The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรงเรียนวิถีพุทธ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atom.indyemo.0, 2022-06-20 00:43:53

โรงเรียนวิถีพุทธ

โรงเรียนวิถีพุทธ

ภาคสงฆท ่ี ................. รหสั ..................
............... /............... / ..............

สาํ หรับเจา หนา ท่ี

เอกสารแสดงกิจกรรม/โครงการดเี ดน
สถานศกึ ษาวิถีพทุ ธชั้นนาํ รนุ ท่ี ๑๓

ประจําปการศกึ ษา ๒๕๖๕

ของ

โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค
สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระยอง เขต ๑
๗๐ หมู ๕ ตําบลสํานักทอ น อาํ เภอบานฉาง จังหวดั ระยอง

โครงงานเด็กดีมีวนิ ัย หวั ใจสามคั คี มคี วามรบั ผิดชอบ บนกรอบคณุ ธรรม

ท่มี าและความสำคัญ
ในปจั จุบันเทคโนโลยไี ด้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวนั ทำให้ทัง้ สอ่ื ทดี่ แี ละไม่ดีเข้าถึงนักเรียนได้ง่าย

จึงทำให้นักเรียนที่มีพฤติกรรมที่ไม่มีระเบียบวินัย ไม่ช่วยกันทำเวรรักษาความสะอาด ไม่ส่งงาน ซึ่งปัญหา
เหล่าน้ีเป็นปญั หาท่ีเกิดข้ึนกับเดก็ ในยุคปัจจุบัน หากไม่ได้รบั การแกไ้ ขและพัฒนาใหด้ ีข้ึน เม่ือเติบโตเป็นผู้ใหญ่
ก็จะเป็นบุคคลที่ด้อยคุณภาพไม่มีคุณธรรม-จริยธรรมนับเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาและขัดขวางความ
เจริญก้าวหน้าของประเทศชาติทางกลุ่มคนดีศรีสุวรรณ โรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ ตระหนักและเห็น
ความสำคญั ของปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงงานเด็กดีมีวนิ ัย หัวใจสามัคคี มีความรับผดิ ชอบ บนกรอบคุณธรรม
โดยจัดกิจกรรมนิทานคุณธรรมประจำวัน ในช่วงกิจกรรมหน้าเสาธง เพื่อให้นักเรียนทราบถึงคุณธรรมที่ดี
นำไปสู่จริยธรรมท่ดี ี
วตั ถุประสงค์

๑. เพอื่ ปลูกฝงั คุณธรรม-จริยธรรมใหน้ กั เรียน มรี ะเบยี บวินัย มคี วามสามัคคี มีความรับผิดชอบ
๒. เพื่อให้นักเรยี นตระหนักถึงขอ้ ดี ด้านความมีระเบยี บวินัย ความสามคั คี ความรับผิดชอบ
วิธีการดำเนนิ งาน
การดำเนินโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรบั ผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม มีขั้นตอนดำเนินการ
ดงั นี้

1. ประชมุ ปรึกษาคณะทำงาน เพือ่ กำหนดกิจกรรมและวางแผนการทำงานร่วมกนั โดยได้ขอ้ สรปุ ดงั น้ี
๑.๑ ประชาสัมพนั ธ์โครงงานเด็กดมี วี นิ ัย หวั ใจสามคั คี มคี วามรบั ผิดชอบ บนกรอบคณุ ธรรม
๑.๒ แต่งตั้งผูร้ ับผิดชอบหอ้ งเรียนตง้ั แตร่ ะดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ - ๖ รวมท้ังหมด ๖ หอ้ งเรียน
๑.๓ เลา่ นทิ านคณุ ธรรมประจำวนั ในกิจกรรมหนา้ เสาธง

๒. ดำเนินงานตามแผนงานท่กี ำหนด ดังน้ี
2.๑ เริ่มตน้ ประชาสมั พนั ธ์โครงงานเด็กดีมีวินยั หวั ใจสามคั คี มคี วามรบั ผดิ ชอบ บนกรอบคุณธรรม

เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 – 6 ไดร้ ับทราบถึงขอ้ ดีของโครงงานนว้ี า่ มีประโยชนอ์ ย่างไร และจะช่วย
ให้นักเรยี นสามารถพฒั นาตนเป็นคนดี มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมไดอ้ ยา่ งไร

2.๒ แต่งต้ังผู้รับผิดชอบห้องเรียนต้ังแต่ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 รวมท้ังหมด ๖ ห้องเรียน
ห้องเรียนละ 2 คน รวมจำนวนทั้งหมด 12 คน ทำหน้าที่รวบรวมบันทึกความดีของแต่ละบุคคลภายใน
ห้องเรยี นนน้ั ๆ

2.๓ ตวั แทนสมาชิกโครงงานสบั เปลย่ี นหมุนเวียนกันเล่านิทานคุณธรรมประจำวัน ในกิจกรรมหน้า
เสาธง เพอื่ เปน็ การกระตนุ จิตสำนึกใฝ่คณุ ธรรม และเปน็ การประชาสัมพันธโ์ ครงงานไปพรอ้ มๆ กนั

๓. ประเมินผลการดำเนินงาน โดยประเมินจากแบบประเมินคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียน โดยผู้
ประเมนิ เปน็ นักเรยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 และสรปุ ผลการทำโครงงาน

๔. รายงานโครงงานและนำเสนอโครงงาน
สรปุ ผลการดำเนินการโครงงาน

๑. จากการดำเนินงานโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม
นกั เรียนโรงเรยี นชุมชนวดั สวุ รรณรงั สรรค์มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมดา้ นระเบยี บวนิ ยั ความสามัคคี ความรับผิดชอบ
รอ้ ยละ 89.91

๒. นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ทุกคนตระหนักถึงข้อดี ด้านความมีระเบียบวินัย ความ
สามัคคี ความรบั ผดิ ชอบ

ปญหา นกั เรียนทีม่ ีพฤติกรรมไมม่
ทาเวรรกั ษาความสะอาด ไมส่ ่งงา

. “
. วธิ ีการแกปญหา
. ๑. ประชาสัมพนั ธ์โครงงานเดก็ ด
. มคี วามรับผิดชอบ บนกรอบคุณธ
๒. แต่งตง้ั ผรู้ บั ผิดชอบห้องเรียน
( ประถมศกึ ษา ปีที่ ๔ ถงึ ชนั้ ประถ
ท้งั หมด ๖ ห้องเรยี น เพ่ือรวบร
ละบคุ คล
๓. เล่านิทานคณุ ธรรมประจาว

)

มรี ะเบียบวนิ ยั ไมช่ ่วยกัน สาเหตุ องปญหา(ปจั จยั ภายใน - ปจั จัยภายนอก)
าน ปัจจยั ภายใน
๑) ไมช่ อบอยู่ในก ระเบยี บ
๒) มีนสิ ยั เกยี จครา้ น ขาดความรบั ผดิ ชอบ
ปัจจัยภายนอก
๑) ถูกเพอ่ื นชักจงู
๒) สภาพท่ีบา้ นไม่เออื้ ตอ่ การเรียนรู้

ดมี วี ินัย หัวใจสามัคคี เปาหมาย
เปาหมายเชงิ ปริมาณ
ธรรม
๑. นักเรียนโรงเรยี นชมุ ชนวดั สุวรรณรังสรรค์มี
นตั้งแตร่ ะดับ ชั้น ระเบยี บวนิ ยั มีความสามคั คี มคี วามรับผดิ ชอบ รอ้ ยละ

ถมศกึ ษาปที ี่ ๖ รวม ข้นึ ไป
๒. นกั เรยี นโรงเรียนชมุ ชนวัดสุวรรณรงั สรรคต์ ระหนัก
รวมบันทกึ ความดีของแต่ ถงึ ขอ้ ดี ด้านความมรี ะเบียบวินยั ความสามคั คี ความ
รบั ผดิ ชอบ ร้อยละ ขน้ึ ไป
วัน ในกจิ กรรมหน้าเสาธง เปาหมายเชงิ คณุ า
๑. นักเรยี นโรงเรียนชมุ ชนวัดสุวรรณรังสรรคม์ ี
ระเบียบวินัย มคี วามสามคั คี มคี วามรบั ผิดชอบ
๒. นกั เรยี นโรงเรยี นชุมชนวดั สุวรรณรังสรรค์ตระหนกั
ถึงข้อดี ด้านความมรี ะเบยี บวนิ ัย ความสามคั คี ความ
รับผิดชอบ

กลมุ่ คนดศี รีสุวรรณ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์

ทม่ี าและความสำคญั

ในปจั จบุ ันเทคโนโลยีได้เขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ทำใหท้ ้งั ส่อื ท่ดี แี ละไม่ดีเข้าถึงตัวนักเรียนได้
ง่าย ถ้านักเรียนไม่มีความรู้ จิตใจที่แน่วแน่ หรือมีเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจที่มั่นคงเพียงพอ จะถูกชักนำไป
ทางที่ผิดได้ง่าย ประกอบกับการศึกษาหลักธรรมอิทธิบาท ๔ และคำสอนของในหลวง คือ การมีวินัย มี
ความสามัคคี และรู้จักหน้าที่ ถือกันว่าเป็นคุณสมบัติสำคัญประจำตัวของคนทุกคน แต่ในการสร้างเสริม
คณุ สมบัติ 3 ขอ้ นี้ จะตอ้ งไมล่ มื ว่า วนิ ยั สามัคคี และหน้าที่นน้ั เปน็ ไดท้ ้ังในทางบวกและทางลบ ซึง่ ย่อม
ให้คุณหรือใหโ้ ทษได้มากเทา่ ๆ กนั ทัง้ 2 ทาง เพราะฉะนัน้ เม่อื จะอบรม จำเป็นต้องพจิ ารณาให้ถ่องแท้แน่ชัด
ก่อนว่า เป็นวินัยสามัคคีและหน้าที่ดีคือ ปราศจากโทษ เป็นประโยชน์ เป็นธรรม (พระราชทานแก่
ผ้บู ังคบั บัญชาลูกเสือ วนั อังคาร ๑๒ กรก าคม ๒๕๒๖)

เนื่องจากโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่

อนุบาลจนถึงมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ พบวา่ การเดินไม่เป็นแถว ทั้งในการเดินเข้ามาโรงเรยี นและการเดนิ กลบั บ้าน

การเดินแถวเวลาเปล่ียนชว่ั โมงเรยี นและการเดินแถวไปรับประทานอาหาร ซงึ่ เกิดจากนกั เรยี นขาดจิตสำนึกใน

การปฏิบัติการเดินแถว มีการหยอกล้อ นอกจากนี้ยังมีปัญหาโรงเรียนไม่สะอาดโดยเฉพาะฤดูหนาวที่มีใบไม้

ร่วงเป็นจำนวนมาก เนื่องจากนักเรียนขาดความรับผิดชอบ ขากความสามัคคีในการทำเวรเขตรักษาความ

สะอาด นอกจากน้ีแลว้ นกั เรยี นไมม่ คี วามกระตอื รอื ร้นในการทำงานส่ง ไมเ่ ห็นความสำคัญของการเรียน ไม่มี

ความกระตอื รือร้นในการปฏิบตั สิ ิ่งดี ๆ ให้กับตนเองและโรงเรยี น ขาดความสามัคคี ความมรี ะเบยี บวินัยและ

ความรับผิดชอบ ซึ่งปัญหาเหล่านี้ หากไม่ได้รับการแก้ไขและพัฒนาให้ดีขึ้น เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะเป็น

บุคคลที่ด้อยคุณภาพไม่มีคุณธรรม-จริยธรรมนับเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาและขัดขวางความเจริญก้าวหน้า

ของประเทศชาติ ฉะนั้น ถ้านักเรียนมีวินัยในการเดินแถว มีความสามัคคีในการทำเวรเขตรักษาความสะอาด

มีความรับผิดชอบในการทำงานส่ง จะทำให้เด็กมีจิตสำนึกที่ดี มีความเป็นระเบียบ เมื่อมีกิจกรรมใด ๆ ใน

โรงเรยี นกจ็ ะดำเนนิ การได้โดยดี สร้างความสามัคคีให้กบั หมู่คณะและลดปัญหาสังคมไดอ้ กี ดว้ ย

ทางกลุ่มคนดีศรีสุวรรณโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์ ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาน้ี
จึงได้จัดทำโครงงานเด็กดมี ีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม โดยจัดกิจกรรมนิทาน
คุณธรรมประจำวัน ในชว่ งกจิ กรรมหน้าเสาธง เพอื่ ให้นักเรียนทราบถึงคณุ ธรรมท่ีดี นำไปสจู่ รยิ ธรรมท่ดี ี
วัตถุประสงค์

๑. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม-จริยธรรมให้นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ มีระเบียบวินัย

มีความสามคั คี มีความรบั ผดิ ชอบ ร้อยละ ขึ้นไป

๒. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์ตระหนักถึงข้อดี ด้านความมีระเบียบวินัย ความ

สามคั คี ความรบั ผดิ ชอบ

กลุ่มเปาหมาย

นกั เรียนโรงเรียนชมุ ชนวดั สุวรรณรังสรรค์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ระยะเวลา
ระยะเวลาดำเนินงาน ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ถงึ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

สถานท่ดี ำเนนิ การ
โรงเรียนชมุ ชนวดั สวุ รรณรงั สรรค์

วธิ ดี ำเนินการ
1. ประชมุ ปรึกษาคณะทำงาน เพ่ือกำหนดกจิ กรรมและวางแผนการทำงานร่วมกัน โดยสมาชกิ ใน

กลุ่มรว่ มกันประชมุ ปรกึ ษาหารือ เพอ่ื กำหนดระยะเวลาในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ และวางแผนการทำงาน
ร่วมกัน เพอื่ ใหเ้ กิดส่งิ ทดี่ ีมีประโยชน์ และข้อผดิ พลาดนอ้ ยทสี่ ุด โดยได้ขอ้ สรุปดงั น้ี

๑.๑ ประชาสัมพันธ์โครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม
๑.๒ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบห้องเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
รวมทั้งหมด ๖ ห้องเรยี น
๑.๓ เล่านิทานคุณธรรมประจำวนั ในกจิ กรรมหนา้ เสาธง
๒. ดำเนินงานตามแผนงานที่กำหนด ดงั น้ี
2.๑ เริ่มต้นประชาสัมพันธ์โครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบ
คุณธรรมในเดือนตุลาคม เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ได้รับทราบถึงข้อดีของโครงงานนี้ว่ามี
ประโยชน์อย่างไร และจะชว่ ยใหน้ ักเรยี นสามารถพัฒนาตนเป็นคนดี มีคุณธรรมจรยิ ธรรมได้อยา่ งไร
2.๒ หลังจากประชาสัมพันธ์โครงงานเรียบร้อย ลำดับถัดไปเป็นการแต่งตั้งผูร้ ับผิดชอบห้องเรยี น
ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ รวมทั้งหมด ๖ ห้องเรียน ห้องเรียนละ 2 คน
รวมจำนวนท้ังหมด 12 คน ทำหน้าทีร่ วบรวมบันทกึ ความดีของแต่ละบุคคลภายในห้องเรียนนน้ั ๆ
2.๓ ตัวแทนสมาชิกโครงงานสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันเล่านิทานคุณธรรมประจำวัน ในกิจกรรม
หน้าเสาธง เพื่อเป็นการกระตุนจิตสำนึกใฝ่คุณธรรม และเป็นการประชาสัมพันธ์โครงงานไปพร้อม ๆ กัน
๓. ประเมินผลการดำเนินงาน โดยประเมินจากแบบประเมินคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียน โดยผู้
ประเมนิ เปน็ นักเรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 และสรุปผลการทำโครงงาน
๔. รายงานโครงงานและนำเสนอโครงงาน
ผงั ้ันตอนการดำเนินการโครงงานเด็กดีมวี ินยั หัวใจสามคั คี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคณุ ธรรม

ประชมุ ปรึกษาคณะทำงาน

ประชาสมั พนั ธ์โครงงาน

แตง่ ตง้ั ผู้รับผดิ ชอบหอ้ งเรียน

เลา่ นทิ านคณุ ธรรมประจำวัน

ประเมินผลการดำเนินงาน

สรปุ ผลการทำโครงงาน

รายงานโครงงานและนำเสนอโครงงาน

ปฏิทนิ
ปฏิทนิ การดำเนนิ งานโครงงานเด็กดมี วี ินยั หัวใจสามัคคี มคี วามรบั ผดิ ชอบ บนกรอบคณุ ธรรม

ที่ กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ การ ผรู บั ผดิ ชอบ

1 ประชาสมั พนั ธโ์ ครงงานเดก็ ดีมวี นิ ัย ตลุ าคม คณะผจู้ ัดทำโครงงาน

หัวใจสามัคคี มคี วามรบั ผดิ ชอบ คณะผู้จดั ทำโครงงาน

บนกรอบคณุ ธรรม คณะผูจ้ ดั ทำโครงงาน
คณะผู้จัดทำโครงงาน
2 แต่งตง้ั ผู้รบั ผดิ ชอบห้องเรยี นตง้ั แต่ ตุลาคม คณะผ้จู ดั ทำโครงงาน

ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้น

ประถมศึกษาปที ่ี ๖ รวมทงั้ หมด ๖

หอ้ งเรียน เพือ่ รวบรวมบนั ทึกความ

ดีของแต่ละบคุ คล

3 เล่านทิ านคณุ ธรรมประจำวนั ตุลาคม - ธันวาคม

ในกจิ กรรมหน้าเสาธง

4 ประเมินผลการดำเนนิ งาน / สรปุ ผล ธันวาคม

การทำโครงงาน

5 รายงานโครงงานและนำเสนอ ธนั วาคม

โครงงาน

จำนวนงบประมาณ และแหล่งงบประมาณ
เน่ืองจากการจัดทำโครงงาน “เดก็ ดมี วี นิ ัย หวั ใจสามคั คี มคี วามรับผดิ ชอบ บนกรอบคณุ ธรรม”

เป็นโครงงานทสี่ ร้างขึ้นจากพฤตกิ รรมเดก็ จงึ ไม่มคี ่าใช่จา่ ยในการจดั ทำโครงงาน
ผลการดำเนนิ งาน

๑. จากการดำเนินงานโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม
นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์มีคุณธรรม จริยธรรมด้านระเบียบวินัย ความสามัคคี ความ
รบั ผดิ ชอบ รอ้ ยละ 89.91

๒. นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ทุกคนตระหนักถึงข้อดี ด้านความมีระเบียบวินัย ความ
สามัคคี ความรับผิดชอบ
การประเมนิ ตนเอง

จากการดำเนินงานโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม
สมาชิกกลุ่มคนดีศรีสุวรรณ มีความคิดเห็น สิ่งที่อยากจะพัฒนา และความประทับใจดังนี้

“การดำเนินงานโครงงานเด็กดีมวี นิ ัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรมนัน้ ทำให้
เห็นว่าการที่เราอยากจะเป็นคนดี อยากพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น และส่งต่อใหผู้อื่นได้ซึมซับมีความภูมิใจ และดี
ใจมาก ที่โครงงานประสบผลสำเร็จ แรกเริ่มโครงงานมีความกังวลหลาย ๆ อย่าง แต่ทุก ๆ คน สมาชิกใน
กลุ่ม น้อง ๆ เพื่อน ๆ ให้ความร่วมมมือและอยากจะทำความดี อยากทำตนให้เป็นคนดีตามไปด้วย ถ้ามี
โอกาสก็อยากจะพัฒนาโครงงานให้รวมไปถึงน้อง ๆ อนุบาล เพราะคิดว่าการปลุกฝังคุณธรรม จริยธรมที่ดี
ต้องเรม่ ผลูกฝงั ต้ังแตย่ งั เดก็ ” นนั ทิ ร คมกลา

“การดำเนินงานโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม เป็น
โครงงานคณุ ธรรมโครงงานแรกท่ีไดล้ งมือปฏิบตั จิ ริง รู้สกึ ตนื่ เต้นและท้าทายเป็นอยา่ งมาก ได้ไปฝึกฝน ซ้อม
เล่านิทานกับคุณครู จากที่เป็นคนนำสวดมนต์ในช่วงเย็นวันศุกร์ ได้พัฒนาตนเองมาเป็นการพูด การเล่าต่อ

หน้าคน ช่วงแรกมีสัน่ ประหมา่ หลงั จากน้ัน ก็ค่อย ๆ ปรบั ตัวได้ เม่ือโครงงานเสร็จสน้ิ ลงรูส้ กึ โล่งใจ และมี
ความสุขมาก ๆ ที่ได้เห็นทุก ๆ คนช่วยกันทำเวร เข้าแถวซื้ออาหาร และยิ่งคุณครูมาบอกว่าเพื่อน ๆ ส่งงาน
กันครบทุกคนเลย ยิ่งมคี วามสขุ มาก ๆ” ธรี นชุ ทองเฟอื้ ง

“จากทีโ่ ครงงานดำเนินการเสรจ็ สน้ิ ลง จากความรว่ มมือของสมาชิกในกลุ่มและเพื่อน ๆ น้อง ๆ ท่ีเข้า
ร่วมโครงงาน ทำให้เห็นความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ก็เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจ และยังได้รับคำชมจาก
คุณครู ทำใหร้ ู้สกึ มีพลงั อยากจะพัฒนาตนเองและพาเพื่อน ๆ นอ้ ง ๆ ทำความดใี หม้ ากขึน้ ” ณัฐ มู ิ ปญญารส

“เทอมมาความกงั วลใจก็หายไป ทกุ ๆ คน ยังคงปฏบิ ัติหน้าทีข่ องตนเองเป็นอย่างดี ทำใหร้ ูส้ กึ ภูมใิ จ
มาก ๆ ว่าสิ่งทพ่ี วกเราพยายามทำลงไปมนั ก่อให้เกดิ ผลดีมากมาย ทำใหร้ ้วู า่ คุณธรรม จริยธรรม ถ้าฝังลึกอยู่
ในใครก็ตาม คนนนั้ ก็จะปฏิบตั ิตนเปน็ คนดีตอ่ ไป” วิยะดา นั สะอาด

“มีความรู้สึกว่าเพื่อนๆ ทุกคนตั้งใจให้โครงงานประสบความสำเร็จ และผลก็ออกมาอย่างที่ตั้งใจไว้
ในความคิดส่วนตัวอยากจะขยายโครงงานคุณธรรมให้ครอบคลุมทั้งโรงเรียน โดยเฉพาะน้อง ๆ อนุบาล
เพราะถ้าเราปลกู ฝังตั้งแตเ่ ด็ก คดิ ว่าจะเป็นการบ่มเพาะนิสยั ให้เปน็ คนดีอย่างยง่ั ยืนได้” กญั ญาณฐั นวลใย

“หลังจากที่เราพยายามประชาสัมพันธ์ไปในตอนแรก และพูดสอดแทรกในกิจกรรมหน้าเสาธงก่อน
การเลา่ นิทาน และจากการที่ครทู ่ีปรกึ ษาได้ใหค้ ำแนะนำ นำไปปรบั ปรงุ การเล่านิทาน ทำใหน้ ่าสนใจยง่ิ ขึ้น จน
วันที่โครงงานประสบผลสำเร็จ รสู้ ึกภูมิใจมาก” ปวีณา รกั ษา

“หลงั จากโครงงานเสร็จสิ้นลงและประสบผลสำเรจ็ รู้สกึ ภูมิใจและดีใจมากทีจ่ ากจุดเร่ิมต้นเล็ก ๆ ของ
พวกเรา มคี นคอยชว่ ยทำ ช่วยสานต่อใหเ้ ปน็ ความจรงิ ประทับใจมากที่ ใครงานไม่ครบกพ็ ยายามตามจนครบ
ไมป่ ล่อยปละละเลย และหลังจากนคี้ ดิ ว่าอยากพฒั นาโครงงานให้ครอบคลุมทัง้ โรงเรียน” สุทตั ตา แบบเหมาะ

“การดำเนินงานโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม เป็น
โครงงานคุณธรรมแรกที่ได้เริ่มต้นทำ และผลจากความทุ่มเททำให้โครงงานนี้ประสบผลสำเร็จ การทำ
โครงงานนี้ทำให้เราเป็นแบบอย่างที่ดี ทำให้เราพัฒนาเป็นคนที่ดีขึ้น และพาเพื่อน ๆ น้อง ๆ ให้อยากจะ
พัฒนาตนเองใหเ้ ปน็ คนที่ดขี ้นึ ด้วย” จอม วญั นามอกั ษร

“หลังจากการดำเนินงานโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม
เสร็จสิ้นลง และประสบผลสำเร็จ ผมรู้สึกดีใจและภาคภูมิใจมาก ๆ ที่เพื่อน ๆ น้อง ๆ เดินเป็นแถว ไม่เกาะ
กลุ่ม รู้จักการเข้าแถว การรอคอย ไม่แซงคิวกัน และยังช่วยกันทำเวรรักษาความสะอาดทำให้เห็นว่าการที่
เราปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ในทกุ ๆ วัน ทำใหเ้ พอ่ื น ๆ นอ้ ง ๆ เกดิ จิตสำนึกทดี่ ไี ด”้ อนุรกั ษ์ ประชุม วก

“มีการพัฒนาความมีระเบยี บวินัยในการเดินแถว ความสามัคคี ความรับผิดชอบช่วยกันทำเวรรักษา
ความสะอาด การส่งงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว หลังจากที่โครงงานเสร็จสิ้นลงทำให้เห็นว่าโครงงานประสบ
ผลสำเร็จ เพราะว่าทุกคนยังคงเดินแถว เข้าแถวอย่างเป็นระเบียบ ยังตั้งใจทำงานส่งงาน ทำให้เกิด
ความรสู้ ึกภูมิใจมาก ๆ ว่า สงิ่ ทีเ่ ราและเพื่อน ๆ สมาชกิ ทเ่ี ราทมุ่ เทนน้ั กอ่ ให้เกดิ ผลด”ี วรญั ญา บัวเลศิ
การประเมินและวิจารณโ์ ดยผอู ืน่

“จากการสงั เกตดำเนินงานโครงงานเดก็ ดีมวี ินัย หวั ใจสามคั คี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม
เสร็จสิ้นลง พบว่านักเรียนให้ความสนใจในการฟังนิทาน นักเรียนมีความรับผิดชอบในการส่งงานมากข้ึน
กว่าเดิม ในเรื่องของการทำเวรห้องและเวรเขตพื้นทีบ่ ริเวรทีร่ ับผิดชอบนั้นนักก็เห็นความสำคัญและรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่ของตนเองได้เป็นอย่างดี อีกทั้งโครงการนี้ยังเป็นประโยชน์ในเรื่องช่วยให้นักเรียนหลายคนเห็น
ความสำคญั ของการอ่านหนงั สอื อีกดว้ ย” ัณณช์ ติ า กนก งษ์เสถยี ร

“การดำเนินงานโครงงานเด็กดีมีวินัย หัวใจสามัคคี มีความรับผิดชอบ บนกรอบคุณธรรม ช่วยให้
บตุ รหลานไดร้ ู้จักการปฏบิ ัติตนที่เหมาะสมกับหน้าท่ีของตนเอง เมือ่ กลบั มาถงึ บ้านก็ทำการบ้านรู้จักรับผิดชอบ
งานของตนเอง อีกทั้งยังช่วยพ่อแม่ทำงานบ้านโดยไม่ต้องให้บอก ตอนเช้าก่อนไปโรงเรียนก็ตื่นแต่เช้าอาบน้ำ
แตง่ ตัวไปโรงเรยี นแสดงถงึ การมีระเบยี บวนิ ัยในตนเอง” ชลาลัย ประเสริฐ

กจิ กรรม / ผลงานดีเด่น

ด้านโรงเรยี นวถิ พี ุทธ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์

โรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ ตั้งอยู่ที่ 70 หมู่ที่ 5 ตำบลสำนักท้อน อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง

สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 เป็นโรงเรียนขยายโอกาส มีเน้ือที่ 12 ไร่ เปิดสอน

ระดับช้ันอนุบาลปีที่ 2 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียนจำนวน 554 คน ครูและบุคลากรในโรงเรียน 33

คน ได้ดำเนนิ การเรยี นการสอนโดยยดึ เป้าหมายของหลกั สตู รทีม่ งุ่ เน้นใหน้ กั เรยี น เปน็ คนดี คนเก่ง มคี วามสุข

คำขวญั ของโรงเรียน “รรู้ ักสามคั คี รหู้ นา้ ท่ี มีวนิ ยั ใฝ่ศกึ ษา”

อัตลกั ษณข์ องโรงเรียน “เรารักการออม” (ออมเงนิ ออมความดี)

เอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น “โรงเรยี นเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

ปรชั ญาของโรงเรยี น “สุวชิ าโน ภวํ โหติ” หมายถึง ผู้รดู้ ี เป็นผู้เจรญิ
โรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ เป็นโรงเรียนท่ีต้ังอยู่ในเขตชุมชนเมือง สภาพชุมชนรอบบริเวณ
โรงเรียนมีลกั ษณะชมุ ชนเมือง คนในชุมชนสว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธ ทั้งน้ีโรงเรียนอยู่ใกล้แหล่งท่มี ีความเส่ียงต่อ
ยาเสพติด ซึ่งเป็นบริเวณห้องเช่าท่ีพักชั่วคราวของประชากรแฝงอพยพมาเพื่อทำงานรับจ้างตามโรงงานในบรเิ วณ
ใกล้โรงเรียนหรือตามนิคมอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในจังหวัดระยอง ประชากรมีรายได้น้อย ความแตกแยกใน
ครอบครัวสูง ผเู้ รยี นมีปัญหาไม่ได้อาศัยอยู่กับผู้ปกครอง สว่ นใหญอ่ ยู่กับญาติ มีการย้ายถ่ินฐานอาศัยบ่อยคร้งั ทำ
ให้นักเรียนขาดความอบอุ่น และทำให้เกิดปัญหา อุปสรรคกับนักเรียนในการศึกษาของนักเรียน โรงเรียนได้รับ
ความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีย่ิงจากวัดสุวรรณรังสรรค์ในการใชพ้ ้ืนทแี่ ละสถานที่ของวดั อบรมกิจกรรมทางศาสนา
ทำให้นักเรียนทุกคนได้คลุกคลีกับวัดมาโดยตลอด ได้รับความอนุเคราะห์จากชุมชนให้ใช้พ้ืนที่ของชุมชนในการ
เรียนรู้ การจัดกิจกรรมทุกคร้ังทางโรงเรียนมุ่งหวังให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และได้แสดงออกถึง
ความสามารถอย่างสร้างสรรค์ ได้รับประสบการณ์ตรงทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน มุ่งส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมตามแนววิถีพุทธที่ย่ังยืนให้เกิดขึ้นกับนักเรียน รวมถึงเพื่อเป็นการส่งเสริมและยึดมั่นในประเพณี
ศิลปวฒั นธรรมท้องถ่ิน
จากความม่งุ มนั่ ท่ีจะพัฒนานักเรียนทั้งทางด้านการศกึ ษา และด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม โรงเรยี นชุมชนวดั
สุวรรณรังสรรค์ได้มีแนวทางการพัฒนา โดยมุ่งเน้นให้นักเรียน ได้รับความรู้ และเป็นคนดีของสังคม ปลูกฝังด้าน
คณุ ธรรม และจริยธรรมตามแนววถิ พี ุทธให้กบั นักเรยี นทางโรงเรยี นไดส้ มคั รเขา้ โครงการโรงเรยี นวถิ ีพุทธในปี พ.ศ.
2556 เพ่ือหวังนำแนวทางมาใช้ในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมเป็นคนดีของสังคม พยามยามปลูกฝัง
คุณธรรมต่าง ๆ ให้นักเรียนไดม้ ีโอกาสเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวด้วยตนเองอย่างเหมาะสม โดยยึดถอื หลักธรรมตาม
แนวทางโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ ใหน้ กั เรยี นพัฒนาชีวิต สามารถกนิ อยู่ ดู ฟงั มีวฒั นธรรมแสวงปัญญาท้งั น้ี การจัดสภาพ
จะสง่ เสรมิ ให้เกิดลกั ษณะของปญั ญาวฒุ ิธรรมบนพ้ืนฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในพระบาทสมเดจ็ พระ
เจา้ อย่หู ัวรัชกาลท่ี ๙ โดยการจัดกิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมให้กับนักเรยี นอย่างหลากหลาย เพ่ือส่งเสรมิ ให้นกั เรยี น
ทกุ คนมีจติ สำนึกในการประพฤติ ปฏิบัติตนที่ดี มีความเข้าใจถึงความสำคัญของการดำเนินชวี ิต ที่มีหลักธรรมทาง
ศาสนาเปน็ แนวทางการหาความสขุ ท่ีแท้จริง เป็นกัลยาณมิตรกับทุกคน สามารถครองตน ได้อย่างเป็นระบบ และ
สามารถนำความร้ทู ไ่ี ด้รบั มาถ่ายทอดให้กับบคุ คลอืน่ ได้ตามศกั ยภาพของตนไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล

โรงเรียนวัดชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ได้ดำเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมให้กับนักเรียน จนเป็นท่ี
ประจักษแ์ ก่ชมุ ชน และหนว่ ยงานอน่ื มีดงั น้ี

กจิ กรรมตามแนวชาวพทุ ธ

สอดคล้องกบั อัตลกั ษณ์ 29 ประการ ดังนี้
- ดา้ นพฤติกรรมครู ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน และนกั เรียน ข้อที่ 1. รักษาศีล 4. ประหยัด ออม ถนอมใช้ เงนิ

และสิง่ ของ
- ดา้ นกิจกรรมประจำวนั พระ ขอ้ ที่ 1. ใส่เสือ้ ขาวทุกคน 2. ทำบญุ ใส่บาตร ฟงั เทศน์ 3. รบั ประทานอาหาร

มงั สวริ ัตใิ นมอื้ กลางวนั 4. สวดมนตแ์ ปล
- ดา้ นการเรยี นการสอน ข้อท่ี 1. บริหารจติ เจรญิ ปญั ญาก่อนเข้าเรยี นเช้า-บา่ ย 4. ครู ผู้บรหิ ารและ

นักเรียนทกุ คน เขา้ ค่ายปฏบิ ัตธิ รรมอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครั้ง
- ดา้ นการส่งเสรมิ วิถพี ุทธ ข้อท่ี 6. ครู ผู้บริหารและนักเรียนมีสมุดบันทึกความดี 7. นกั เรียน ครู และ

ผูบ้ รหิ าร (ป.4 ขึน้ ไป) สอบได้ธรรมศกึ ษาตรีเปน็ อยา่ งน้อย 8. มพี ระสอนมาอย่างสมำ่ เสมอ
ความสำคญั /ปัญหา

พระพุทธศาสนาได้เข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทยมานานกว่า 2,000 ปี คนไทยยอมรับว่าศาสนาพุทธ
เป็นศาสนาประจำชาติ ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศนับถือพระพุทธศาสนาเรียกตนเองว่าเป็น “ชาวพุทธ”
รวมทั้งมีองค์พระมหากษัตริย์คนไทยเป็นองค์ศาสนูปถัมภกอีกด้วย การประพฤติปฏิบัติธรรมตามคำสั่งสอนคือ
การทำ “หน้าท่ี” ของพุทธบริษัท เพราะความหมายหนึ่งของธรรมะนั้นก็คือการปฏิบัติตามหน้าท่ี ทำให้ได้รับผล
เป็นความสุขความเจริญและดำรงพระพุทธศาสนาอยู่ได้ หากพุทธบริษัทปฏบิ ัติหน้าท่ีไม่ถูกไม่ควรก็เปน็ ผลตรงกัน
ข้ามฉะน้ัน พุทธบริษัทต้องปฏิบัติ “หน้าท่ีของชาวพุทธที่ดี” ดังน้ี หน้าที่ ตามหลักของพระพุทธศาสนาเป็น 3
ประการคือ 1. ละเว้นจากการทำบาปทั้งปวง 2. ถึงพร้อมด้วยการทำความดี 3. ทำจิตให้สดใสผ่องแผ้วผ่องใส
โดยปฏิบัติตามหลักโอวาทปาฏิโมกข์ ท่ีพระพุทธเจ้าได้ประทานไว้ให้อีกด้วย กล่าวคือ ไม่ว่าร้าย ไม่เบียดเบียน
ตนเองและผู้อ่ืน หน้าท่ีในการปฏิบัติให้เป็นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของพุทธศาสนิกชน 9 ประการคือ 1.
แสดงตนเป็นพุทธมามกะแต่ยังเยาว์ 2. มีท่ีบูชาประจำบ้าน เพื่อเป็นที่เคารพกราบไหว้ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย
3. ไหว้พระสวดมนต์ประจำวัน ท้ัง 2 คือการระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ให้รู้จักความกตัญญูตามหลักธรรม ระลึก
ถงึ คุณของผู้มีพระคุณมบี ิดามารดาครูอาจารย์ 4. ตักบาตรตามกำลังของตน เพื่อเป็นการสืบพระศาสนาด้วย การ
บำรุงพระภิกษุสงฆ์ให้ได้ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย นำมาเผยแผ่แก่ประชาชนทั่วไปให้ประพฤติปฏิบัติท้ังเป็น
การฝกึ ใจในการบริจาคทานด้วยแม้ทำไม่ได้ทุกวันก็อาจทำในวนั เกดิ หรือวันสำคัญทางศาสนาก็ได้ 5. ฟังธรรมเป็น
นิจ ในวันพระหรือวันอาทิตย์ได้เข้าวัดฟังธรรมหรือแม้ทางส่ือสารมวลชนท่ีเผยแพร่อยู่ท่ัวไป 6. ทำบุญและ
ประกอบพิธีตามฤดูกาล เช่น วันสำคัญทางศาสนาหรือพิธีบำเพ็ญบุญต่าง ๆ ตามฤดูกาลนั้น ๆ 7. แสดงความ
เคารพเมอ่ื ผ่านปูชนียวัตถุ ปูชนียสถานทางพระพทุ ธศาสนา เพื่อเป็นการน้อมรำลกึ ถงึ คณุ ของพระรัตนตรัย รวมท้ัง
พระภิกษุสงฆ์ท่ีประพฤติตนสมควรแก่การกราบไหว้ในฐานะสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 8. มีเบญศีล
เบญจธรรม ซ่ึงเป็นหลักการเบื้องต้นที่จะให้คนละเว้นความชั่วแล้วทำความดีอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข พร้อมท้ัง
ทำหน้าท่ีแนะนำข้อสงสยั ให้กบั ผู้อ่ืนทไี่ มเ่ ข้าใจ 9. ผู้ชายตอ้ งบวช “หน้าที่ของชาวพทุ ธที่ดี” นั้นก็คือ การประพฤติ
ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเข้าใจในพระพทุ ธศาสนา “ยึดหลักธรรมเป็นคติประจำใจ ยึดความมีระเบยี บวินยั เป็นทางดำเนินชวี ิต”

ดังน้ันโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณ รังสรรค์ จึงได้จัด กิจกรรม ตามแนวช าวพุ ท ธขึ้นเพื่ อ เปิด โอกาส ให้
นักเรียนได้นำตนเองเข้าสู่การปฏิบัติจริงตามกิจกรรมทางศาสนา เรียนรู้หลักปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามหลักธรรมคำ
สอนของพระพทุ ธศาสนา เปน็ ผมู้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม สามารถดำเนนิ ชีวติ ตามแบบสงั คมชาวพทุ ธทด่ี ี
วตั ถุประสงค์

1. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการเปน็ ชาวพทุ ธที่ดี
2. เพ่อื ปลกู ฝังใหน้ กั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัตติ นตามศาสนาที่ตนนบั ถอื
3. เพือ่ พัฒนาใหน้ ักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ทดี่ ตี ามทสี่ ถานศึกษากำหนด
กล่มุ เปา้ หมาย
- นกั เรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์ จำนวน 554 คน
ระยะเวลา
- 17 พฤษภาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566
วิธีการดำเนินงาน
1. ศึกษาสภาพปญั หาเกีย่ วกบั การดำรงชวี ิตท้ังในโรงเรยี น ในสังคม และชุมชน ของนกั เรียนโรงเรียนชมุ ชน
วดั สวุ รรณรังสรรค์
2. ศึกษาบรบิ ทของโรงเรยี น ชุมชน และสงั คม
3. ตงั้ คณะการดำเนินกจิ กรรม และกำหนดวัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม
4. ประชุมคณะทำงานเพอ่ื ชี้แจงกิจกรรมตามแนวชาวพทุ ธ และแต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งาน
5. ดำเนนิ งานตามกิจกรรมตามแนวชาวพุทธตามแผนทีก่ ำห ดงั น้ี

5.1 กจิ กรรมฝกึ ฝนจติ เจริญปญั ญา
- นักเรยี นสวดมนตน์ ง่ั สมาธิกอ่ นเขา้ เรยี นตอนเชา้ และตอนก่อนเข้าเรียนตอนบา่ ย
- นักเรียนสวดมนต์แปลสรรเสริญพระรตั นตรัยทำนอง สรภัญญะ ณ ลานอเนกประสงค์ เป็นการ

ฝกึ ฝนจิตใจให้นักเรียนมสี ติ สมาธิ และเกดิ ปญั ญา จากการฝึกฝนเป็นระยะเวลาอนั ยาวนานทำให้นักเรียนโรงเรียน
ชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ได้รับรางวัลมากมายในการประกวดการสวดมนต์ทำนองสรภัญญะ อาทิเช่น รางวัล
ชนะเลิศการประกวดสวดมนต์ทำนองสรภัญญะ โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมแก่เยาวชน ประจำปี
2564 จากเทศบาลตำบลสำนักท้อน อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 การประกวด
สวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ ประเภทมัธยมศึกษาตอนต้น ทีม 5 คน ระดับจังหวัด จาก
สำนักงานวฒั นธรรม จงั หวัดระยอง และรางวัลชมเชยอนั ดับที่ 2 การประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรัย
ทำนองสรภัญญะ ประเภทมัธยมศึกษาตอนต้น ทีม 5 คน ระดับภาคคณะสงฆ์ ประจำปี พ.ศ. 2565 จาก
กรมศาสนา กระทรวงวฒั นธรรมร่วมกบั ศูนย์ส่งเสริมศีลธรรม วัดชนะสงคราม

5.2 กจิ กรรมวันพระ
- นักเรียนสวมใส่ชดุ สขี าวทุกวันพระท่ีตรงกับวนั ทำการ ตามแนววถิ ีพุทธ ทุกวนั พระทางโรงเรียน

นำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่วัดสุวรรณรังสรรค์ คร้ังละ 6 ห้องเรียน โดยมีครูประจำชั้นเป็นผคู้ วบคุม
ดูแลความเรียนร้อย สลับกันจนครบทุกชั้นเรียน กิจกรรมทำบุญวันพระน้ี ทางโรงเรียนจะจัดตารางวันเข้าร่วม
กิจกรรมต้ังแต่ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ถึงชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 นกั เรียนที่เปน็ ตัวแทนเขา้ ร่วมกจิ กรรมจะต้องเตรยี ม
อาหารมาทำบญุ ถวายพระตามความเหมาะสมของตนเอง

- นักเรียนทุกคนจะทานมังสวิรัติม้ือกลางวันท่ีโรงเรียน งดการวิ่งเล่นโลดโผนในเวลาพักกลางวัน
และทำกิจกรรมที่เกีย่ วข้องกบั ศาสนา เช่น ดูนิทานธรรมะ ฝกึ สมาธิ ฝกึ สวดมนต์ทำนองสรภญั ญะ ฝึกมารยาทไทย
ในคาบลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

5.3 กจิ กรรมบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ น
- ในช่วงปิดภาคเรียนประมาณเดือนเมษายนของทกุ ปีทางวัดสุวรรณรังสรรค์ และ วัดสำนักท้อน

จะเข้ามาประชาสมั พันธโ์ ครงการบวชเณรภาคฤดรู อ้ นสำหรบั นักเรยี นชาย เพอื่ ให้นกั เรยี นชายได้มีโอกาสเขา้ ศึกษา
หลักธรรมคำสอนของศาสนา และฝึกปฏิบัติในฐานะของผู้เผยแพร่ศาสนา มีโอกาสได้ปฏิบัติกิจต่าง ๆ ท่ีสำคัญ
หลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนาท่ีได้ฝึกปฏิบัติในกิจกรรมต่าง ๆ ในกระบวนการเรียนการสอนท่ีโรงเรียน
นำมาใช้ เชน่ การมีสติสมั ปชญั ญะ ความอดทน ความมีวินัยในตนเอง เปน็ ต้น ซ่งึ นักเรียนชายทจี่ ะเข้าร่วมกจิ กรรม
น้ี ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ปกครอง และสมัครเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ พร้อมทั้งต้องปฏิบัติตน
อย่างเคร่งครดั อยู่ในศีลธรรม ประพฤติ ปฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างท่ีดี เป็นการเพ่ิมพูนประสบการณ์และความรู้ ใน
ฐานะศาสนิกชนท่ีดีในอนาคต

5.4 กจิ กรรมคา่ ยพุทธธรรม
- การอบรมค่ายพุทธธรรม เป็นกิจกรรมท่ีทางโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์จัดทำข้ึนเพื่อให้

นักเรียนได้มีโอกาสใกล้ชิดศาสนา ถือศีล 5 ทางโรงเรียนจัดให้กับนักเรียนต้ังแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยแบ่งการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นครั้งละ 1 ช่วงชั้น ดังนี้ ช้ันอนุบาลถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ 3
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยมีครู
ประจำชั้น และครูท่ีรับผิดชอบควบคุมดูแลนักเรียนทุกคนต้องใส่ชุดสีขาวเข้าร่วมกิจกรรม ซ่ึงการจัดกิจกรรมทาง
โรงเรียนได้รับความอนุเคราะห์อย่างดีย่ิงจากท่านเจ้าอาวาสวัดสุวรรณรังสรรค์ ในด้านของอาคารสถานที่ โดยใช้
ศาลาปฏิบัติธรรมของทางวัด และพระวิทยากรบรรยายธรรม ให้นักเรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงวัยและ
ความพรอ้ มของนกั เรยี นในแต่ละระดบั ชน้ั อบรมส่ังสอนนกั เรียนโดยใช้แนวทางหลักธรรมของศาสนาฝกึ นกั เรียนให้
มีศลี สมาธิ ปัญญา มีวนิ ัย รบู้ ทบาทหน้าท่ขี องตนเอง มีความรักความกตญั ญูต่อผู้มีพระคุณ โดยเน้นใหน้ ักเรียนทำ
ดี เป็นคนดีและมีจิตใจดี รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคนอื่น นักเรียนสามารถนำหลักธรรมต่าง ๆ เป็นแนวทาง
ในการดำเนินชวี ติ ของตนและคนรอบข้างไดอ้ ยา่ งลงตัวได้ฝกึ ปฏิบัติตนในฐานะพุทธศาสนิกชนทดี่ ที ่พี ร้อมจะเรียนรู้
และพัฒนาตนเองใหม้ คี วามสุขบนพื้นฐานความพอดขี องตนในอนาคต

5.5 กิจกรรมส่งเสริมความเป็นไทย สง่ เสรมิ ความเป็นพทุ ธ
- วิถีชีวิตคนไทย เป็นสังคมเกษตรกรรม มีความหลากหลายในเรื่องความเชื่อ ศาสนาและ

วฒั นธรรม แต่สามารถผสมผสานกันได้อย่างกลมกลืน จนเป็นสังคมท่ีมีลักษณะเฉพาะ รักอิสระ ยึดมั่นในสถาบัน
ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ยอมรับในระบบอาวุโส
และระบบอปุ ถมั ภ์ ไม่นิยมความรนุ แรง ชอบการประนีประนอมและใชช้ วี ติ อยา่ งเรียบงา่ ย ศาสนาพุทธ เปน็ ศาสนา
ประจำชาติของไทย จัดว่าเป็นที่พ่ึงทางจิตใจ ซึ่งหลักธรรม คำสอนต่าง ๆ มุ่งหวังให้ผู้ท่ีปฏิบัติได้พบกับความสงบ
สุขอย่างแท้จริง สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ รู้ว่าสิ่งใดควรกระทำ และส่ิงใดท่ีไม่ควรกระทำ โรงเรียน ชุมชน
วดั สุวรรณรงั สรรค์ มนี โยบายให้นักเรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมวนั สำคญั ตา่ ง ๆ เช่น วนั ไหว้ครู วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
วันสำคัญทางศาสนาตามแนววิถีพุทธ เน้นให้นักเรียนมีสติ มีสมาธิ รู้จักพิจารณาตนเองอย่างมีเหตุผล และ
สามารถเข้าร่วมกจิ กรรมวนั สำคญั สำคญั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

5.6 กจิ กรรมเรารักการออม (ออมเงนิ ออมความดี)
- โรงเรียนชมุ ชนวัดสุวรรณรงั สรรค์ได้นำอตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี น “เรารกั การออม” (ออมเงิน ออม

ความดี) มาใช้ในการเสริมสร้างให้นักเรียนรจู้ ักประหยัดอดออม ถนอมใช้เงนิ และสิ่งของตามแนวทางหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง รวมไปถงึ การออมความดีตามแนวทางวถิ ีพุทธ โดยนักเรียนเปิดบัญชีธนาคาร เพ่ือฝากเป็น
เงนิ เก็บ และจัดทำสมุดบันทกึ ความดีขึ้นเพ่ือให้ครู นักเรียน เมื่อได้มีโอกาสทำความดแี ล้วจากนั้นก็สามารถบันทึก

ลงสมุดบันทึกความดีสะสมไว้ หากนักเรียนคนใดทำความดีเป็นที่ประจักษ์ครู ผู้บริหาร จะมีการกล่าวชมเชยและ
มอบของรางวัลเพือ่ เปน็ กำลังใจในการทำความดีหน้าบรเิ วรหนา้ เสาธง

4.7 กจิ กรรมนกั ธรรมศกึ ษา
- โรงเรยี นชมุ ชนวัดสุวรรณรังสรรค์ได้ฃจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการนิมนตพ์ ระสงฆ์จาก

วัดสุวรรณรังสรรค์ท่ีมาเป็นครูพระสอน และบรรยายหลักธรรม หลักศีลธรรม รวมถึงให้ความรู้ เร่ือง การสอบ
ธรรมศึกษา ระดับธรรมศึกษาช้นั ตรี ชัน้ โท ชน้ั เอก ตามหลกั สูตรธรรมศกึ ษาของสำนกั งานแม่กองธรรมสนามหลวง
สนองนโยบายโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สง่ ผลให้ครู นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1-3
รอ้ ยละ 90 ผ่านนกั ธรรมศกึ ษา
การประเมนิ ผล

- การสังเกตพฤติกรรม การประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
ผ้เู รยี น การประเมนิ สมดุ บันทกึ ความดี การประเมนิ การสอบนกั ธรรมศึกษา
ผลการประเมิน

- จากผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ตระหนักถึงความสำคัญ
ของการเปน็ ชาวพทุ ธท่ดี ีเข้ารว่ มกิจกรรมท่ีทางโรงเรียนจดั ขึน้ เป็นอยา่ งดี และไดร้ ับการปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม
อย่างย่ังยืน มีส่วนร่วมในการสืบทอดพระศาสนา และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของชาวพุทธสืบไป
นกั เรียนเป็นผู้มีจิตใจดี คิดดี กระทำดี เปน็ มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ท้ังกาย วาจา ใจ ได้รับความชื่นชมจากผู้ปกครอง และ
บุคคลท่ัวไป นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติ เข้าแข่งขันกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับหลักคำสอนของ
ศาสนาได้เป็นทีน่ ่าพึงพอใจ เช่น การสวดมนต์หมทู่ ำนองสรภญั ญะ รวมไปถึงมคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ี่ดีตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนดคิดเป็นรอ้ ยละ 94.29
การมีส่วนร่วมของ บวร

- ในการจัดกิจกรรมทุกคร้ังจะได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำชุมชน และ
หน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่ท่ีคอยให้การสนับสนุนทั้งในเร่ืองงบประมาณ ทั้งน้ียังได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดี
จากวัดสุวรรณรังสรรค์ท้ังในด้านการให้ความรู้ตามหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา อนุเคราะห์สถานท่ีใน
การอบรมพุทธธรรมให้แก่นักเรียน รวมถึงมอบทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนที่ยากไร้ ประกอบกับทางโรงเรียนได้
ให้ความสำคัญกับนักเรียนในเร่ืองการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตามแนววิถีชาวพุทธ วางแผนนโยบายการ
ดำเนินในแผนปฏิบตั ิการของโรงเรียนเพ่ือส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นไดท้ ำกิจกรรม
จุดเดน่ ของกิจกรรม

- การวางแผนการดำเนนิ กิจกรรมอยา่ งเป็นระบบของกจิ กรรม
- นักเรียนได้ทำกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกแบบ Active Learning ท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
สอดคล้องกับของวิถีชาวพุทธ ทำให้นักเรียนมีความสนุกสนานในการเข้าร่วมกิจกรรมเกิดเป็นองค์ความรู้อย่าง
ยั่งยืนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
แนวทางการพฒั นา
- การมอบประกาศเกยี รตคิ ุณแกผ่ ทู้ ่ที ำความดเี ปน็ ท่ปี ระจกั ษ์ เพ่อื เพม่ิ ขวัญและกำลังใจในการทำความ
ดตี อ่ ไป
คณุ ธรรมทไ่ี ด้รับ
- นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์มีคุณธรรมในเร่ือง ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ
สะอาด สามัคคี มนี ้ำใจ และกตญั ญู

ภาพกิจกรรมตามแนวชาวพุทธ

การสวดมนตน์ ่งั สมาธกิ อ่ นเข้าเรยี น การสวดมนต์ทุกเยน็ วันศุกรใ์ นแตส่ ัปดาห์

ใสช่ ดุ ขาว ทำบุญตกั บาตรวันพระ

บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน

ภาพกจิ กรรมตามแนวชาวพทุ ธ

คา่ ยพุทธธรรม

เวียนเทียนเนือ่ งในวนั มาฆบูชา ทำกระทงถวายวัดสุวรรณรงั สรรค์

นกั เรยี นเกบ็ เงินไดแ้ ล้วนำมาคืนเจา้ ของ นกั เรยี นทำบันทกึ ความดี

ภาพกจิ กรรมตามแนวชาวพุทธ

ครู นักเรยี นเขา้ ร่วมสอบนกั ธรรมศกึ ษา

เข้าร่วมกจิ กรรมขับเคล่อื นดว้ ยพลงั บวร
รางวัล เกยี รตบิ ตั ร

ภาพกิจกรรมตามแนวชาวพทุ ธ

กิจกรรมคณุ ธรรมสรา้ งสุข

สอดคล้องกับอัตลกั ษณ์ 29 ประการ ดังน้ี
- ดา้ นการเรยี นการสอน ขอ้ ที่ 1. บรหิ ารจิตเจรญิ ปญั ญากอ่ นเขา้ เรยี นเชา้ -บ่าย 4. ครู ผบู้ รหิ ารและ

นักเรียนทกุ คน เข้าค่ายปฏบิ ัตธิ รรมอยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครั้ง
- ดา้ นการส่งเสริมวิถพี ทุ ธ ข้อที่ 3. ครพู านกั เรยี นทำโครงงานคณุ ธรรมจติ อาสาสปั ดาห์ละ 1 คร้งั 4. ครู

ผบู้ รหิ ารและนักเรียนทกุ คนบำเพญ็ ประโยชนท์ วี่ ัดเดือนละ 1 ครั้ง มวี ัดเปน็ แหลง่ เรยี นรู้
ความสำคญั /ปัญหา

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมท่รี นุ แรงมากของโรงเรยี นบ้านวนาหลวง สว่ นหนึ่งมาจาก “ขยะ” ซ่งึ เป็นปัญหา
พืน้ ฐานทท่ี ำใหเ้ กิดผลกระทบต่อการดำเนินชวี ติ ในโรงเรียน เช่น เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งแพร่กระจายเช้ือโรค
มีกล่ินเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านส่ิงแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรก ส่งผลกระทบ
ต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียน ซึ่งจากการดำเนินชีวิตประจำวันของนักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์
พบว่ามีการท้ิงขยะกลื่นกลาดภายในโรงเรยี น วดั และชมุ ชน เกิดปญั หาขยะมากมายทำให้สรา้ งความสกปรกทัง้ บริ
เวรโรงเรียน วัด และชมุ ชน อีกท้ังยังพบปัญหาการท้ิงขยะไม่เป็นที่ การขาดระเบียบวินัย นกั เรียนบางคนขาดการ
มจี ิตสาธารณะ

ดังน้ันโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์จึงได้จัดกิจกรรมคุณธรรมสร้างสุขข้ึนเพ่ือให้นักเรียนได้เป็นปฏิบัติ
กิจกรรมที่เป็นจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์เพื่อโรงเรียน วัด และชุมชน สร้างลักษณะนิสัยที่ดีให้การเป็นผู้ที่มีความ

เสียสละ มีน้ำใจ มุ่งม่ันใมนการทำประโยชน์ให้แก่สังคม และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพสร้างประยชน์เพ่ือส่วน
รว่ มและประเทศชาติสบื ไป
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อใหน้ ักเรียนตระหนกั ถงึ ความสำคัญของการมีจิตสาธารณะ
2. เพือ่ ให้นักเรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทดี่ ตี ามวิถีพทุ ธ
3. เพอ่ื พัฒนาให้นักเรียนมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ่ีดตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
กลมุ่ เป้าหมาย
- นักเรยี นชุมชนวดั สุวรรณรังสรรค์ จำนวน 554 คน
ระยะเวลา
- 17 พฤษภาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566
วธิ กี ารดำเนนิ งาน
1. ศกึ ษาสภาพปัญหาเก่ยี วกบั การดำรงชีวิตทัง้ ในโรงเรยี น ในสังคม และชุมชน ของนกั เรยี นโรงเรียนชมุ ชน
วดั สุวรรณรังสรรค์
2. ศึกษาบริบทของโรงเรียน ชุมชน และสังคม ต้ังคณะกรรมการทำงาน รวมท้ังประชุมคณะกรรมการเพ่ือ
วางแผนรูปแบบวตั ถปุ ระสงค์กจิ กรรม
3. ประชมุ คณะทำงานเพอ่ื ชแ้ี จงกิจกรรมตามแนวชาวพุทธ และแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งาน
4. ดำเนนิ งานตามกจิ กรรมคณุ ธรรมสรา้ งสขุ ดงั นี้

4.1 กิจกรรมชน้ั เรยี นคุณธรรม
- ระดับปฐมวัย มีการจัดให้เด็กลงมือปฏิบัติทำกิจกรรมโครงงานคุณธรรมตามแนวคิดน้ีคือ การ

สร้างและเลือกตัวแบบท่ีดีให้เด็กได้สังเกต สำหรับกระบวนการในการพัฒนาการเรียนรู้พฤติกรรมจริยธรรม เมื่อ
เด็กสังเกตตัวแบบและจดจำข้อมูลไว้ เป็นพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกตามที่ผู้ใหญ่และสังคมต้องการครูจึงถือว่าเป็น
แบบให้กับเด็กกำหนดให้เด็กประพฤติปฏิบัติและสร้างกฎเกณฑ์ของการประพฤติ ระดับปฐมวัย มีโครงงาน
คุณธรรมหอ้ งเรียนละ ๑ โครงงาน ได้แก่ โครงงานคณุ ธรรม เร่อื ง วินยั ในการเก็บของเล่นเข้าท่ีและระเบียบวินยั ใส่
ใจเข้าแถว

ระดับประถมศึกษา ครูเป็นท่ีปรึกษาโครงงานคุณธรรม นักเรียนลงมือปฏิบัติ เน้นการฝึกปฏิบัติ
บ่อยๆจนเกิดเป็นนิสัย เกิดพฤติกรรมบ่งช้ีเชิงบวกตามที่ต้องการ เพ่ือนำไปใช้ในการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน โดย
นักเรียนสามารถค้นพบปัญหาที่เกิดกับนักเรียนได้เอง ค้นพบสาเหตุของปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาได้ด้วย
ตนเอง มีครูประจำช้ันเป็นที่ปรึกษาโครงงานคุณธรรม คอยดูแลและช่วยขับเคลื่อนการทำโครงงานคุณธรรมของ
ผู้เรียนในระดับชั้นของตนเอง หากพบเจอปัญหาก็ปรึกษาครูประจำช้ันเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาให้หมดส้ินไป มี
โครงงานคณุ ธรรมชั้นเรยี นละ ๑ โครงงาน ดังนี้

1. นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ โครงงานคุณธรรมเร่ือง รองเท้าเข้าที่
2. นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โครงงานคณุ ธรรมเรื่อง โต๊ะเรียนสะอาดไร้รอยขีดเขียน
3. นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โครงงานคณุ ธรรมเรอ่ื ง หอ้ งเรยี นปลอดขยะ
4. นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โครงงานคุณธรรมเรื่อง รกั ความพอเพยี ง
5. นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 โครงงานคุณธรรมเรื่อง ออมความดี
6. นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โครงงานคุณธรรมเรื่อง เด็กดมี ีวนิ ัยหวั ใจสามคั คี
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น นกั เรียนเปน็ ผจู้ ดั ทำโครงงานคณุ ธรรมดว้ ยตนเองดำเนนิ กจิ กรรมด้วย
ตัวนักเรียนเอง นักเรียนจะมีการรวมกลุ่มของสมาชิกในห้องเรียนที่มีความสนใจจะแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนใน

หอ้ งเรียนหรือโรงเรียนเหมือนกัน ค้นหาปญั หาท่ีเกิดขนึ้ วิเคราะหส์ าเหตุว่าปัญหาน้นั เกิดขน้ึ เพราะเหตใุ ดพรอ้ มท้ัง
คิดหาวิธีการแก้ไขปัญหานั้น ๆ ให้หมดสิ้นไป โดยปลูกฝังให้สมาชิกในกลุ่มหรือผู้ร่วมดำเนินกิจกรรมโครงงาน
คุณธรรมให้เกิดความตระหนักพร้อมใจกันแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนโดยมีครูประจำช้ันเป็นที่ปรึกษาโครงงานคุณธรรม
และคอยดูแลกำกับการดำเนินกิจกรรมโครงงานคุณธรรมอย่างต่อเนื่องและใกล้ชิด อีกท้ังครูท่ีปรึกษา ลงปฏิบัติ
โครงงานคุณธรรมช่วยให้คำแนะนำเม่ือเกิดปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงาน เมือ่ ทำบ่อย ๆ ลงมือปฏิบัติจนชินก็
จะเกิดเป็นนิสัยเกิดพฤติกรรมบ่งช้ีเชิงบวกตามท่ีต้องการ เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน หากพบเจอ
ปญั หาก็ปรึกษาครูประจำช้ันเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาตามท่ีระบุไว้ในตัวโครงงาน โดยมีโครงงานคุณธรรมชน้ั เรียน
ละ ๑ โครงงาน โดยผ้เู รียนทุกคนในกล่มุ รว่ มกนั คิด ร่วมกันทำและรว่ มกันนำเสนอโครงงานคณุ ธรรม ดงั น้ี

1. นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ โครงงานคุณธรรมเร่ือง รกั ความสะอาด
2. นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โครงงานคุณธรรมเรื่อง นกั เรยี นหวั ใจอาสา
3. นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โครงงานคณุ ธรรมเรื่อง เศรษฐกจิ พอเพียง
4.2 กจิ กรรมจติ อาสา
- โรงเรยี นชมุ ชนวดั สวุ รรณรังสรรคไ์ ด้มกี ารดำเนนิ กจิ กรรมจติ อาสา โดยให้นักเรยี นทกุ ระดับชั้นได้
มีการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน และบริเวณวัดสุวรรณรังสรรค์ ในวันสำคัญต่าง ๆ รวมไปถึงในคาบลูกเสือ
นักเรียนก็จะบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์เป็นลูกเสือจิตอาสาพระราชทานตามโครงการของในหลวงรัชกาลที่ 10
จากน้ันครู ผู้บริหารและนักเรียนทุกคนบำเพ็ญประโยชน์ท่ีวัดเดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ อีกท้ังการไป
เป็นจิตอาสาช่วยงานวัดสุวรรณรงั สรรค์ในวันที่วัดมีงานหรือกิจกรรมที่สำคัญ อาทิเช่น งานวันบำเพ็ญกุศลปัญญา
สมวาร (50วัน) พระครูวรธรรมโกษาภิรักษ์ อดตี เจา้ อาวาสวัดสวุ รรณรังสรรค์ และเข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนอาสา
ร่วมพัฒนารักษาความสะอาดชุมชน นักเรียนได้มีส่วนร่วมทุกครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์จน
เปน็ ทปี่ ระจกั ษ์แกช่ ุมชนและไดร้ ับความชนื่ ชมจากครู ผู้ปกครอง วัด ผูน้ ำชุมชน และหน่วยงานตา่ ง ๆ
การประเมินผล
- การสงั เกตพฤตกิ รรม การประเมินเข้ารว่ มกิจกรรม การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น
การประเมนิ สมุดบนั ทึกความดี
ผลการประเมนิ
- จากผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์มีคุณธรรม จริยธรรม
มีสาธารณะ มีความสามัคคี มีวินัย มีน้ำใจ มีความรับผิดชอบ มีจิตใจอันดีงาม และเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อกัน เป็นผู้มี
สติรู้ส่ิงใดควรทำ ส่ิงใดไม่ควรทำจนสร้างเป็นลักษณะนิสัยท่ีดีให้กับนักเรียน เมื่อทำกิจการงานต่าง ๆ ในชุมชนมี
ความพึงพอใจต่อกิจกรรมท่ีปฏิบัติในระดับดีมาก โดยเฉพาะการเสียสละแรงกาย แรงใจของนักเรียน ครูในการ
พัฒนาชุมชนและวัด นักเรยี นได้มสี ่วนร่วมทุกคร้ังในการเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์จนเปน็ ที่ประจักษ์แก่
ชุมชนต่างได้รับความชื่นชมครู ผ้ปู กครอง วัด ผู้นำชุมชน และหน่วยงานต่าง ๆ ทำให้ชุมชนบ้านยายร้าน่าอยู่ เกิด
ความรกั ความสามัคคีในชุมชุม โดยการร่วมมอื ของ บา้ น วดั และโรงเรยี น
การมีสว่ นรว่ มของ บวร
- ในการจดั กิจกรรมทกุ ครัง้ จะไดร้ ับความรว่ มมือเป็นอย่างดจี ากผปู้ กครองนักเรียน ผนู้ ำชมุ ชน และ
หน่วยงานตา่ ง ๆ ในการพฒั นาชมุ ชน วดั และโรงเรียน โดยทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ มในการเข้าร่วมกจิ กรรมที่เป็นจิตอาสา
สาธารณะประโยชน์ทำให้ชมุ ชนบ้านยายรา้ พัฒนาไปในทศิ ทางทด่ี ี
จุดเดน่ ของกิจกรรม
- การมีส่วนร่วมของบา้ น วดั โรงเรียน ในรปู แบบของ บวร ตามแนววถิ พี ทุ ธ

- นักเรยี นทุกระดบั ชนั้ ไดร้ ับการอบรม เรยี นรู้ปลกู ฝงั คณุ ธรรม เกดิ คุณธรรมพืน้ ฐานท่ีระดบั ชัน้ ตอ้ งการ
นกั เรยี นมีความสุขทไ่ี ดท้ ำกจิ กรรมรว่ มกบั ครูและเพอื่ น สามารถพฒั นาตนเองได้เหมาะสมวัยส่งผลใหม้ คี ุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์ท่ีดีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
แนวทางการพัฒนา

- ควรมกี ารรณรงคใ์ หค้ นในชมุ ชนทกุ คนตระในการมีสว่ นรว่ มการทำความดี โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ
กจิ กรรมจติ อาสา และสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ
คณุ ธรรมที่ได้รับ

- นักเรยี นโรงเรยี นชมุ ชนวดั สุวรรณรังสรรคเ์ กิดคณุ ธรรมในเรื่อง การมจี ติ สาธารณะ การมวี นิ ยั
สามัคคี และมีน้ำใจ

ภาพกิจกรรมคณุ ธรรมสรา้ งสขุ

รางวัล เกียรติบตั ร

ชัน้ เรียนคณุ ธรรม

ภาคสงฆท ี่ ................. รหัส ..................
............... /............... / ..............

สาํ หรับเจาหนา ท่ี

รายงานการประเมินตนเอง
ตามอตั ลกั ษณ ๒๙ ประการ
สถานศกึ ษาวถิ พี ทุ ธชน้ั นาํ รุนที่ ๑๓
ประจําปการศกึ ษา ๒๕๖๕

ของ

โรงเรยี นชุมชนวัดสวุ รรณรงั สรรค
สํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระยอง เขต ๑
๗๐ หมู ๕ ตําบลสํานักทอน อาํ เภอบานฉาง จงั หวดั ระยอง

ขอมูลการทำประเมนิ 29 ประการ
โรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค ระยอง

เริม่ โครงการวถิ ีพุทธป พ.ศ.: 2556
เปน แกนนำวถิ พี ุทธ: ไมใช
สถานศึกษาตง้ั อยูใ น: ตางอำเภอ
รหสั สถานศึกษา: 21010053
ชื่อสถานศกึ ษา: โรงเรยี นชมุ ชนวดั สวุ รรณรงั สรรค
สังกดั : สพป. ระยอง เขต1
เลขที่: 70
หมูท :่ี 5
ตรอก/ซอย: -
ถนน: สายบา นฉาง - ยายรา
ตำบล/แขวง: สำนกั ทอ น
อำเภอ/เขต: บานฉาง
จงั หวดั : ระยอง
รหสั ไปรษณยี : 21130
โทรศัพท : 038 - 695688
โทรสาร: -
เวบ็ ไซต: -
อีเมล: [email protected]
ปท ่กี อ ต้ัง: 2503
จำนวนหอ งเรยี น: 20 หอง | จำนวนคร/ู อาจารย: 30 ทาน | จำนวนนักเรยี น/นกั ศึกษา: 554 คน
ระดับชัน้ ที่เปดสอน เดก็ เล็ก อนบุ าล ประถม มัธยม 1 - 3 มัธยม 4 - 6 ปวช. ปวส ปรญิ ญา
ผูอำนวยการโรงเรยี น
ชอ่ื ผอู ำนวยการ: นางพัณณชิตา กนกพงษเ สถียร
ผูกรอกขอ มลู
ชือ่ -นามสกุล: นางสาวสพุ ชิ าญาณ ทองจบ
เบอรโ ทรศพั ท: 0618854497
อเี มล: [email protected]

ประเมนิ รอบ 9 เดอื น ป 2565 ทำประเมินเมอ่ื วันที่ 15 พฤษภาคม 2565 13:48:02

ดานกายภาพ 7 ตัวช้วี ัด 0 1ดำเนิน2การ 3 4
1. มปี า ยโรงเรียนวิถีพทุ ธ
0 ไมมี
1 มปี ายโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ ตดิ ไวภายในหองใดหอ งหนึง่
2 มีปา ยโรงเรียนวถิ พี ุทธ ติดไวหนาอาคารใดอาคารหนง่ึ
3 มีปา ยโรงเรียนวิถพี ุทธ ติดไวห นาบริเวณโรงเรียน
4 มปี ายโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ ติดไวห นา บรเิ วณโรงเรยี น เหน็ เดนชดั

2. มีพระพทุ ธรปู บรเิ วณหนาโรงเรียน
0 ไมม พี ระพุทธรูปบรเิ วณหนา โรงเรียน
1 มีพระพทุ ธรูปบริเวณหนา โรงเรยี น
2 มีพระพุทธรูปอยูใ นซมุ บรเิ วณหนาโรงเรียน
3 มีพระพทุ ธรูปอยูใ นซุมบรเิ วณหนา โรงเรียนและเครอื่ งบูชา
4 มพี ระพทุ ธรปู อยใู นซุมบรเิ วณหนาโรงเรียน เครือ่ งบชู า และใหนักเรยี นไหวทุกวัน

3. มีพระพุทธรปู ประจำหอ งเรียน
0 ไมม ี
1 มีพระพุทธรูปประจำหองเรียน
2 มพี ระพุทธรูปประจำหองเรียนอยูด า นหนา ในทท่ี ส่ี มควร
3 มีพระพุทธรปู ประจำหองเรยี นอยดู า นหนา ในท่ที ส่ี มควร และมีการทำความสะอาด
4 มพี ระพทุ ธรปู ประจำหองเรยี นอยดู า นหนา ในที่ทส่ี มควร มกี ารทำความสะอาด
และมกี ารเคารพพระพทุ ธรูปเปนประจำ

4. มพี ทุ ธศาสนสุภาษติ วาทะธรรม พระราชดำรัสติดตามท่ีตาง ๆ
0 ไมมี
1 มีพทุ ธศาสนสภุ าษติ วาทะธรรม พระราชดำรสั ตดิ ตามทีต่ า ง ๆ
2 มพี ทุ ธศาสนสุภาษติ วาทะธรรม พระราชดำรสั ติดตามท่ตี า ง ๆ
และมีการปรบั ปรงุ อยูเสมอ
3 มพี ทุ ธศาสนสภุ าษติ วาทะธรรม พระราชดำรสั ตดิ ตามท่ตี า ง ๆ
และมีการปรับปรุงอยเู สมอโดยนักเรียนมีสวนรวมในการจัดทำ
4 มพี ุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดำรัส ติดตามที่ตาง ๆ
และมีการปรบั ปรงุ อยเู สมอโดยนักเรียนมสี วนรวมในการจดั ทำอยา งตอ เน่ือง

5. มคี วามสะอาด สงบ รม รน่ื
0 ไมมี
1 มคี วามสะอาด สงบ รมรน่ื ในหอ งเรยี นและบริเวณโรงเรียน
2 มีความสะอาด สงบ รม รน่ื ในหองเรียน บริเวณโรงเรียน
โดยดำเนินการอยางตอเนื่อง
3 มีความสะอาด สงบ รม รน่ื ในหอ งเรยี น บริเวณโรงเรียน
โดยดำเนนิ การอยา งตอ เนือ่ งและนกั เรยี นมีสว นรว ม
4 มีความสะอาด สงบ รม รื่นในหอ งเรยี น บริเวณโรงเรยี น
โดยดำเนนิ การอยา งตอเนื่องและนกั เรียนมีสวนรว มทกุ คน
6. มีหองพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม
0 ไมม ี
1 มหี อ งพระพุทธศาสนา หรือลานธรรม
2 มหี อ งพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม และมีตารางการใช
3 มหี องพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม มีตารางการใช มกี ารใชจ รงิ
4 มหี องพระพุทธศาสนา หรือลานธรรม มตี ารางการใช มกี ารใชจ ริง
และนกั เรียนมสี วนรวมในการดแู ลรกั ษา
7. ไมม สี ่งิ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรียน 100 % (พิจารณาจากผเู กี่ยวขอ งในโรงเรยี น)
0 มีสิง่ เสพติด เหลา บหุ ร่ี ในโรงเรยี น มากกวา รอยละ 40
1 มสี ิง่ เสพตดิ เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น ตำ่ กวารอยละ 40
2 มสี งิ่ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น ตำ่ กวา รอยละ 30
3 มสี ิ่งเสพติด เหลา บหุ ร่ี ในโรงเรยี น ต่ำกวารอ ยละ 20
4 ไมมสี ิง่ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น 100 %
ดานกิจกรรมวันพระ 4 ตัวชวี้ ดั
1. ใสเสอื้ สีขาวทกุ คน
0 ไมป ฏบิ ัติ
1 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบ ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

2. ทำบุญ ใสบาตร ฟง เทศน
0 ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรยี น ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอยละ 90 ปฏบิ ัติ
3. รับประทานอาหารมงั สวริ ัตใิ นมื้อกลางวัน
0 ไมป ฏบิ ตั ิ
1 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
4. สวดมนตแ ปล
0 ไมป ฏบิ ตั ิ
1 นกั เรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นักเรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
ดานการเรยี น การสอน 5 ตวั ช้วี ดั
1. บริหารจิตเจรญิ ปญ ญากอ นเขา เรียนเชา-บายทั้งนักเรียนและครู
0 ไมปฏิบัติ
1 นักเรยี น และครู เกินกวา รอยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 นกั เรียน และครู เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบัติ
3 นักเรยี น และครู เกินกวา รอยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นกั เรียน และครู เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
2. บูรณาการวถิ ีพุทธทุกกลุม สาระและในวันสำคัญทางพทุ ธศาสนา
0 ไมปฏบิ ัติ
1 มคี รู เกินกวา รอยละ 30 ปฏิบัติ
2 มีครู เกินกวารอ ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 มีครู เกินกวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 มีครู เกินกวารอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ

3. ครูพานักเรียนทำโครงงานคณุ ธรรมกจิ กรรมจิตอาสาสปั ดาหล ะ 1 ครง้ั
0 ไมปฏบิ ตั ิ
1 มคี รู เกนิ กวา รอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 มคี รู เกินกวา รอ ยละ 50 ปฏิบัติ
3 มีครู เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 มีครู เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
4. นกั เรยี น ครู และผบู รหิ าร ทกุ คนไปปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ทวี่ ดั เดือนละ 1 คร้ัง
มวี ัดเปน แหลง เรียนรู
0 ไมป ฏิบตั ิ
1 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
5. นกั เรียน ครู และผูบรหิ าร ทุกคนเขาคายปฏิบตั ธิ รรมอยางนอ ย ปล ะ 1 ครงั้
0 ไมป ฏบิ ัติ
1 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอยละ 90 ปฏิบตั ิ
ดานพฤติกรรม ครู ผูบรหิ ารโรงเรยี นและนักเรยี น 5 ตวั ชีว้ ัด
1. รักษาศลี 5
0 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร ไมร กั ษาศลี 5
1 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติได ครบ 5 ขอ
2 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 50 ปฏิบตั ิได ครบ 5 ขอ
3 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิได ครบ 5 ขอ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติได ครบ 5 ขอ
2. ยิม้ งาย ไหวส วย กราบงาม
0 นักเรียน ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรียน ครู และผูบ ริหาร เกินกวา รอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ

3. กอนรบั ประทานอาหารจะมกี ารพจิ ารณาอาหาร รบั ประทานอาหารไมดงั ไมหก ไมเ หลือ
0 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 นกั เรยี น ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ัติ
4. ประหยดั ออม ถนอมใชเงินและสิง่ ของ
0 นกั เรียน ครู และผูบริหาร ไมปฏบิ ตั ิ
1 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติ
5. มีนิสยั ใฝรู สสู ่งิ ยาก
0 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร ไมปฏบิ ัติ
1 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวารอ ยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวารอยละ 50 ปฏิบัติ
3 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ
ดา นการสง เสรมิ วิถพี ุทธ 8 ตัวชีว้ ัด
1. ไมม อี าหารขยะขายในโรงเรยี น
0 ไมป ฏิบตั ิ
1 ไมม ีอาหารขยะขายในโรงเรยี นเปนบางวัน
2 ไมมีอาหารขยะขายในโรงเรยี นทุกวนั แตน ักเรยี นนำมาเอง
3 ไมมอี าหารขยะขายในโรงเรียนทุกวัน และนักเรียนไมน ำมาเอง
4 ไมมอี าหารขยะขายในโรงเรียนทกุ วนั และนักเรียนไมรบั ประทานอาหารขยะ
2. ไมด ดุ านักเรียน
0 ครู และผูบรหิ าร ไมปฏิบตั ิ
1 ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

3. ช่นื ชมคุณความดีหนาเสาธงทกุ วนั
0 ครู และผูบ ริหาร ไมป ฏิบตั ิ
1 ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
4. โฮมรูมเพ่อื สะทอนความรูสกึ เชน ความรสู กึ ทไ่ี ดทำความดี
0 ครู และผูบรหิ าร ไมป ฏิบัติ
1 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 90 ปฏบิ ัติ
5. นกั เรยี น ครู และผูบริหาร มีสมุดบันทึกความดี
0 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร ไมป ฏิบัติ
1 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
6. นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร (ป.4ขึ้นไป) สอบไดธ รรมตรีเปนอยา งนอ ย
0 นักเรียน ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 นักเรยี น ครู และผูบ ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติ
7. บริหารจิต เจริญปญญา กอนประชุมทุกคร้งั
0 ครู และผูบรหิ าร ไมป ฏบิ ตั ิ
1 ครู และผูบ รหิ าร เกินกวารอ ยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 90 ปฏิบัติ

8. มพี ระมาสอนอยา งสมำ่ เสมอ คะแนน 116 เฉล่ยี 100 ระดบั 5
0 ไมม ี
1 มีนกั เรียนไดเรยี นกบั พระ เกนิ กวา รอยละ 30
2 มนี ักเรียนไดเ รียนกบั พระ เกนิ กวา รอ ยละ 50
3 มีนกั เรียนไดเรียนกบั พระ เกินกวา รอ ยละ 70
4 มีนกั เรยี นไดเ รียนกับพระ เกนิ กวารอยละ 90
สรปุ คะแนนทัง้ 5 ดาน 29 ตวั ชี้วดั
การรบั รอง:
ความคิดเห็น:

Powered by TCPDF (www.tcpdf.org)

ขอมูลการทำประเมนิ 29 ประการ
โรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค ระยอง

เริม่ โครงการวถิ ีพุทธป พ.ศ.: 2556
เปน แกนนำวถิ พี ุทธ: ไมใช
สถานศึกษาตง้ั อยูใ น: ตางอำเภอ
รหสั สถานศึกษา: 21010053
ชื่อสถานศกึ ษา: โรงเรยี นชมุ ชนวดั สวุ รรณรงั สรรค
สังกดั : สพป. ระยอง เขต1
เลขที่: 70
หมูท :่ี 5
ตรอก/ซอย: -
ถนน: สายบา นฉาง - ยายรา
ตำบล/แขวง: สำนกั ทอ น
อำเภอ/เขต: บานฉาง
จงั หวดั : ระยอง
รหสั ไปรษณยี : 21130
โทรศัพท : 038 - 695688
โทรสาร: -
เวบ็ ไซต: -
อีเมล: [email protected]
ปท ่กี อ ต้ัง: 2503
จำนวนหอ งเรยี น: 20 หอง | จำนวนคร/ู อาจารย: 30 ทาน | จำนวนนักเรยี น/นกั ศึกษา: 554 คน
ระดับชัน้ ที่เปดสอน เดก็ เล็ก อนบุ าล ประถม มัธยม 1 - 3 มัธยม 4 - 6 ปวช. ปวส ปรญิ ญา
ผูอำนวยการโรงเรยี น
ชอ่ื ผอู ำนวยการ: นางพัณณชิตา กนกพงษเ สถียร
ผูกรอกขอ มลู
ชือ่ -นามสกุล: นางสาวสพุ ชิ าญาณ ทองจบ
เบอรโ ทรศพั ท: 0618854497
อเี มล: [email protected]

ประเมินรอบ 9 เดอื น ป 2564 ทำประเมินเมื่อวนั ท่ี 10 มิถุนายน 2564 10:49:05

ดา นกายภาพ 7 ตวั ชว้ี ดั 0 1ดำเนิน2การ 3 4
1. มปี า ยโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ
0 ไมมี
1 มปี ายโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ ติดไวภายในหองใดหองหนงึ่
2 มปี า ยโรงเรยี นวิถพี ุทธ ตดิ ไวหนา อาคารใดอาคารหนง่ึ
3 มีปา ยโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ ติดไวห นา บรเิ วณโรงเรียน
4 มีปายโรงเรยี นวิถีพทุ ธ ตดิ ไวหนา บรเิ วณโรงเรยี น เห็นเดน ชดั

2. มพี ระพทุ ธรูปบรเิ วณหนาโรงเรยี น
0 ไมมพี ระพุทธรปู บรเิ วณหนาโรงเรียน
1 มีพระพุทธรปู บริเวณหนา โรงเรยี น
2 มีพระพุทธรปู อยใู นซุม บริเวณหนา โรงเรยี น
3 มีพระพุทธรูปอยูในซุมบรเิ วณหนา โรงเรยี นและเครือ่ งบชู า
4 มพี ระพทุ ธรปู อยใู นซมุ บริเวณหนาโรงเรียน เคร่ืองบชู า และใหนกั เรยี นไหวท ุกวัน

3. มพี ระพทุ ธรปู ประจำหอ งเรียน
0 ไมมี
1 มีพระพทุ ธรูปประจำหอ งเรียน
2 มพี ระพุทธรปู ประจำหองเรยี นอยดู านหนา ในท่ีที่สมควร
3 มีพระพทุ ธรปู ประจำหอ งเรียนอยูดา นหนา ในทท่ี ี่สมควร และมกี ารทำความสะอาด
4 มพี ระพุทธรูปประจำหองเรยี นอยูดา นหนาในที่ทส่ี มควร มีการทำความสะอาด
และมกี ารเคารพพระพุทธรูปเปนประจำ

4. มีพุทธศาสนสภุ าษติ วาทะธรรม พระราชดำรัสตดิ ตามท่ตี าง ๆ
0 ไมม ี
1 มีพทุ ธศาสนสุภาษติ วาทะธรรม พระราชดำรสั ติดตามทต่ี าง ๆ
2 มพี ุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดำรัส ติดตามทตี่ า ง ๆ
และมีการปรับปรงุ อยเู สมอ
3 มีพุทธศาสนสภุ าษติ วาทะธรรม พระราชดำรัส ตดิ ตามที่ตาง ๆ
และมกี ารปรับปรงุ อยูเสมอโดยนักเรยี นมสี ว นรว มในการจัดทำ
4 มพี ุทธศาสนสภุ าษติ วาทะธรรม พระราชดำรสั ตดิ ตามทตี่ า ง ๆ
และมีการปรับปรงุ อยเู สมอโดยนักเรยี นมสี ว นรว มในการจดั ทำอยางตอเนอื่ ง

5. มคี วามสะอาด สงบ รม รน่ื
0 ไมมี
1 มคี วามสะอาด สงบ รมรน่ื ในหอ งเรยี นและบริเวณโรงเรียน
2 มีความสะอาด สงบ รม รน่ื ในหองเรียน บริเวณโรงเรียน
โดยดำเนินการอยางตอเนื่อง
3 มีความสะอาด สงบ รม รน่ื ในหอ งเรยี น บริเวณโรงเรียน
โดยดำเนนิ การอยา งตอ เนือ่ งและนกั เรยี นมีสว นรว ม
4 มีความสะอาด สงบ รม รื่นในหอ งเรยี น บริเวณโรงเรยี น
โดยดำเนนิ การอยา งตอเนื่องและนกั เรียนมีสวนรว มทกุ คน
6. มีหองพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม
0 ไมม ี
1 มหี อ งพระพุทธศาสนา หรือลานธรรม
2 มหี อ งพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม และมีตารางการใช
3 มหี องพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม มีตารางการใช มกี ารใชจ รงิ
4 มหี องพระพุทธศาสนา หรือลานธรรม มตี ารางการใช มกี ารใชจ ริง
และนกั เรียนมสี วนรวมในการดแู ลรกั ษา
7. ไมม สี ่งิ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรียน 100 % (พิจารณาจากผเู กี่ยวขอ งในโรงเรยี น)
0 มีสิง่ เสพติด เหลา บหุ ร่ี ในโรงเรยี น มากกวา รอยละ 40
1 มสี ิง่ เสพตดิ เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น ตำ่ กวารอยละ 40
2 มสี งิ่ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น ตำ่ กวา รอยละ 30
3 มสี ิ่งเสพติด เหลา บหุ ร่ี ในโรงเรยี น ต่ำกวารอ ยละ 20
4 ไมมสี ิง่ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น 100 %
ดานกิจกรรมวันพระ 4 ตัวชวี้ ดั
1. ใสเสอื้ สีขาวทกุ คน
0 ไมป ฏบิ ัติ
1 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบ ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

2. ทำบุญ ใสบาตร ฟง เทศน
0 ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรยี น ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอยละ 90 ปฏบิ ัติ
3. รับประทานอาหารมงั สวริ ัตใิ นมื้อกลางวัน
0 ไมป ฏบิ ตั ิ
1 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
4. สวดมนตแ ปล
0 ไมป ฏบิ ตั ิ
1 นกั เรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นักเรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
ดานการเรยี น การสอน 5 ตวั ช้วี ดั
1. บริหารจิตเจรญิ ปญ ญากอ นเขา เรียนเชา-บายทั้งนักเรียนและครู
0 ไมปฏิบัติ
1 นักเรยี น และครู เกินกวา รอยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 นกั เรียน และครู เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบัติ
3 นักเรยี น และครู เกินกวา รอยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นกั เรียน และครู เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
2. บูรณาการวถิ ีพุทธทุกกลุม สาระและในวันสำคัญทางพทุ ธศาสนา
0 ไมปฏบิ ัติ
1 มคี รู เกินกวา รอยละ 30 ปฏิบัติ
2 มีครู เกินกวารอ ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 มีครู เกินกวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 มีครู เกินกวารอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ

3. ครูพานักเรียนทำโครงงานคณุ ธรรมกจิ กรรมจิตอาสาสปั ดาหล ะ 1 ครง้ั
0 ไมปฏบิ ตั ิ
1 มคี รู เกนิ กวา รอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 มคี รู เกินกวา รอ ยละ 50 ปฏิบัติ
3 มีครู เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 มีครู เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
4. นกั เรยี น ครู และผบู รหิ าร ทกุ คนไปปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ทวี่ ดั เดือนละ 1 คร้ัง
มวี ัดเปน แหลง เรียนรู
0 ไมป ฏิบตั ิ
1 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
5. นกั เรียน ครู และผูบรหิ าร ทุกคนเขาคายปฏิบตั ธิ รรมอยางนอ ย ปล ะ 1 ครงั้
0 ไมป ฏบิ ัติ
1 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอยละ 90 ปฏิบตั ิ
ดานพฤติกรรม ครู ผูบรหิ ารโรงเรยี นและนักเรยี น 5 ตวั ชีว้ ัด
1. รักษาศลี 5
0 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร ไมร กั ษาศลี 5
1 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติได ครบ 5 ขอ
2 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 50 ปฏิบตั ิได ครบ 5 ขอ
3 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิได ครบ 5 ขอ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติได ครบ 5 ขอ
2. ยิม้ งาย ไหวส วย กราบงาม
0 นักเรียน ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรียน ครู และผูบ ริหาร เกินกวา รอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ

3. กอนรบั ประทานอาหารจะมกี ารพจิ ารณาอาหาร รบั ประทานอาหารไมดงั ไมหก ไมเ หลือ
0 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 นกั เรยี น ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ัติ
4. ประหยดั ออม ถนอมใชเงินและสิง่ ของ
0 นกั เรียน ครู และผูบริหาร ไมปฏบิ ตั ิ
1 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติ
5. มีนิสยั ใฝรู สสู ่งิ ยาก
0 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร ไมปฏบิ ัติ
1 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวารอ ยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวารอยละ 50 ปฏิบัติ
3 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ
ดา นการสง เสรมิ วิถพี ุทธ 8 ตัวชีว้ ัด
1. ไมม อี าหารขยะขายในโรงเรยี น
0 ไมป ฏิบตั ิ
1 ไมม ีอาหารขยะขายในโรงเรยี นเปนบางวัน
2 ไมมีอาหารขยะขายในโรงเรยี นทุกวนั แตน ักเรยี นนำมาเอง
3 ไมมอี าหารขยะขายในโรงเรียนทุกวัน และนักเรียนไมน ำมาเอง
4 ไมมอี าหารขยะขายในโรงเรียนทกุ วนั และนักเรียนไมรบั ประทานอาหารขยะ
2. ไมด ดุ านักเรียน
0 ครู และผูบรหิ าร ไมปฏิบตั ิ
1 ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

3. ช่นื ชมคุณความดีหนาเสาธงทกุ วนั
0 ครู และผูบ ริหาร ไมป ฏิบตั ิ
1 ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
4. โฮมรูมเพ่อื สะทอนความรูสกึ เชน ความรสู กึ ทไ่ี ดทำความดี
0 ครู และผูบรหิ าร ไมป ฏิบัติ
1 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 90 ปฏบิ ัติ
5. นกั เรยี น ครู และผูบริหาร มีสมุดบันทึกความดี
0 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร ไมป ฏิบัติ
1 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
6. นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร (ป.4ขึ้นไป) สอบไดธ รรมตรีเปนอยา งนอ ย
0 นักเรียน ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 นักเรยี น ครู และผูบ ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติ
7. บริหารจิต เจริญปญญา กอนประชุมทุกคร้งั
0 ครู และผูบรหิ าร ไมป ฏบิ ตั ิ
1 ครู และผูบ รหิ าร เกินกวารอ ยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 90 ปฏิบัติ

8. มพี ระมาสอนอยางสม่ำเสมอ
0 ไมม ี
1 มนี ักเรียนไดเ รยี นกับพระ เกินกวา รอยละ 30
2 มีนักเรียนไดเรียนกับพระ เกนิ กวา รอยละ 50
3 มนี ักเรยี นไดเ รยี นกบั พระ เกินกวา รอยละ 70
4 มีนักเรียนไดเรียนกับพระ เกินกวา รอ ยละ 90

สรปุ คะแนนทง้ั 5 ดาน 29 ตัวช้วี ัด คะแนน 105 เฉลี่ย 90.52 ระดบั 5
การรบั รอง: รับรอง
ความคิดเหน็ : ร.ร.ควรจดั อาหารมงั สวิรัติใหนร.อยางนอ ยสัปดาหล ะ 1
ม้อื หรือจะใชอ าหารเมนูไขแ ทนกไ็ ด

Powered by TCPDF (www.tcpdf.org)

ขอมูลการทำประเมนิ 29 ประการ
โรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค ระยอง

เริม่ โครงการวถิ ีพุทธป พ.ศ.: 2556
เปน แกนนำวถิ พี ุทธ: ไมใช
สถานศึกษาตง้ั อยูใ น: ตางอำเภอ
รหสั สถานศึกษา: 21010053
ชื่อสถานศกึ ษา: โรงเรยี นชมุ ชนวดั สวุ รรณรงั สรรค
สังกดั : สพป. ระยอง เขต1
เลขที่: 70
หมูท :่ี 5
ตรอก/ซอย: -
ถนน: สายบา นฉาง - ยายรา
ตำบล/แขวง: สำนกั ทอ น
อำเภอ/เขต: บานฉาง
จงั หวดั : ระยอง
รหสั ไปรษณยี : 21130
โทรศัพท : 038 - 695688
โทรสาร: -
เวบ็ ไซต: -
อีเมล: [email protected]
ปท ่กี อ ต้ัง: 2503
จำนวนหอ งเรยี น: 20 หอง | จำนวนคร/ู อาจารย: 30 ทาน | จำนวนนักเรยี น/นกั ศึกษา: 554 คน
ระดับชัน้ ที่เปดสอน เดก็ เล็ก อนบุ าล ประถม มัธยม 1 - 3 มัธยม 4 - 6 ปวช. ปวส ปรญิ ญา
ผูอำนวยการโรงเรยี น
ชอ่ื ผอู ำนวยการ: นางพัณณชิตา กนกพงษเ สถียร
ผูกรอกขอ มลู
ชือ่ -นามสกุล: นางสาวสพุ ชิ าญาณ ทองจบ
เบอรโ ทรศพั ท: 0618854497
อเี มล: [email protected]

ประเมนิ รอบ 12 เดือน ป 2563 ทำประเมินเมอ่ื วนั ท่ี 25 สงิ หาคม 2563 23:18:24

ดา นกายภาพ 7 ตัวชี้วัด 0 1ดำเนิน2การ 3 4
1. มีปายโรงเรียนวิถีพุทธ
0 ไมมี
1 มีปายโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ ตดิ ไวภ ายในหองใดหองหนึ่ง
2 มปี า ยโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ตดิ ไวหนา อาคารใดอาคารหนง่ึ
3 มปี า ยโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ ติดไวห นา บรเิ วณโรงเรียน
4 มีปา ยโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ ตดิ ไวห นาบรเิ วณโรงเรยี น เห็นเดนชดั

2. มีพระพทุ ธรูปบริเวณหนาโรงเรยี น
0 ไมมีพระพุทธรปู บริเวณหนา โรงเรยี น
1 มพี ระพุทธรูปบรเิ วณหนา โรงเรียน
2 มีพระพทุ ธรูปอยูในซมุ บริเวณหนา โรงเรียน
3 มพี ระพุทธรูปอยูใ นซมุ บริเวณหนาโรงเรยี นและเคร่ืองบูชา
4 มพี ระพุทธรูปอยใู นซุมบรเิ วณหนา โรงเรียน เครอื่ งบชู า และใหน ักเรียนไหวทกุ วัน

3. มีพระพุทธรปู ประจำหองเรียน
0 ไมม ี
1 มพี ระพทุ ธรปู ประจำหองเรียน
2 มีพระพทุ ธรูปประจำหอ งเรยี นอยดู านหนา ในทท่ี ีส่ มควร
3 มพี ระพทุ ธรปู ประจำหองเรียนอยูดานหนาในท่ที ี่สมควร และมกี ารทำความสะอาด
4 มีพระพุทธรูปประจำหอ งเรียนอยดู า นหนาในทีท่ สี่ มควร มกี ารทำความสะอาด
และมีการเคารพพระพทุ ธรปู เปนประจำ

4. มีพุทธศาสนสภุ าษิต วาทะธรรม พระราชดำรัสติดตามทต่ี าง ๆ
0 ไมม ี
1 มพี ทุ ธศาสนสภุ าษติ วาทะธรรม พระราชดำรสั ตดิ ตามทต่ี าง ๆ
2 มพี ทุ ธศาสนสภุ าษติ วาทะธรรม พระราชดำรสั ติดตามท่ีตา ง ๆ
และมีการปรบั ปรงุ อยูเสมอ
3 มพี ทุ ธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดำรสั ตดิ ตามท่ตี าง ๆ
และมีการปรบั ปรงุ อยูเสมอโดยนกั เรียนมสี ว นรวมในการจัดทำ
4 มีพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดำรสั ติดตามท่ีตาง ๆ
และมีการปรบั ปรุงอยเู สมอโดยนักเรยี นมสี ว นรวมในการจดั ทำอยางตอเน่ือง

5. มคี วามสะอาด สงบ รม รน่ื
0 ไมมี
1 มคี วามสะอาด สงบ รมรน่ื ในหอ งเรยี นและบริเวณโรงเรียน
2 มีความสะอาด สงบ รม รน่ื ในหองเรียน บริเวณโรงเรียน
โดยดำเนินการอยางตอเนื่อง
3 มีความสะอาด สงบ รม รน่ื ในหอ งเรยี น บริเวณโรงเรียน
โดยดำเนนิ การอยา งตอ เนือ่ งและนกั เรยี นมีสว นรว ม
4 มีความสะอาด สงบ รม รื่นในหอ งเรยี น บริเวณโรงเรยี น
โดยดำเนนิ การอยา งตอเนื่องและนกั เรียนมีสวนรว มทกุ คน
6. มีหองพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม
0 ไมม ี
1 มหี อ งพระพุทธศาสนา หรือลานธรรม
2 มหี อ งพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม และมีตารางการใช
3 มหี องพระพุทธศาสนา หรอื ลานธรรม มีตารางการใช มกี ารใชจ รงิ
4 มหี องพระพุทธศาสนา หรือลานธรรม มตี ารางการใช มกี ารใชจ ริง
และนกั เรียนมสี วนรวมในการดแู ลรกั ษา
7. ไมม สี ่งิ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรียน 100 % (พิจารณาจากผเู กี่ยวขอ งในโรงเรยี น)
0 มีสิง่ เสพติด เหลา บหุ ร่ี ในโรงเรยี น มากกวา รอยละ 40
1 มสี ิง่ เสพตดิ เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น ตำ่ กวารอยละ 40
2 มสี งิ่ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น ตำ่ กวา รอยละ 30
3 มสี ิ่งเสพติด เหลา บหุ ร่ี ในโรงเรยี น ต่ำกวารอ ยละ 20
4 ไมมสี ิง่ เสพติด เหลา บหุ รี่ ในโรงเรยี น 100 %
ดานกิจกรรมวันพระ 4 ตัวชวี้ ดั
1. ใสเสอื้ สีขาวทกุ คน
0 ไมป ฏบิ ัติ
1 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบ ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

2. ทำบุญ ใสบาตร ฟง เทศน
0 ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรยี น ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอยละ 90 ปฏบิ ัติ
3. รับประทานอาหารมงั สวริ ัตใิ นมื้อกลางวัน
0 ไมป ฏบิ ตั ิ
1 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
4. สวดมนตแ ปล
0 ไมป ฏบิ ตั ิ
1 นกั เรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นักเรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
ดานการเรยี น การสอน 5 ตวั ช้วี ดั
1. บริหารจิตเจรญิ ปญ ญากอ นเขา เรียนเชา-บายทั้งนักเรียนและครู
0 ไมปฏิบัติ
1 นักเรยี น และครู เกินกวา รอยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 นกั เรียน และครู เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบัติ
3 นักเรยี น และครู เกินกวา รอยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นกั เรียน และครู เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
2. บูรณาการวถิ ีพุทธทุกกลุม สาระและในวันสำคัญทางพทุ ธศาสนา
0 ไมปฏบิ ัติ
1 มคี รู เกินกวา รอยละ 30 ปฏิบัติ
2 มีครู เกินกวารอ ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 มีครู เกินกวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 มีครู เกินกวารอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ

3. ครูพานักเรียนทำโครงงานคณุ ธรรมกจิ กรรมจิตอาสาสปั ดาหล ะ 1 ครง้ั
0 ไมปฏบิ ตั ิ
1 มคี รู เกนิ กวา รอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 มคี รู เกินกวา รอ ยละ 50 ปฏิบัติ
3 มีครู เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 มีครู เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
4. นกั เรยี น ครู และผบู รหิ าร ทกุ คนไปปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ทวี่ ดั เดือนละ 1 คร้ัง
มวี ัดเปน แหลง เรียนรู
0 ไมป ฏิบตั ิ
1 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
5. นกั เรียน ครู และผูบรหิ าร ทุกคนเขาคายปฏิบตั ธิ รรมอยางนอ ย ปล ะ 1 ครงั้
0 ไมป ฏบิ ัติ
1 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวารอยละ 90 ปฏิบตั ิ
ดานพฤติกรรม ครู ผูบรหิ ารโรงเรยี นและนักเรยี น 5 ตวั ชีว้ ัด
1. รักษาศลี 5
0 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร ไมร กั ษาศลี 5
1 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติได ครบ 5 ขอ
2 นกั เรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 50 ปฏิบตั ิได ครบ 5 ขอ
3 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวารอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิได ครบ 5 ขอ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติได ครบ 5 ขอ
2. ยิม้ งาย ไหวส วย กราบงาม
0 นักเรียน ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรียน ครู และผูบ ริหาร เกินกวา รอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ

3. กอนรบั ประทานอาหารจะมกี ารพจิ ารณาอาหาร รบั ประทานอาหารไมดงั ไมหก ไมเ หลือ
0 นักเรยี น ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ตั ิ
3 นกั เรยี น ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 90 ปฏบิ ัติ
4. ประหยดั ออม ถนอมใชเงินและสิง่ ของ
0 นกั เรียน ครู และผูบริหาร ไมปฏบิ ตั ิ
1 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นกั เรียน ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรียน ครู และผูบริหาร เกินกวารอยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติ
5. มีนิสยั ใฝรู สสู ่งิ ยาก
0 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร ไมปฏบิ ัติ
1 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร เกินกวารอ ยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกินกวารอยละ 50 ปฏิบัติ
3 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 90 ปฏิบตั ิ
ดา นการสง เสรมิ วิถพี ุทธ 8 ตัวชีว้ ัด
1. ไมม อี าหารขยะขายในโรงเรยี น
0 ไมป ฏิบตั ิ
1 ไมม ีอาหารขยะขายในโรงเรยี นเปนบางวัน
2 ไมมีอาหารขยะขายในโรงเรยี นทุกวนั แตน ักเรยี นนำมาเอง
3 ไมมอี าหารขยะขายในโรงเรียนทุกวัน และนักเรียนไมน ำมาเอง
4 ไมมอี าหารขยะขายในโรงเรียนทกุ วนั และนักเรียนไมรบั ประทานอาหารขยะ
2. ไมด ดุ านักเรียน
0 ครู และผูบรหิ าร ไมปฏิบตั ิ
1 ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 ครู และผูบริหาร เกินกวา รอ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ
4 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

3. ช่นื ชมคุณความดีหนาเสาธงทกุ วนั
0 ครู และผูบ ริหาร ไมป ฏิบตั ิ
1 ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ตั ิ
4. โฮมรูมเพ่อื สะทอนความรูสกึ เชน ความรสู กึ ทไ่ี ดทำความดี
0 ครู และผูบรหิ าร ไมป ฏิบัติ
1 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏิบัติ
2 ครู และผูบริหาร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบัติ
4 ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 90 ปฏบิ ัติ
5. นกั เรยี น ครู และผูบริหาร มีสมุดบันทึกความดี
0 นกั เรียน ครู และผบู ริหาร ไมป ฏิบัติ
1 นักเรยี น ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอยละ 30 ปฏบิ ัติ
2 นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร เกนิ กวารอยละ 50 ปฏบิ ัติ
3 นักเรียน ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 นกั เรียน ครู และผบู รหิ าร เกินกวา รอยละ 90 ปฏิบตั ิ
6. นักเรยี น ครู และผูบรหิ าร (ป.4ขึ้นไป) สอบไดธ รรมตรีเปนอยา งนอ ย
0 นักเรียน ครู และผบู ริหาร ไมปฏบิ ัติ
1 นักเรยี น ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวารอ ยละ 30 ปฏบิ ตั ิ
2 นักเรยี น ครู และผูบ ริหาร เกินกวารอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 นกั เรยี น ครู และผบู ริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 70 ปฏิบตั ิ
4 นักเรียน ครู และผบู รหิ าร เกนิ กวา รอยละ 90 ปฏบิ ัติ
7. บริหารจิต เจริญปญญา กอนประชุมทุกคร้งั
0 ครู และผูบรหิ าร ไมป ฏบิ ตั ิ
1 ครู และผูบ รหิ าร เกินกวารอ ยละ 30 ปฏิบตั ิ
2 ครู และผูบริหาร เกนิ กวา รอ ยละ 50 ปฏิบตั ิ
3 ครู และผูบรหิ าร เกินกวา รอยละ 70 ปฏบิ ัติ
4 ครู และผูบรหิ าร เกินกวารอยละ 90 ปฏิบัติ

8. มพี ระมาสอนอยา งสม่ำเสมอ
0 ไมมี
1 มนี ักเรียนไดเรยี นกบั พระ เกนิ กวา รอ ยละ 30
2 มนี ักเรียนไดเรยี นกับพระ เกินกวา รอ ยละ 50
3 มีนักเรียนไดเ รียนกบั พระ เกนิ กวา รอยละ 70
4 มนี กั เรยี นไดเรยี นกับพระ เกินกวารอยละ 90

สรุปคะแนนท้ัง 5 ดา น 29 ตวั ช้ีวัด คะแนน 109 เฉลยี่ 93.97 ระดบั 5
การรับรอง: รับรอง
ความคดิ เห็น: ร.ร.ควรจดั อาหารมังสวริ ตั อิ ยา งนอ ย สปั ดาหล ะ 1 มื้อหรือจัดอาหารเมนูไขแทนกไ็ ด

Powered by TCPDF (www.tcpdf.org)

ภาคสงฆท ี่ ................. รหัส ..................
............... /............... / ..............

สาํ หรับเจาหนา ท่ี

เอกสารแสดงแผนการสอน
สถานศกึ ษาวถิ พี ุทธชน้ั นํา รนุ ที่ ๑๓

ประจําปการศึกษา ๒๕๖๕

ของ

โรงเรยี นชมุ ชนวัดสุวรรณรงั สรรค
สํานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต ๑
๗๐ หมู ๕ ตําบลสํานักทอน อําเภอบา นฉาง จงั หวดั ระยอง

แผนการจดั การเรียนรู
สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร รหสั วชิ า ว 16101
ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2565
หนวยการเรียนรูท ่ี 2 เร่อื ง สารอาหาร เวลา 1 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนว ยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเขาและออก

จากเซลล ความสัมพันธของโครงสรางและหนาท่ีของระบบตางๆ ของสัตวและมนุษยท่ีทํางานสัมพันธกัน
ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะตางๆ ของพืชที่ทํางานสัมพันธกัน รวมทั้งนําความรูไปใช
ประโยชน

2. ตัวช้วี ัดชนั้ ป
ระบุสารอาหารและบอกประโยชนของสารอาหารแตละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน

(ว1.2 ป.6/1)

3. จุดประสงคก ารเรียนรู
1. อธบิ ายสารอาหารได (K)
2. มีความสนใจใฝร หู รอื อยากรูอ ยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณการเรียนรทู เี่ กยี่ วกับวิทยาศาสตร (A)
4. ทํางานรวมกบั ผอู นื่ อยา งสรา งสรรค (A)
5. ส่อื สารและนําความรเู รื่องสารอาหารไปใชในชีวติ ประจาํ วันได (P)

4. สาระสําคญั
สารอาหารท่อี ยใู นอาหารมี 6 ประเภท ไดแก คารโ บไฮเดรต โปรตนี ไขมัน เกลือแร วติ ามนิ และน้าํ

5. สาระการเรียนรู
สารอาหาร

6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเรยี นรู
3. มุงมน่ั ในการทํางาน
4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร

7. สมรรถนะสําคัญของผเู รียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

8. ชน้ิ งานหรือภาระงาน
สืบคนขอมูลสารอาหาร

9. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู
ขั้นนาํ เขาสูบทเรยี น

1) ครใู หนกั เรยี นทบทวนความรเู ดิมท่ไี ดเรียนรูม าแลว โดยใชคําถามตอ ไปนี้
– ในอาหารท่ีนกั เรียนรับประทานแตละวัน มีสารอาหารครบทัง้ 5 หมหู รอื ไม (แนวคาํ ตอบ ครบ

ท้งั 5 หมู)
– ยกตวั อยางอาหารท่มี สี ารอาหารครบท้ัง 5 หมู (แนวคําตอบ ขา วผัดสบั ปะรด)

2) นักเรยี นรวมกนั ตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั คําตอบ เพอ่ื เชื่อมโยงไปสกู ารเรียนรู
ขัน้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู

จัดกิจกรรมการเรยี นรโู ดยใชกระบวนการสบื เสาะหาความรู (Inquiry Process) รวมกับแบบกลับดา น
ช้นั เรียน (flipped classroom) ซึ่งมขี ัน้ ตอนดงั นี้
1) ข้ันสรางความสนใจ (Engagement)

(1) ครถู ามคาํ ถามนักเรยี นเพื่อกระตนุ ความสนใจ เชน
– อาหารคืออะไร (แนวคาํ ตอบ ส่งิ ท่ีรับประทานเขาไปแลว เกดิ ประโยชนตอ รา งกาย)
– สารอาหารคืออะไร (แนวคาํ ตอบ สารเคมีที่อยูในอาหาร เม่ือรับประทานอาหารเขาสูรางกาย

แลว รางกายจะไดรบั พลังงานจากสารอาหารตางๆ ในปริมาณท่แี ตกตางกัน)
(2) นกั เรียนรว มกนั อภิปรายหาคาํ ตอบเก่ียวกับคําถามตามความคิดเห็นของแตล ะคน

2) ข้นั สาํ รวจและคนหา (Exploration)
(1) ครูใหนักเรียนศึกษาเร่ืองสารอาหาร จากใบความรูหรือในหนังสือเรียน โดยครูชวยอธิบายให

นักเรยี นเขา ใจวา สารอาหารท่ีอยูในอาหารมี 6 ประเภท ไดแ ก คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลอื แร วิตามิน
และน้ํา ซึ่งสารอาหารแตละประเภทมีประโยชนตอรางกายแตกตางกัน โดยคารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
เปนสารอาหารท่ีใหพลังงานแกรา งกาย สวนเกลอื แร วิตามิน และนํ้าเปนสารอาหารทีไ่ มใหพลังงานแกรา งกาย
แตชวยใหรางกายทํางานไดอ ยา งเปนปกติ

(2) ครูแบง นกั เรียนกลุมละ 5 – 6 คน สืบคนขอ มูลเก่ียวกบั สารอาหาร ตามขัน้ ตอน ดังน้ี
– แตละกลุมวางแผนการสืบคนขอมูล โดยแบงหัวขอยอยใหเพ่ือนสมาชิกชวยกันสืบคนตามที่

สมาชิกกลุมชวยกันกาํ หนดหัวขอยอย เชน คารโบไฮเดรต โปรตนี ไขมัน เกลอื แร วิตามิน และน้ํา
– สมาชิกกลุมแตละคนหรือกลมุ ยอยชวยกันสืบคนขอ มูลตามหัวขอยอยท่ีตนเองรับผิดชอบ โดย

การสืบคนจากหนังสือ วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร สารานุกรมไทยสําหรบั เยาวชน หรืออนิ เทอรเน็ต
– สมาชิกกลุมนําขอมูลท่ีสืบคนไดมารายงานใหเพื่อน ๆ สมาชิกในกลุมฟง รวมท้ังรวมกัน

อภิปรายซักถามจนคาดวาสมาชิกทุกคนมคี วามรคู วามเขาใจท่ีตรงกนั
– สมาชิกกลุมชวยกันสรุปความรูที่ไดทั้งหมดเปนผลงานของกลุม และชวยกันจัดทํารายงาน

การศกึ ษาคนควาเกี่ยวกบั สารอาหาร

(3) ครูคอยแนะนําชวยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ หองเรียนและ
เปดโอกาสใหน กั เรียนทุกคนซกั ถามเม่ือมปี ญ หา
3) ข้นั อธิบายและลงขอสรุป (Explanation)

(1) นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหนา หองเรียน
(2) ครแู ละนกั เรยี นรวมกันอภปิ รายผลจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใชแ นวคาํ ถาม เชน

– รางกายไดร ับพลังงานสําหรับนาํ ไปใชในการปฏิบัติกจิ กรรมตาง ๆ จากสารอาหารประเภทใด
(แนวคําตอบ คารโบไฮเดรต โปรตนี และไขมัน)

– สารอาหารใดไมใหพลงั งานแกร า งกาย แตช วยใหร า งกายทํางานไดอยา งเปนปกติ (แนวคําตอบ
เกลือแร วติ ามิน และน้ํา)

(3) ครแู ละนักเรียนรว มกันสรุปผลจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูเนน ใหนกั เรียนเขาใจวา สารอาหาร
แบงเปน 2 ประเภท คือ สารอาหารท่ีใหพลังงานแกรางกาย ไดแก คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน และ
สารอาหารที่ไมใ หพลงั งานแกร างกาย ไดแก เกลอื แร วิตามนิ และนา้ํ
4) ขน้ั ขยายความรู (Elaboration)

(1) ครูอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับสารอาหาร ใหนักเรียนเขาใจวา อาหารแตละชนิดประกอบ
ดวยสารอาหารที่แตกตางกัน อาหารบางชนิดมีสารอาหารประเภทเดียว เชน น้ํามันมะพราวมีสารอาหาร
ประเภทไขมันประเภทเดียว อาหารบางชนิดมสี ารอาหารมากกวา 1 ประเภท เชน นมถั่วเหลืองมีสารอาหาร
ครบท้งั 6 ประเภท

(2) ครูอภิปรายเพิม่ เติมในหัวขอเรื่อง “หลกั พทุ ธธรรมกบั การดูแลสุขภาพแบบองครวม”ดวยการ
อภปิ รายแบบกลุมจากนัน้ นําเสนอหนาชนั้ เรียนทีละกลมุ เขียนแผนภาพลงในกระดาษปรฟู โดยการใชห ลัก
ไตรสิกขา โดยมหี ลกั การดงั นี้

การที่จะดแู ลสุขภาพใหครอบคลมุ แบบองครวมไดน้นั การควบคมุ รา งกายและจิตใจ เปนสิง่ สําคัญ
อยางย่ิง การดาํ เนินชีวติ ทีม่ อี งครวม ๓ ดาน คือดา นความสมั พันธก ับส่งิ แวดลอ ม ดานภาวะ จิตและดานปญ ญา
องครวม ๓ ดานดังกลา วจึงมชี ือ่ วา ไตรสิกขา กลา วคอื (๑) การพฒั นาดา นความ สมั พันธก บั สงิ่ แวดลอ ม ทงั้
ส่ิงแวดลอมดา นกายภาพและสงิ่ แวดลอ มทางสังคม เรยี กรวมกนั วา ศลี (๒) การพัฒนาภาวะจติ และสขุ ภาพให
เปนจติ ใจทด่ี งี าม เขม แขง็ มีความสุข โดยมเี จตจํานงที่เปน กุศล และมีสภาพเอ้ือพรอ มตอ การใชง านทางปญญา
เรยี กสัน้ ๆวา สมาธิ (๓) การพัฒนาปญญา ใหร ูเขา ใจมอง เหน็ ตามเปนจรงิ ท่จี ะทําใหป รับปรุง ทกุ อยางทุกดา น
อยา งถูกตองไดผล จนหลดุ พน จากปญหา ดับทกุ ข ได ทําใหเ ปน อสิ ระ สดใสเบิกบาน สุขสงบอยา งแทจริง เรยี ก
งา ย ๆ วาปญ ญา การดําเนินชวี ติ เปนองครวม น้ันท้งั ๓ ดานตอ งมคี วามสัมพันธและเชอ่ื มโยงถงึ กันอยา ง
ตอ เน่อื ง

เม่อื ท้งั ๓ ระบบมีความสาํ คัญและสัมพันธกนั อยา งตอเน่ือง ศลี สมาธิ ปญ ญา จะเปนเกราะ ปองกนั
ชีวติ ชวยใหมสี ขุ ภาพทีด่ ไี ด

(3) นักเรียนคนควาเก่ียวกับหลักทําในชีวิตประจําวันจากหนังสือเรียนตาง ๆ หรืออินเทอรเน็ต และ
นําเสนอใหเ พ่ือนในหองฟง พรอ มท้ังเขยี นลงสมุดสงครู
5) ขั้นประเมนิ (Evaluation)

(1) ครใู หน กั เรียนแตละคนพจิ ารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม มจี ุดใดบางท่ียงั ไม
เขาใจหรอื ยงั มขี อ สงสยั ถา มี ครูชว ยอธบิ ายเพ่มิ เติมใหน กั เรียนเขา ใจ

(2) นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข
อยา งไรบาง

(3) ครูและนักเรียนรวมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดร ับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ
การนําความรทู ีไ่ ดไ ปใชป ระโยชน

(4) ครทู ดสอบความเขาใจของนกั เรยี นโดยการใหต อบคาํ ถาม เชน
– สารอาหารในอาหารแตล ะชนิดมีปรมิ าณแตกตา งกนั หรือไม เพราะอะไร (แนวคําตอบ แตกตาง

กนั เพราะอาหารแตล ะชนดิ ประกอบดว ยสารอาหารในสัดสวนทแี่ ตกตา งกัน)
– ยกตวั อยางอาหารทีม่ ีสารอาหารมากกวา 1 ประเภท (แนวคําตอบ โยเกิรตมสี ารอาหารครบทั้ง

6 ประเภท)

ขนั้ สรุป
ครแู ละนักเรยี นรวมกันสรปุ เก่ยี วกับสารอาหาร โดยรวมกันเขยี นเปน แผนที่ความคิดหรือผังมโนทศั น

10. ส่ือการเรียนรู
10.1 หนังสือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน หรืออินเทอรเ นต็
10.12 หนงั สือเรียนภาษาตา งประเทศ
10.13 คมู ือการสอน วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที่ 6
10.14 สอ่ื การเรยี นรู E-BOOK รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6
10.15 แบบฝกทกั ษะรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6
10.16 หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6


Click to View FlipBook Version