The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NY Yokkie, 2022-07-11 11:31:52

การรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน

การรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน

Keywords: การรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน

การรกั ษาความปลอดภัยขัน้ พืน้ ฐาน

มาตรการในการรกั ษาความปลอดภัยสถานที่
คําจาํ กัดความ
มาตรการทก่ี าํ หนดขึ้นเพอื่ พทิ ักษ รักษาใหความปลอดภยั แก ท่สี งวน อาคาร และสถานท่ีของสว น

ราชการหรือหนวยงาน ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ เจาหนาที่และเอกสารในอาคารสถานที่ดังกลาวใหพนจาก
การโจรกรรม การจารกรรม และการกอวินาศกรรม หรือเหตุอ่ืนใด อันอาจทําใหเสียสมรรถภาพในการ
ปฏบิ ัตภิ ารกิจของสวนราชการได
ขอ พิจารณาในการวางมาตรการ รปภ.สถานท่ี

1. ปจจัยตาง ๆ ท่เี กีย่ วของ ที่จะตอ งนํามาพจิ ารณาในมาตราการ รปภ.
- ความสําคญั ของภารกจิ และส่งิ ท่ีจะตอง รปภ.
- สภาพของสถานท่ี พ้ืนท่ีท่จี ะตอง รปภ.
- ลกั ษณะทต่ี ั้งทางภมู ิศาสตร
- สถานการณท างเศรษฐกิจ
- อดุ มการณทางการเมืองของประชาชนในพน้ื ท่ี
- พฤตกิ ารณของฝา ยท่เี ปนศตั รู ขดี ความสามารถ วธิ ที ่ีศัตรูจะนํามาใช
- การสนบั สนนุ จากสว นราชการอน่ื
2. การวางมาตรการตองเหมาะสมกับแตละพ้ืนที่ เพราะปจจัยท่ีเกี่ยวของของพ้ืนที่แตละแหง
ไมเ หมอื นกนั
3. ในการออกแบบกอสรางสถานที่ที่สําคัญ หรือมีส่ิงที่เปนความลับที่จะตองพิทักษรักษา
ควรพจิ ารณาดา นการ รปภ.ตัง้ แตข ้นั การออกแบบ

ภยนั ตรายที่ควรพจิ ารณาเกี่ยวกับสถานท่ี
1. ภยันตรายทเ่ี กดิ จากปรากฎการณทางธรรมชาติ เชน น้าํ ทว ม ลมพายุ ฟาผา แผน ดินไหว
2. ภยันตรายทเี่ กิดจากการกระทําของมนษุ ย
- โดยไมเ จตนา หรือไมไ ดต ั้งใจ สวนมากเกดิ จากการประมาทเลนิ เล่ิอ รูเทา ไมถ ึงการณ ทําใหเกิด

อุบัติเหตุ
- โดยเจตนา หรือตั้งใจ ผูกระทํามักต้ังใจและปกปดการกระทําของตน เพราะมีความผิดทาง

อาญาเปนภัยที่คกุ คามองคก ารและหนว ยงานตาง ๆ

-2-

ขอพิจารณามาตรการในการรกั ษาความปลอดภยั สถานที่
1. เครื่องกีดขวาง
2. ระบบแสงสวาง
3. เจา หนา ที่รักษาความปลอดภยั ,เวร รปภ.ประจําวัน
4. การควบคมุ บุคคลและยานพาหนะ
5. การจัดพืน้ ทีท่ ่ีมีการรักษาความปลอดภยั
6. การปองกนั อัคคีภัย
7. มาตรการเสริมการ รปภ.
8. การตรวจสอบระบบ รปภ. และการรายงาน

1. เครือ่ งกดี ขวาง
เครือ่ งมอื ที่ใชปอ งกัน ขดั ขวาง หรอื หนวงเหนย่ี ว บุคคลหรือยานพาหนะ ท่ีไมมสี ทิ ธเิ ขาไปในพนื้ ที่
รักษาความปลอดภยั
ประเภทของเครื่องกดี ขวาง
- เครือ่ งกีดขวางทางธรรมชาติ
- เคร่อื งกีดขวางทป่ี ระดิษฐขึ้น
- ขอ พิจารณาเก่ยี วกับรว้ั
- ไมควรอยูใกลสง่ิ กอสราง ตนไม ทีอ่ าจปนขามร้ัวเขามาได
- ควรหา งจากตวั อาคารอยางนอย 90 ฟุต
- ควรสงู ประมาณ 8 ฟุต หรอื ไมตา่ํ กวา 6 ฟุต
- ตอนบนของรว้ั ควรมีกระบงั หรือเหลก็ ทยี่ ื่นออกมาทํามมุ กบั รั้วเปนมุม 45 องศา กวา งประมาณ
18-24 นิว้ ฟุต ขงึ ดว ยลวดหนามตามยาวประมาณ 4-6 เสน
2. ระบบแสงสวาง

วตั ถปุ ระสงค เพ่ือ :
- ใหม องเหน็ บริเวณรว้ั
- เขตหวงหามตาง ๆ
- ตัวอาคารสถานที่
ประเภทของการใหแ สงสวา ง
- ใชแ สงสวา งโดยตรง
- ใชแสงสวา งกระจายไปทว่ั
ขอพิจารณาการใหแสงสวา ง
- ตอ งมี จนท.รับผดิ ชอบดูแลรกั ษาและทดลอง
- อยา ใหแ สงสวางพรา ตา จนท.รปภ.

-3-

- มเี คร่อื งกําเนดิ ไฟฟา สาํ รอง
- อยา ใหมีพ้นื ท่ีอบั แสง
- กรณเี ปนรว้ั ทึบ ตอ งใหแ สงสวา งทง้ั ภายใน และภายนอก
- มไี ฟฉายสําหรบั จนท.รปภ.สําหรบั ตรวจตรา
3. เจาหนา ท่รี ักษาความปลอดภัย
ขอพิจารณาเกีย่ วกับ จนท.รปภ.

3.1 จาํ นวน
- จาํ นวนเสนทางเขา -ออก
- ลกั ษณะของงานและทรพั ยสนิ ทพ่ี ึงไดรับการพทิ ักษรกั ษา
- จาํ นวนผมู าติดตอ
- จาํ นวนบรเิ วณเขตหวงหา ม
- จํานวนยานพาหนะทผ่ี านเขา -ออก
- จํานวน จนท.ในสว นราชการนน้ั
- เวลาพักผอน จนท.

3.2 ทต่ี ั้ง สามารถปฏิบตั ิงานไดสะดวก
- มีทเ่ี กบ็ อาวุธ เครื่องมือเครื่องใช เคร่ืองมือสือ่ สาร
- ตองมี จนท.รปภ. ประจาํ อยเู สมออยางนอ ย 1 คน

3.3 การติดตอ สอื่ สาร
- มีเครือ่ งมือส่อื สาร
- วธิ กี ารติดตอสอื่ สาร

3.4 ระบบสัญญาณแจง ภยั
- การมเี ครือ่ งมอื ทางเทคนิคตรวจ

3.5 การฝก อบรม
- การปองกนั การจารกรรม, การกอวินาศกรรม
- บริเวณสถานที่/จุดสาํ คัญ ตูควบคุมระบบไฟฟา เคร่อื งมอื ดบั เพลงิ
- การตดิ ตอส่ือสาร
- วิธีการตอ สปู อ งกันตัว
- เขตหวงหามเดด็ ขาด

3.6 เครือ่ งแบบและอาวธุ

-4-

4. การควบคมุ บุคคลและยานพาหนะ
4.1 การควบคมุ บุคคล :
4.1.1 จัดใหม บี ัตรผา นสําหรบั บุคคลภายใน
- ปลอมแปลงยาก
- เปล่ียนรูปแบบตามระยะเวลาทีส่ มควร
- มรี ายละเอยี ดตา ง ๆ เชน รูปถา ย ช่อื ลายมือช่ือ สว นสงู นํ้าหนกั เปนตน
4.1.2 จดั ใหมปี ายแสดงตนสําหรับทง้ั บุคคลภายในและภายนอก
4.1.3 จดั ใหมีการบันทกึ หลกั ฐานสาํ หรบั บุคคลภายนอก
4.1.4 จัดใหม ที ี่พกั ผมู าติดตอเปนพเิ ศษตา งหาก
4.2 การควบคมุ ยานพาหนะ
4.2.1 มี จนท.ตรวจสอบยานพาหนะประจาํ อยู ณ ชองทางเขา – ออก ของสถานท่ี
4.2.2 ทําบนั ทึกหลกั ฐานยานพาหนะเขา - ออก
- วนั และเวลาท่ผี านเขา
- ช่ือคนขบั และคนโดยสาร
- เลขทะเบยี นยานพาหนะ
- ลักษณะและจํานวนส่ิงของทนี่ ําเขาและออก
- วัตถุประสงคและสถานทที่ ี่จะเขาไป
- วนั และเวลาที่ผา นออก
4.2.3 จัดท่จี อดรถใหหางจากตวั อาคารทีส่ าํ คัญหรอื ส่งิ ของท่ีตดิ เพลิงงาย ไมนอยกวา

6 เมตร
5. การจดั พน้ื ทที่ ่ีมกี ารรักษาความปลอดภัย
พ้ืนที่ที่มีการกําหนดขอบเขตโดยแนชัด ซึ่งมีขอจํากัดและการควบคุมการเขา – ออก

เปนพเิ ศษ ตอ งปฏบิ ตั ดิ งั ตอไปนี้
5.1 กําหนดใหพืน้ ที่ควบคุม
- กําหนดใหมีการควบคุมบุคคลและยานพาหนะ
5.2 กาํ หนดใหม พี ืน้ ทห่ี วงหา ม
- หวงหามเด็ดขาด
- หวงหา มเฉพาะ

6. การปองกนั อคั คีภยั
เจาหนาทร่ี ักษาความปลอดภยั ตองมคี วามรูเ ก่ยี วกบั เรื่อง :
6.1 ประเภทของไฟ
6.2 เครื่องมือเคร่ืองใชใ นการดับเพลงิ

-5-

6.3 การตดิ ตอ สื่อสาร แผนผังอาคาร
6.4 ท่ีต้ังและหมายเลขโทรศพั ทของหนวยดบั เพลิง
6.5 แผนการดบั เพลิง

ประสทิ ธิภาพในการรักษาความปลอดภยั

หนาท่ีของพนักงานรักษาความปลอดภัย
พนักงานรักษาความปลอดภัยมีหนาท่ีอํานวยความปลอดภัย แกบริเวณและสถานที่ รวมถึง
ทรัพยสินของนายจาง และอาจรวมถึงการจัดการจราจร ในพื้นท่ีซึ่งตนรับผิดชอบ โดยการไดรับมอบอํานาจ
จากนายจาง ผูเ ปนเจาของบริเวณและสถานทด่ี ังกลา ว
ดังน้ัน พนักงานรักษาความปลอดภัยจึงมีสิทธิเพียงเทาท่ีนายจางไดมอบอํานาจไว และไมเกิน
กวาทกี่ ฎหมายกําหนดใหผเู ปนเจา ของทรพั ยสินกระทาํ ไดเ พอื่ ปกปอ งสิทธขิ องตนเอง

การปองกนั เหตุ
- มีการออกตรวจบรเิ วณทรี่ บั ผิดชอบ
- สังเกตสภาพแวดลอ มตา งๆ และจําส่ิงที่ผิดสังเกต
- สังเกตบุคคลภายนอก ซง่ึ ผา นเขา - ออก
- มีการจดรายละเอยี ดของยานพาหนะท่ีผา นเขา – ออก

การออกตรวจพนื้ ที่
เปนการปองกันเหตุท่ีสําคัญ เนื่องจากเปนการลดชองวางในการกอเหตุของคนราย ซึ่งหาก
พนักงานรกั ษาความปลอดภัยมีการออกตรวจอยางสม่ําเสมอ ทําใหคนรายที่คิดจะกอเหตุ รูสกึ วาบรเิ วณท่ีจะ
เขามากอเหตุ มีพนักงานรักษาความปลอดภัยอยู โอกาสที่จะหนีรอดนอย คนรายอาจลมเลิกความคิดในการ
กระทาํ ผดิ

บรเิ วณทีค่ วรใหความสาํ คัญในการออกตรวจ
- บรเิ วณลานจอดรถ หรอื อาคารจอดรถ
- บริเวณตเู อทเี อ็ม
- บรเิ วณจดุ อับ หรือ ชองทางท่ีคนรา ยอาจเขา ลกั ทรัพยในอาคาร
- ตึก หรือ อาคารที่เก็บเอกสารหรอื ทรัพยสินมีคา

การสังเกตจดจาํ ตาํ หนริ ปู พรรณ
กอนที่คนรายจะลงมือกอเหตุ คนรายมักมีการสํารวจเสนทาง หรือเขามาดูสถานที่กอน ดังน้ัน
หากพนักงานรักษาความปลอดภัยสังเกต หรือพบวาบุคคลผูมีลักษณะและพฤติกรรมตองสงสัย ควรเขาไป
สอบถามจดช่ือ และทะเบียนรถไว เพื่อเปน การปอ งกนั เหตุ

การสังเกตจดจําตําหนิรูปพรรณของคนราย และยานพาหนะที่ถูกตองเปนการชวยเหลือตํารวจ
ในการสกัดจับ และติดตามคนราย

-6-

บุคคลที่มีพฤติกรรมนาสงสัย

- ในการกอเหตุเกี่ยวกับทรัพย ผูกอเหตุมักเปนวัยรุนชาย ลักษณะทาทางลุกล้ีลุกลน สวนมาก
มักจะมีผูรวมกระทําผิด กลาวคือ คนรายมักจะนั่งซอนทายรถจักรยานยนตมากัน 2 คน และ สวมใสหมวก
กันน็อคปด หนา มิดชิด

- สังเกตส่ิงท่ีผูเขามา หรือออกนอกบริเวณที่รับผิดชอบนําติดตัวมาดวย เชน อุปกรณเครื่องมือ
ชา งในการงดั แงะตา ง ๆ หรือ ส่ิงทน่ี ําติดตวั ออกไป

วิธีการสงั เกตจดจําลกั ษณะบุคคล

1. หลักการสังเกตจดจาํ ตาํ หนริ ปู พรรณ มีดงั น้ี
1.1 สงั เกตจดจําสงิ่ ทเ่ี หน็ งา ยไปสสู ิ่งท่เี ห็นยาก
1.2 สังเกตจดจาํ ลักษณะเดน ตําหนิ ไปสูลักษณะธรรมดา

1.3 พยายามอยาจดจําทกุ สง่ิ ทุกอยาง แตใ หจ ดจําบางอยา งที่จาํ ไดอยางแมน ยาํ
1.4 หากพบเหตุกับตนเอง อยาถามผูอ่ืนท่ีอยูในเหตุการณวาเห็นอะไร ใหรีบบันทึกส่ิงท่ี
ตนเองเห็นและจดจาํ ไดในกระดาษ และมอบขอ มูลนน้ั เจาหนาท่ตี าํ รวจตอไป

2. ส่งิ ท่ีสามารถจดจําไดง าย และควรจดจาํ กอน
2.1 เพศ - เปนชาย หญงิ หรอื กระเทย
2.2 วยั เดก็ - วัยรุน ผใู หญ แก ฯลฯ อายุประมาณเทาใด
2.3 รูปรา ง - สูง เตีย้ อว น ผอม สันทัด ฯลฯ

2.4 ผวิ เนือ้ - ขาว ขาวเหลือง ดํา แดง ซดี เหยี่ วยน ฯลฯ
2.5 เช้ือชาติดูจากใบหนา - วา เปนไทย จนี ลกู ครึ่ง แขก ฯลฯ
2.6 รปู หนา - รูปไข กลม ยาว เหลีย่ ม ฯลฯ
2.7 ผม - สั้น หงอก หนา หยิก ตดั ทรงแบบใด สอี ะไร ฯลฯ
2.8 ปาก - กวาง แคบ รมิ ฝป ากหนา บาง ฯลฯ
2.9 หู - กาง ใหญ เลก็ ต่ิงหูแหลม ฯลฯ
2.10 ตา - เล็ก โต พอง โปน ตาช้ันเดียว สองชน้ั ตาเข สวมแวน ตาแบบใด ฯลฯ

รางกาย 3. ส่ิงท่เี ปนจุดเดนผิดปกติ ตําหนิที่อาจจดจําไดง าย
3.1 ตําหนิ แผลเปนบนใบหนา ไฝ ปาน หูด เน้ือต่ิง มีลักษณะอยางไร อยูสวนใดของ

3.2 แผลเปน มีลกั ษณะอยางไร ขนาดเทา ใด อยสู ว นใดของรางกาย
3.3 ลายสัก สกั รปู อะไร สีอะไร อยูท่ีสว นใดของรา งกาย
3.4 ความพิการ ตาบอด หูหนวก ใบ แขนขาดว น ลีบ ปากเบย้ี ว ฯลฯ
3.5 ทาทางการเดนิ เดินตัวตรง ตวั เอียง ขากระเผลก ฯลฯ

-7-

3.6 สาํ เนยี งการพดู พูดชา พูดเร็ว ติดอาง สาํ เนยี งคนไทย จีน ฝรง่ั หรือสําเนียงภาคใด
3.7 การกระทําบอยๆ เชน สูบบหุ รีจ่ ดั เค้ยี วหมากฝรง่ั ชอบลวงกระเปา
3.8 การแตงกาย จดจําเส้อื กางเกง เชน เสือ้ แขนสน้ั -ยาว,กางเกงขาสัน้ -ยาว ฯลฯ แบบของ
เส้ือ-กางเกง เชน ยนี เสอื้ ยืด เส้ือเชต๊ิ เคร่อื งแบบนกั ศึกษา สอี ะไร ลายแบบไหน มีตวั เลขอะไรหรอื ไม
3.9 เครื่องประดับ มีเคร่ืองประดับอะไรบางท่ีเห็นไดชัด เชน แวนตา นาฬิกา แหวน สรอย
กระเปา ถอื ฯลฯ เทา ทจี่ ะทราบ

4. กรณที ค่ี นรา ยมีการพลางใบหนา
เชน สวมแวนตากันแดด สวมหมวกกันน็อค สวมหมวก หนากาก คลุมศีรษะดวยถุง ใหทาน

สังเกตสวนอ่ืนๆของรางกายที่มไิ ดพ รางและสามารถจดจาํ ไดงาย

การสังเกตจดจาํ พาหนะของคนราย หรอื ผูตองสงสยั

1. หลักการสังเกตจดจาํ ยานพาหนะ มีดงั น้ี
1.1 สงั เกตจดจําสง่ิ ทีใ่ หญ เห็นงายไปสูสิง่ ท่เี หน็ ยาก
1.2 สังเกตจดจําตาํ หนิ รอยชน สติ๊กเกอร จุดเดน ตา งๆ
1.3 อยาจดจําทกุ ส่งิ ทุกอยา ง แตใหจ ดจําบางสิง่ ท่ีทานจําไดอ ยางแมน ยํา
1.4 หากพบเหตุซ่ึงหนา เม่ือคนรายหลบหนีไปแลว อยาถามผูอ่ืนวาเปนอยางไร ใหรีบ

บันทกึ ลักษณะเอาไว และมอบใหต ํารวจ
2. สิง่ ที่สามารถจดจําไดงา ยและควรจดจํากอน
2.1 ประเภทของรถ เชน จักรยานยนต,รถยนตเ กง,กระบะ ฯลฯ
2.2 สีของรถ เปน รถสใี ด ลายใด
2.3 ความเกาใหม เปนรถคอนขางเกา หรือใหม
2.4 ยีห่ อ เปน รถย่หี อ อะไร รุนใด ป พ.ศ.ใด (เทาที่ทราบ)
2.5 หมายเลขทะเบียน ดูไดจากแผนปา ยทะเบยี น ใหจ ดจําท้งั หมวดตัวอักษร และหมายเลข

โดยถาเปนรถตางจงั หวัด ใหจดจําชื่อจงั หวัดดวย และหากเปนรถยนตแผนปายทะเบียนของรถประเภทตางๆ
จะแตกตางกัน เชน หากเปน รถเกงสวนบุคคล แผนปายทะเบียนจะมสี ีพ้ืนเปนสีขาว ตัวหนังสือเปนสีดํา หรือ
หากเปนรถของราชการ หากเปน รถแทก็ ซี่ปา ยทะเบยี นจะเปนสเี หลือง

อนึ่งในการสงั เกตแผนปายทะเบียน ควรสังเกตดวยวาแผนปายทะเบยี นน้ัน มกี ารติดต้ังไวอยาง
แนนหนา หรือ เปนลักษณะติดเพ่ืออําพราง และใหสังเกตวามีการอําพรางเลขทะเบียนหรือไม เชน นํา
สต๊ิกเกอรมาปดทับตวั หนังสือไว หรือการลบเลอื นของตัวหนงั สอื ซึ่งปจจบุ ันจากสถิติการจับกุมคนราย พบวา
คนรา ยทีก่ อ เหตุ มักไมติดแผนปายทะเบยี น หรอื ตดิ แผนปา ยทะเบียนปลอม

3. สิง่ ที่เปน ตําหนิ รอยชน จุดเดนทเี่ ห็นไดช ัด
3.1 ตาํ หนิ เชน กระจกแตก สลี อก มรี อยเจาะที่ตวั ถังของรถ ฯลฯ
3.2 รอยชน รอยยบุ รถมรี องรอยการถูกเฉ่ียวชนบริเวณใด มากนอยอยา งไร

-8-

3.3 จดุ เดน เชน เปนรถที่แตง เพ่อื ใชแขง มีเสาอากาศวทิ ยุ หรือติดอุปกรณพิเศษตา งๆ
3.4 ติดสติ๊กเกอรบ รเิ วณใด เปนรปู หรือเครื่องหมาย หรือขอความอยา งไร ติดฟลมกรองแสง
ทึบมาก-นอย อยา งไร
3.5 รายละเอยี ดอื่นๆ เทาท่สี ามารถจดสามารถจดจาํ ได เชน เสยี งทอไอเสีย เสยี งแตร ฯลฯ

การสงั เกตยานพาหนะรถยนต และรถจักรยานยนต

รถจกั รยานยนต
- จดจาํ เลขทะเบียน รถประเภทผชู าย ผหู ญิง สีรถ ยี่หอ รุน สตกิ เกอรทต่ี กแตง ฯลฯ

รถยนต
- จดจําหมายเลขทะเบียน ประเภทรถเกง กระบะ สีรถ ยหี่ อ รุน สตกิ เกอรตางๆ ลักษณะพเิ ศษ
เชน โหลดเตีย๊ ไฟทา ย ไฟหนา ฯลฯ

สรปุ หลักการสังเกตจดจาํ ตาํ หนิรูปพรรณของบุคคล และยานพาหนะ

ทั้งหมดที่ไดกลาวไปนั้นเปนเพียงแนวทางในการที่ทานจะใชในการสังเกตจดจําตําหนิรูปพรรณ
ของบุคคล ลกั ษณะของยานพาหนะท่ีตองสงสยั การท่ีทา นจะจดจําไดดนี ้ันขนึ้ อยูกับวาทานมีความสนใจ และ
มกี ารฝกฝนในการจดจําตามแนวทางนีม้ ากนอ ยเพียงใด วิธีการฝกจดจํานน้ั ไมใ ชข องยาก ทา นอาจฝกฝนจดจํา
บุคคลที่เดินผานไปมาหรือยานพาหนะท่ีผานไปมาแลวลองบันทึกสิ่งท่ีทานจดจําได แลวนําไปตรวจสอบกับ
บุคคล ยาพาหนะจริง อยา งไรกต็ ามขอ สําคัญของการสังเกตจดจําจะเปน ประโยชนตอ การสอบสวนของตาํ รวจ
ก็คือ ขอมูลที่แมนยํา ใกลเคียงกับความเปนจริงมากท่ีสุด ดังน้ันหากทานไมแนใจในขอมูลใดๆ ก็ไมควรใชวิธี
เดาหรือคิดเอาเอง เพราะถาใหขอมูลเหลานี้กับตํารวจแลวอาจทําใหเกิดการไขวเขว สับสนแกการปฏิบัติงาน
ของตาํ รวจอยางแนนอน

.............................................................


Click to View FlipBook Version