The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ.2564 สนง.สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by superaekiphone, 2022-01-14 06:57:57

รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ.2564

รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ.2564 สนง.สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 1

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 2

สารจากสหกรณ์จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

ผลการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามรายงานประจำปี 2564 ที่
ปรากฏอยู่ในเล่มน้ี เป็นผลงานที่ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา ไดม้ ุ่งมนั่ ฟนั ฝ่า ต้ังใจ รว่ มมือกันปฏิบัตงิ านส่งเสริมและพฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้มีความเจริญก้าวหน้า เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ และเป็นท่ีพ่ึงของมวล
สมาชกิ อยา่ งแทจ้ ริง

ขอขอบคุณ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน และทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วม
ช่วยเหลือ สนับสนุนงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จนมีผลทำให้งานสำเร็จลุล่วง เป็นที่
น่าพึงพอใจ ผลงานมีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้าหมายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ
พนักงานราชการ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ตั้งปณิธานไว้ว่า จะพัฒนางานในทุก ๆ ด้าน
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน เพื่อพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง ทันต่อการเปล่ียนแปลง
และเจรญิ รุดหนา้ สืบไป

หวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่ารายงานประจำปเี ลม่ น้ี จะเปน็ ประโยชนก์ บั ทุก ๆ ทา่ นครับ

(นายธนรัฐ โคจรานนท์)
สหกรณจ์ ังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ธนั วาคม 2564

ข้ึนหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 3

ทำเนยี บบุคลากรภายในสำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

ฝา่ ยบรหิ ารทวั่ ไป

นางลดั ดา ไทยศรี
นักจดั การงานทวั่ ไปชำนาญการ
ตำแหน่งหัวหน้าฝา่ ยบริหารทว่ั ไป

นางลกั ษณี เครอื มัน่ นายครษิ ฐ์ อรยิ พฤกษ์ นางสาวธรรมนาถ ทนโุ วหาร
ตำแหน่ง นกั วิชาการสหกรณป์ ฏิบัติการ ตำแหน่ง พนักงานธกุ าร ส.4 ตำแหนง่ พนกั งานพมิ พ์ ส.4

นายมานัด สุทธผิ ล นายวทิ ยา สขุ สุสร นายเรวชั รมั มะพ้อ
ตำแหน่ง พนักงานสถานท่ี บ.2 ตำแหน่ง พนกั งานสถานท่ี บ.2 ตำแหนง่ พนกั งานสถานท่ี บ.2

นางสาวณริ ดา กระจา่ งโรจน์ นางสาวทวินันท์ พันทวี
ตำแหน่ง นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน ตำแหน่ง เจ้าพนักงานการเงนิ และบัญชี

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 4

กลุ่มจดั ต้ังและสง่ เสริมสหกรณ์

นายอดุล ภบิ าลทรัพย์
ตำแหนง่ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการพิเศษ
ผอู้ ำนวยการกลมุ่ จดั ตง้ั และส่งเสรมิ สหกรณ์

นางสาวพิรัลภัทร์ ปจั ฉิมวรกติ ต์ิ นางสาวกุศลิน สมสอาด นายสถาพร ชน่ื ขำ
ตำแหน่ง นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์

กลมุ่ สง่ เสรมิ และพฒั นาธรุ กิจสหกรณ์

นางสาวอรญั ญาพร เขียวอรา่ ม
ตำแหนง่ นกั วชิ าการสหกรณ์ชำนาญการพเิ ศษ
ผ้อู ำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกจิ สหกรณ์

นางสาวร่งุ ฤทยั สิงห์อยู่ นายเอกชัย นลิ สุ นายสมยศ แสนลับสนิ ธ์ุ
ตำแหนง่ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร ตำแหนง่ นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบตั ิการ ตำแหน่ง นกั วิชาการมาตรฐานสนิ ค้า

ข้ึนหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 5

กลุ่มส่งเสรมิ และพัฒนาการบริหารการจดั การสหกรณ์

นางกนกทิพย์ ศรชี ยั นางสาวจนั ทร์จุฬา เชยโพธ์ิ นางสาวธัญนันท์ นนคำ
ตำแหน่ง นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ
ตำแหนง่ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่ง : นักวิชาการสหกรณ์ปฏบิ ตั ิการ
ผอู้ ำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพฒั นาการ
บริหารการจัดการสหกรณ์

นางสาวเยาวธดิ า สงั ข์แจม่ นางสาวกัณธมาศ กอสวุ รรณ นางสาวบศุ รนิ ทร์ บุญฤทธ์ิ
ตำแหนง่ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร ตำแหนง่ นักวิชาการสหกรณ์ ตำแหน่ง นักวชิ าการสหกรณ์

กล่มุ ส่งเสริมและพฒั นาการบรหิ ารการจัดการสหกรณ์

นายมานะ เรืองประทีป ช่อื ...........................................
ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ ตำแหนง่ ......................................

ผู้อำนวยการกลมุ่ ตรวจการสหกรณ์

นางสาวศิริพร กาศกระโทก นางสาวเพ็ญพกั ตร์ เอกศิรภิ ักดี นางมารินทร์ ทองอดุ ม
ตำแหนง่ นิติกรปฏบิ ตั ิการ ตำแหนง่ นติ กิ ร ตำแหนง่ นักวิชาการสหกรณ์

ขนึ้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 6

กล่มุ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 1

นายวิชา งามสวย นางภาวนา พง่ึ พลู ผล นายศิรชิ ัย วงษป์ ลั่ง
ตำแหน่ง นักจดั การงานทว่ั ไปชำนาญการ ตำแหน่ง เจา้ พนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณช์ ำนาญการ

ผอู้ ำนวยการกล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 1 อาวโุ ส

นางสาวทดั ดาว สขุ เสริม นางสาวรภัสสรณ์ โพธิสิรธิ นาชัย นางสาวนุชรา ใจตา
ตำแหนง่ นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ ตำแหนง่ นักวิชาการสกรณป์ ฏบิ ัติการ ตำแหนง่ นกั วิชาการสหกรณช์ ำนาญการ

นางสาวนัดดา บัวบานบุตร นายอดศิ ักดิ์ ถ่ายเนียม
ตำแหน่ง นกั วิชาการสหกรณ์ ตำแหนง่ เจา้ พนักงานสง่ เสริมสหกรณ์

กล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 2

นายสเกน วฑุ ฒยากร นายปรเมศวร์ ชชู าติ นายเอกชัย จักรกรณ์
ตำแหน่ง เจา้ พนักงานส่งเสรมิ
ตำแหนง่ เจ้าพนักงานสง่ เสริมสหกรณอ์ าวโุ ส ตำแหน่ง นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ
สหกรณช์ ำนาญงาน
ผอู้ ำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณท์ ่ี 2

นางสาวกนิษฐา ไทยประยูร นางปิยะนชุ ศรีวรพจน์ นางสาวธณัฎฐภร ขอแกว้

ตำแหนง่ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ ตำแหนง่ เจา้ พนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์ ตำแหนง่ นกั วชิ าการสหกรณ์

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 7

กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 3

นายสัญญา กจิ สจั จิ
ตำแหนง่ นกั วชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ

ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสรมิ สหกรณท์ ่ี 3

นายวรวชิ ญ์ ตรีทศ นางสาวฐปนยี ์ หนูแก้ว
ตำแหน่ง เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณอ์ าวโุ ส ตำแหนง่ : นกั วชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ

นายการนั ดร์ สามงามไฝ นายจิตปะพทั ธ์ สมุ า นางธมลวรรณ สาระกลู
ตำแหนง่ : นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ ตำแหน่ง : เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ ตำแหน่ง นักวิชาการสหรณ์

สหกรณ์ชำนาญงาน

นางสาววรนุช ย่งิ ยวด นายจริ ะศกั ด์ิ สาระกูล นายสำเรงิ สุขสสุ ร
ตำแหนง่ เจา้ พนักงานส่งเสริมสหกรณ์
ตำแหนง่ พนกั งานขบั รถยนต์ ส.2 ตำแหน่ง พนักงานขบั รถยนต์ ส.2

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 8

บทสรุปผบู้ รหิ าร
(Executive Summary)

รายงานผลการดำเนินงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 จัดทำขึ้นเพ่ือแสดงผลการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา โดยข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ ของสำนักงานสหกรณ์
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา มุ่งม่ัน ทมุ่ เท ต้ังใจช่วยกันปฏิบตั ิงานจนทำให้สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรที่รับผิดชอบ
มีความเจริญก้าวหน้า เข้มแข็ง เป็นที่พึ่งของมวลสมาชิก เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ หน่วยงานราชการอื่น สหกรณ์ กลุ่ม
เกษตรกร และองคก์ รอ่ืนได้รับทราบ จึงขอสรุปผลการดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังต่อไปน้ี

ดา้ นบคุ ลากร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีบุคลากรรวมทั้งส้ิน 56 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ

จำนวน 29 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 7 คน พนักงานราชการ จำนวน 14 คน และพนักงานจ้างเหมาบรกิ าร
จำนวน 6 ราย

ดา้ นการบริหารงบประมาณ

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้รับจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2564

จำนวนท้ังส้ิน 18,603,229.55 บาท (สิบแปดล้านหกแสนสามพันสองร้อยยี่สิบเก้าบาทห้าสิบห้าสตางค์)

แยกเป็น

1) งบประมาณรายจ่ายประจำปี จำนวน 8,483,229.55 บาท (ร้อยละ 45.60)แบง่ เป็น

งบบคุ ลากร จำนวน 3,482,924.48 บาท (ร้อยละ 41.06)

งบดำเนินงาน จำนวน 3,005,045.03 บาท (รอ้ ยละ 35.42)

งบลงทุน จำนวน 40,000.00 บาท (ร้อยละ 0.47)

เงินอุดหนนุ จำนวน 1,955,260.04 บาท (ร้อยละ 23.05)

งบรายจา่ ยอน่ื (ถ้ามี) จำนวน 0.00 บาท (รอ้ ยละ 0.00)

2) กองทุนพฒั นาสหกรณ์ จำนวน 0.00 บาท (รอ้ ยละ 0.00)

3) กองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกร จำนวน 10,120,000.00 บาท (ร้อยละ 54.40)

4) งบประมาณจงั หวดั จำนวน 0.00 บาท (ร้อยละ 0.00)

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 9

ดา้ นการแนะนำ/สง่ เสรมิ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีสหกรณ์และเกษตรกรที่อยู่ในการแนะนำ/ส่งเสริม ณ

วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 (ทกุ สถานะ) รวมทง้ั ส้นิ 159 แห่ง โดยแบ่งออกเปน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1) สหกรณ์ (ทุกสถานะ) จำนวน 76 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์ ที่มีสถานะดำเนินการ

จำนวน 69 แห่ง สหกรณ์ที่มีสถานะหยุดดำเนินการ จำนวน 2 แห่ง และสหกรณ์อยู่ระหว่างเลิก/ชำระบัญชี
จำนวน 5 แห่ง มีจำนวนสมาชิกทั้งส้ิน จำนวน 76,107 คน แบ่งเป็น สมาชิกสามัญ จำนวน 37,594 คน
และสมาชิกสมทบ จำนวน 38,500 คน โดยมีสมาชิกที่มีส่วนร่วมดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์จำนวน 33,482
คน มีปริมาณธุรกจิ ของสหกรณร์ วมทั้งส้ิน 23,295,416,963.63 บาท ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ทม่ี ีผล
กำไรสุทธิ จำนวน 38 แห่ง เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 683,688,209.74 บาทและสหกรณ์ที่มีผลขาดทุนสุทธิ
จำนวน 28 แห่ง เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 83,258,582.14 บาท ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์มีสหกรณ์ท่ีผ่าน
เกณฑม์ าตรฐาน จำนวนท้ังสน้ิ 31 แห่ง และไม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานจำนวนทง้ั ส้ิน 38 แหง่

2) กลุ่มเกษตรกร (ทุกสถานะ) จำนวน 83 แห่ง ประกอบด้วย กลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะดำเนินการ
จำนวน 73 แห่ง กลุ่มเกษตรกรท่ีมีสถานะหยุดดำเนินการ จำนวน 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกรอยู่ระหว่างเลิก/
ชำระบัญชี จำนวน 8 แห่ง มีจำนวนสมาชิกทั้งส้ิน จำนวน 3,390 คน โดยมีสมาชิกท่ีมีส่วนร่วมดำเนินธุรกิจ
กับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1,333 คน มีปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรรวมท้ังส้ิน 38,139,679.00 บาท
ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรที่มีผลกำไรสุทธิ จำนวน 64 แห่งเป็นจำนวนเงินท้ังสิ้น 1,520,268.16
บาท และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลขาดทนุ สุทธิ จำนวน 9 แห่ง เป็นจำนวนเงินทั้งส้ิน 853,055.37 บาท ผลการ
จัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรมีกลุ่มเกษตรกรท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวนทั้งส้ิน 64 แห่ง และไม่ผ่านเกณฑ์
มาตรฐาน จำนวนท้ังสน้ิ 9 แหง่

ข้อเสนอแนะ
1) การสง่ เสริมสหกรณ์ควรมีการแนะนำสง่ เสริมใหส้ หกรณ์ประเภทการเกษตรขยายการรบั สมาชกิ เพ่ิม

และเพิ่มปริมาณธรุ กจิ ให้สูงขนึ้ ทำธุรกจิ การเกษตรใหค้ รบวงจร
2) การส่งเสรมิ กลมุ่ เกษตรกรต้องแนะนำให้กล่มุ เกษตรกรเพิ่มการทำธุรกิจให้ครบทุกประเภทเปน็ การ

ทำธุรกจิ แบบครบวงจร สามารถทำให้ปริมาณธุรกจิ เพ่มิ ข้นึ ตอบสนองความตอ้ งการของสมาชิก
3) การส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรเน้นวิเคราะห์สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ถูกต้องตรง

กับสภาพและความตอ้ งการของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร และแนะนำส่งเสริมรวมท้งั ติดตามอย่างต่อเนื่อง
4) ควรแนะนำสง่ เสรมิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรให้บริหารองค์กรมรี ะบบควบคุมภายในท่ีดี
5) ต้องดำเนินการคุ้มครองระบบสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็งและเป็นไปตาม

กฎหมายสหกรณ์ และกฎหมายอื่นท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินการตามวัตถุประสงค์
อย่างแท้จริง



ข้นึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 10

สารบัญ

สารผูบ้ รหิ ารหน่วยงาน 1
ทำเนยี บบคุ ลากรภายในหน่วยงาน 3
บทสรุปผู้บรหิ าร 8
12
สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ภาพรวมของหน่วยงาน 13
1.1 วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และอำนาจหนา้ ที่ของสำนักงานสหกรณ์จงั หวดั
พระนครศรีอยุธยา 16
1.2 แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการท่ีสอดคล้องกับแผนระดับ 2 ของกรมส่งเสริม
23
สหกรณ์ รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจงั หวัดในระดับพ้ืนท่ี 24
1.3 โครงสรา้ งและอตั รากำลังของสำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั พระนครศรีอยุธยา 25
1.4 งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 33
1.5 สรปุ ขอ้ มลู สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกล่มุ อาชีพในสงั กัดสหกรณ์
34
ส่วนท่ี 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้แผนปฏิบัติงาน
และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 34
51
2.1. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตงิ านปละงบประมาณรายจา่ ยประจำปี 59
งบประมาณ พ.ศ.2564 และงบประมาณอน่ื ทห่ี น่วยงานได้รบั 60
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร 63
⚫ แผนงานพ้นื ฐาน 65

แผนงานพนื้ ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 67
➢ งานส่งเสริมและพฒั นาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรใหม้ ีความเข้มแขง็ ตามศักยภาพ
➢ โครงการส่งเสริมพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรสมู่ าตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษรกร 69

➢ การสง่ เสริมการออมและการลดหนี้สนิ ของสมาชิกสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร

➢ โครงการฝึกอบรม หลกั สูตร “ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรข้ันปลาย” ผ่าน
ระบบส่อื สารทางไกล (ระบบ Zoom)

➢ โครงการประชุมซักซอ้ มการตรวจการสหกรณ์

➢ โครงการอบรมเพ่ิมศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์เก่ียวกับกฎหมายว่าด้วยการ
ป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธท่ีมี
อานภุ าพทำลายลา้ งสงู แก่สหกรณผ์ า่ นระบบออนไลนด์ ้วยโปรแกรม Zoom Meeting

➢ โครงการขับเคลื่อนการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรพั ย์และสหกรณ์เครดิตยูเนยี น เพ่ือเข้า
สู่เกณฑ์การกำกับดูแล ตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไข
เพิ่มเติม

➢ โครงการส่งเสริมการดำเนนิ ธุรกิจร้านค้าสหกรณใ์ นรปู แบบซเู ปอรม์ ารเ์ กต็ สหกรณ์

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 11

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านท่ี 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็น

แผนแมบ่ ท 15 พลงั ทางสังคม

⚫ แผนงานยุทธศาสตร์

แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สริมสรา้ งพลงั ทางสงั คม

➢ โครงการคลนิ ิกเกษตรเคลอื่ นทใ่ี นพระราชานุเคราะห์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 71

➢ โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนตามพระราชดำริ สมเด็จพระ 75

กนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

แผนงานยทุ ธศาสตร์เพอ่ื สนับสนุนด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 78
➢ โครงการชว่ ยเหลือดา้ นหน้ีสนิ สมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านท่ี 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็น

แผนแม่บท 16 เศรษฐกจิ ฐานราก

⚫ แผนงานบูรณาการ

แผนงานบรู ณาการพฒั นาและส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานราก

➢ โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชพี ทั้งในและนอกภาคเกษตร (นำ 79

ลกู หลานกลบั บ้านสานตอ่ อาชีพเกษตร) 81
➢ โครงการสง่ เสริมการพฒั นาระบบตลาดภายในสำหรับสนิ คา้ เกษตร

➢ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีพเพือ่ แกไ้ ขปญั หาท่ีดนิ ทำกนิ เกษตรกร (คทช.) 83

➢ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการรวบรวม จัดเก็บ และการแปรรูป 84

ข้าวใหก้ ้าวทันตลาด ผ่านระบบส่ือสารทางไกล (ระบบ Web Conference) 85
➢ โครงการพฒั นาศกั ยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกรและธุรกิจชมุ ชน 87
➢ โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลติ ของโรงสขี า้ วสมู าตรฐานCODEX GHPs &HACCP

2.2. ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

งานกำกับตดิ ตามและงานแก้ปัญหา

➢ โครงการสนับสนุนเงนิ ทุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชกิ สถาบนั เกษตรกร 88
➢ โครงการแกไ้ ขปญั หาหน้คี า้ งชำระของสมาชิกสหกรณ์ 89

2.3. รางวลั ที่หนว่ ยงานได้รับจากหน่วยงนภาคสว่ นตา่ ง ๆ ภายนอก 90

สว่ นท่ี 3 กจิ กรรมประชาสัมพนั ธ์งานสหกรณฯ์ โดดเด่นในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2564 92

3.1 งานบูรณาการรว่ มกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ภายในจงั หวัด 93

3.2 ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกบั จงั หวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 94

3.3 ภาพกจิ กรรมของหน่วยงานร่วมกบั สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 95

ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564) 97

4.1 งบแสดงฐานะการเงิน (เปรยี บเทียบงบประมาณรายจา่ ยปปี ัจจุบนั และปีกอ่ น) 98

4.2 งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงิน 99

4.3หมายเหตุประกอบงบการเงนิ และบทวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางดา้ นงบประมาณของหนว่ ยงาน(เพมิ่ เติม) 100

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 12

สว่ นท่ี 1

ข้อมลู ภาพรวมของหน่วยงาน

ข้ึนหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 13

วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และอำนาจหน้าที่ของสำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

วสิ ยั ทัศน์

เป็นองค์กรเรียนรู้ สู่ระบบสารสนเทศก้าวหน้า พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้พ่ึงพาตนเองได้ ให้การ
สนับสนุนการท่องเทย่ี ว

พนั ธกิจ

พันธกจิ ที่ 1
การพัฒนาองค์การ

เป้าหมาย
1. เพ่อื พัฒนาบุคลากรของสำนกั งานทงั้ ข้าราชการและลกู จ้างให้มีวสิ ยั ทศั น์ ศักยภาพและความพร้อม
เปน็ ไปในทิศทางทสี่ อดคล้องกับการเปน็ องค์กรเรียนรู้
2. เพอ่ื พัฒนาการทำงานเปน็ ทีม รว่ มมือปฏบิ ัติงานสรา้ งความสำเร็จแกส่ ำนักงาน
3.เพ่ือปรบั เปลยี่ นทัศนคตบิ คุ ลากรของสำนักงานให้มีความคดิ สรา้ งสรรค์ พฒั นาและทำงานอยา่ งมคี วามสุข
พันธกจิ ท่ี 2
การพฒั นาระบบสารสนเทศ
เปา้ หมาย
1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศใหเ้ อ้ืออำนวยตอ่ การปฏิบัตงิ านท่รี วดเรว็ และมีประสิทธภิ าพ
2.เพือ่ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพนั ธ์งานของสำนักงานใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งและบุคคลทั่วไปไดร้ ับทราบ
พนั ธกิจท่ี 3
การพัฒนาสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ใหเ้ ข้มแข็ง
เป้าหมาย
1. เพอ่ื พฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมคี วามเขม้ แข็ง มั่นคง
2. เพ่ือพฒั นาสหกรณ์และกลุม่ เกษตรมกี ารบริหารจัดการทด่ี ี
3. เพ่อื พฒั นาสินค้าสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ ีคุณภาพมาตรฐาน และมีตลาดจำหน่ายสินคา้
4. เพ่ือให้สมาชิกสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร และประชาชนทว่ั ไปมคี วามรเู้ ก่ยี วกบั อุดมการณ์ หลักการและ
วธิ ีการสหกรณ์
5. เพอ่ื พิทักษ์ รกั ษาสิทธิ และผลประโยชนข์ องสมาชกิ สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร
6. เพื่อใหส้ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีแผนการดำเนนิ งานทีด่ ี
7. เพื่อใหส้ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีแหลง่ เงนิ ทุนทีใ่ ชใ้ นการดำเนนิ งานได้
พนั ธกจิ ท่ี 4
การปฏบิ ตั ิแนวทางระบบการบริหาร ราชการจังหวดั แบบบรูณาการ เพ่ือการพฒั นา

ขนึ้ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 14

อำนาจหน้าท่ีของหน่วยงาน

มหี นา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ
1. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพ่ือการครองชีพ และ
กฎหมายอื่นทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
2. สง่ เสรมิ และพฒั นางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุม่ เกษตรกร
3. สง่ เสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกีย่ วกับอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากร
สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทวั่ ไป
4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
5. ปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั หรอื สนบั สนุนการปฏิบัติงานหนว่ ยงานอน่ื ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งหรือท่ีได้รับมอบหมาย
6. ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ัย เพอ่ื พัฒนาระบบสหกรณ์
7. ส่งเสรมิ สนับสนุน และคุ้มครองระบบสหกรณ์

1. ฝ่ายบรหิ ารทั่วไป
มีหน้าท่ีและความรับผิดชอบในการจัดทำและรวบรวมแผนงานจัดทำคำขอตั้งงบประมาณติดตาม

เร่งรัดและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามแผนงานและโครงการต่างๆรวมทั้งรวบรวมสถิติข้อมูลด้าน
สหกรณ์ ปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี วัสดุ ครุภัณฑ์ งานด้านการบริหารงานบุคคล งานติดต่อประสานงาน
งานสารบรรณ และงานธุรการท่ัวไป ดำเนินงานด้านเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานด้านส่งเสริมและพัฒนา
สหกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกร

2. กลุ่มจดั ตงั้ และสง่ เสรมิ สหกรณ์
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยข้อมูลต่าง ๆ เพื่อใช้ในการดำเนินการ

จัดตั้งสหกรณ์และเพ่ือการส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มสตรีสหกรณ์และ เยาวชน
สหกรณ์ ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ให้คำปรึกษา แนะนำในการแก้ไขปัญหาด้านการจัดต้ังและส่งเสริมสหกรณ์ให้แก่หน่วยส่งเสริมและพัฒนา
สหกรณ์ ศึกษา วิเคราะห์ วางแนวทางแก้ไขข้อบกพรอ่ ง ติดตามการดำเนินงานของสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร
ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบ คำส่ัง และกฎหมายอื่นทเ่ี กย่ี วข้อง แตง่ ต้ังผ้ตู รวจการ
สหกรณ์เพ่อื ทำหน้าที่ตรวจสอบกิจการและภาวะการเงินของสหกรณ์ รวมท้งั ตดิ ตามและดำเนินการประเมินผล
รายงานผลงานและโครงการในหน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่มศึกษา วิเคราะห์ ประสานโครงการอัน
เน่อื งมาจากพระราชดำริและโครงการอื่น ๆ

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 15

3. กลุ่มสง่ เสริมและพฒั นาธุรกจิ สหกรณ์
มหี น้าท่ีและความรับผิดชอบเก่ียวกับการศึกษาวิเคราะห์วิจัยขอ้ มูลทางด้านการตลาดการดำเนนิ ธุรกิจ

และข้อมูลอื่นๆ เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับการพัฒนาธุรกิจและส่งเสริมการตลาด แก่สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสินค้าการบรรจุภัณฑ์ และรูปแบบการบริการ เพ่ือเพิ่มพูนค่าสินค้า เพ่ือ
ส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงธุรกิจการตลาดสหกรณ์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ให้คำปรึกษา แนะนำ ในการ
แก้ไขปญั หาด้านพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ให้แกห่ น่วยส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ประสานงาน ให้ความชว่ ยเหลือใน
การดูแล รักษา และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต แก่สหกรณ์ ตลอดจนติดตาม และดำเนินการประมวลผล
รายงานผลงานและโครงการในหน้าที่ความรับผดิ ชอบของกลมุ่

4. กล่มุ สง่ เสริมและพัฒนาการบริหารการจดั การสหกรณ์
มีหน้าที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และให้คำแนะนำเกี่ยวกับโครงสร้าง

การจดั ระบบงาน การบรหิ ารงาน บุคคลและการควบคมุ ภายในเพื่อพัฒนาใหส้ หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง
ศึกษา วิเคราะห์ ความต้องการสนับสนุนเงินทุนและสินเช่ือแก่สหกรณ์ ติดตามและประเมินผลการใช้จ่าย
เงนิ ทุนรวมท้ังรายงานผลการเร่งรัดติดตามการชำระหน้ี ตลอดจนใหค้ ำปรึกษา แนะนำ ในการแกไ้ ขปัญหาด้าน
การบริหารการจัดการสหกรณ์ให้แก่หน่วยส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ติดตามและดำเนินการประเมินผล
รายงานผลงานและโครงการในหน้าที่ความรับผิดชอบ ของกลุ่ม ตลอดจนประสานงานกับส่วนที่เก่ียวข้องใน
การกำหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ำประกันประจำปีของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร เพ่ือให้การปฏิบัติเป็นไป
ตามข้อกำหนดหลกั เกณฑ์มาตรฐานท่ีกรมกำหนดไว้

5. กลุ่มส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ์
มีหน้าท่ีความรับผิดชอบในการดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอ่ืนที่เกี่ยวข้อง

ส่งเสริมเผยแพร่ และให้ความรู้กับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่ม
เกษตรกรและประชาชนท่ัวไปส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานของสหกรณ์ระบบการบรหิ ารการจัดการ และ
การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตร กรให้เป็น
สหกรณ์ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็งโดยให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง สามารถวางแผน
ไดด้ ้วยตนเอง ดำเนนิ การได้ด้วยตนเอง และแกไ้ ขปัญหาได้ดว้ ยตนเอง

ขนึ้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 16

แนวทางการขบั เคลอ่ื นงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดบั 2 ของกรมสง่ เสริมสหกรณ์
รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจงหวดั ในระดบั พ้ืนที่

1. นโยบายของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์
กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้กำหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า การสหกรณ์ม่ันคง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

เข้มแข็งเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนย่ังยืน โดยมีเป้าประสงค์ เพ่ือให้ระบบสหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและ
พัฒนาให้เป็นกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือเพิ่มขีดความสามรถของชุมชน และมีตัวชี้วัดตาม
เป้าประสงค์ คอื รายได้เพ่ิมข้ึน จำนวนเงินออมของสมาชิกเพ่ิมขึ้น อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้ของสมาชิกเพ่ิมข้ึน
และได้กำหนดพันธกิจไว้ 4 ดา้ น ได้แก่

1) กำกบั ดูแลสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรให้อยู่ในกรอบของกฎหมายและทนั ต่อเหตุการณ์
2) เสริมสรา้ งการเรยี นร้แู ละทกั ษะด้านการพฒั นาสหกรณ์ให้แก่บคุ ลากรและประชาชนทวั่ ไป
3) ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
และเขม้ แขง็
4) สนบั สนนุ ดา้ นเงินทุน สารสนเทศ เทคโนโยลี และนวัตกรรม ให้แกส่ หกรณ์และกล่มุ เกษตรกร
และได้กำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินการ โดยการเสริมสร้างให้สหกรณ์เป็นกลไกในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจและคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน พฒั นาและสร้างศักยภาพของสถาบันเกษตรกร เพ่อื เพ่ิมประสิทธิภาพ
การผลิตและการตลาดตลอดห่วงโซ่อทุ าน (Supply Chain) พัฒนาการบริหารจดั การและธรรมาภิบาลในระบบ
สหกรณ์ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารจัดการ พร้อมท้ังพัฒนา
ระบบบริหารจัดการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประกอบกับ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้กำหนดเป้าประสงค์ใน
การพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในด้านเศรษฐกิจ คือ มีความต้องการให้ประชาชนมีความมั่งคงในการ
ดำรงชีวิต ไดร้ ับการศกึ ษา ความรู้ การฝกึ อบรม มเี ศรษฐกิจเจริญเตบิ โตอยา่ งมีเสถยี รภาพและม่ันคง ประชาชน
มีงานทำและมกี ารประกอบอาชพี สัมมาอาชีพทีด่ ี ซงึ่ สอดคล้องกบั กรมสง่ เสริมสหกรณท์ ี่ต้องการให้สหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกรเขม้ แขง็ เศรษฐกจิ และสังคมของชุมชนยั่งยืน

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 17

2. นโยบายของจงั พระนครศรอี ยธุ ยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้วางทิศทางการในพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไว้ว่า

“เปนแหลงทองเท่ียวและเรียนรูเมืองมรดกโลก บริหารจัดการเมืองใหนาอยู สงเสรมิ การเกษตรแบบครบวงจร
ภาคการผลติ การคา และบริการท่ีใชนวัตกรรมสรางสรรคและมีอุตสาหกรรมท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม” โดยมี
การวางแนวทางการพัฒนา ดงั ต่อไปน้ี

1) เพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของฐานอุตสาหกรรมเดิมและสงเสริมการพัฒนา
อุตสาหกรรมแหงอนาคตใหเปนฐานรายไดใหม เพื่อยกระดับฐานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของภาคกลาง
ใหเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมสีเขียวช้ันนําในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ยกระดบั การพัฒนากลุมอุตสาหกรรมใน
พน้ื ท่ีจังหวัดปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา และปราจนี บุรี ใหเปนกลุมอุตสาหกรรมสําหรับกิจการที่ใชเทคโนโลยี
ข้ันสูงและอุตสาหกรรมแหงอนาคต อาทิ กลุมอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน กลุมอุตสาหกรรมเคร่ืองใช
ไฟฟาอิเล็กทรอนิกสและอุปกรณโทรคมนาคม และกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ที่เปนมิตรตอสิ่ง
แวดลอม โดยปรับปรุงมาตรการสนับสนุนในดานตาง ๆ ไดแก การใหสิทธิประโยชนการพัฒนาคนและ
เทคโนโลยี การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การแกไข กฎระเบียบท่ีเปนอุปสรรค และการสนับสนุนเงินทุน เพื่อ
ผลกั ดนั ใหเกิดการลงทนุ ในพ้ืนทเ่ี ปาหมาย

2) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตอาหารสนิ คาเกษตรใหมีความทนั สมัยและเปนสากลเพื่อ
เสริมสรางความเขมแข็งใหภาคกลางเปนฐานการผลิตอาหารและสินคาการเกษตรที่มีคุณภาพปลอดภัยและได
มาตรฐานโลก สนับสนุนการเปนศูนยกลางการผลิตอาหารของประเทศ รักษาและพัฒนาประสิทธิภาพในการ
ผลิตอาหารของพ้ืนที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงเปนแหลงผลิตขาว ใหสามารถเปนแหลงสงออกอาหารราย
ใหญของโลก โดยเนนการผลิตและการแปรรูปที่สรางมูลคาเพิ่มท่ีสอดคลองกับความตองการของผูบริโภคใน
ตลาดเฉพาะและตลาดระดับบน

3) ปรับปรุงมาตรฐานสินคาและธุรกิจบรกิ ารดานการทองเทยี่ วใหมีคุณภาพและมีภาพลักษณทไ่ี ด
มาตรฐานสากล เพ่ือเพิ่มศักยภาพของภาคกลางใหเปนศูนยรวมของการทองเท่ียวของเอเชีย ท่ีมชี ่ือเสียงและเป
นที่รูจักในระดับนานาชาติ สนับสนุนและสงเสริมการทองเที่ยวในจังหวัดพระศรอี ยุธยา ใหเปนศูนยกลางการท
องเท่ียวดานประวัติศาสตร วัฒนธรรม และเกษตร โดยปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเที่ยวและกิจกรรมการท
องเทย่ี ว ใหมีคณุ คาและมีมูลคาเพม่ิ มีความหลากหลาย และเชอื่ มโยงการทองเทยี่ วในกลุมจงั หวดั อยางย่งั ยืน

4) พัฒ นาเมืองศูนย กลางของจังหวัดให เปนเมืองนาอยูสําหรับคนทุกกลุมในสังคม
โดยมีความปลอดภัย ส่ิงแวดลอมดี เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการมีคุณภาพ
และทั่วถึง และเนนความสอดคลองกับอัตลักษณ ความหลากหลาย และศักยภาพของเมืองบนพื้นฐานการมีส
วนรวมของทุกภาคสวนในสังคม

โดยเนนการพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใหเปนเมืองศูนยกลางความเจริญของภาคกลาง
ตอนบน โดยเฉพาะการเปนศูนยกลางการทองเที่ยวดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรม โดยการฟนฟู บูรณะ
โบราณสถาน และการเตรียมความพรอมของเมืองใหสามารถรองรับภัยพิบัติ โดยเฉพาะอุทกภัยได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 18

3. นโยบายของสำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ปัญหา และ

อุปสรรคในการดำเนินงานในพ้ืนท่ีของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นท่ี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่ประสบปัญหาหนี้ค้างชำระ สมาชิกส่วนใหญ่ไม่สามารถชำระหนี้สินที่มีต่อ
สหกรณ์ได้ ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นสหกรณืภาคการเกษตร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรยังดำเนินธุรกิจไม่ครบวงจร
ไม่สามารถตอบสนองความต้องการและบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกได้อย่างแท้จริง สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทุกแห่ง ดำเนินธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจจัดหาสินคา้ มาจำหน่าย และธุรกิจเงิน
รับฝากเป็นหลัก ซึ่งไม่ครอบคลุมประเภทธุรกิจท่ีสหกรณ์ภาคเกษตรพึงกระทำ จึงไม่สามารถแข่งขันกับธุรกิจ
ภาคเอกชนได้ ประกอบกับศักยภาพของคณะกรรมการดำเนินการ และฝ่ายจัดการ รวมทั้งสมาชิก กำลังก้าว
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อีกท้ังสภาพสังคมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาท่ีเป็นจังหวัดท่ีมีพื้นท่ีใกล้เมืองใหญ่และ
พื้นท่อี ุตสาหกรรม คนรุน่ ใหมส่ ่วนใหญไ่ ม่สนใจทีจ่ ะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ลูกหลานเกษตรกรไม่มกี ารสาน
ตอ่ อาชีพเกษตรกร จึงทำให้ขาดแคลนบุคลากรท่ีจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ซ่ึง
นายธนรัฐ โคจรานนท์ สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ได้มีแนวทางในการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรใน
พื้นที่ โดยเร่งดำเนินการแก้ไขปัญหาของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยเน้นการเพ่ิมศักยภาพให้กับ
คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจัดการ ให้ทราบถึงบทบาทหน้าท่ี สร้างความตระห นักในการเป็น
คณะกรรมการดำเนินการจะต้องมีหน้าที่ และส่ิงที่พึงกระทำอะไรบ้าง ในด้านการบริหารจัดการเน้นไปที่ฝ่าย
จัดการให้มีความตระหนักในหน้าท่ีของตน มีความกระตือรือร้น และมีความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่
ความรับผิดชอบและขอบเขตการทำงานของตน เพ่ือให้ฝ่ายจัดการและฝ่าบริหาร ทำงานสอดประสานร่วมกัน
ซ่ึงจะส่งผลให้สหกรณืและกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งมากข้ึน โดยจะต้องคำนึงสภาพปัญหาและความ
ต้องการของสมาชิกเป็นหลัก ในด้นการดำเนินธุรกิจนั้น เน้นการส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนิน
ธุรกจิ ให้ครบวงจร เน้นในด้านการทำธุรกิจรวบรวม และแปรรปู ซึ่งเป็นธุรกิจหลักทจ่ี ะตอบสนองความตอ้ งการ
ของสมาชิกได้ ท่ีสำคัญสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรควรเป็นองคก์ รที่ดูแลสมาชิกได้ทั้งระบบ การแกไ้ ขปัญหาหน้ี
ค้างชำระของสมาชิก จะต้องเป็นการแก้ไขปัญหาท่ีต้นเหตุ เน้นการส่งเสริมอาชีพเพ่ิมรายได้ให้แก่สมาชิก โดย
ใช้ระบบสหกรณ์ในด้านการตลาด การรวบรวมสินค้า และการจำหน่าย ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาทค่ี รอบคลมุ ห่วง
โซ่อุปทาน ต้ังแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ คือ ส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้แก่สมาชิก สมาชิกผลิตสินค้า
สหกรณ์รวบรวม สหกรณ์จำหน่าย จึงจะสามารถแก้ไขปัญหาให้แก่สมาชิกได้ โดยเน้นการใช้ หลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หา ร่วมกบั หน่วยงานภาคที ่ีมีสว่ นเกยี่ วขอ้ งในการแก้ไขปัญหา ซึ่งคาดว่า
จะสามารถดำเนินการแกไ้ ขปัญหาได้อย่างเปน็ รปู ธรรม

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 19

แผนงาน/โครงการ/แนวทางการพัฒนา คา่ เป้าหมาย และตวั ชวี้ ดั ในระดบั ผลสมั ฤทธิ์

 แผนปฏิบตั งิ าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ
ผลผลติ รายการคา่ ใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ
กิจกรรมหลัก : คา่ ใช้จ่ายบุคลากรภาครฐั กรมส่งเสริมสหกรณ์
กจิ กรรมรอง : คา่ ใช้จา่ ยบคุ ลากรภาครัฐกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ (สรา้ งความเข้มแขง็ ของสหกรณแ์ ละกลุ่ม

เกษตรกร)
วตั ถุประสงค์ : เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานแนะนำ ส่งเสริม พัฒนาและกำกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

ใหเ้ ข้มแข็ง รวมทั้งขบั เคลือ่ นงานตามภารกิจกรมฯ ให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั

ผลผลติ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบั การส่งเสริมพัฒนาใหม้ ีความเขม้ แข็งตามศกั ยภาพ
กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
กิจกรรมรอง : ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแข็งตามศกั ยภาพ
- ดา้ นการบริหารงาน
- ดา้ นการสง่ เสริมและพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
- สร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพ่ือเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและ

การตลาดและการตดิ ตามหนค้ี า้ งชำระเงนิ อ่ืนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
- ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์

วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ความรู้ด้านการสหกรณ์แก่นักเรียน/เกษตรกร/ประชาชน ให้สามารถนำ
รปู แบบของการสหกรณ์ไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั และสามารถรวมกล่มุ จัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

2. เพ่ือส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีมาตรฐานเป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง
เปน็ ท่ยี อมรับของสมาชิกและสังคมได้อย่างยัง่ ยืน

3. เพื่อส่งเสรมิ สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกรในการพฒั นาและเพิม่ ขีดความสามารถดำเนิน
ธุรกิจ พฒั นาสินคา้ /ผลิตภัณฑใ์ ห้ไดม้ าตรฐาน เพ่ิมมูลค่าและเพ่ิมช่องทางการจำหน่าย

4. เพื่อกำกับ และส่งเสริมการบริหารงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีธรรมาภิ
บาลโปร่งใสและตรวจสอบได้

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 20

3. แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือสนับสนนุ ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
โครงการ ช่วยเหลือด้านหนส้ี ินสมาชกิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
กิจกรรมหลัก : ช่วยเหลอื ด้านหนสี้ นิ สมาชกิ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
กิจกรรมรอง : ลดดอกเบี้ยเงนิ กใู้ ห้เกษตรกรสมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อลดดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/

กลมุ่ เกษตรกร
2. เพ่ือให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงิน

ส่วนท่ีได้รับการชว่ ยเหลือไปฟนื้ ฟปู ระกอบอาชพี
ค่าเป้าหมาย : 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระ

ดอกเบีย้ 1,470 ราย
2. ต้นทุนการผลิตของสมาชกิ ลดลง ร้อยละ 3

ตัวช้ีวัดในระดับผลสัมฤทธิ์ : สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแก้ไขปัญหาหน้ีสินตาม
นโยบายรฐั บาล

4. แผนงานยทุ ธศาสตร์เสริมสรา้ งพลังทางสงั คม
โครงการ ส่งเสรมิ การดำเนนิ งานอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรร/์ กลุ่มเกษตรกรในพนื้ ที่โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมรอง : ส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณอ์ ันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ
กิจกรรม 4 : ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดำริสมเด็จพระ

กนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
กิจกรรม 7 : คลินกิ เกษตรเคล่อื นที่ฯ
กจิ กรรม 8 : ขับเคลื่อนปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎี

ใหมใ่ นสหกรรแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
วัตถุประสงค์ : เพ่ือดำเนินการช่วยเหลือเกษตรกรในถิ่นทุรกันดารในพ้ืนท่ีโครงการอันเนื่องมาจาก

พระราชดำริให้สมาชิกช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามวิธีการสหกรณ์ในการยกระดับ
มาตรฐานความเก้นอยู่ที่ดีขึ้น เพ่ือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการครอง
ชีพมุ่งเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างยังยืน รวมทั้งในด้านการป้องกันและลดความ
เสียหายจากภัยธรรมชาตติ ่าง ๆ

ค่าเป้าหมาย : 1. โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้านในพ้ืนท่ีโครงการส่งเริมการดำเนินงานอัน
เนื่องมาจากพราชดำริได้รบั การสง่ เสรมิ และพัฒนาความรูด้ ้านการสหกรณ์ 1 แห่ง

2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจาก
พระราชดำรมิ ีปริมาณธรุ กิจเพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 3

ตัวชว้ี ัดในระดบั ผลสัมฤทธ์ิ : 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งในการดำเนนิ ธรุ กิจ พัฒนา
อาชีพ และคุณภาพชวี ิตของสมาชิกไดอ้ ยา่ งยังยืน

2. เด็ก เยาวชน และชุมชนในพื้นท่ีโรงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดารตาม
พระราชดำริฯ สามารถนำความรู้เร่อื งของการสหกรณ์ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้

ขึน้ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 21

5. แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก
โครงการ ส่งเสริมและสรา้ งทกั ษะในการประกอบอาชีพท้งั ในและนอกภาคเกษตร
กจิ กรรมหลัก : นำลกู หลานเกษตรกรกลบั บ้าน สานตอ่ อาชีพการเกษตร
กิจกรรมรอง : นำลกู หลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชพี การเกษตร
วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อสนับสนุนให้ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์ หรือบุคคลทั่วไปกลับมาทำอาชีพ

เกษตรกรรมในบ้านเกิดของตนเองและมคี วามมนั่ คงในการประกอบอาชีพการเกษตร
2. เพ่ือให้สหกรณ์การเกษตรเป็นศูนย์กลางในการสร้างอาชีพการเกษตรท่ีมั่นคงและมี

การบริหารจัดการครบวงจร ตั้งแต่การผลิตจนถึงการจัดหาช่องทางการจำหน่ายรวมท้ังสามารถยกระดับ
สหกรณใ์ ห้เปน็ ที่พ่งึ ของสมชิกอย่างแท้จรงิ

คา่ เป้าหมาย : 1. ผเู้ ข้าร่วมโครงการไดร้ บั การพัฒนาดา้ นการประกอบอาชีพการเกษตร 5 ราย
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มข้นึ ร้อยละ 3

ตัวชี้วัดในระดับผลสัมฤทธิ์ : 1. ลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการมีอาชีพ
การเกษตรทม่ี น่ั คงและมรี ายได้จากการประกอบอาชพี การเกษตรท่ีสามารถดำรงชีพได้อย่างย่ังยืนภายใน 3 ปี

2. สหกรณ์การเกษตรเป็นศูนย์กลางในการนำลูกหลานสมาชิกและบุคคลท่ัวไปเข้ามา
ประกอบอาชพี การเกษตรทีบ่ ้านเกดิ ของตนเอง และเปน็ ที่พึง่ ของสมาชกิ อยา่ งแทจ้ ริง

โครงการ พัฒนาศักยภาพการดเนินธรุ กิจของสหกรณ์ กล่มุ เกษตรกร และธรุ กจิ ชุมชน
กิจกรรมหลัก : เพิ่มศักยภาพการดำเนินธุรกิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตรใน

สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
กจิ กรรมรอง : เพ่มิ ศกั ยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ รวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตรในสหกรณ์

และกลุ่มเกษตรกร
กิจกรรมหลัก : เพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกจิ ของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรให้เป็นองค์กรหลักใน

การพฒั นาเศรษฐกจิ ระดบั อำเภอ
กิจกรรมรอง : เพ่ิมขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรให้เป็นองค์กรหลักใน

การพัฒนาเศรษฐกิจระดับอำเภอ
วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพอื่ พฒั นาศักยภาพและเพมิ่ ขีดความสามารถในการดำเนินกจการและธรุ กจิ ของ

สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรใหเ้ ปน็ องค์กรหลกั ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ระดับอำเภอ
2. เพื่อผลักดนั ให้สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม จัดเกบ็ และ

แปรรปู ผลผลิตสินคา้ เกษตรของสมาชิกสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร รวมถงึ การตลาดไดต้ ลอดห่วงโซ่อปุ ทาน
คา่ เปา้ หมาย : 1. สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพดำเนนิ ธุรกจิ ไม่น้อยกวา่ 8 แห่ง
2. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรมีรายได้จากการดำเนินธุรกิจรวบรวม แปรรูป จำหนา่ ย

ผลผลิตสนิ ค้าเกษตร และใหบ้ ริการทางด้านสินคา้ เกษตรเพ่ิมข้ึนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3
ตวั ชีว้ ัดในระดับผลสัมฤทธ์ิ : 1. สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกรไดร้ บั การพัฒนาศักยภาพการดำเนิน

กจิ การและธรุ กิจใหเ้ ป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจชุมชนในระดับอำเภอ
2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีรายได้จากการดำเนนิ ธุรกิจรวบรวม แปรรูป จำหนา่ ย

ผลผลติ สินค้าเกษตรและให้บรกิ ารทางด้านสนิ คา้ เกษตรได้เพิ่มขนึ้
3. สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรมขี ีดความสามารถในการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ และ

สร้างสรรค์/ขับเคล่ือนกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ชุมชนได้ตลอดห่วงโซอ่ ปุ ทาน

ขึน้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 22

โครงการ สง่ เสรมิ การพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินคา้ เกษตร
กิจกรรมหลัก : พัฒนากลไกการตลาด เพ่ือเพ่ิมช่องทางการจำหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่ม

เกษตรกร
กิจกรรมรอง : พัฒนากลไกการตลาด เพ่ือเพ่ิมช่องทางการจำหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่ม

เกษตรกร รองรับนโยบายกระทรวงระบบตลาดนำการผลติ
วตั ถุประสงค์ : 1. เพอื่ พฒั นาประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การตลาดสนิ ค้าเกษตร
2. เพอื่ เชอื่ มโยงเครือข่ายสินค้าคลัสเตอร์ของสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร
คา่ เป้าหมาย : 1. สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรได้รับการสง่ เสรมิ และพฒั นาการบริหารจดั การด้าน

การตลาด การเชือ่ มโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์
2. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรทเี่ ขา้ ร่วมโครงการมรี ายได้ (ปริมาณธุรกจิ ) เพิม่ ขน้ึ ไมน่ ้อย

กวา่ ร้อยละ 3
3. มูลคา่ สนิ ค้าเกษตรท่ซี ื้อขายผา่ นชอ่ งทางการตลาด (ล้านบาท)
4. ร้อยละ 70 ของเกษตรกรที่เขา้ ร่วมโครงการมรี ายได้เพิ่มข้นึ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 3

ตวั ชี้วัดในระดับผลสัมฤทธิ์ : 1. สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกรมรี ายไดเ้ พิ่มข้ึนจากการมีช่องทางการ
จำหนา่ ยสินค้าเกษตร

2. สมาชิกสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรมรี ายไดเ้ พ่ิมขึ้น

ขนึ้ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 23

โครงสร้างและอตั รากำลังของสำนกั งานสหกรณ์จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

24% 10%
12%
22%
54%

่วย : ค

ประเภทอัตรากำลัง ชาย หญิง รวม

ข้าราชการ 14 17 31

พนกั งานราชการ 3 11 14

ลกู จ้างประจำ 6 17

พนักงานจา้ งเหมา 5 1 6

รวม 28 30 58

*** ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564

ขึน้ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 24

งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

 งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564

แผนภูมแิ สดงงบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62- ๒๕๖4
จำแนกตามประเภทงบรายจ่าย

ล้านบาท

5.00
4.00
3.00
2.00
1.00
0.00



ย่ย

ปี 2562 ปี 25623 ปี 2564

ประเภทงบรายจ่าย ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : ล้านบาท
รวมทั้งสิ้น 9,524,331.58 10,373,331.42 ปี 2564
งบบุคลากร 3,153,300.00 8,483,229.55
งบดำเนนิ งาน 4,467,404.58 3,314,500.00 3,482,924.48
งบลงทุน 1,043,000.00 3,174,560.00 3,005,045.03
เงินอุดหนุน 2,613,500.00
งบรายจ่ายอน่ื (ถ้าม)ี 860,627.00 1,270,771.42 40,000.00
- 1,955,260.04
-
-

ข้ึนหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 25

สรุปข้อมลู สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

 ข้อมูลสถิตขิ องสหกรณ์ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

จำนวนสหกรณ์และจำนวนสมาชิกสหกรณ์

ประเภทสหกรณ์ จำนวน จำนวนสมาชกิ สมาชกิ จำนวนสมาชกิ ท่ีมี ร้อยละ
สหกรณ์ สมทบ ส่วนรว่ มในการดำเนนิ
1. สหกรณ์การเกษตร (แหง่ ) รวมสมาชิก สมาชกิ (คน) 23.84
2. สหกรณ์ประมง ทง้ั หมด สามัญ 1,823 ธุรกิจ -
3. สหกรณ์นิคม 28 (คน) (คน) (คน)
4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ - 50,084 48,261 - 67.43
5. สหกรณร์ ้านคา้ 1 -- 11,942 76.58
6. สหกรณบ์ รกิ าร 16 350 346 4 - 14.63
7. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นี่ยน 1 23,344 23,005 66.68
21 41 41 339 236 88.62
4 2,398 2,398 - 17,877 42.78
2,056 2,056 -
6
- 1,599
1,822
รวม 71 78,273 76,107 2,166
33,482

ท่มี า : (กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 1,2,3 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา)

สถานะสหกรณ์

จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) จำนวนสหกรณ์
ท้ังหมด
ประเภทสหกรณ์ ดำเนินงาน/ หยุดดำเนินงาน/ เลกิ จดั ตั้งใหม่
ธุรกิจ ธุรกิจ /ชำระบญั ชี (1) + (2) +
1. สหกรณก์ ารเกษตร (1) (2) (4) (3) + (4)
2. สหกรณป์ ระมง (3) -
3. สหกรณ์นคิ ม 28 - - 29
4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ - - 1 - -
5. สหกรณร์ า้ นคา้ 1 - - - 2
6. สหกรณบ์ รกิ าร 16 - 1 - 17
7. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นี่ยน 1 - 1 - 1
20 1 - - 22
3 1 1 5
1 -
76
รวม 69 2 5
ท่มี า : (กลุม่ จดั ตง้ั และสง่ เสริมสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา)

ข้ึนหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 26

ปริมาณธุรกิจของสหกรณใ์ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ปริมาณ ปริมาณธรุ กิจ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ล้านบาท)
ธุรกจิ
ประเภทสหกรณ์ ของ รับฝากเงนิ ใหเ้ งนิ กู้ จัดหา รวบรวม แปรรปู บรกิ าร รวมทัง้ ส้นิ
สหกรณ์ สนิ ค้ามา ผลผลิต ผลผลิต และอ่นื
(แหง่ ) จำหนา่ ย 1,237.08
ๆ -
8.64
1. สหกรณก์ ารเกษตร 28 488.41 340.32 335.32 59.36 8.67 -
21,182.05
2. สหกรณป์ ระมง - - - - --- 63.54
80.33
3. สหกรณ์นิคม 1 0.06 8.58 - ---
194.53
4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 16 5,550.59 15,631.46 - ---

5. สหกรณร์ า้ นคา้ 1 - - 63.54 - - -
6. สหกรณบ์ รกิ าร 21
1.03 79.30 - ---

7. สหกรณ์เครดิต 4 0.15 194.38 - ---
ยูเนยี น

รวมทัง้ สิ้น 71 6,040.24 16,254.04 398.86 59.36 8.67 - 22,766.17

ทม่ี า : (กลุ่มสง่ เสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ์ สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั พระนครศรีอยุธยา)

ผลการดำเนนิ งานของสหกรณ์ กำไร
(ขาดทุน)
ผลการดำเนนิ งานปลี า่ สุดทมี่ ีการปิดบญั ชใี นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สทุ ธิ
ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนินงานมผี ลกำไร - ขาดทุน ในภาพรวม
(ลา้ นบาท)
ประเภทสหกรณ์ (1) (2) (3) สหกรณ์ทม่ี ีผลกำไร สหกรณ์ที่ขาดทนุ (5) – (7)
จำนวน รายได้ ค่าใชจ้ ่าย
1. สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (4) (5) (6) (7) -71.16
2. สหกรณ์ประมง (แห่ง) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน -
3. สหกรณน์ คิ ม 1,068.92 1,130.39 สหกรณ์ (ล้าน สหกรณ์ (ล้าน 0.12
4. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 28 - - (แหง่ ) บาท) (แหง่ ) บาท) 662.09
5. สหกรณร์ ้านคา้ - 1.27 1.15 -0.41
6. สหกรณบ์ ริการ 1 63.54 63.95 7 5.70 21 76.86 -2.69
7. สหกรณ์เครดติ ยเู นี่ยน 16 3.28 3.33 -- -- 12.78
1 1 0.12 --
16 919.36 270.06 16 662.09 -- 600.73
3 20.23 5.13 -- 1 0.41
11 0.60 5 3.29
2 13.67 1 0.89

รวมทั้งส้ิน 65 2,076.60 1,474.01 37 682.18 28 81.45

ทม่ี า : (กลุม่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 1,2,3 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั พระนครศรอี ยุธยา)

ข้นึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 27

 ผลการจดั ระดบั ช้นั สหกรณ์จำแนกตามประเภท ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564

ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม
ช้ัน 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ช้ัน 4 31

สหกรณ์ภาคการเกษตร 3 26 - 2

1. สหกรณก์ ารเกษตร 3 25 - 1 29
2. สหกรณ์นิคม - 1- 12

3. สหกรณป์ ระมง - ----

สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 11 26 4 3 44

4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 7 - 1 16

5. สหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน 1 211 5

6. สหกรณบ์ รกิ าร 2 16 3 1 22
7. สหกรณร์ า้ นคา้ -1- -1

รวม 14 52 4 5 75

ทีม่ า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ช้ันสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน

 ผลการจดั ระดบั ช้ันสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2562 – 2564)

ระดับช้ัน ระดับชนั้ ระดับช้นั

ระดับชน้ั ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม ณ วันที่ 30 กันยายน ณ วนั ที่ 30 กันยายน
2562 (แห่ง/รอ้ ยละ) 2563 (แหง่ /รอ้ ยละ) 2564 (แห่ง/ร้อยละ)

ชัน้ 1 13/17.11 15/20.00 14/18.68

ชนั้ 2 53/69.74 51/68.00 52/69.33

ชนั้ 3 4/5.26 4/5.33 4/5.33

ชั้น 4 6/7.89 5/6.67 5.67

รวม 76/100 75/100 75/100

ทมี่ า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ช้ันสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ชัน้
ช้ัน
ชั้น
ชน้ั

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 28

 ข้อมลู สถิติของกลมุ่ เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

จำนวนกลุ่มเกษตรกรและจำนวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร

จำนวน จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ทมี่ ี
กลุม่ ส่วนร่วมในการ
ประเภทกลมุ่ เกษตรกร เกษตรกร รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ ดำเนนิ ธุรกจิ ร้อยละ
(แหง่ ) ทัง้ หมด สามัญ สมทบ
1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา (คน) (คน) (คน) (คน) 39.12
2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 72 30.21
2 3,321 - - 1,264 63.49
29
96 - - 40 -
-
3. กลุ่มเกษตรกรเลย้ี งสตั ว์ 1 63 - - - -
- 39.32
4. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ - - -- -

5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - -- 1,333

6. กลุ่มเกษตรกรอืน่ ๆ (ระบุ) - - - -

รวม 75 3,390 - -

ทีม่ า : (กลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 1,2,3 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา)

สถานะกล่มุ เกษตรกร

จำนวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จำนวนกล่มุ
เกษตรกรท้งั หมด
ประเภทกลุม่ เกษตรกร ดำเนนิ งาน/ หยดุ เลกิ จัดตัง้ ใหม่
ธรุ กจิ ดำเนนิ งาน/ /ชำระบัญชี (1) + (2) +
1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา (4) (3) + (4)
2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน (1) ธุรกจิ (3) 5
3. กลุ่มเกษตรกรเลยี้ งสตั ว์ 70 (2) - 3 77
4. กล่มุ เกษตรกรทำไร่ 2 - - 5
5. กลมุ่ เกษตรกรทำประมง 1 2 - - 1
6. กลมุ่ เกษตรกรอ่ืน ๆ (ระบุ) - - - - -
- - - - -
- - - -
- -

- 83

รวม 73 2 8

ที่มา : (กล่มุ จดั ต้งั และส่งเสรมิ สหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา)

ขนึ้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 29

ปรมิ าณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ปริมาณ ปรมิ าณธุรกจิ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ล้านบาท)
ธุรกิจ
ประเภทกลมุ่ เกษตรกร ของกล่มุ รบั ฝากเงนิ ใหเ้ งนิ กู้ จดั หา รวบรวม แปรรปู บริการ รวมทั้งสิ้น
เกษตรกร สินคา้ มา ผลผลิต ผลผลติ และอน่ื ๆ
(แห่ง) จำหนา่ ย 37.87
0.28
1. กลุม่ เกษตรกรทำนา 62 - 35.53 2.34 - - - 0.02
2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 2 - 0.28 - - - -
3. กลุม่ เกษตรกรเลี้ยงสตั ว์ 1 - - - - - 0.02 -
4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่
5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - - - -- - -
6. กลุ่มเกษตรกรอ่ืน ๆ (ระบุ) -
- - - - -- - 38.17
- - - - -- -

รวมทั้งสน้ิ 65 - 35.81 2.34 - - 0.02

ที่มา : (กลุ่มส่งเสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ สหกรณ์ สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา)

ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร กำไร
(ขาดทุน)
ผลการดำเนนิ งานปลี า่ สดุ ทมี่ กี ารปดิ บญั ชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สุทธิ
ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนนิ งานมีผลกำไร - ขาดทุน ในภาพรวม
(1) (2) (3) (ลา้ นบาท)
จำนวน รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย กลุม่ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร (5) – (7)
กลมุ่ (ลา้ น (ลา้ น
ประเภท เกษตรกร บาท) บาท) ทม่ี ผี ลกำไร ที่ขาดทนุ 1.42
กลมุ่ เกษตรกร (แห่ง) 0.01
(4) (5) (6) (7) 0.02
1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา 69 3.77 3.13 -
จำนวน กำไร จำนวนกลุม่ ขาดทนุ -
-
กลุ่ม (ลา้ น เกษตรกร (ล้านบาท) 1.45

เกษตรกร บาท) (แหง่ )

(แห่ง)

61 1.50 8 0.08

2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 2 0.01 0.00 2 0.01 - -

3. กลุม่ เกษตรกรเล้ยี งสัตว์ 1 0.01 0.00 1 0.02 - -
-
4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ ----- - -

5. กลมุ่ เกษตรกรทำประมง - - - - - -

6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) - - - - - - -

รวมทั้งสน้ิ 72 3.79 3.13 64 1.53 8 0.08

ทีม่ า : กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 1,2,3 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั พระนครศรีอยุธยา

ข้นึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 30

ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรจำแนกตามประเภท ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564

ประเภทกล่มุ เกษตรกร กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ รวม
เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร
ชั้น 1 ชนั้ 2 ช้นั 3 ชน้ั 4

1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา - 66 6 5 77
2. กล่มุ เกษตรกรทำสวน - 2-35

3. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสัตว์ - -1-1

4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - ----

5. กลมุ่ เกษตรกรทำประมง - - - - -

6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบ)ุ - - - - -

รวม - 68 7 8 83

ทีม่ า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชัน้ กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตร
และกลมุ่ เกษตรกร

กราฟแสดงผลการจัดระดับช้ันกลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564

ชน้ั 4
ช้นั 3
ชน้ั 2
ชน้ั 1

ข้ึนหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 31

 ขอ้ มูลกลุ่มอาชีพสงั กดั สหกรณ์ในการสง่ เสรมิ ของสำนกั งานจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

ที่ต้ัง อำเภอ ผลิตภัณฑ์ จำนวน
ท่ี ชอ่ื กลมุ่ เลขท่ี หมู่ท่ี ตำบล สมาชกิ
ท่าเรอื นำ้ พรกิ ต่าง ๆ, ไขเ่ คม็ (คน)
สังกัด สหกรณ์การเกษตรท่าเรือ จำกดั ท่าเรอื ไข่เค็ม, ขนมหวาน, น้ำพรกิ
ท่าเรอื 21
1 กลุ่มอาชพี สหกรณบ์ ัวงามสมั พันธ์ 1 64/3 6 จำปา ทา่ เรอื เยบ็ ผ้า 18
ทา่ เรอื ผลติ ภณั ฑเ์ มลด็ พนั ธุข์ า้ ว 16
2 กลุ่มสตรีสหกรณอ์ ษั ฎางค์ - 6 ท่าเจ้าสนกุ แปรรูปผลไม้, ขา้ วเกรยี บ 11
ท่าเรอื 17
3 กลมุ่ สตรีสหกรณว์ ดั แค 75/27 2 ท่าเรอื ร้านคา้ สหกรณ์
บางซา้ ย 77
4 กลมุ่ ผผู้ ลติ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ วบ้านร่อม 81 3 บ้านร่อม บางซ้าย เครื่องนอน
บางบาล ตดั เยบ็ เสื้อผา้ สำเรจ็ รูป 25
5 กลมุ่ สตรสี หกรณ์บา้ นรอ่ ม 24 7 บา้ นร่อม พระนครศรอี ยธุ ยา 23
อุทยั ผลไมแ้ ปรรูป 27
6 กลุ่มเยาวชนสหกรณก์ ารเกษตร โรงเรยี น 11 หนองขนาก อทุ ยั ขนมหวานไทย 17
อำเภอท่าเรอื บอ่ แร่ 17
บางซ้าย พวงหรดี 18
สังกัด สหกรณก์ ารเกษตรเพือ่ การตลาดลกู ค้า ธ.ก.ส.พระนครศรีอยธุ ยา จำกดั ขนมเปี๊ยะชาววงั
บางไทร 20
1 กลุ่มอาชีพตัดเย็บบษุ กรเครอื่ งนอน 98 1 เทพงมงคล บางไทร น้ำปลา, ขนมตามเทศกาล
บางไทร 18
2 กลมุ่ อาชีพตัดเยบ็ เสอื้ ผา้ ต.ปลายกลัด 84/1 1 เทพมงคล บางไทร ผลติ นำ้ ลกู ยอ 18
บางไทร แก้วเปา่ ประดิษฐ์ 20
3 กลุ่มสตรีสหกรณบ์ า้ นผมี ด (ทรงสเปน) 48 7 ไทรนอ้ ย 17
บางบาล แชมพู 15
4 กลุ่มอาชพี ทำขนมไทยเกาะเรยี น 8 4 เกาะเรยี น ประดษิ ฐด์ อกไม้
บางบาล ขนมกลีบลำดวน 32
5 กลุ่มสตรีสหกรณ์บา้ นโคกโพธิ์ 1/2 7 โพธสิ์ าวหาญ
บางปะหนั นำ้ พรกิ แกงเผ็ด 25
6 กลุ่มสตรสี หกรณโ์ พธ์ิสาวหาญ 43 3 โพธส์ิ าวหาญ บางปะหนั
ธูปหอม, ธูปสมนุ ไพรกันยงุ 18
สังกดั สหกรณก์ ารเกษตรบางซา้ ย จำกดั บางปะอิน 25
เรอื นไทยยอ่ ส่วนจากดิน
1 กลมุ่ สตรีสหกรณโ์ คกหว้ ย 32/3 7 เทพมงคล บางปะอนิ เครอ่ื งจกั รสาน 20

สังกดั สหกรณ์การเกษตรบางไทร จำกัด บางปะอิน ผลติ สมุนไพรอายวุ ฒั นะ 15
บางปะอนิ แปรรูปผลไม้,หมกี รอบ
1 กลมุ่ อาชพี น้ำลกู ยอ 3/1 2 ช้างนอ้ ย 25
บ้านแพรก สมุนไพร 14
2 กลุม่ สตรสี หกรณ์แกว้ เปา่ ประดิษฐ์ 39 3 บางพลี บ้านแพรก สมุนไพรต่าง ๆ, ครมี บำรุงผม
บา้ นแพรก 30
3 สตรีสหกรณบ์ า้ นบางยโ่ี ท 13 3 บางยี่โท บ้านแพรก แปรรูปจากผา้ 20
บา้ นแพรก 19
4 กลุ่มอาชีพศลิ ปะประดิษฐ์สนามชยั 23/1 1 สนามชยั บา้ นแพรก ปลาร้า, ขนมปง้ิ 36
พดั สวยงาม, ผลไม้แปรรปู 20
5 อาชพี สหกรณส์ นามชยั พัฒนา 28/1 1 สนามชยั 20
นำ้ พรกิ ต่าง ๆ
สงั กดั สหกรณก์ ารเกษตรบางบาล จำกัด พดั สวยงาม เครือ่ งจักสาน
ขา้ วเกรยี บอนามยั ขนมสาลี่
1 กลมุ่ อาชีพสหกรณน์ ้ำพรกิ แกงเผด็ 88 3 บางชะนี
ตำบลบางชะนี กลว้ ยอบเนย

2 กลุ่มอาชพี ธูปหอมสมนุ ไพรทองมณี 32/1 6 บ้านกุ่ม

สังกัด สหกรณ์การเกษตรบางปะหนั จำกดั

1 กลมุ่ เรอื นไทยยอ่ สว่ นจากดิน 4 1 ทางกลาง

2 กลมุ่ อาชีพเครอ่ื งจกั สานไทยโบราณ 37 4 บ้านม้า

สังกัด สหกรณก์ ารเกษตรบางปะอิน จำกดั

1 กลุม่ สมนุ ไพรอายวุ ฒั นะเกาะเกิด 13/1 5 เกาะเกิด

2 กลมุ่ สตรีสหกรณ์พัฒนาอาชพี - - เชยี งรากน้อย
ตำบลเชยี งรากนอ้ ย

3 กลมุ่ สตรีสหกรณ์ศรมี าลยั 26/1 11 บ้านกรด

4 กลุม่ อาชพี งานผลติ ภัณฑจ์ ากผ้า 122 9 บ้านพลับ

สงั กัด สหกรณก์ ารเกษตรบ้านแพรก จำกดั

1 กลมุ่ สตรีสหกรณ์คลองนางสาม 58 7 โกง่ ธนู

2 กลุ่มสตรสี หกรณ์บ้านแพรก 55 3 บ้านแพรก

3 กลุ่มสตรสี หกรณก์ ระดานปา้ ย 29/2 1 บ้านใหม่

4 กลุม่ สตรีสหกรณบ์ า้ นใหม่ 9 4 บ้านใหม่

5 กลุ่มสตรสี หกรณ์สองห้อง 10/1 2 สองหอ้ ง

6 กลุ่มสตรสี หกรณ์สำพะเนยี ง 112 6 สำพะเนยี ง

ข้นึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 32

ที่ ช่อื กลมุ่ เลขท่ี หมู่ท่ี ทตี่ ง้ั ผลิตภณั ฑ์ จำนวน
ตำบล อำเภอ สมาชกิ
จักรสาน (คน)
สงั กดั สหกรณ์การเกษตรผกั ไห่ จำกดั ดอกไมจ้ ากผา้ ใยบวั
กระเทยี มโทนดองนำ้ ผ้งึ 16
1 กล่มุ อาชพี สหกรณ์จกั สาน 72/1 8 ทา่ ดินแดง ผกั ไห่ 20
ตำบลท่าดนิ แดง กนุ เชียง 20
ผักไห่ ผกั ไห่
2 กลุ่มอาชีพสตรสี หกรณต์ ำบลผักไห่ 54 11 ลาดนำ้ เค็ม ผักไห่ น้ำพรกิ 17

3 กลมุ่ สตรีรวมใจพฒั นาตำบลลาดนำ้ เค็ม 1/1 1 สานปลาตะเพยี น 17
เปลญวนเศษผา้
สงั กดั สหกรณป์ ศสุ ตั วพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา จำกัด เรอื ไมจ้ ำลอง, โต๊ะ, เตยี ง 17
17
1 กลมุ่ กนุ เชียงหมคู ลองสระบัว 56 4 คลองสวนพลู พระนครศรอี ยธุ ยา นำ้ ด่มื 14
ทอผ้าขาวมา้
สงั กัด สหกรณก์ ารเกษตรปฏริ ูปที่ดินพระนครศรีอยธุ ยา จำกัด 33
มะตมู เชอื่ ม มะตมู แหง้ 15
1 กล่มุ อาชีพน้ำพรกิ ครวั ไทย 110/3 6 ไผ่ลงิ พระนครศรอี ยธุ ยา ทองมว้ นสด,ทองมว้ นกรอบ
18
สงั กัด สหกรณก์ ารเกษตรพระนครศรอี ยธุ ยา จำกดั ปลาเคม็ ,ปลาย่าง 15
20
1 กลมุ่ สตรีสหกรณ์จกั สานปลาตะเพยี น 13 1 ภเู ขาทอง พระนครศรอี ยธุ ยา ขนมไทย
ใบลาน ภเู ขาทอง พระนครศรอี ยธุ ยา 23
ภเู ขาทอง พระนครศรอี ยธุ ยา ทำนมแพะพลาสเจอร์ไร้
2 กลุ่มสตรีสหกรณบ์ ้านภเู ขาทอง 21/2 2 ทอผา้ ยก (ผ้าไหม) 20
ผลติ เครอ่ื งดื่มรงั นก 13
3 กลุ่มสตรสี หกรณ์ผผู้ ลติ เรอื ไม้จำลอง 47 2 20
ภเู ขาทอง ตดั เย็บเสอ้ื ผ้าสำเรจ็ รูป 29
หมแู ดดเดยี ว 18
สังกดั สหกรณก์ ารเกษตรพระนครศรอี ยธุ ยา จำกดั
นำ้ ดื่ม 19
1 กลุ่มทำนำ้ ดม่ื ตำบลระโสม 33 ระโสม ภาชี
หนองนำ้ ใส ภาชี กลึงครกหิน 22
2 กลมุ่ สตรีสหกรณบ์ า้ นหนองเครอื บญุ 3/2 6 ทองมว้ น, ไขเ่ ค็ม 15
เจ้าปลุก มหาราช 18
สงั กดั สหกรณก์ ารเกษตรมหาราช จำกดั เจา้ ปลกุ มหาราช ขนมไทย
บ้านขวาง มหาราช
1 กลุ่มสตรีสหกรณ์เจา้ ปลกุ 15
สงิ หนาท ลาดบัวหลวง
2 กลมุ่ สตรีสหกรณบ์ วั สวรรค์ 17/14 5
ชะแมบ วังน้อย
3 กลุ่มสตรสี หกรณบ์ า้ นขวาง 56 3 พะยอม วังนอ้ ย
พะยอม วังน้อย
สงั กัด สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปทด่ี นิ ลาดบวั หลวง จำกัด ลำตาเสา วังน้อย

1 กลมุ่ สตรีสหกรณ์สงิ หนาท 51 5 วังจฬุ า วงั นอ้ ย

สังกดั สหกรณ์การเกษตรวังนอ้ ย จำกัด

1 กลมุ่ ผเู้ ลีย้ งแพะอำเภอวงั นอ้ ย 67 2

2 กลุ่มส่งเสรมิ อาชพี ทอผา้ ยกอยุธยา 41/3 1

3 กลุ่มอารยี ารงั นก 312/2 5

4 กลมุ่ สตรสี หกรณล์ ำตาเสา 69 10

5 กลมุ่ แม่บ้านเกษตรกรผลิตภัณฑ์ --
อาหารแปรรปู

สงั กดั กลุ่มเกษตรกรทำนาเสนาบา้ นละมุ

1 กลมุ่ อาชีพน้ำดม่ื บา้ นละมุ 46 13 เสนา อทุ ยั

สงั กดั สหกรณก์ ารเกษตรอุทัย จำกดั

1 กลุ่มอาชีพหตั ถอุตสาหกรรม 3 12 บา้ นหีบ อุทยั
ครกหินกลงึ
หนองนำ้ ส้ม อทุ ยั
2 กลุ่มสตรสี หกรณห์ นองนำ้ ส้ม 13/3 5 อุทยั อทุ ยั

3 กลมุ่ อาชีพขนมไทย 2/1 1

ข้นึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 33

ส่วนที่ 2

ผลสมั ฤทธข์ิ องการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบตั งิ าน/
โครงการภายใต้แผนปฏิบตั ิงานและงบประมาณรายจ่าย

ประจำปีงบประมาณ

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 34

2.1 ผลการดำเนินงานตามแผนปฎิบัติงาน และงบประมาณรายจ่ายประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณอน่ื ที่หนว่ ยงานไดร้ บั

ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ประเดน็ แผนแม่บท 3 การเกษตร
⚫ แผนงานพื้นฐาน

แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
◼ งานสง่ เสริมและพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ ีความเขม้ แข็งตามศกั ยภาพ

พ้นื ท่ีความรับผดิ ชอบของกล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 1
1. โครงการรวบรวมข้าวเปลอื ก “สหกรณก์ ารเกษตรเพ่ือการตลาดลกู คา้ ธ.ก.ส. พระนครศรีอยุธยา จำกัด”
ปี 2564 สหกรณ์รวบรวมรับซ้ือข้าวเปลือกจากเกษตรกรสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป ณวันท่ี

31 ธันวาคม 2564 จำนวน 43,654.315 ตัน มูลค่ารวม 305,121,125.50 บาท สหกรณ์จำหน่าย
ข้าวเปลือกปริมาณ 43,654.315 ตัน มลู ค่ารวม 308,852,377.50 บาท

ปี 2563 สหกรณ์ใช้เงินทุนโครงการสินเชื่อเพ่ือรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพ่ิมโดยสถาบันเกษตรกร
ปีการผลติ พ.ศ. 2563/64 จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จำนวน 130,000,000 บาท
ครบกำหนดชำระวันท่ี 31 ธันวาคม 2563 สหกรณ์รวบรวมข้าวเปลือกปริมาณ 20,035.205 ตัน มูลค่า
168,725,977 บาท สหกรณจ์ ำหน่ายขา้ วเปลือกปริมาณ 20,035.205 ตนั มลู คา่ 171,798,462 บาท

วภ ว ว ว
สหกรณ์การเกษตรเพอื่ การตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. พระนครศรีอยุธยา จำกดั

ขึน้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 35

2. โครงการสนบั สนนุ ปจั จยั การผลิตทางการเกษตร “สหกรณก์ ารเกษตรบางปะอนิ จำกดั ”
สหกรณ์การเกษตรบางปะอิน จำกัด ได้จัดโครงการสนับสนุนปัจจัยการผลิตทางการเกษตรแก่สมาชิก
ของสหกรณ์ วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ต้องการช่วยเหลอื สมาชิกในการลดต้นทุนการผลิต เพม่ิ ประสิทธภิ าพทางการผลิต
และสนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ท้ังยังจัดซื้อปุ๋ยอินทรีย์จากสหกรณ์การเกษตรใกล้เคียงซ่ึงถือเป็นการเชื่อมโยง
เครือข่ายในระบบสหกรณ์ด้วยกันอีกด้วย โครงการดังกล่าวได้คัดเลือกสมาชิกเป้าหมายที่ร่วมทำธุรกิจจัดหา
สินค้ามาจำหน่ายกับสหกรณ์และการเกษตร จำนวน 50 ราย โดยสมาชิกแต่ละรายจะได้รับพันธุ์ข้าว กข.41
และปัจจัยการผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ปุ๋ยชนิดต่างๆ ตามอตั ราสว่ นธุรกิจกบั สหกรณ์ รวมงบประมาณสำหรับ
จัดซ้ือปัจจัยการผลิตทางการเกษตรท้ังสิ้น 500,000 บาท โครงการน้ีถือเป็นการช่วยเหลือที่สอดคล้องกับ
ความต้องการและเพม่ิ คณุ ภาพชวี ติ ของสมาชิก

ว ภ โค ส ส ั ย ผ ต ษต
สหกรณก์ ารเกษตรบางปะอิน จำกัด

ข้นึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 36

3. วางแผนงานเชิงกลยุทธ์ “สหกรณเ์ ครดิตยูเน่ียน ฮอนดา้ ออโตโมบิล จำกัด”

เมื่อวันที่ 11 - 13 กุมภาพันธ์ ๒๕๖4 สหกรณ์เครดิตยูเน่ียน ฮอนด้า ออโตโมบิล จำกัด จัดโครงการ
สัมมนา หัวข้อ “วางแผน งานงบป ระมาณ ประจำปี 2564” ณ โรงแรมโต่บั กเส็ง อ.นครหลวง
จ.พระนครศรีอยธุ ยา โดยมี นายอดุล ภิบาลทรัพย์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 เป็นวิทยากรให้ความรู้
แก่ผู้เข้าสัมมนา โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เรียนรู้การวางแผนงานเชิงกลยุทธ์ วางแผนบริหาร
งบประมาณได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเรียนรู้ขั้นตอนการจัดทำแผนตลอดจนปัญหาและอุปสรรคของการ
จัดทำแผนงบประมาณประเภทต่าง ๆ การสัมมนาคร้ังน้ีมีคณะกรรมการดำเนินการ คณะผู้ตรวจสอบกิจการ
และเจ้าหนา้ ทีส่ หกรณ์เครดติ ยเู นีย่ น ฮอนด้า ออโตโมบลิ จำกดั เขา้ ร่วมรบั ฟงั จำนวน 23 คน

การวางแผนงานเชงิ กลยุทธ์เป็นเครอ่ื งมือในการบรหิ ารที่เน้นการมองภาพระยะยาวเป็นกระบวนการท่ี
ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องเริ่มจากการวางแผน การนำแผนไปปฏิบัติ การควบคุมและการประเมินผล
การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ต้องสอดคล้องกับสภาวะแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสหกรณ์ การวางแผนงาน
ต่าง ๆ มีความจำเป็นและสำคัญมากทำให้สหกรณ์มีความตื่นตัวและปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงสามารถ
กำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหกรณ์ได้อย่างชัดเจน บรรลุวัตถุประสงค์ทั้งด้านประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในการดำเนินงานได้เป็นอย่างดี ผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากการสัมมนาครั้งนี้ คือ ผู้เข้าร่วมรับฟังการ
บรรยายมีความรู้ ความเข้าใจ เรียนรู้การวางแผนงานและนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ทำให้การดำเนนิ งานของ
สหกรณ์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ช่วยให้สหกรณ์เกิดความเข้มแข็งและเป็นท่ีพ่ึงของสมาชิกได้อย่าง
แท้จริง นับเปน็ ภารกิจของกลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 1 ท่ีจะส่งเสริมและพัฒนาด้านบุคลากรของสหกรณ์ในรูปแบบ
หน่งึ ด้วย

ว ภ ว่ ว แผ ย ธ์
ส ณ์เครดิตยเู นี่ยน ฮอนด้า ออโตโมบลิ จำกัด

4. ระบบการตลาดนำการผลติ “กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตวน์ ้ำบางชะนี”

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 37

จากการกำหนดนโยบายและแนวทางเพ่อื “พลิกฟื้น คืนชีวิต” กลมุ่ เกษตรกรผู้เล้ียงสัตว์น้ำบางชะนีให้มี
ความเข้มแข็ง ม่ัน คง ยั่งยืน ช่วยเห ลือสม าชิกได้อย่างแท้ จริง และกลุ่มเกษ ตรกรแห่ งน้ี เป็ น
กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายที่ได้รับการคัดเลือกให้ขับเคลื่อนตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
“ระบบตลาดนำการผลิต” เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์จึงเข้าประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องขอรับการสนับสนุน
พันธ์ุปลาเพ่ือเพ่ิมผลผลิตในแหล่งน้ำและลดต้นทุนการผลิตของกลุ่ม ซึ่งได้รับการสนับสนุนพันธุ์ปลานิลจาก
ประมงอำเภอบางบาล จำนวน 8,000 ตัว นำมาปล่อย ณ บ่อน้ำกลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียงสัตว์น้ำบางชะนี หมู่ 4
ต.บางชะนี อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา โดยพันธ์ุปลาท่ีได้รับต้องอนุบาลในกระชังเป็นเวลาประมาณ
1 – 1.5 เดอื น สมาชิกช่วยกันให้อาหารปลาในบ่อแบบผสมทั้งอาหารเม็ดและพชื ตามธรรมชาติ หลงั จากน้ันใช้
เวลาเลี้ยงประมาณ 4 เดือน จึงลงข่ายจับปลาขนาดตัว 0.5 – 1 กิโลกรัม จำหน่าย จะทยอยจับปลาทุก ๆ
3 – 4 เดือน ซึ่งเป็นขนาดท่ีต้องการของลูกค้า และจะจับปลาในปริมาณที่พอดีกับการจำหน่ายเพื่อป้องกัน
ไม่ให้ปลาที่เหลือเกิดความเสียหาย จุดเด่นของผลผลิต คือ มีความสด ใหม่ ราคาถูกกว่าท้องตลาดและสะดวก
ในการเดินทางมาซ้ือเพราะบ่อเล้ียงปลาอยู่บริเวณหมู่บ้าน การจำหน่ายผลผลิตสามารถจำหน่ายหมดทุกครั้ง
ทำให้กลุ่มมีรายได้และมีการจัดทำบัญชีรายละเอียดครบถ้วนทราบผลการดำเนินงานว่ากำไร หรือ ขาดทุน
กลุ่มวางแผนแบ่งรายได้ไว้ลงทุนในรอบการเลี้ยงต่อ ๆ ไป จะเห็นได้ว่าสมาชิกของกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วมทั้งเป็น
ผ้ซู ื้อและผู้ขายในเวลาเดียวกัน แสดงให้เห็นถึง “พลังกลุ่ม” ณ ปีบัญชสี ้ินสดุ กันยายน 2564 กลุ่มมีกำไรสทุ ธิ
13,224.49 บาท

ประมวลภาพกิจกรรมตลาดนำการผลติ
กลุ่มเกษตรกรผเู้ ล้ียงสัตวน์ ้ำบางชะนี

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 38

 งานกำกบั ติดตามและงานแกป้ ญั หา

1. โครงการแกไ้ ขปญั หาหน้คี า้ งชำระของสมาชกิ สหกรณ์ “สหกรณก์ ารเกษตรบางบาล จำกดั ”

จากโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างนานของสมาชิกสหกรณ์ พ.ศ.2562 และโครงการดังกล่าวยัง
คงต่อเนื่องมาจนถึง ธันวาคม 2564 สหกรณ์ตั้งเป้าหมายตามแผน คือ ลูกหน้ีค้างชำระที่เข้าร่วมโครงการ
249 ราย จะได้รับชำระเงินต้น 5,000,000 บาท (ห้าล้านบาทถ้วน) จะได้รับชำระดอกเบ้ียค้างชำระ
5,600,000 บาท (ห้าล้านหกแสนบาทถ้วน) สหกรณ์ทำการติดตามและประเมินผลของโครงการปรากฏผล
การดำเนินงานว่า สหกรณ์ ได้รับเงินต้น ดอกเบี้ยค้างชำระ และค่าปรับค้างชำระ จำนวนทั้งส้ิน
12,299,225.94 บาท (สิบสองล้านสองแสนเก้าหม่ืนเก้าพันสองร้อยย่ีสิบห้าบาทเก้าสิบสี่สตางค์) ปัจจุบัน
คิดเป็น 116.03 % ของแผน รายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

สมาชกิ ชำระตน้ เงนิ คา้ งชำระ สมาชกิ ชำระดอกเบ้ยี คา้ งชำระ สมาชกิ ชำระค่าปรบั คา้ งชำระ

ระยะเวลาทำโครงการ จำนวน จำนวนเงิน จำนวน จำนวนเงนิ จำนวน จำนวนเงิน
สมาชกิ (บาท) สมาชกิ (บาท) สมาชกิ (บาท)
(ราย) (ราย) (ราย)

1 ต.ค.62 – 30 ก.ย. 83 3,811,352.81 110 1,971,694.26 86 371,108.57
63
80 3,811,352.81 97 1,144,650.40 4 313,285.80
1 ต.ค.63 – 30 ก.ย. 13 500,156.45 15 294,309.70 5 81,315.14
64

1 ต.ค.64 – 31 ธ.ค.
64

ว ผ 176 8,122,862.07 222 3,410,654.36 95 765,709.51

สืบเน่ืองจากโครงการ “แก้ไขปัญหาหนี้ค้างนานของสมาชิกสหกรณ์ พ.ศ.2562” สหกรณ์การเกษตร
บางบาล จำกัด ได้จัดโครงการ “การปรับปรุงโครงสร้างหนี้สมาชิก” มีวัตถุประสงค์เพือ่ ให้สหกรณ์การเกษตรมี
ศักยภาพในการดำเนินธุรกิจสินเชื่อสามารถกำหนดแนวทางและขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาหน้ีค้างชำระของ
สมาชิกสหกรณ์ และช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการชำระหนี้สามารถลดจำนวนหนี้ค้าง ในขณะเดียวกันก็
เพ่ือให้สมาชิกสหกรณ์ผ่อนคลายภาระหนักในการชำระหนี้ สามารถพัฒนา ปรับปรุงหรือฟ้ืนฟูการประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมของตนได้ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์และคณะเข้าร่วมประชุมและให้คำแนะนำส่งเสริมแนว
ทางการปรับโครงสร้างหน้ีแก่สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางบาล จำกัด มีสมาชิกกลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วม
โครงการจำนวน 250 คน ผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการน้ี คือ สหกรณ์มีหน้ีค้างชำระลดลง 50 % ของหนี้
ค้างชำระทั้งหมด

ประมวลภาพจัดประชุมเพ่ือแกไ้ ขปัญหาหน้ีค้างชำระของสมาชกิ สหกรณ์
สหกรณก์ ารเกษตรบางบาล จำกัด

ขนึ้ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 39

2. มาตรการและแนวทางการชว่ ยเหลือสมาชิกท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

ตามท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ร่วมประชาสัมพันธ์
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้ความช่วยเหลือสมาชิกและช่วยเหลือด้านสาธารณะประโยชน์/สวัสดิการอื่นๆ
แก่ครอบครัวสมาชิกและชุมชน เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 โดยสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรมมี าตรการต่าง ๆ ดงั น้ี

2.1 มาตรการให้ความช่วยเหลอื สมาชกิ หรอื เบาความเดือดรอ้ น

2.1.1 ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ให้กบั สมาชกิ

อตั ราดอกเบยี้ สมาชกิ เข้า

ที่ สหกรณ์ อตั รา อตั รา รว่ มโครงการ
เดิม ใหม่ (คน)

1 สอ.มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั จำกัด 6.75 6.00 301

2 สอ.สาธารณสุขพระนครศรีอยุธยา จำกดั 5.60 5.40 3,264

3 สอ.ตำรวจภธู รจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา จำกัด 7.50 7.00 1,780

4 สอ.ครพู ระนครศรอี ยธุ ยา จำกัด 5.75 4.50 1,877

5 สอ.พนกั งานบริษัท แมรกี อท จิวเวลล่ี (ประเทศไทย) จำกดั 12.00 10.00 11

6 กล่มุ เกษตรกรทำนาบ้านก่มุ 6.00 3.00 20

รวม 7,253

2.1.2 ปรบั โครงสร้างหนใ้ี ห้กับสมาชกิ สมาชิกเข้า จำนวนสญั ญา
ร่วมโครงการ
ที่ สหกรณ์ 151
(คน) 50
1 สหกรณ์การเกษตรบางปะอิน จำกดั 151 18
2 สหกรณ์การเกษตรบางบาล จำกดั 30 122
3 สหกรณบ์ ริการรถยนต์สามล้ออยธุ ยา จำกัด 18 38
4 สหกรณ์ออมทรพั ยต์ ำรวจภธู รจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา จำกัด 122 379
5 สหกรณอ์ อมทรพั ย์ครูพระนครศรีอยุธยา จำกดั 20
341
รวม

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 40

2.1.3 โครงการพักชำระหนีใ้ ห้กบั สมาชิก สมาชกิ มูลคา่ หนร้ี วม
เข้าร่วม (บาท)
ที่ สหกรณ์ โครงการ (คน) 200,000
600,000
1 สหกรณ์เคหสถานบา้ นม่ันคงสมณโกฏ จำกดั 97 641,700
2 สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชมุ ชนชะแมบพัฒนา จำกัด 249 160,000
3 สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชมุ ชนวงั นอ้ ยม่นั คง จำกดั 93 228,000
4 สหกรณ์บา้ นมนั่ คงชมุ ชนบ้านตน้ ตาลพฒั นา จำกัด 102 3,600,000
5 สหกรณเ์ คหสถานบา้ นมั่นคงวัดเกาะพัฒนา จำกดั 56 1,350,894
6 สหกรณเ์ คหสถานบ้านมน่ั คงคลองสระบัว จำกัด 120
7 สหกรณอ์ อมทรัพยอ์ าปโิ ก กรุ๊ป จำกัด 167 945,000,000
8 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขพระนครศรีอยุธยา จำกัด 450 4,674,206
9 สหกรณอ์ อมทรพั ยต์ ำรวจภธู รจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา จำกัด 3,191,374
10 สหกรณอ์ อมทรพั ย์ครูพระนครศรีอยธุ ยา จำกัด 2 592,340
11 สหกรณเ์ ครดติ ยูเนยี่ น ฮอนดา้ ออโตโมบิล จำกดั 647 108,000
12 กล่มุ เกษตรกรทำนาบางหลวง 113
960,346,514
รวม 5
2,101

2.1.4 ลดภาระการส่งคา่ หุ้นใหก้ บั สมาชิก (ปรับลด งดส่ง เป็นต้น)

ที่ สหกรณ์ สมาชกิ เขา้ คา่ หนุ้ ท่ี
ร่วมโครงการ ปรับลด/งดส่ง
1 สหกรณ์เคหสถานบา้ นมน่ั คงสมณโกฏ จำกัด
2 สหกรณเ์ คหสถานบา้ นมน่ั คงชมุ ชนชะแมบพัฒนา จำกัด (คน) (บาท)
3 สหกรณเ์ คหสถานบา้ นม่ันคงคลองสระบวั จำกดั 97 19,400
4 สหกรณ์ออมทรัพย์พนกั งานซันแฟลค จำกดั 250 75,000
5 สหกรณอ์ อมทรพั ย์ตำรวจภธู รจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา จำกดั 120 36,000
6 สหกรณ์ออมทรพั ยค์ รูพระนครศรีอยธุ ยา จำกดั 7 37,700
7 กลมุ่ เกษตรกรทำนาบา้ นกุม่ 325 398,280
8 กลมุ่ เกษตรกรทำนาบางหลวง 53 217,100
9 กลุ่มเกษตรกรทำนาบา้ นใหม่ 20 28,190
10 กลุม่ เกษตรกรทำนาบ้านเกาะ 5 3,700
3 4,500
รวม 15 22,100
895
841,970

ข้นึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 41

2.1.5 ช่วยเหลอื ด้านการลดคา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรือน และสุขอนามัยแกค่ รอบครวั สมาชิก

ท่ี สหกรณ์ สมาชิกที่ได้รบั จำนวนเงนิ
ความช่วยเหลือ (บาท)
1 สหกรณ์การเกษตรพระนครศรอี ยธุ ยา จำกดั
2 สหกรณ์การเกษตรบางปะอิน จำกัด (คน) 300,000
3 สหกรณก์ ารเกษตรเพื่อการตลาดลกู คา้ ธ.ก.ส. 80,000
742 560,000
พระนครศรอี ยุธยา จำกดั
4 สหกรณเ์ คหสถานบา้ นมน่ั คงชมุ ชนลำตาเสา จำกดั 200
5 สหกรณ์บ้านมนั่ คงชมุ ชนบ้านตน้ ตาลพัฒนา จำกัด
6 สหกรณเ์ คหสถานบา้ นม่นั คงชุมชนชะแมบพฒั นา จำกัด 700
7 สหกรณเ์ คหสถานบ้านมน่ั คงชมุ ชนวังนอ้ ยมั่นคง จำกดั
8 สหกรณ์บา้ นมนั่ คงชมุ ชนโพธาราม จำกดั 5 5,000
9 สหกรณบ์ ริการรถยนต์สามลอ้ อยธุ ยา จำกัด 102 50,000
10 สหกรณ์เดนิ รถชัยมงคล จำกดั 114 30,000
11 สหกรณ์อยุธยาเดนิ รถ จำกดั 15 10,000
12 สหกรณอ์ อมทรัพย์พนักงานแคนนอน (ประเทศไทย) จำกัด 129 32,250
13 สหกรณ์ออมทรพั ยค์ รพู ระนครศรีอยธุ ยา จำกัด 100 8,500
14 สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี นนิเดค จำกดั 50 15,000
85 25,500
รวม 1,673 150,570
120 360,000
204 44,268
4,239 1,671,088

2.1.6 ช่วยเหลือดา้ นสาธารณประโยชน/์ สวัสดิการอ่นื ๆ แกค่ รอบครวั สมาชิก

ที่ สหกรณ์ สมาชกิ ที่ จำนวนเงนิ

1 สหกรณเ์ คหสถานบา้ นมน่ั คงชุมชนลำตาเสา จำกัด ไดร้ บั ความ (บาท)
2 สหกรณอ์ อมทรพั ยเ์ ครือ่ งจกั รกลสยาม จำกดั
3 สหกรณอ์ อมทรัพยต์ ำรวจภูธรจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา จำกัด ช่วยเหลอื
4 สหกรณ์ออมทรพั ยค์ รพู ระนครศรีอยธุ ยา จำกดั
(คน)
รวม
2 2,000

100 16,167

2,200 13,302,020

40 491,410

2,342 13,811,597

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 42

2.2 มาตรการให้ความช่วยเหลอื ชุมชน ชุมชนไดร้ บั ประโยชน์ จำนวนเงิน
(บาท)
ที่ สหกรณ์ บคุ ลากรทางการแพทย์ 50,000
1 สหกรณ์การเกษตรเพอ่ื การตลาด ธ.ก.ส. พระนครศรีอยธุ ยา จำกัด รพ.บางปะอนิ , รพ.อทุ ยั 1,786,120
2 สหกรณ์ออมทรพั ย์ตำรวจภธู รจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จำกดั 1,836,120

รวม

ประมวลภาพสหกรณช์ ่วยเหลือสมาชิกและชุมชนที่ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

2. การแกไ้ ขปัญหาการปิดบัญชีไม่ได้ของสหกรณโ์ ครงการบา้ นมัน่ คง
สหกรณ์โครงการบ้านมั่นคงในความรับผิดชอบของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 มีจำนวนท้ังหมด
9 สหกรณ์ สามารถปิดบัญชีได้จำนวน 3 สหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์ เคหสถานบ้านม่ันคงสมณโกฏ จำกัด
สหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคงชุมชนโพธาราม จำกัด และสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงวัดเกาะพัฒนา จำกัด
สหกรณ์ที่ไม่สามารถปิดบัญชีได้จำนวน 6 สหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชุมชนลำตาเสา จำกัด
สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงคลองสระบัว จำกัด, สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชุมชนวังน้อยม่ันคง จำกัด
สหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคงชุมชนหลวงพ่อศรมี ่วงพฒั นา จำกดั , สหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคงชุมชนชะแมบพัฒนา จำกัด
และสหกรณบ์ ้านม่นั คงชุนชนบ้านตน้ ตาลพัฒนา จำกดั
การดำเนินการแก้ไขปัญหาการปิดบัญชีไม่ได้ของสหกรณ์โครงการบ้านมั่นคง จำนวน 6 สหกรณ์ ได้
เข้ า ร่ ว ม โค ร งก า ร ห นุ น เส ริ ม พั ฒ น า ร ะ บ บ ส ห ก ร ณ์ ภ า ย ใต้ โค ร งก า ร บ้ า น มั่ น ค งแ ล ะ จั ด จ้ า งผู้ จั ด ท ำ บั ญ ชี
วัตถุประสงค์ของโครงการ คือ 1. เพ่ือให้เกิดการวิเคราะห์สหกรณ์ (องค์กรผู้ใช้สินเช่ือ) ระดับชุมชน 2. เพื่อ
ส่งเสริมให้สหกรณ์สามารถปิดบัญชี และคณะกรรมการมีความรู้ ความสามารถในการดำเนินการบริหาร
จัดการญชีสหกรณ์ต่อไปได้ 3. เพ่ือให้เกิดการบูรณาการแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน
ระดับพ้ืนท่ีได้

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 43

ความกา้ วหน้าการดำเนินการแก้ไขปัญหาปิดบัญชไี ม่ไดข้ องสหกรณ์โครงการบา้ นมน่ั คง
1. สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชุมชนลำตาเสา จำกัด สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ล่าสุดวันที่

31 มีนาคม 2558 โดยไม่สามารถส่งงบการเงินประจำปีให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบต้ังแต่ปีบัญชีส้ินสุดวันที่ 31
มนี าคม 2559 ถึง 31 มีนาคม 2564 รวมระยะเวลาทัง้ สิ้นจำนวน 6 ปี

สหกรณ์สามารถจดั ทำบัญชขี ้ันตน้ ได้ถงึ ปัจจุบัน และอยูร่ ะหวา่ งจัดทำบัญชขี ้ันปลาย
2. สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงคลองสระบัว จำกัด สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ล่าสุดวันที่
28 กุมภาพันธ์ 2558 โดยไม่สามารถส่งงบการเงินประจำปีให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบต้ังแต่ปีบัญชีส้ินสุดวันท่ี
28 กมุ ภาพันธ์ 2559 ถึง 28 กุมภาพนั ธ์ 2564 รวมระยะเวลาท้ังส้ินจำนวน 6 ปี

สหกรณ์สามารถจัดทำ/จัดส่งงบการเงินประจำปีและรายละเอียดประกอบให้ผู้สอบบัญชี
ตรวจสอบสำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2564 รวมระยะเวลาท้ังสิ้น
จำนวน 6 ปี ซง่ึ อยรู่ ะหวา่ งการตรวจสอบและรับรองงบการเงนิ จากผูส้ อบบญั ชี

3. สหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคงชุมชนวังน้อยม่ันคง จำกัด สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ล่าสุด
31 มีนาคม 2559 โดยไม่สามารถส่งงบการเงินประจำปีให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบตั้งแต่ปีบัญชีสิ้นสุดวันที่
31 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2564 รวมระยะเวลาท้งั สน้ิ จำนวน 5 ปี

สหกรณ์เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่บัญชีสหกรณ์ หลักสูตร “การจัดทำบัญชีของ
สหกรณ์ข้ันสูง” และได้เข้าร่วมโครงการหนุนเสริมพัฒนาระบบสหกรณ์ภายใต้โครงการบ้านมั่นคงและจัดจ้าง
ผู้จัดทำบัญชี ของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ปัจจุบันสหกรณ์ได้ดำเนินการจัดทำบัญชีและรายละเอียด
ประกอบสำหรับปีบัญชสี ิ้นสุดวันที่ 31 มนี าคม 2560 ถงึ 31 มีนาคม 2564 เรยี บรอ้ ยแล้ว และจัดส่งให้กับ
ผู้สอบบัญชอี ยูร่ ะหว่างผู้สอบบญั ชรี ับรองงบการเงิน

4. สหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคงชุมชนหลวงพ่อศรีม่วงพัฒนา จำกัด สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้
ล่าสุดวันท่ี 30 เมษายน 2558 โดยไม่สามารถส่งงบการเงินประจำปีให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบตั้งแต่ปีบัญชี
ส้ินสดุ วนั ที่ 30 เมษายน 2559 ถึง 30 เมษายน 2564 รวมระยะเวลาท้งั สนิ้ จำนวน 6 ปี

สหกรณ์สามารถจัดทำงบการเงินประจำปีและรายละเอียดประกอบสำหรบั ปีบัญชีส้ินสุดวันท่ี
30 เมษายน 2559 ถึง 30 เมษายน 2564 รวมระยะเวลาท้ังส้ินจำนวน 6 ปี อยู่ระหว่างการรวบรวม
เอกสารเพื่อนำสง่ งบการเงนิ ประจำปใี ห้ผสู้ อบบัญชตี รวจสอบ

5. สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชุมชนชะแมบพัฒนา จำกัด สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ล่าสุด
วนั ที่ 30 มีนาคม 2559 โดยไม่สามารถส่งงบการเงินประจำปีให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบต้ังแต่ปีบัญชีส้ินสุดวันท่ี
31 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2564 รวมระยะเวลาทง้ั สนิ้ จำนวน 5 ปี

สหกรณ์สามารถจัดทำ/จัดส่งงบการเงินประจำปีและรายละเอียดประกอบให้ผู้สอบบัญชี
ตรวจสอบสำหรับปีบัญชีส้ินสุดวันท่ี 31 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2564 รวมระยะเวลาทั้งสิ้นจำนวน
5 ปี และผู้สอบบญั ชีได้รับรองงบการเงิน ณ วันท่ี 29 มกราคม 2564

6. สหกรณ์บ้านม่ันคงชุนชนบ้านต้นตาลพัฒนา จำกัด สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ล่าสุดวันท่ี
31 ธันวาคม 2556 โดยไม่สามารถส่งงบการเงินประจำปีให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบต้ังแต่ปีบัญชีส้ินสุดวันท่ี
31 ธันวาคม 2557 ถึง 31 ธันวาคม 2564 รวมระยะเวลาทัง้ สนิ้ จำนวน 8 ปี

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 44

สหกรณ์ได้เข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการหน้ีและ
การส่งชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และได้เข้าร่วมโครงการ
หนุนเสริมพัฒนาระบบสหกรณ์ภายใต้โครงการบ้านมั่นคงและจัดจ้างผู้จัดทำบัญชี ของสถาบันพัฒนาองค์กร
ชุมชน สหกรณ์สามารถจัดทำ/จัดส่งงบการเงินประจำปีและรายละเอียดประกอบให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ
สำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ สำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันท่ี
31 ธันวาคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม 2564 สหกรณ์สามารถจดั ทำบญั ชีขั้นต้นได้ถงึ ปัจจบุ ัน และอยู่ระหว่าง
จัดทำบัญชีขัน้ ปลาย

ประมวลภาพการประชุมรว่ มแกไ้ ขปัญหาการปดิ บัญชไี ม่ได้ของสหกรณโ์ ครงการบา้ นม่ันคง

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 45

พนื้ ทคี่ วามรับผิดชอบของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2

ข้อมูลทั่วไปของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์ 2 จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา มีสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรทีอ่ ยใู่ นความรบั ผิดชอบ

จำนวน 50 แห่ง ครอบคลุม 6 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอบางปะหัน อำเภอบ้านแพรก อำเภอมหาราช
อำเภอท่าเรอื อำเภอนครหลวง อำเภอภาชี

⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสรมิ และแกไ้ ขปญั หาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
ผลการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ในภาพรวมของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 สำนักงานสหกรณ์
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๑. สหกรณท์ สี่ ามารถดำเนนิ กิจการไดต้ ามปกติ มผี ลหลงั จากการเข้าแนะนำสง่ เสริมในภาพรวมดังนี้

(๑) สหกรณ์มีการดำเนินกิจการเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายสหกรณ์ และกฎหมาย
อน่ื ทเี่ กี่ยวขอ้ งกำหนด

(๒) สหกรณ์มีศักยภาพท่ีสามารถเป็นองค์กรหลักในระดับอำเภอเพื่อเป็นศูนย์กลางในการ
ใหบ้ ริการสมาชกิ และเกษตรกรท่วั ไปในชมุ ชนตามรปู แบบประชารฐั

(๓) สหกรณ์มีการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐอย่างมี
ประสิทธิภาพ

(๔) สหกรณ์สามารถร่วมโครงการบริการประชาชนผู้ได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยได้จัดหา
สินค้าอุปโภคบริโภคมาจำหน่ายให้สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทั่วไปในพื้นท่ี มียอดจำหน่ายสินค้าอุปโภค
บริโภคในเดือน

๒. สหกรณท์ ม่ี ีปญั หาในการดำเนินกจิ การ
สำหรับสหกรณ์ที่มีปัญหาในการดำเนินกิจการในภาพร่วมในเขตพ้ืนที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2

ซ่ึงสหกรณ์บางแห่งประสบปัญหาด้าน การขาดเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ สหกรณ์ไม่มีรายเพียงพอ
ต่อการจัดจ้างพนักงานจนเป็นสาเหตุให้ไม่สามารถปิดบัญชีและไม่สามารถจัดทำงบการเงินประจำปีได้
ซ่งึ สหกรณเ์ หลา่ น้ีมผี ลการหลังจากการเขา้ แนะนำส่งเสริม ดงั นี้

(๑) สหกรณ์ที่ไม่สามารถปิดบัญชีได้ สามารถกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา และได้จัดทำ
งบการเงินส่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบความถูกต้อง ซ่ึงปัจจุบันอยู่ระหว่างการแก้ไขข้อมูลและจัดทำรายเลียด
เพมิ่ เติมเกี่ยวกับการบนั ทึกบัญชี และรายละเอยี ดยอ่ ยต่าง ๆ

(๒) ในส่วนของสหกรณ์ที่มีปัญหาด้านการขาดสภาพคล่องทางการเงิน สถานะภาพปัจจุบันได้
หยดุ ดำเนินกจิ การ และอยู่ระหว่างการปิดบญั ชีระหวา่ งปี และจะเขา้ สกู้ ระบวนการเลิกและชำระบัญชีต่อไป

ผลการเข้าแนะนำสง่ เสริมกลุ่มเกษตรกรในภาพรวมของกลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 2 สำนักงานสหกรณ์
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

กลุ่มเกษตรกรในเขตพ้ืนที่ เป็นกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็ก โดยภาพรวมในการเข้าแนะนำส่งเสริมมุ่งเน้น
ให้ยังสามารถดำรงสถานะดำเนินกิจการเพ่ือให้บริการสมาชิกได้ตามฐานะการเงินของกลุ่มเกษตรกรท่ีมี และ
ปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามระเบียบ ขอ้ บงั คับ และเปน็ ไปตามทก่ี ฎหมายกำหนด รวมทงั้ สามารถปดิ บัญชีและจัดทำงบ
การเงินส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินได้เป็นประจำทุกปี ผลจากการแนะนำ
สง่ เสริมกลุ่มเกษตรกรในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 กลุ่มเกษตรกรในพ้ืนที่ สามารถดำเนินกิจการเพ่ือ
ให้บริการสมาชกิ ได้ตามฐานะการเงนิ ท่มี ีอยู่ สามารถปิดบญั ชแี ละจัดทำงบการเงนิ ได้เปน็ ประจำทกุ ปี

ข้ึนหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 46

⚫ ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
ปัญหาอุปสรรคภาพรวมในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในเขตพื้นท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
1. การขาดความเอาใจใส่ในการเรียนรู้งานด้านสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ของคณะกรรมการดำเนินการ

ไมใ่ หค้ วามสำคัญกับการเข้ารบั การอบรมจากทางหน่วยงานภาครฐั จัดขึน้
2. คณะกรรมการดำเนินการไม่ศึกษาระเบียบ/ข้อบังคบั กฎหมายของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในฐานะ

ทีต่ นเองทำหน้าทีผ่ ูบ้ รหิ ารทไี่ ดร้ ับการวา้ วางใจจากมวลสมาชกิ
3. คณะกรรมการขาดองค์ความรดู้ า้ นการบรหิ ารจัดการดา้ นธรุ กิจ
4. คณะกรรมการขาดองค์ความชำนาญแล้เข้าใจด้านการบัญชี การใช้ประโยชน์จากงบฐานะการเงิน

งบทดลอง
5. สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรสว่ นใหญเ่ ปน็ ภาคการเกษตร ทำให้เก่ียวกบั การผลติ ผลผลิตทตี่ ้องประกนั ภัย

ธรรมชาติ โดยเฉพาะอทุ กภัย เนือ่ งจากพน้ื ท่ีเป็นพืน้ ทร่ี าบลมุ่ นำ้ ท่วมทุกปี ทำใหเ้ กษตรกรวางแผนการผลิตไมด่ ี
ทำให้พชื ผลทางการเกษตรเสยี หาย ไมม่ รี ายไดส้ ง่ ชำระหนีส้ หกรณ์/กลุม่ เกษตรกร

6. สมาชิกของสหกรณ์ท่ีมีหนี้ค้างนานมีความเช่ือหรือปลุกป่ันจากแกนนำของกองทุนฟื้นฟูที่ไม่ให้
สมาชิกท่มี ีหนคี้ ้างนานมาชำระหน้ีกับสหกรณ์และให้ความหวังท่กี องทนุ จะเข้ามาซื้อหน้ีกบั สหกรณแ์ ทนจงึ ทำให้
เกิดปัญหาสหกรณข์ าดทุนและมีหนค้ี า้ งเป็นจำนวนมาก

๗. สมาชิกขาดจิตสำนึกการเป็นเจ้าของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและขาดการมีส่วนร่วมในการทำ
กจิ กรรมตามทส่ี หกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร นัดหมาย

๘. สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ท่ีมีขนาดเล็กขาดแคลนเงินทนุ หมนุ เวียนในการดำเนินกจิ การ

⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา
1. ควรมีการพัฒนา ส่งเสริม พัฒนาการด้านการเรียนรู้ คณะกรรมการดำเนินการ จากประสบการณ์

ตรง โดยการพาศึกษาดูงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ท่ีมีการดำเนินกิจการและสบความสำเร็จอย่างชัดเจนและ
เป็นรปู ธรรมเพ่อื สรา้ งแรงจงู ใจเพ่อื กลบั มาพฒั นาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรของตนเอง

๒. ให้การศึกษาอบรมดา้ นระเบยี บ/ข้อบังคับ กฎหมาย การบัญชีที่จำเป็นต่อการบริหารงาน สหกรณ์/
กลมุ่ เกษตรกร

๓. การส่งเสริมภาครัฐด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ ต้องทำอย่างมีข้ันตอนท่ีชัดเจน มีการบูรนาการอย่าง
ต่อเน่ือง มีการติดตามประเมินผลอย่างต้อเนื่อง สำนักงานเกษตรจังหวัดความมีแผนงานที่กระจายให้ทุก
หน่วยงานทราบ เป็นแนวปฏิบตั เิ ดียวกนั ทกุ หน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในระดบั จังหวดั

4.ให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกพืชแบบนาแปลงใหญ่ หรือ การทำ Zoning อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
เพือ่ เป็นแนวคิดเดมิ ๆ ในการทำอาชีพเกษตรกรรม สร้างผู้นำในท้องถิ่นสามารถรับองคค์ วามรู้จากภาคราชการ
ไปถา่ ยทอดใหส้ มาชิกได้อย่างถกู ต้อง แมน่ ยำ มีประสทิ ธิภาพ เชน่ ปราชญช์ าวบ้าน ปราชญส์ หกรณ์ เป็นต้น

๕. ควรมีการจัดกิจกรรม ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึก ให้สมาชิก ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร

๖. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควรติดตามเร่งรัดหน้ีกับลูกหนี้ท่ีค้างชำระ โดยในบางคร้ังหากมีความ
จำเป็นก็ควรพิจารณาดำเนนิ การฟ้องร้องต่อลูกหนภี้ ายในอายุความ

๗ ควรสนับสนุน จัดหาแหล่งเงินทุน ต้นทุนต่ำเพ่ือเป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์/
กลมุ่ เกษตร

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 47

⚫ ผ /คว สำ ็ ส ณ/์ ่ ษต
ในเขตพ้ืนท่ี สหกรณ์การเกษตรท่าเรือ จำกัด เป็นสหกรณ์ท่ีมีผลงานเด่นโดยในปีที่ผ่านมา สำนักงาน
สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้กำหนดเป้าหมายให้สหกรณ์การเกษตรท่าเรือ จำกัด เป็นสถาบัน
เกษตรกรในการพัฒนาในรูปแบบประชารัฐ เพ่ือผลักดันให้สหกรณ์ฯ เป็นศูนย์กลางทางด้านการให้บริการ
สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรท่ัวไป
นอกจากน้ันสหกรณ์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการบริการประชาชนผู้ได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยได้จัดหา
สินค้าอุปโภคบริโภคมาจำหน่ายให้สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรท่ัวไปในพื้นท่ี ซ่ึงทำให้สมาชิกสหกรณ์และ
ประชาชนทั่วไปท่ีได้รับสิทธิบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ สามารถเข้าถึงสินค้าอุปโภคบริโภคได้สะดวกรวดเร็ว ลด
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง นอกจากการดำเนินกิจกรรมทั้งหลายเหล่าน้ี สหกรณ์ฯ ยังมีการผลิตพันธ์ุข้าว
แบบครบวงจร เพ่ือจำหน่ายให้แก่บรรดาสมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรท่ัวไป ประกอบไปด้วย พันธุ์ กข ๓๑
(ปทุมธานี ๘๐)/กข. ๕๗/ปทุมธานี ๑/กข.๔๙/สุพรรณบุรี ๑ ซึ่งสหกรณ์มีกระบวนการในการผลผลิตและ
ควบคุมในทุกขั้นตอนของการผลิตเมล็ดพันธุ์ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ส่งผลให้สมาชิกสหกรณ์และ
เกษตรกรท่ัวไปในพืน้ ทีอ่ ำเภอท่าเรอื มีเมล็ดพันธ์ุข้าวท่มี ีคุณภาพไวใ้ ชใ้ นการเพาะปลูกในแต่ฤดกู ารผลติ
⚫ ปัจจยั แหง่ ความสำเรจ็ (เพอื่ เป็นกรณีศึกษาตวั อยา่ งท่ีดหี รอื แนวทางในการสง่ เสริม)
ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จในการส่งเสริมสหกรณ์ของเจา้ หนา้ ที่ส่งเสริมสหกรณ์ เนอื่ งจาก
1. สมาชิกมีความร่วมมอื อยา่ งเหนยี วแน่นกับสหกรณ์
2. คณะกรรมการดำเนินการมคี วามสามารถในการบริหารจดั การองคก์ รไดด้ ี เนื่องจากส่วนใหญ่เปน็
ผนู้ ำการเมืองในท้องถ่นิ
3. ฝ่ายจดั การมีประสบการณ์ความรู้ความสามารถสงู มีพื้นฐานด้านงานในหน้าที่
และทกั ษะในงานสงู
4. การสง่ เสริมสหกรณโ์ ดยใหค้ วามเปน็ อสิ ระในการตัดสนิ ใจด้วยความพร้อมและสมคั รใจ

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 48

พนื้ ทคี่ วามรับผิดชอบของกล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 3

 : ขอ้ มูลทั่วไปของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 รับผิดชอบสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ี 5 อำเภอ ดังนี้

1) อำเภอเสนา 2) อำเภอบางไทร 3) อำเภอผักไห่ 4) อำเภอบางซ้าย 5) อำเภอลาดบัวหลวง มีสหกรณ์และ
กล่มุ เกษตรกรในความรบั ผดิ ชอบ จำนวน 43 แหง่ ดงั น้ี

1) สหกรณ์ จำนวน 16 แห่ง แยกเป็นสหกรณ์ภาคเกษตร จำนวน 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ
68.75 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 31.25 สถานะของสหกรณ์ มีการ
ดำเนินการ จำนวน 14 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 87.5 หยดุ ดำเนินการ จำนวน 1 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 6.25 ชำระ
บัญชี 1 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 6.25

 : งานกำกบั ตดิ ตามและงานแก้ปญั หา
โครงการแก้ไขปัญหาหนค้ี ้างชำระของสหกรณ์
โครงการแก้ไขปัญหาหน้ีค้างชำระของสหกรณ์ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 ต่อเนื่อง
จนถึงปจั จุบนั มีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรให้มีศักยภาพในการดำเนนิ ธุรกิจให้
ครอบคลุมทุกธุรกิจ 2) เพ่ือกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์
3) เพอื่ ให้สหกรณ์ขับเคลือ่ นการแกไ้ ขปญั หาหนค้ี า้ งชำระสมาชิกสหกรณ์ สามารถลดจำนวนหนี้คา้ ง
สหกรณ์ที่เปน็ องคก์ รหลักระดับอำเภอในความรับผิดชอบของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 เข้ารว่ ม
โครงการ จำนวน 3 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรเสนา จำกัด สหกรณ์การเกษตรบางไทร จำกัด และ
สหกรณ์การเกษตรผักไห่ จำกัด ผลการดำเนินโครงการ ฯ จนถึง ส้ินปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีสมาชิก
เข้าร่วมโครงการ ฯ จำนวน 440 ราย ข้อมูลยอดยกมา มีต้นเงินคงค้าง จำนวน 67,594,964.89 บาท
ดอกเบ้ยี ค้าง จำนวน 19,443,310.79 บาท ค่าปรับค้าง จำนวน 3,052,590.16 บาท รวมท้งั สน้ิ จำนวน
90,090,866.56 บาท ยอดคงเหลือ ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ต้นเงินคงค้าง จำนวน
49,959,266.08 บาท ดอกเบยี้ คา้ ง จำนวน 15,711,576.14 บาท คา่ ปรับค้าง จำนวน 2,494,490.26
บาท รวมทั้งสนิ้ จำนวน 68,165,332.52 บาท
ความสำเร็จของโครงการ มียอดหนี้ค้างชำระลดลง 21,925,534.15 บาท แยกเป็นราย
สหกรณ์ ดังนี้
(1) สหกรณก์ ารเกษตรเสนา จำกัด มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ ฯ จำนวน 167 ราย ข้อมูล
ยอดยกมา มีต้นเงินคงค้าง จำนวน 35,212,123.00 บาท ดอกเบี้ยค้าง จำนวน 4,866,152.08 บาท
ค่าปรับค้าง จำนวน 625,038.77 บาท รวมทั้งส้ิน จำนวน 40,703,314.57 บาท ยอดคงเหลือ ณ ส้ิน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ต้นเงินคงค้าง จำนวน 22,193,117.07 บาท ดอกเบี้ยค้าง จำนวน
3,201,992.07 บาท คา่ ปรับค้าง จำนวน 18,363.16 บาท รวมทงั้ สน้ิ จำนวน 25,413,472.34 บาท
ความสำเรจ็ ของโครงการ มียอดหนีค้ า้ งชำระลดลง 15,289,842.34 บาท

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 49

แผนภูมทิ ่ี 6 ผลการดำเนินงานโครงการแกไ้ ขหน้ีคา้ งชำระของสหกรณ์การเกษตรเสนา จำกัด

(2) สหกรณ์การเกษตรบางไทร จำกัด มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ ฯ จำนวน 110 ราย ข้อมูล
ยอดยกมา มีต้นเงินคงค้าง จำนวน 25,452,980.00 บาท ดอกเบ้ียค้าง จำนวน 13,738,918.00 บาท
ค่าปรับค้าง จำนวน 2,148,138.00 บาท รวมทั้งส้ิน จำนวน 41,340,036.00 บาท ยอดคงเหลือ ณ ส้ิน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ต้นเงินคงค้าง จำนวน 22,626,349.01 บาท ดอกเบี้ยค้าง จำน วน
10,927,933.85 บาท ค่าปรับค้าง จำนวน 1,948,910.42 บาท รวมทั้งส้ิน จำนวน 35,503,193.28
บาท

ความสำเร็จของโครงการ มียอดหน้คี ้างชำระลดลง 5,836,842.72 บาท

แผนภมู ิที่ 7 ผลการดำเนนิ งานโครงการแก้ไขหนี้ค้างชำระของสหกรณ์การเกษตรบางไทร จำกัด

ผ โค แ ั ค
ส ณ์ ษต

30,000,00 0.00 25,452,980.00 22,626,349.01
25,000,00 0.00 10,927,933.85
20,000,00 0.00
15,000,00 0.00 13,738,918.00
10,000,00 0.00 2,148,138.00 1,948,910.42

5,000,000 .00
0.00

ยย ผ

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 50

(3) สหกรณ์การเกษตรผักไห่ จำกัด มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ ฯ จำนวน 127 ราย ข้อมูล
ยอดยกมา มีต้นเงินคงค้าง จำนวน 6,929,861.89 บาท ดอกเบ้ียค้าง จำนวน 838,240.71 บาท ค่าปรับ
ค้าง จำนวน 279,413.39 บาท รวมท้งั ส้ิน จำนวน 8,047,515.99 บาท ยอดคงเหลือ ณ ส้นิ ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 ต้นเงินคงค้าง จำนวน 5,139,800.00 บาท ดอกเบี้ยค้าง จำนวน 1,581,650.22 บาท
ค่าปรับค้าง จำนวน 527,216.68 บาท รวมท้งั สิ้น จำนวน 7,248,666.90 บาท

ความสำเรจ็ ของโครงการ มยี อดหนคี้ า้ งชำระลดลง 798,849.09 บาท

แผนภูมทิ ่ี 8 ผลการดำเนนิ งานโครงการแก้ไขหนี้คา้ งชำระของสหกรณก์ ารเกษตรผักไห่ จำกัด

ผ โค แั ค
ส ณ์ ษต ผ ่
6,929,861.89

7,000,000 .00 5,139,800.00
6,000,000 .00
5,000,000 .00 1,581,650.22
4,000,000 .00
3,000,000 .00 838,240.71 527,216.68
2,000,000 .00 279,413.39
1,000,000 .00

0.00

ยย ผ

ข้ึนหนา้ ใหม่


Click to View FlipBook Version