - ดวงโคม

= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) x 2

ตวามยาวแนวราบ - ระยะจากควงโคมแต่ละจดุ ถึงตำแหนง่ สวติ ช์

= 3.50 ม.

ความยาวแนวดิ่ง - จำนวนจดุ ของสวติ ช์ x ระยะแนวดง่ิ ของสวิตช์

= 1x1.80

= 1.80 ม.

ความยาวของสายไฟฟา้ = (3.50 + 1.80) x 2

= 10.60 ม. ตอบ

143

3.2 ภายในหอ้ งนอน จุดที่ 2 (ต่อจากจุดที่ 1)
1. เขียนเส้นแนวเดินสายไฟฟ้าเพอื่ ตดิ ตง้ั ดวงโคมและวัดความยาวตามแนวเสน้ ประดงั ในรูปตอ่ ไปน้ี

144

2. หาความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า

ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟา้ = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่งิ

ความยาวแนวราบ = ระยะจากตำแหนง่ สวติ ช์ถึงควงโคมแต่ละจุด

=1.00+3.50 +3.50 +3.50

= 11.50 ม.

ความยาวแนวด่งิ = ความสงู ฝา้ เพดาน - ความสงู ของสวิตชจ์ ากพน้ื

= 1.80 ม.

ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าทง้ั หมด = 1 1.50 + 1.80

= 13.30 ม. ตอบ

3. หาความยาวของสายไฟฟ้า

สายวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.

ความยาวของสายไฟฟา้ = ความยาวของสายไฟฟา้ จากตำแหนง่ สวติ ช์ - ดวงโคม

= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดง่ิ ) x 2

ความยาวแนวราบ = ระยะจากควงโคมแตล่ ะจุด ถึงตำแหนง่ สวติ ช์

= 1.00+3.50+3.50 +3.50

= 11.50 ม.

ความยาวแนวดิ่ง = จำนวนจดุ ของสวติ ช์ x ระยะแนวด่งิ ของสวติ ช์

= 1 x1.80

= 1.80 ม.

ความยาวของสายไฟฟา้ ท้งั หมด = (11.50 + 1.80) x 2

= 26.60 ม. ตอบ

145

3.3 ภายในห้องรับแขก จุดท่ี 3 (ตอ่ จากแผงเมนสวติ ซ์)
1. เขียนเสน้ แนวเดนิ สายไฟฟา้ เพ่ือติดตงั้ ดวงโคมและวัดความยาวตามแนวเสน้ ประ ดงั ในรูป

ต่อไปนี้

146

2. หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟา้

ความยาวของทอ่ รอ้ ยสายไฟฟา้ = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง

ความยาวแนวราบ = ระยะจากตแู้ ผงเมนสวติ ช์ถึงตำแหนง่ สวิตชจ์ ุดที่ 3

และดวงโคม

= 3.50 + 5.00 + 1.00 + 3.50

= 13 ม.

ความยาวแนวด่งิ ของตู้แผงเมนสวติ ช์ = ดวามสูงฝา้ เพดาน - ความสงู ของตู้เมนสวติ ชจ์ ากพน้ื

= 1.50 ม.

ความยาวแนวดงิ่ ของสวติ ซค์ วามสูงฝ้าเพดาน = ความสูงของสวติ ช์จากพื้น

= 1.80 ม.

ความยาวของทอ่ รอ้ ยสายไฟฟา้ =13 + 1.50 + 1.80

= 16.30 ม. ตอบ

3. หาความยาวของสายไฟฟ้า

3.1 สายเมนวงจรย่อย ชนดิ IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.

ความยาวของสายไฟฟ้าจากตู้แผงเมนสวิตช์ - ตำแหนง่ สวติ ช์

= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) x 2

= (3.50 + 5.00 + 1.50) x 2

= 20 ม. ตอบ

3.2 สายวงจรย่อย ชนดิ IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.

ความยาวของสายไฟฟ้าจากตำแหน่งสวติ ช์ - ดวงโคม

= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง) x 2

= (1.00 + 3.50) x 2

= 9 ม. ตอบ

147

3.4 ภายในห้องรบั แขก จุดที่ 4 (ต่อจากสวิตซ์จุดที่ 3)
1. เขียนเสน้ แนวเดินสายไฟฟา้ เพ่ือติดต้งั ดวงโคมและวัดความยาวตามแนวเส้นประดงั รปู

ต่อไปน้ี

2. หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟา้ = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง
ความยาวของท่อรอ้ ยสายไฟฟา้ = ระยะจากตำแหนง่ สวติ ช์ถึงดวงโคมแตล่ ะจุด
ความยาวแนวราบ = 3.50 ม.
= ความสูงฝา้ เพดาน - ความสูงของสวติ ชจ์ ากพนื้
ความยาวแนวดง่ิ = 1.80 ม.

148

ความยาวของท่อรอ้ ยสายไฟฟ้าทัง้ หมด = 3.50 + 1.80

= 5.30 ม. ตอบ

3. หาความยาวของสายไฟฟ้า

สายวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.

ความยาวของสายไฟฟา้ = ความยาวของสายไฟฟ้าจากตำแหน่งสวิตช์ - ดวงโคม

= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง) x 2

ความยาวแนวราบ = ระยะจากดวงโคมแตล่ ะจุดถึงตำแหน่งสวติ ช์

= 3.50 ม.

ความยาวแนวดง่ิ = จำนวนจดุ ของสวิตช์ x ระยะแนวด่ิงของสวิดช์

= 1 x 1.80

= 1.80 ม.

ความยาวของสายไฟฟ้าทงั้ หมด = (3.50 + 1.80) x 2

= 10.60 ม. ตอบ

149

3.5 ภายในห้องรับแขก จดุ ที่ 5 (ต่อจากสวติ ซ์จุดที่ 4)
1. เขยี นเส้นแนวเดินสายไฟฟา้ พเอตดิ ตงั้ ดวงโคมและวัดความยาวตามเส้นประ ดังในรูปต่อไปน้ี

2. หาความยาวของท่อรอ้ ยลายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดง่ิ
ความยาวของท่อรอ้ ยลายไฟฟา้ = ระยะจากตำแหนง่ สวติ ช์ถึงดวงโคมแต่ละจุด
ความยาวแนวราบ = 3.50+3.50 +3.50 +3.50
= 14 ม.

150

ความยาวแนวดิ่ง = ความสงู ฝ้าเพดาน - ความสงู ของสวติ ชจ์ ากพน้ื

= 1.80 ม.

ความยาวของทอ่ รอ้ ยลายไฟฟ้าท้งั หมด = 14 + 1.80

= 15.80 ม. ตอบ

3. หาความยาวของสายไฟฟ้า

สายวงจรย่อย ชนดิ IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.

ความยาวของสายไฟฟา้ = ความยาวของสายไฟฟ้าจากตำแหนง่ สวติ ช์ - ดวงโคม

= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่งิ ) x 2

ความยาวแนวราบ = ระยะจากดวงโคมแต่ละจดุ ถงึ ตำแหน่งสวติ ช์

= 3.50+3.50 + 3.50 +3.50

= 14 ม.

ความยาวแนวด่ิง = จำนวนจุดของสวิตช์ x ระยะแนวด่งิ ของสวิตช์

= 1x1.80

= 1.80 ม.

ความยาวของสายไฟฟา้ ทัง้ หมด = (14 + 1.80) x 2

= 31.60 ม. ตอบ

4. รวมปริมาณวัสดทุ ง้ั หมด

4.1 ท่อรอ้ ยสายไฟฟา้ ชนิด นPVC

ความยาวทง้ั หมด = 10.30 + 13.30 + 16.30+ 5.30 + 15.80

= 61 ม. ตอบ

4.2 งานสายเมนวงจรย่อยแสงสว่าง

ความยาวทง้ั หมด = 10+ 20

= 30 ม. ตอบ

4.3 งานสายวงจรย่อยแสงสวา่ ง

ความยาวทง้ั หมด = 10.60 + 26.60 + 9 + 10.60 + 31.60

= 88.40 ม. ตอบ

5. เผ่อื ปรมิ าณวสั ดุท้ังหมดตามหลักเกณฑข์ องกรมบญั ชีกลาง

5.1 ท่อร้อยสายไฟฟ้า ชนดิ uPVC

ความยาวทง้ั หมด = 61 ม.

เผื่อความยาว 5 เปอร์เซ็นต์ = 61 x 1.05

= 64.05 ม.

151

เผอ่ื เบด็ เตล็ด 15 เปอร์เซน็ ต์ = 64.05 x 1.15

= 73.66 ม. ตอบ
ตอบ
ปริมาณงานทอ่ ร้อยลายไฟฟา้ ท้ังหมด = 74 ม. ตอบ

5.2 งานลายเมนวงจรย่อยแสงสว่าง (สายไฟฟ้า ชนดิ IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.)

ความยาวทั้งหมด = 30 ม.

เผ่ือความยาว 5 เปอร์เซน็ ต์ = 30 x 1.05

= 31.50 ม.

เผอื่ เบ็ดเตล็ด 5 เปอร์เซ็นต์ = 31.50 x 1.05

= 33.08 ม.

ปรมิ าณงานสายไฟฟา้ ทั้งหมด = 34 ม.

5.3 งานสายวงจรยอ่ ยแสงสว่าง (สายไฟฟา้ ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.)

ความยาวทง้ั หมด = 88.40 ม.

เผือ่ ความยาว 15 เปอรเ์ ซน็ ต์ = 88.40 x 1.15

= 101.66 ม.

เผือ่ เบ็ดเตล็ด 5 เปอร์เซน็ ต์ = 101.66 x 1.05

= 106.74 ม.

ปริมาณงานสายไฟฟา้ ทั้งหมด =107 ม.

152

ตัวอยา่ งท่ี 7.3 จากแบบและข้อมลู ตามตัวอยา่ งที่ 2 จงหาปรมิ าณวัสดุงานระบบเต้ารบั ไฟฟา้ ภายใน
ห้องนอน 3
วิธีทำ
1. เขียนเสน้ แนวเดนิ สายไฟฟ้าเพือ่ ติดตั้งเต้ารับภายในหอ้ งนอน 3 และวัดความยาวตามแนวราบ
ดังในรปู ตอ่ ไปน้ี

153

2. หาความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวต่งิ
ความยาวของทอ่ ร้อยลายไฟฟ้า =ระยะจากเมนสวิตซ์ถึงตำแหน่งตำรบั แตล่ ะจดุ
ความยาวแนวราบ =1.00 + 3.50
= 4.50 ม.
ความยาวแนวดิ่งของแผงเมนสวิตซ์ = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสงู ของแผงเมนสวิตช์
= 3.30- 1.80
ความยาวแนวด่งิ ของตำแหน่งเต้ารับ = 1.50 ม.
เตา้ รบั = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของตำแหน่ง

ความยาวของทอ่ รอ้ ยสายไฟฟา้ = 3.30-1.50 ตอบ
เผือ่ ความยาว 15 เปอรเ์ ซ็นต์ = 1.80 ม.
เผอ่ื เบด็ เตล็ด 15 เปอรเ์ ซ็นต์ = 4.50 + 1.50 + 1.80
ปริมาณงานท่อร้อยสายไฟฟา้ = 7.80 ม.
3. หาความยาวของสายไฟฟ้า = 7.80 x 1.15
= 8.97 ม.
ความยาวของสายไฟฟ้า = 8.97 x 1.15
ความยาวแนวราบ = 10.32 ม.
= 10.32 ม.
ความยาวแนวดงิ่ ของแผงเมนสวติ ช์
= (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) x 3
ความยาวแนวดิ่งของตำแหน่งเตา้ รับ = ระยะจากแผงเมนสวติ ชถ์ งึ ตำแหน่งเตา้ รบั แต่ละจุด
= 1.00+3.50
= 4.50 ม.
= ความสงู เพดาน - ความสงู ของแผงเมนสวิตช์
= 3.30 -1.80
= 1.50 ม.
= ความสูงฝา้ เพดาน - ความสงู ของตำแหนง่ เต้ารับ
= 3.30-1.50
= 1.80 ม.

154

ความยาวของสายไฟฟ้า = (3.50 + 1.50 + 1.50) x 3
= 19.50 ม.
ตอบ

หมายเหตุ :
1. กรณีเดินสายเตา้ รบั ไฟฟ้าแบบร้อยท่อ โดยทว่ั ไปนิยมใชส้ ายไฟฟ้าชนิด "สาย THW"

เป็นสายไฟฟ้าชนิดแกนเดียว ใช้ในงานติดต้งั เดินสายไฟฟ้าทวั่ ไป นิยมนามาเดินสายไฟฟ้าแบบ
ร้อยทอ่ ห้ามใชง้ านเดินสายไฟฟ้าร้อยทอ่ ฝังดินหรือฝังดินโดยตรง การเดินสายระบบไฟฟ้า
เตา้ รับดว้ ยสายไฟฟ้าชนิดน้ีแตล่ ะจุดจะใชส้ ายไฟฟ้า 3 เส้น ไดแ้ กส่ ายไฟฟ้า และสายดิน และสาย
นิวทรัล ดงั น้นั

ปริมาณสายไฟฟ้าท้งั หมด = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง) x 3
2. กรณีเดินสายเตา้ รบั ไฟฟ้าสายไฟฟ้าแบบเดินลอย (ตีก๊ิบ) โดยทว่ั ไปนิยมใชส้ ายไฟฟ้า
ชนิด "สาย VAF" เป็นสายไฟฟ้าทมี่ ลี กั ษณะเป็นสายแบนๆ สีขาว การเดินสายระบบไฟฟ้าเตา้ รบั
ดว้ ยสายไฟฟ้าชนิดน้ีแตล่ ะจุดจะใชส้ ายไฟฟ้า 1 เส้น ดงั น้นั

ปริมาณสายไฟฟ้าท้งั หมด = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง

4. เผอื่ ความยาวของสายไฟฟ้าตามหลกั เกณฑ์ของกรมบัญชีกลาง

เผื่อความยาว 15 เปอรเ์ ซ็นต์ = 20.40 x 1.15

= 23.46 ม.

เผือ่ เบ็ดเตล็ด 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ = 23.46 x 1.05

= 24.63 ม.

ปริมาณงานสายไฟฟา้ = 24.63 ม. ตอบ

155

บทที่ 8
การประมาณราคางานสขุ าภิบาล

งานสุขาภิบาลประกอบด้วย ท่อประปา ท่อระบายน้ำโสโครก ท่อระบายน้ำเสีย ท่อระบาย
อากาศ ท่อระบายน้ำฝน และท่อระบายน้ำภายนอกอาคาร เป็นระบบที่ช่วยเสริมให้อาคารมีความ
สมบูรณ์ครบถว้ น ซ่ึงถกู ออกแบบให้มีความสัมพนั ธก์ บั อาคารแต่ละหลงั และถกู ระบรุ ายละเอยี ดต่าง ๆ
ในรายการประกอบแบบก่อสร้างอาคารนั้น ผู้ประมาณราคาต้องศึกษารายละเอียดทางเทคนิคและ
ข้อบังคับต่าง ๆ ให้รอบคอบ การหาปริมาณวัสดงุ านระบบสุขาภบิ าลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่
นบั จำนวน และสว่ นท่ีวดั ความยาว

8.1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกย่ี วกับงานระบบสุขาภบิ าล

ระบบสุขาภิบาล หมายถึงระบบท่อและสุขภัณฑ์ต่าง ๆ สำหรบั ลำเลียงส่งิ จำเปน็ ภายในอาคาร
เพื่อประโยชน์ใช้สอยของผู้ที่อาศัยอยู่ภายในอาคารนั้น ผู้ประมาณราคางานก่อสร้างควรมีความรู้
เกี่ยวกับงานระบบสขุ าภบิ าล ดงั น้ี

8.1.1 ส่วนประกอบของงานระบบสุขาภบิ าล
1. ทอ่ นำ้ ประปา (Cold Water Pipe) หมายถึง ระบบท่อน้ำดสี ำหรบั จา่ ยไปตามจดุ ต่าง ๆ
ของอาคาร เพ่อื ใช้สำหรบั การอุปโภคบริโภค
2. ทอ่ น้ำท้งิ หรอื ท่อนำ้ เสีย (Waste Water Pipe) หมายถงึ ท่อทใี่ ช้ในการระบายนำ้ เสีย
จากสว่ นต่าง ๆ ภายในอาคาร เช่น น้ำจากอา่ งล้างจาน อา่ งลา้ งหน้า เครอ่ื งซักผา้ รูระบายนำ้ ภายใน
หอ้ งนำ้ เพอ่ื ระบายไปยงั บ่อซมึ ของอาคาร หรอื บอ่ บำบดั นำ้ เสีย
3. ท่อโสโครก (Soil Pipe) หมายถงึ ทอ่ ที่ใช้ในการระบายนำ้ มลู ของมนุษยจ์ ากโถสว้ ม
โถปัสสาวะ เพอื่ ระบายไปยงั บอ่ เกรอะ บอ่ ซมึ
4. ทอ่ ระบายน้ำฝน (Rain drain Pipe) หมายถึงท่อทท่ี ำหนา้ ทีร่ ะบายเฉพาะน้ำฝนบน
อาคารและบรเิ วณพ้นื ท่ีโดยรอบอาคารออกไปสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะ
5. ถังบำบัดนำ้ เสยี หรอื บอ่ เกรอะ-บ่อซึม (Septic Pond -Seepage Pond) หมายถงึ
ระบบกักเก็บหรอื กำจัดสิง่ ปฏกิ ลู และน้ำเสยี ของอาคารแต่ละหลงั อาจเป็นบ่อคอนกรีตหรอื ถังบำบัด
สำเรจ็ รูปก็ได้
6. สขุ ภัณฑ์ (Sanitary Ware) หมายถึงอปุ กรณ์เคร่อื งใชก้ ี่ทำหนา้ ทรี่ องรับของเหลวรวมถึง
จา่ ยของเหลว น้ำเสยี หรอื ส่ิงโสโครกท้งั หลายไปสู่แหลง่ กำจดั ของเสีย หรอื ระบบระบายนำ้ ท่ีเหมาะสม
เช่น โถส้วม อ่างล้างหนา้ ท่ีใส่สบู่ ที่ใสก่ ระดาษชำระ ราวพาดผา้ และห้งิ กระจก

156

8.1.2 ชนิดของท่อประปา
1. ท่อเหลก็ อาบสังกะสี (Galvanized Steel Pipe) เปน็ ทอ่ ท่ผี ลิตจากเหลก็ กล้าผา่ นการ
อาบสงั กะสี สามารถทนแรงกระแทก ทนตอ่ ความดนั และอณุ หภูมทิ ี่สูงไดด้ ี ไมเ่ ป็นสนมิ ความยาวท่อน
ละ 6 ม. มคี วามหนา 4 ประเภทเรียงตามลำดบั ไดแ้ ก่ คาดเขยี วหนามากท่ีสดุ คาดแดง คาดน้ำเงนิ
และคาดเหลืองหนานอ้ ยทีส่ ุด เหมาะสำหรับงานเดินทอ่ ประปา และงานโครงหลงั คา
2. ทอ่ พวี ซี ี (PVC) เป็นท่อทผี่ ลิตจากโพลิไวนลิ คลอไรด์ มีความยาวทอ่ นละ 4 ม. เป็นทอ่ ท่ี
นิยมใช้ในประเทศไทยมากท่ีสุดในปัจจบุ ัน ขอ้ ดขี องท่อชนิดนี้คือ มีนำ้ หนักเบาแข็งแรง ไม่ลามไฟ
ไมเ่ ป็นสนิม แตม่ ีขอ้ เสยี คือ ไม่ทนตอ่ แรงกระแทกดวามดันและอณุ หภูมิท่ีสงู ได้ เมอื่ โดนแสงแดดใน
ระยะเวลหน่ึงจะเปราะแตกไดง้ ่าย แบ่งชนิดของทอ่ ตามการใชง้ านโดยใชส้ ี ดงั นี้

1. สีเหลอื ง ใช้สำหรับรอ้ ยสายไฟฟ้าและสายโทรศัพท์ เพราะสามารถทนตอ่
ความร้อนได้อยา่ งดี
2. ทอ่ สฟี า้ ใช้สำหรบั ระบบน้ำ เช่น นำ้ ดี น้ำเสีย และการระบาย มีความหนาตาม
ระดับการรบั แรงดนั ต้ังแตช่ ้ันคณุ ภาพ5,8.5 และ13.5 ตามมาตรฐานมอก. 17-2532
3. สีเทา ใชส้ ำหรบั การเกษตรหรอื น้ำท้ิง มรี าคาค่อนข้างถูกกว่าท่อสอี ่นื
3. ทอ่ ไซเลอร์ (syler) เปน็ ทอ่ เหลก็ กลา้ ชุบสังกะสี ภายนอกเคลือบด้วยผงโพลเี อทลิ นิ
ภายในถกู บุด้วยพลาสติกโพลเี อทลิ ิน ป้องกนั สนมิ ได้ดี มคี วามแข็งแรง รับนำ้ หนกั ได้ดี ทนทานตอ่ แรง
กระแทกได้ ไม่หักงอ ทนต่อความดันได้มากกวา่ 20 บาร์ และอณุ หภูมสิ งู ถงึ 95 องศาหมาะสำหรับใช้
ตดิ ตั้งระบบท่อเมนขนาดใหญ่ในโรงแรมและอาคารขนาดใหญ่ สถานท่ีท่ตี ้องการความทนทานสูง หรือ
สถานทที่ ่ียากตอ่ การซ่อมแชม มี 2 แบบคอื แบบธรรมดาภายในสีขาว และแบบสำหรบั น้ำร้อนภายใน
สีแดง ความยาวทอ่ นละ 6 ม.
4. ทอ่ พีพอี าร์ (PPR) เปน็ ทอ่ น้ำสีเขียวที่ผลิตจากเมด็ พลาสตกิ คุณภาพสูง ความยาวทอ่ นละ
4 ม. เป็นทอ่ ที่ใชว้ ธิ ีการเชื่อมตอ่ ระหว่างทอ่ กับข้อตอ่ โดยวธิ กี ารใหค้ วามรอ้ น ทำใหท้ อ่ และขอ้ ตอ่ เชือ่ ม
ผสานกนั เปน็ เนื้อเดยี วกัน จึงไมเ่ กดิ ปัญหาการรว่ั ซมึ ทีบ่ ริเวณจุดต่อเชือ่ มระหว่างท่อและข้อต่อ ทน
อุณหภมู ไิ ด้สงู ถึง 95 องศา แขง็ แรง ทนแรงดนั ได้สูงถงึ 20 บาร์ มีอายุการใชง้ านยาวนานกว่า 50 ปี
ไม่เปน็ สนมิ เหมาะสำหรบั ใชต้ ดิ ตง้ั ระบบประปา ระบบนำ้ รอ้ น และน้ำเยน็ ในอาคาร
5. ท่อ PE (Poly Ethylene) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "HDPE PE " เป็นท่อที่ผลิตจากวัสดุ
ทางเคมีที่มคี ำความหนาแนน่ สูงกว่าทอ่ เหลก็ อาบสงั กะสีถงึ 1/5 เท่า ขดเป็นมว้ นได้ ความยาวต่อม้วน
50 -400 ม. สะดวกในการเคลื่อนย้าย ยืดหยุ่นได้ดี ทนแรงกระแทก ทนสารเคมี มีอายุการใช้งาน
ยาวนาน ทนแสงอาทิตย์ มี แบบคอื สีดำคาดฟ้า เหมาะสำหรับงานเดินทอ่ ประปา สามารถใช้เป็นท่อ
นำ้ ดื่มได้ และสดี ำคาดส้ม เหมาะสำหรับงานเดนิ ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า

157

8.2 หลกั เกณฑก์ ารประมาณราคางานระบบสุขาภิบาล

กรมบัญชีกลาง ได้กำหนดหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารเกี่ยวกับการ
ประมาณราคางานสขุ าภิบาลไว้ดงั นี้

1.การถอดแบบสำรวจและคำนวณหาปริมาณของวัสดุและอปุ กรณ์ในสว่ นของงานระบบ
สขุ าภิบาล สามารถดำเนินการได้ โดยแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น ดังนี้

1. วัสดุอุปกรณ์ทน่ี ับได้
1. เปน็ การสำรวจหาปรมิ าณวสั ดุอปุ กรณ์ระบบสุขาภบิ าลทถ่ี อดเปน็ จำนวนนับได้

เช่น จกุ เปดิ ลา้ งทอ่ ท่ีพืน้ (FCO) จุกเปิดลา้ งทอ่ ไต้พืน้ (CO) รูระบายน้ำทิง้ ทพี่ นื้ (FD) รูระบายน้ำฝนรูป
โดม (RD) รูระบายน้ำฝนแบบเรยี บ (RFD) ฝาปิดทอ่ ระบายอากาศ (AVC) ถงั เกบ็ น้ำสำเรจ็ รปู เครื่องสูบ
น้ำมาตรวัดน้ำ ประตนู ำ้ ลิน้ เกต ประตูน้ำลิน้ ปกี ผีเสื้อ ประตนู ำ้ กันกลบั ประตนู ำ้ ระบายอากาศ กอ๊ กน้ำ
ถงั บำบัดน้ำเสยี ถงั ดักไขมัน และบอ่ พัก เปน็ ดัน

2. เป็นการสำรวจหาปริมาณวัสตุอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัยที่ถอด
เป็นจำนวนนับได้ เช่น ตู้ดับเพลิงพร้อมอุปกรณ์ประกอบ (FHC) ถังดับเพลิงเคมี หัวกระจายน้ำ
ดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinklers) เครื่องสูบน้ำ ประตูน้ำชนิดต่าง ๆ หัวรับน้ำดับเพลิง
(RMF) และหัวจ่ายนำ้ ดับเพลิง (SMC) เปน็ ตัน

2. วัสดุอุปกรณท์ ่ีตอ้ งวัดความยาว
1. เป็นการสำรวจหาปริมาณวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องวัดความยาว ได้แก่ งานเดินท่อระบายน้ำ
ท่อโสโครก ทอ่ ระบายนำ้ ทิ้ง ทอ่ ระบายอากาศ ท่อน้ำประปา ท่อน้ำรอ้ น ทอ่ ระบายน้ำฝน ทอ่ ดบั เพลิง
ท่อรวบรวมน้ำเสีย ท่อระบายน้ำ และท่อรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น จะถอดเป็นเมตรโดยจะเริ่มสำรวจ
ปริมาณจากแบบไดอะแกรมท่อและแปลนการเดินท่อพื้นชั้นต่าง ๆ โดยแยกเป็นท่อของแต่ละระบบ
ทงั้ น้ีเพือ่ ความสะดวกในการจัดทำขอ้ มูลลงแบบ ปร. 4
2. ผู้ถอดแบบสำรวจหาปริมาณวัสดุและอุปกรณ์ จำเป็นต้องศึกษาแบบรูปรายการรายการ
ประกอบแบบ และข้อกำหนดต่าง ๆ ในงานที่จะทำการก่อสร้าง ทั้งนี้เพื่อให้มีความถูกต้องและมี
รายการครบถว้ นตรงตามวัตถปุ ระสงคท์ ห่ี นว่ ยงานภาครฐั ตอ้ งการจัดจา้ ง ฯ
8.2.2 หลกั เกณฑ์และวิธกี ารคำนวณทอ่ และอปุ กรณใ์ นงานระบบสุขาภิบาล
1. การคำนวณทอ่ ในแนวนอนและแนวด่ิง ให้คำนวณความยาวรวมเปน็ เมตรของท่อแต่
ละชนดิ และขนาดของท่อตา่ งๆ โดยเผ่อื ความยาวทอ่ 10 % เนอ่ื งจากการเสยี วัสดุจากการตดั ตอ่ ท่อ
2. คา่ แรงงานเดนิ ท่อ ใหค้ ำนวณ 30% ของราคาวสั ดุ แตต่ อ้ งไม่ต่ำกวา่ 20 บาทตอ่ เมตร
ตอ่ อัน หรือต่อข้อต่อ เนอื่ งจากทอ่ และอปุ กรณ์ข้อต่อและข้องอ บางขนาดต้องฝังในพน้ื และผนงั
ทำใหค้ า่ แรงงานสูงขน้ึ

158

3. ข้อตอ่ และข้องอตา่ ง ๆ คำนวณตามชนดิ ของท่อ ดงั น้ี
1. ทอ่ เหลก็ กลา้ อาบสังกะสี (GSP) ทอ่ เหล็กคำ (BSP) ท่อเหล็กไรส้ นมิ (SSP)

ทอ่ ทองแดง (CU) ด่าวสั ดุ 30% ของราคาทอ่ ตอ่ แรงงาน 30% ของราคาวัสดุ
2. ท่อพีวซี ี (PVC) ท่อพบี ี (PB) ทอ่ พพี ี(PP) ท่อเอชดีพอี ี (HDPE) ค่าวสั ดุ 40 %

ของราคาท่อ คา่ แรงงาน 30% ของราคาวสั ดุ
3. ท่อเหล็กหลอ่ เคลือบยางมะตอย (C) คา่ วัสดุ 50% ของราคาท่อ คา่ แรงงาน 30%

ของราคาวสั ดุ
4. ปลอกรดั สแตนเลส ค่าวสั ดุ 50% ของราคาท่อ คา่ แรงงาน 5% ของราคาวสั ดุ
5. ท่อทนสารเคมหี อ้ งทดลอง ท่อแก้ว ท่อชนดิ อน่ื ๆ และงานที่มแี บบขยายแสดงการ

เดินท่อ อาจต้องสำรวจปริมาณและคำนวณราคาข้อต่อและข้องอต่าง ๆ ตามที่ปรากฎในแบบรูป
รายการและรายการประกอบแบบ

4. คา่ อปุ กรณ์ยึดและรองรับท่อ ค่าวสั ดุ 10% ของราคาทอ่ ค่าแรงงาน 30% ของราคาวสั ดุ
5. ค่าทดสอบ ทำความสะอาด ทาสี ทำสัญลักษณ์ท่อ ตำวัสดุ 5% ของราตาท่อ ค่าแรงงาน
30% ของราคาวสั ดุ
6. อุปกรณ์ระบบระบายน้ำ FCO , SCO , CO , FD , SD , RD , RFD , PD , AVC คำนวณ
ตามจำนวนทีป่ รากฏในแบบรปู รายการและรายการประกอบแบบ
7. อุปกรณ์ระบบประปา มาตรวัดน้ำ ประตูน้ำชนิดต่างๆ คำนวณตามจำนวนที่ปรากฎใน
แบบรปู รายการและรายการประกอบแบบ
8. อปุ กรณร์ ะบบดบั เพลงิ และป้องกนั อัคคภี ยั

1. คำนวณตามจำนวนที่ปรากฏในแบบรปู รายการและรายการประกอบแบบฯ
2. หัวกระจายนำ้ ดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinklers) ให้เผื่อ 3% จากตาม
แบบรูปรายการและรายการประกอบแบบ
9. อปุ กรณร์ ะบบสขุ าภบิ าล ระบบบำบดั น้ำเสีย และระบบระบายนำ้
1. ถงั เก็บนำ้ สำเร็จรปู ให้คำนวณตามจำนวนทีป่ รากฎในแบบรปู รายการและรายการ
ประกอบแบบ
2. ถังเก็บน้ำคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ถอดปรมิ าณจากแบบรูปรายการและรายการ
ประกอบแบบ และคำนวณราคาค่าวสั ดุและคา่ แรงานตามมาตรฐานงานโครงสร้างวิศวกรรมและงาน
สถาปตั ยกรรม
3. โรงสบู และถังเก็บน้ำคอนกรีตเสรมิ เหล็ก ถอดปรมิ าณจากแบบรูปรายการและ
รายการประกอบแบบ โดยคำนวณราคาวัสดุและแรงงานตามมาตรฐานงานโครงสร้างวิศวกรรมและ
งานสถาปตั ยกรรม

159

4. บ่อบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูป บ่อดักไขมันสำเร็จรูปบ่อพักสำเร็จรูป คำนวณตาม

จำนวนท่ีปรากฎในแบบรูปรายการและรายการประกอบแบบ

5. อาคารปรบั ปรุงคณุ ภาพน้ำ บอ่ บำบดั น้ำเสียคอนกรีตเสริมเหลก็ ถอดปรมิ าณจาก

แบบรูปรายการและรายการประกอบแบบ และคำนวณราคาวัสดุและค่าแรงงานตามมาตรฐานงาน

โครงสรา้ งวศิ วกรรมและงานสถาปตั ยกรรม

6. รางระบายน้ำ ท่อระบายน้ำ ท่อรวบรวมน้ำเสีย คำนวณราคาเป็นเมตร โดย

คำนวณราคาคา่ วสั ดุและค่าแรงงานตามมาตรฐานงานโครงสร้างวศิ วกรรมและงานสถาปัตยกรรม

7. บ่อพักท่อระบายนำ้ บ่อพักท่อรวบรวมน้ำเสีย คำนวณราคาเป็นบ่อ โดยคำนวณ

ราคาคา่ วัสดุและแรงงานตามมาตรฐานงานโครงสร้างวิศวกรรมและงานสถาปตั ยกรรม

8.2.3 หลกั เกณฑ์การเผ่อื ความยาวทอ่ แนวด่ิง (พจิ ารณาตามความสูงของอาคาร)

1. ทอ่ ระบายนำ้ โสโครก

เดนิ ท่อรับโถส้วม เผื่อไว้ 0.50 -1,00 ม.

เดินทอ่ รับโถปสั สาวะ เผื่อไว้ 0.70 -1.00 ม.

เดนิ ท่อรบั FCO เผื่อไว้ 0.50-1.00 ม.

2. ท่อระบายน้ำท้งิ

เดินทอ่ รบั อา่ งล้างหน้า เผื่อไว้ 0.70 -1.00 ม.

เดนิ ทอ่ รับ FD เผ่อื ไว้ 0.50 -1.00 ม.

เดินท่อรับ FCO เผอ่ื ไว้ 0.50 -1.00 ม.

3. ท่อประปา (ทอ่ ใต้พื้นเข้าสขุ ภัณฑ์)

เดินท่อเขา้ โถส้วมชกั โครก เผอื่ ไว้ 1.00 ม.

เดินท่อเข้าโถปัสสาวะ เผื่อไว้ 1.00 ม.

เดนิ ท่อเข้าอ่างลา้ งหน้า เผอ่ื ไว้ 1.00 ม.

เดินท่อกอ๊ กน้ำ เผื่อไว้ 1.00 ม.

เดนิ ทอ่ วาล์วฝักบวั เผื่อไว้ 1.50 -2.00 ม.

4. ท่อประปา (ทอ่ บนพื้นเขา้ สุขภณั ฑ์)

เดนิ ทอ่ เข้าโถส้วมชกั โครก เผอ่ื ไว้ 2.50 -3.00 ม.

เดินทอ่ เข้าโถปัสสาวะ เผื่อไว้ 1.50-2.00 ม.

เดนิ ท่อเข้าอ่างลา้ งหน้า เผือ่ ไว้ 2.00 -2.50 ม.

เดินทอ่ ก๊อกนำ้ เผอ่ื ไว้ 2.00 -2.50 ม.

เดนิ ท่อวาลว์ ฝักบัว เผื่อไว้ 3.00 -4.00 ม.

160

5. ทอ่ ระบายอากาศ

เดนิ ทอ่ เข้าโถส้วมชกั โครก เผอ่ื ไว้ 3.00 -4.00 ม.

เดินทอ่ เข้าโถปสั สาวะ เผ่ือไว้ 1.50 -2.00 ม.

เดนิ ท่อเข้าอ่างล้างหนา้ เผื่อไว้ 1.50-2.00 ม.

6. ทอ่ ดับเพลิง

เดนิ ท่อรบั หวั SPRINKLER เผื่อไว้ 0.20 -0.50 ม.

7. ท่อระบายน้ำฝน

เดนิ ท่อรบั หัว RFD และ RD เผอ่ื ไว้ 0.20 -0.50 ม.

8.2.4 ชนิดของท่อที่ใชใ้ นงานระบบสุขาภบิ าล

1. ทอ่ ระบายน้ำโสโครก ใช้เหลก็ หลอ่ หรือท่อ PVC ความลาดตามแนวนอนไมน่ ้อยกวา่ 1 :75

2. ทอ่ ระบายนำ้ ท้งิ ใช้เหล็กกลา้ อาบสังกะสหี รือท่อ PVC ความลาดแนวนอนไม่นอ้ ยกวา่ 1 :75

3. ทอ่ ระบายอากาศ ใช้ท่อเหล็กอาบสงั กะสหี รอื ทอ่ PVC

4. ท่อประปาส่วนที่ตอ่ กับเครื่องสูบน้ำ ถังน้ำ ท่อเมนแนวดิง่ ในชอ่ งท่อ ใช้ท่อเหล็กกล้าอาบ

สังกะสี สำหรับท่อส่วนที่ฝงั ดนิ และท่อหอ้ งน้ำต่างๆ ทแี่ ยกย่อยมาจากทอ่ เมน ใชทอ่ PB หรือ

ท่อ PVC

5. ทอ่ ระบายนำ้ ฝน ใชท้ อ่ เหล็กกลา้ อาบสังกะสีหรอื ทอ่ PVC

6. ท่อรบั น้ำเสีย ใช้ท่อ HDPE

7. ทอ่ ระบายน้ำบรเิ วณ ใช้ท่อคอนกรีตเสริมเหลก็

8.3 วธิ ีการประมาณราคางานระบบสขุ าภิบาล

การประมาณราคางนระบบสขุ าภิบาล มีวิธกี ารดงั นี้
1. ศึกษาแบบแปลนระบบสุขาภิบาลของอาคารแต่ละชั้น แบบขยายห้องน้ำ รูปตัดห้องน้ำ
รวมถงึ รายการประกอบแบบและสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ของงานระบบสุขาภิบาล
2. นับจำนวนสขุ ภณั ฑต์ ่าง ๆ จากแบบแปลนขยายห้องนำ้ แตล่ ะช้ัน โดยแยกตามสญั ลักษณ์ได้
เป็นจำนวนชดุ
3. หาความยาวของท่อชนดิ ต่าง ๆ ในงานระบบสขุ าภิบาล โดยประมาณความยาวทัง้ แนวราบ
และแนวดง่ิ จากแบบแปลนระบบสขุ าภิบาลและรปู ตดั อาคารไดเ้ ปน็ จำนวนเมตร

ความยาวของท่อ = ระยะตามแนวราบ + ระยะตามแนวด่ิง

161

4. ศึกษาหลกั เกณฑ์การเผือ่ ปริมาณวัสดุตามหลักเกณฑก์ ารเผือ่ ปรมิ าณงานระบบสขุ าภิบาล
5. สืบราคาวัสดุ ค่าแรง งานระบบสุขาภิบาลตา่ งๆ จากแหล่งข้อมูลที่เกีย่ วข้อง เพื่อคำนวณ
คำใชจ้ ่ายทงั้ หมดของงานระบบสุขาภบิ าล
6. คำนวณหาข้อต่อและข้องอต่างๆ ที่ใช้ในงานระบบสุขาภิบาล โดยคำนวณค่าวัสดุและ
คา่ แรงตามชนดิ ของทอ่ ตามหลกั เกณฑข์ องกรมบญั ชกี ลาง

162

ตัวอย่างที่ 8.1 จากแบบก่อสรา้ งต่อไปน้ี จงหาปรมิ าณงานระบบสขุ ภณั ฑภ์ ายในหอ้ งนำ้ ของ
บ้านพักอาศัย 2 ชน้ั

163

มาตรฐานสญั ลกั ษณ์และรายการสขุ ภัณฑ์ มาตรฐานสญั ลักษณ์และรายการสขุ ภัณฑ์

สัญลักษณ์ รายการสุขภณั ฑ์ สญั ลักษณ์ รายการสขุ ภณั ฑ์

WC1 โถส้วมแบบนัง่ ราบ อุปกรณ์ครบชดุ HS. ชุดสายฉดี ชำระ

LAV.1 อา่ งล้างหน้าแบบฝังหรอื ตดิ ตัง้ บน M. กระจกเงาอย่างดี หนา 5 มม.

เคานเ์ ตอร์ พรอ้ มอปุ กรณ์ครบชดุ TR ราวแขวนผ้า

LAV.2 อา่ งลา้ งหน้าแบบแขวนผนงั SP. ทีว่ างสบู่

พร้อมอปุ กรณค์ รบชดุ

F1 กอ๊ กอ่างลา้ งหน้า SW. ฝักบัวสายออ่ น

พรอ้ มอุปกรณ์ครบชดุ

PH. ทีใ่ สก่ ระดาษชำระ K ก๊อกนำ้ ล้างพื้น

164

วธิ ีทำ

1. นับจำนวนสุขภัณฑต์ ามสญั ลักษณจ์ ากแบบขยายห้องนำ้

โถส้วมแบบนัง่ ราบ อปุ กรณ์ครบชุด

ชน้ั ล่าง = 2 ชดุ ช้ันบน = 1 ชุด

รวม = 3 ชดุ ตอบ
ตอบ
อ่างล้างหนา้ แบบฝงั หรือติดตง้ั บนเคานเ์ ตอร์ พร้อมอุปกรณ์ครบชุด ตอบ
ตอบ
ชั้นล่าง = 2 ชดุ ชัน้ บน = 1 ชดุ

รวม = 3 ชดุ

กอ๊ กอา่ งล้ำงหนา้

ชั้นลา่ ง = 2 ชดุ ชั้นบน = 1 ชุด

รวม = 3 ชุด

ท่ีใสก่ ระดาษชำระ

ชั้นลา่ ง = 2 ชดุ ชั้นบน = 1 ชดุ

รวม = 3 ชุด

ชดุ สายฉีดชำระ ชัน้ บน = 1 ชดุ 165
ชั้นลา่ ง = 2 ชุด ช้ันบน = 1 ชดุ
รวม = 3 ชุด ชั้นบน = 1 ชดุ ตอบ
ช้ันบน = 1 ชดุ ตอบ
กระจกเงาอยา่ งดี หนา 5 มม. ชั้นบน = 1 ชุด ตอบ
ชั้นล่าง = 2 ชุด ชั้นบน = 1 ชุด ตอบ
รวม = 3 ชดุ ตอบ
ตอบ
ราวแขวนผา้
ชนั้ ลา่ ง = 2 ชุด
รวม = 3 ชดุ

ทีว่ างสบู่
ชนั้ ลา่ ง = 2 ชุด
รวม = 3 ชุด

ฝกั บัวสายอ่อน พร้อมอุปกรณ์ครบชุด
ช้นั ลา่ ง = 2 ชุด
รวม = 3 ชุด

กอ๊ กนำ้ ลา้ งพื้น
ชั้นล่าง = 2 ชุด
รวม = 3 ชุด

166

ตัวอย่างที่ 8.2 จากแบบแปลนสุขาภิบาลพ้นื ชัน้ ล่างตอ่ ไปน้ี กำหนดให้ท่อคอนกรตี ตอ่ ลงท่อระบายนำ้
สาธารณะท่หี ่างจากเขตพน้ื ที่ของอาคาร 10 ม. จงหา

1. ความยาวของท่อคอนกรีตทต่ี ่อเข้าบ่อพกั ทอ่ ระบายน้ำเชอื่ มไปยงั ทอ่ ระบายน้ำสาธารณะ
ทัง้ หมด

2. จำนวนบอ่ ดกั ไขมัน บอ่ บำบัดน้ำเสยี และบ่อพักทอ่ ระบายนำ้ ท้ังหมด

167

วธิ ที ำ
1. หาความยาวของท่อคอนกรีต

1.1 เขียนเสน้ แนวท่อคอนกรีตและวดั ความยาวท่อคอนกรีต โดยประมาณจากแบบแปลนจากนน้ั
เขยี นตัวเลขกำกับความยาวของทอ่ แตล่ ะชว่ งดังในรปู ตอ่ ไปน้ี

1.2 คำนวณหาความยาวท่อคอนกรีตขนาด Ø 0.20 ม.

ความยาวของท่อทั้งหมด = ระยะตามแนวราบ

= 4.60 +4.60+2.05 + 5.50 + 2.20 + 4.50 + 4.60

+ 6.70+ 4.00 +3.55+5.00

= 47.30 ม.

เผอ่ื 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ = 47.30 x 1.10

= 52.03 ม. ตอบ

168

2. หาจำนวนบ่อดักไขมนั บอ่ บำบัดนำ้ เสีย และบ่อพกั ทอ่ ระบายนำ้ ทั้งหมด

2.1 บอ่ ดักไขมนั สำเรจ็ รูป

จำนวนบ่อดกั ไขมนั =1 ชดุ (นับจากแบบแปลน) ตอบ
ตอบ
2.2 บ่อดกั บำบัดนำ้ เสียสำเร็จรปู ตอบ

จำนวนบำบดั นำ้ เสีย = 1 ชดุ (นับจากแบบแปลน)

2.3 บอ่ ดักพกั ทอ่ ระบายน้ำสำเรจ็ รปู ขนาด 0.40 x 0.40 ม. พร้อมฝา คสล.

จำนวนบ่อพกั ทอ่ ระบายนำ้ =11 ชดุ (นบั จากแบบแปลน)

169

ตัวอยา่ งท่ี 8.3 จากแบบแปลนระบบสขุ าภิบาลพื้นชั้นลา่ งตามตัวอยา่ งท่ี 8.2 จงหาความยาวของท่อ

ประปาและปรมิ าณขอ้ ตอ่ ขอ้ งอทง้ั หมด

ชนิดทอ่ ที่ใช้ในการก่อสร้าง

ทอ่ สัญลกั ษณ์ ชนิดท่อ ความลาดใน

แนวนอน

ทอ่ โสโครก S ท่อ PVC ชั้น 8.5 ตามมาตารฐาน มอก. 17 - 2532 1:75

ทอ่ ระบายนำ้ ทิ้ง W ท่อ PVC ชัน้ 8.5 ตามมาตารฐาน มอก. 17 - 2532 1:75

ท่อระบายอากาศ V ทอ่ PVC ช้นั 8.5 ตามมาตารฐาน มอก. 17 - 2532 -

ทอ่ ประปา CW ท่อ PVC ชน้ั 13.5 ตามมาตารฐาน มอก. 17 - 2532 -

ท่อระบายน้ำ - ท่อคอนกรตี ทอ้ งตลาด ตามแบบ

ท่อระบายนำ้ ฝน RL ท่อ PVC ชน้ั 8.5 ตามมาตารฐาน มอก. 17 - 2532 1:75

นำ้ ท้ิงจากครวั K ท่อ PVC ชัน้ 8.5 ตามมาตารฐาน มอก. 17 - 2532 1:75

170

วธิ ที ำ
1. เขยี นเส้นแนวท่อประปาจากมาตรวดั นำ้ เขา้ สถู่ ังเก็บน้ำและเดนิ ทอ่ เข้าสจู่ ดุ ตา่ ง ๆ ภายในอาคาร
และวัดความยาวตามแนวราบจากแบบแปลนดงั ในรปู ตอ่ ไปน้ี

2. คำนวณหาปริมาณงานทอ่ ประปา

งานทอ่ ประปา ทอ่ PVC ขนาด Ø 1 1/2 นิว้ (ช้ัน 13.50 ตามมาตรฐาน มอก. 17 -2532)

ความยาวของทอ่ ประปาท้งั หมด = ระยะตามแนวราบ + ระยะตามแนวด่งิ

ระยะตามแนวราบ = ความยาวจากมาตรวัดน้ำเข้าสจู่ ดุ นำ้ ใช้ภายในอาคาร

= 2.50 + 2.50 +2.50 + 6.70 + 14.25

= 28.45 ม.

ระยะตามแนวด่ิง = ระยะเผือ่ ความยาวท่อแนวด่งิ

171

เดนิ ท่อเขา้ สายฉีดชำระและโถส้วมจำนวน 1 จดุ = 2.50 ม.

เดนิ ท่อเข้าอา่ งล้างหนา้ 1 จดุ = 2.00 ม.

เดินท่อเขา้ ฝกั บัว 1 จุด = 3.00 ม.

เดินท่อเข้ากอ๊ กน้ำลงั พื้น 1 จุด = 2.00 ม.

เดินท่อเข้าก๊อกนำ้ ใช้ภายในบ้าน 2 จุด = 4.00 ม.

รวมระยะตามแนวดิ่ง = 2.50 +2.00 + 3.00 + 2.00+4.00

= 13.50 ม.

ความยาวของทอ่ = 28.45 + 13.50

= 41.95 ม.

เผื่อ 10 เปอรเ์ ซ็นต์ = 41.95 x 1.10

= 46.15 ม. (12 ท่อน) ตอบ

3. คำนวณหาปริมาณขอ้ ต่อ ข้องอตา่ งๆ

ทอ่ PVC มีหลกั เกณฑ์การคำนวณ คอื คำวสั ดุ 40% ของราคาท่อ และคา่ แรง 30% ของราคา

ท่อ

ราคาต่อท่อน = 68 บาท (สืบราคาจากพาณิชย์จงั หวดั )

ราคาทอ่ ทง้ั หมด = 12 x 68

= 816 บาท

ค่าวัสดุ 40% ของราคาทอ่ = 816 x 0.40

= 326.40 บาท ตอบ

ค่าแรง 30% ของราคาท่อ = 816 x 0.30

= 244.80 บาท ตอบ

172

ตัวอย่างท่ี 8.4 จากแบบแปลนระบบสขุ าภิบาลพ้นื ชั้นสองตอ่ ไปนี้ จงหาความยาวของและท่อประปา
ท่อโสโครกท้ังหมด

173

วธิ ที ำ
1. ปริมาณท่อประปา

1.1 เขียนเสน้ แนวทอ่ ประปาจากมาตรวดั นำ้ เข้าสู่ถงั เกบ็ นำ้ และเดนิ ท่อเขา้ สูจ่ ุดต่าง ๆ ภายใน
อาคารและวัดความยาวตามแนวราบจากแบบแปลน โดยเขียนตวั เลขกำกับไวด้ งั ในรปู ต่อไปนี้

1.2 คำนวณปริมาณท่อประปาทง้ั หมด

ทอ่ PC ขนาด Ø 1 1/2 น้ิว (ชัน้ 13.50 ตามมาตรฐาน มอก. 17 -2532)

ปรมิ าณทอ่ ประปาทัง้ หมด = ระยะตามแนวราบ + ระยะตามแนวดิง่

ระยะตามแนวราบ = ความยาวจากจดุ นำ้ ใชภ้ ายในอาคาร (ตามแบบแปลน)

= 1.80 +1.50

= 3.30 ม.

ระยะตามแนวด่งิ = ความสงู ทอ่ ที่ต่อเขา้ สขุ ภัณฑท์ ุกจุด + ระดบั พ้ืนชัน้ 2

174

เดินท่อเขา้ สายฉีดชำระและโถส้วมจำนวน 1 จุด = 2.50 ม.

เดนิ ทอ่ เขา้ อ่างล้างหนา้ 1 จดุ = 2.00 ม.

เดนิ ท่อเข้าฝกั บวั 1 จดุ = 3.00 ม.

เดินทอ่ เข้ากอ๊ กน้ำล้างพ้นื 1 จุด = 2.00 ม.

ระดบั พ้ืนช้นั 2 = 3.65 ม.

รวมระยะตามแนวดิ่ง = 2.50 + 2.00 + 3.00+ 2.00 + 3.65

= 13.15 ม.

ความยาวของทอ่ = 3.30 + 13.15

= 16.45 ม.

เผอ่ื 10 เปอร์เซ็นต์ = 16.45 x 1.10

= 18.10 ม. (5 ทอ่ น) ตอบ

2. ปริมาณท่อโสโครก

2.1 เขียนเส้นแนวท่อโสโครกจากโถส้วมไปยังชอ่ งท่อแนวดงิ่ และวัดความยาวตามแนวราบจาก

แบบแปลนโดยเขียนตวั เลขกำกับไวด้ งั ในรูปตอ่ ไปนี้

2.2 คำนวณปริมาณทอ่ โสโครกท้ังหมด

ทอ่ PVC ขนาด Ø 4 นวิ้ (ชัน้ 1350 ตามมาตรฐาน มอก. 17 -2532)

ปรมิ าณทอ่ โสโครกทั้งหมด = ระยะตามแนวราบ + ระยะตามแนวด่งิ

ระยะตามแนวราบ (ตามแบบแปลน) = 2.00 ม.

ระยะตามแนวดง่ิ = ความสงู ท่อที่ต่อเข้าสขุ ภัณฑท์ กุ จุด + ระดบั พืน้ ช้นั 2

เดนิ ทอ่ รับโถส้วม 1 จดุ = 0.50 ม.

ระดบั พนื้ ช้นั 2 = 3.65 ม.

รวมระยะตามแนวดิง่ = 0.50 + 3.65 175
เผื่อ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ = 4.15 ม. ตอบ
= 4.15 x 1.10
= 4.57 ม. (2 ท่อน)

176

บทท่ี 9
บนั ทกึ สรปุ รายการประมาณราคา

การบันทึกสรุปรายการประมาณราคา เป็นการจัดทำเอกสารที่แสดงรายการต่าง ๆ ของ
จำนวนวัสดุกอ่ สรา้ ง ค่าแรงงานและค่าใชจ้ ่ายตา่ ง ๆ ของงานกอ่ สร้างทั้งหมด โดยการแยกหมวดงาน
ตา่ ง ๆ
เรยี งตามลำดบั ประกอบด้วย ราคาวสั ดุ ราคาค่าแรง คา่ ดำเนินการ กำไร ภาษี หรอื ค่า Factor F ใน
การก่อสร้างแต่ละโครงการ การจัดทำบันทึกสรุปรายการประมาณราคา ผู้ประมาณราคาจะจัดทำ
หลังจากการคำนวณหาปริมาณวัสดุต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วซึ่งจะช่วยให้ทราบงบประมาณในการ
ก่อสร้างท้งั หมด

9.1 สว่ นประกอบของบนั ทกึ สรุปรายการประมาณราคา
การจัดทำบนั ทกึ สรุปรายการประมาณราคา ประกอบดว้ ยรายการดังตอ่ ไปน้ี
1. คา่ วัสดุ หมายถึงปริมาณวัสดุที่ได้จากการคำนวณตามแบบรายการก่อสร้างเสร็จส้ินเรียบร้อย

แลว้ นำมาคูณกับราคาตอ่ หนว่ ยท่ไี ด้จากการหาข้อมูลราคาวัสดุจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซ่ึงผู้ประมาณ
ราคาจะต้องมีการตดิ ตามขา่ วสารความเคลอ่ื นไหวเกีย่ วกับราคาวสั ดกุ ่อสรา้ งอยา่ งสมำ่ เสมอ

2. ค่าแรงงาน หมายถึงคำใช้จ่ายในการดำเนินการจ้างแรงงาน หรือเครื่องจักรกลที่ใช้ในการ
กอ่ สร้างแต่ละสว่ น บางครง้ั อาจป็นคา่ แรงงานตอ่ หนว่ ย หรืออาจเปน็ คา่ แรงงานแบบเหมารวม ข้ึนอยู่
กบั ความเหมาะสมของแต่ละโครงการ

3. ค่าดำเนินการ หมายถึงค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการบรหิ ารจัดการในการดำเนนิ งานโครงการ
กอ่ สร้าง

4. กำไร หมายถึงส่วนต่างของรายรับรวมและต้นทุนรวมหรือประโยชน์ที่ผู้รับจ้างจะได้รับจาก
การดำเนินงานกอ่ สรา้ ง

5. ภาษี หมายถงึ คำภาษีเงินไดท้ ีผ่ ูร้ ับจา้ งจะตอ้ งชำระให้แกร่ ฐั บาล เพื่อนำไปพฒั นาประเทศ
ในอัตราปัจจบุ ัน (รอ้ ยละ 7)

6. ดอกเบี้ย หมายถึงอัตราเงินล่วงหน้าที่ผู้ก่อสร้างไปกู้ยืมในสถาบันการเงิน เพื่อเป็นทุน
หมุนเวียนในการดำเนินงาน เนื่องจากการดำเนินงานก่อสร้างอาคารต้องใช้เงินทุนสูง ผู้ก่อสร้างจึง
จำเปน็ ตอ้ งไปกู้ยืมเงนิ จากสถาบนั การเงินเพ่ือเป็นทุนหมนุ เวียนในการเตรียมการก่อสรา้ ง รวมท้ังการ
จัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นมาใช้ก่อสรา้ ง ซึ่งผลของการกู้ยืมเงินเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนดังกล่าว
ทำให้เกิดคา่ ดอกเบ้ีย ซึ่งถอื เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสรา้ งอกี รายการหนงึ่

177

9.2 ข้นั ตอนการจดั ทำบนั ทกึ สรปุ รายการประมาณราคา
การจัดทำบันทกึ สรุปราคาการประมาณราคา มแี นวทางปฏบิ ัติ ดังนี้
1. ถอดแบบกอ่ สร้างจากแบบก่อสร้างท่ีจะใช้ก่อสร้าง เพอ่ื สำรวจและกำหนดรายการงานก่อสร้าง

รวมทั้งหน่วยวัด และปริมาณ วัสตุ และแรงงานสำหรบั แตล่ ะรายการงานก่อสรา้ ง และรวมไปถึงการ
ปรับจำนวนหรือปริมาณงาน/วัสดุของบางรายการงานก่อสร้างตามที่กำหนดให้สอดคล้องกับกา ร
ก่อสร้างทเี่ ป็นจรงิ

2. นำรายละเอียดหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารซึ่ง
ประกอบด้วย ค่าวัสดุ ค่าแรงงาน และค่าวัสดุมวลรวมตอ่ หน่วย มาลงในแบบฟอร์มประมาณราคาท่ี
กำหนด

3. ศึกษาหาข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างแต่ละชนิด จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำเชื่อถือ เช่น เว็บไซต์
ของกระทรวงพาณชิ ย์ และเว็บไซต์โยธาไทย เป็นตน้ ซึ่งรวบรวมราคาวสั ดุกอ่ สร้างของพาณิชย์จังหวัด
ไว้ให้ค้นคว้า และการปรับปรุงราคาวัสดุก่อสร้างเป็นประจำทุกเดือน หากไม่มีราคาวัสดุก่อสร้าง
ภายในจังหวัด ให้ศึกษาราคาจากจังหวัดใกล้เคียงและราคาจากส่วนกลางตามลำดับ หากยังมีวัสดุ
ก่อสร้างชนดิ ใดทยี่ งั ไม่ปรากฎราคา ผ้ปู ระมาณราคาอาจใช้วธิ กี ารสืบราคา และเปรียบเทยี บราคาจาก
รา้ นค้าภายในท้องถิน่

4. ศึกษาหาข้อมลู ราคาค่าแรง จากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ ทีน่ ่าเช่ือถือ เช่น เวบ็ ไซต์กรมบญั ชีกลาง ซ่ึง
ได้รวบรวมบญั ชแี รงงานในการก่อสร้าง และมกี ารปรบั ปรงุ ใหท้ ันกับสถานการณ์การก่อสรา้ งอยู่เสมอ

9.3 รปู แบบของบันทึกสรุปรายกรประมาณราคา
รูปแบบของบันทกึ สรุปรายการประมาณราคา โดยทว่ั ไปแบง่ ออกเปน็ 2 รปู แบบดังนี้
1. รูปแบบ BOO (Bill of Quantities) เป็นเอกสารแสดงราคากลางงานก่อสร้างที่ใช้ในขั้นตอน

การหาผู้รับเหมาก่อนที่จะทำการก่อสร้างของงานส่วนบุคคลหรืองานก่อสร้างของหน่วยงานที่ไม่ใช่
หน่วยงานราชการ โดยรายละเอยี ดของบัญชีจะแสดงปริมาณเน้อื งาน ค่าวัสดุและค่าแรงงาน ที่ถอดมา
จากแบบก่อสร้างทัง้ หมด จากแบบสถาปัตยกรรม แบบวิศวกรรมโครงสร้าง และแบบวศิ วกรรมระบบ
ซึ่งแยกหมวดหมู่อย่างละเอียด จากนั้นนำราคารวมของวัสดุและค่าแรงทั้งหมดมาคำนวณหาค่า
ดำเนินการ กำไร
และภาษี

2. รูปแบบ ปร. ต่าง ๆ เป็นเอกสารแสดงราคากลางงานก่อสร้างของหน่วยงานราชการต่าง ๆ
ประกอบด้วยแบบ ปร.1, ปร2, ปร.3, ปร.4, ปร.5 และ ปร.6 โดยทุกครั้งที่จัดทำบัญชีรายการวสั ดุก
สร้างและราคาของงานก่อสร้างในส่วนนี้ ผู้ประมาณราคาต้องคำนวณคำใช้จ่ายในการดำเนินงาน
ก่อสร้าง ซึ่งประกอบด้วย ค่าอำนวยการ ดอกเบี้ย กำไร และภาษี ที่จัดทำไว้ในรูปแบบของตาราง
สำเร็จรูป เรียกวา่ "คา่ Factor F"

178

9.4 วิธกี ารบนั ทึกสรปุ รายการประมาณราคา

วธิ ีการบันทึกสรุปรายการประมาณราคา มีข้ันตอนดังต่อไปนี้
1. นำรายการวัสดมุ าใส่ในชอ่ ง "รายการ" โดยใส่รายละเอียดของวัสดไุ ว้ตามหาส่วนมากจะเริ่มตัน
จากงานดนิ งานโดรสรา้ ง งานสถาปัตยกรรม งานระบบสุขาภบิ าล งานสแี ละงานไฟฟา้ ตามลำดับ
2. นำตัวเลขจำนวนวัสดทุ ี่คำนวณได้มาใสใ่ นช่อง "จำนวน" แล้วใสห่ นว่ ยนับลงในชอ่ งหน่วย
3. ใสร่ าคาตอ่ หน่วยของวัสดแุ ตล่ ะรายการลงในชอ่ ง "คา่ วัสด"ุ
4. นำตวั เลขในช่อง "จำนวน" มาคณู กับชอ่ ง "ค่าวัสดุ" เม่อื ไดค้ า่ แลว้ นำมาใส่ลงในช่อง"จำนวนเงนิ "
5. ใสค่ ่าแรงงานตอ่ หน่วยของวัสดแุ ต่ละรายการลงในชอ่ ง "คา่ แรงงาน"
6. นำตัวเลขในชอ่ ง "คา่ วสั ด"ุ มาบวกกับช่อง "ค่าแรงงาน" แล้วนำค่าทีไ่ ดม้ าใส่ลงในช่อง
"รวมคา่ วัสดแุ ละค่าแรงงาน"
7. เมื่อปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1-6 จนครบทุกรายการแล้ว ให้นำตัวเลขในช่อง "รวมค่าวัสดุและ
ค่าแรงงาน" มาบวกกันตามแนวตงั้ จนครบทุกรายการ จะไดร้ าคาคา่ ก่อสรา้ งท้งั หมด
8. นำตวั เลขจากช่อง "ราคาคา่ กอ่ สร้างทง้ั หมด" ท่ไี ด้ไปหาค่าดำเนินการ กำไร ภาษีดอกเบี้ยเงินกู้
หรือหากเป็นงานประมาณราคาของหน่วยงานราชการ ให้นำไปหาค่า Factor F จะได้ราคากลางใน
การกอ่ สร้างทั้งหมด

9.5 การบนั ทึกสรุปรายการประมาณราคาของหนว่ ยงานราชการ

การบนั ทึกสรุปรายการประมาณราคาของหน่วยงานราชการ ผู้ประมาณราคาต้องจดั ทำให้ถูกต้อง
ตามแบบฟอรม์ ทก่ี ำหนดดังต่อไปนี้

9.5.1 แบบฟอรม์ ประกอบการถอดแบบก่อสร้าง
เป็นแบบฟอร์มที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ประกอบการถอดแบบก่อสร้าง และใช้สำหรับแนบไว้เป็น
รายละเอียดประกอบในการคำนวณ ซึ่งผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางงานก่อสร้างจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้
ขน้ึ อยกู่ ับดลุ พนิ ิจของแตล่ ะบุดดล ประกอบดว้ ยแบบฟอร์มดงั นี้

1. แบบ ปร.1 แบบฟอร์มการถอดแบบสำรวจรายการ ปริมาณงาน และวัสดุก่อสร้างทั่วไป
เป็นแบบฟอร์มสำหรับใช้ประกอบการถอดแบบก่อสร้างเพื่อสำรวจและกำหนดรายการปริมาณงาน
และวสั ดกุ ่อสรา้ งท่ัวไปท่ีไมเ่ กีย่ วขอ้ งกับงานคอนกรีต งานไมแ้ บบ งานไมค้ ำ้ ยนั งานเหลก็ เสรมิ คอนกรีต
และงานไม้ หรืออาจใชเ้ ปน็ แบบฟอร์มสำหรบั ประมาณการราคากอ่ สรา้ งของงานตา่ ง ๆ เพื่อหาราคา
ตอ่ หนว่ ย เชน่ งานทำประตูหนา้ ต่าง และงานเดนิ ทอ่ ระบบ เปน็ ตน้

2. แบบ ปร.2 แบบฟอรม์ การถอดแบบสำรวจรายการและปริมาณงานคอนกรตี ไม้แบบ


Click to View FlipBook Version