The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ.2564 สนง.สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by superaekiphone, 2022-01-14 06:57:57

รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ.2564

รายงานประจำปี (Annual Report) พ.ศ.2564 สนง.สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 51

◼ โค รงก ารส่ งเส ริ ม พั ฒ น าส ห ก รณ แล ะก ลุ่ ม เก ษ ต รก รสู่ ม าต รฐ าน ส ห ก รณ์ /
กลุ่มเกษตรกร

1. มาตรฐานสหกรณ์ :
กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ออกประกาศ เร่ือง กำหนดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ฉบับลงวันท่ี

2 8 มีน าค ม พ .ศ. 2 5 5 1 เพ่ื อการป ฏิ บั ติภ ารกิจส่งเสริมสนั บ สนุ น และพั ฒ น าสห ก รณ์ ให้ มี
ความเข้มแข็ง โดยกำหนดสหกรณ์เป็น 2 ระดับ คือ ระดับได้มาตรฐานและระดับต่ำกว่ามาตรฐาน
มีตัวชี้วัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ 7 ข้อ สหกรณ์ท่ีผ่านตัวชี้วัดท้ัง 7 ข้อ ถือว่าผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
แต่ถ้าสหกรณ์ตกตัวช้ีวัดข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่าสหกรณ์น้ันไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ซ่ึงกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ถือใช้
เกณฑ์ดังกล่าวมาเป็นระยะเวลาหนง่ึ แลว้

ในปีงบประมาณ 2553 อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ (นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์) ได้หารือร่วมกับ
ผู้ บ ริห ารก รม ส่ งเส ริม ส ห ก รณ์ มี ค ว าม เห็ น ร่ว ม กั น ว่า จ ำเป็ น อ ย่ างยิ่ งที่ ต้ อ งเร่งก ารพั ฒ น า
และสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร) ซ่ึงกรมส่งเสริมสหกรณ์
ได้กำหนดยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันเกษตรกรไว้แล้ว โดยมีแผนขับเคล่ือน 5 แผน ซึ่งใน
แผนที่ 5 เป็นแผนการพัฒ นาสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็งและยั่ งยืน และในส่วนหน่ึงของแผน
คือ เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาสถาบันเกษตรกรด้วยตัวของสมาชิกและสถาบันเกษตรกรเองเป็นหลัก และ
กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นหน่วยงานให้การสนับสนุนเท่าท่ี จำเป็น เพ่ือให้สมาชิกมีบทบาท สำคัญ
ในการบริหารและพัฒนาสถาบันด้วยตนเอง ซ่ึงกรมส่งเสริมสหกรณ์ ใช้การจัดมาตรฐานสหกรณ์
เป็นกลไกหลักในการพัฒนาระบบสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ จึงได้มีการปรับปรุงการจัดระดับมาตรฐาน
ส ห ก รณ์ ให ม่ แ ล ะ อ อ ก ป ระ ก าศ เรื่อ ง ก ำห น ด ระ ดั บ ม าต รฐ าน ส ห ก รณ์ ป ระ ก าศ ณ วัน ที่
23 มถิ ุนายน พ.ศ. 2553 และกำหนดระดบั มาตรฐานสหกรณอ์ อกเปน็ 4 ระดับ คอื

1. ระดับมาตรฐานดเี ลิศ
2. ระดบั มาตรฐานดีมาก
3. ระดบั มาตรฐานดี
4. ระดบั ไม่ผา่ นมาตรฐาน
โดยใช้ตัวช้ีวัดผลการดำเนินงานของสหกรณ์ 7 ข้อ ตามเดิม แต่ได้เพ่ิมเติมการประเมิน
การจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ โดยแบ่งวิธีการประเมินออกเป็น 2 ส่วน คือ ผลการด ำเนินงาน
ของสหกรณ์และกระบวนการบริหารจัดการภายในสหกรณ์ รวมท้ังส้ิน 137 ข้อ และได้ถือใช้มาจนถึงปัจจุบัน
ต่อมาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้มีการปรับเปล่ียนวิธีการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ใหม่ เพ่ือให้ผลการ
จั ด ม า ต ร ฐ า น ส ห ก ร ณ์ ส า ม า ร ถ ส ะ ท้ อ น ถึ ง ผ ล ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
โดยกำหนดระดบั มาตรฐานขึน้ ใหมแ่ บ่งออกเปน็ 2 ระดับ คือ ระดับผา่ นมาตรฐาน และไม่ผา่ นมาตรฐาน

ขนึ้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 52

2. มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร :
การจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรเป็นนโยบายส ำคัญ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพ่ือใช้ใน

การส่งเสริมและพั ฒ นากลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง โดยการจัดมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร
เป็นการประเมิ นศักยภ าพการด ำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรในเบ้ืองต้น กรมส่งเสริม สหกรณ์
ได้ออกประกาศกรมส่งเสริมสหกรณ์ เรื่อง หลกั เกณฑ์การจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2560 ประกาศ ณ
วัน ที่ 1 6 ธัน วาค ม พ .ศ . 2 5 5 9 ซ่ึงได้ ก ำห น ด ระดั บ ใน ก ารส่งเสริม ส นั บ สนุ น แ ละพั ฒ น า
กลุ่มเกษตรกรเป็น 2 ระดับ คอื

1. ระดบั ได้มาตรฐาน
2. ระดับต่ำกวา่ มาตรฐาน
การวัดระดับมาตรฐานของกลุ่มเกษตรกรใช้ผลการด ำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรปีล่าสุด
โดยมีเกณฑ์การจดั มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 5 ข้อ ประกอบด้วย
ข้ อ ที่ 1 ค ณ ะ ก รรม ก าร ด ำเนิ น ก ารจั ด ให้ มี ก ารจั ด ท ำงบ แ ส ด งฐ าน ะ ก ารเงิน
รอบสิบสองเดือนแล้วเสร็จและจัดใหม้ ีผสู้ อบบัญชีตรวจสอบได้ภายใน 150 วัน ตามกฎหมาย
ข้อท่ี 2 ไม่มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญ ชีเก่ียวกับรายการข้อบกพร่องทางการเงิน
และบญั ชีอยา่ งรา้ ยแรง
ขอ้ ท่ี 3 มกี ารทำธุรกจิ หรอื การบริการอยา่ งน้อย 1 ชนิด
ข้อที่ 4 มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปีภายในกำหนดเวลา 150 วัน เว้นแต่มี
ภัยธรรมชาตจิ นเกิดความเสียหายตอ่ สมาชกิ และกลมุ่ เกษตรกรโดยรวม
ข้อที่ 5 มีกำไรสุทธิประจ ำปี และมีการจัดสรรก ำไรสุทธิป ระจ ำปี ตามกฎ ห มาย
เว้นแตม่ ีภยั ธรรมชาติจนเกดิ ความเสียหายต่อสมาชกิ และกล่มุ เกษตรกรโดยรวม
กลุ่มเกษตรกรท่ีนำมาจัดมาตรฐาน หมายถึง กลุ่มเกษตรกรทุกประเภท ยกเว้นกลุ่มเกษตรกรท่ีอยู่ใน
เงอื่ นไขขอ้ ใดข้อหนึง่ ดงั ต่อไปน้ี
1. กลุ่มเกษตรกรทีจ่ ัดตั้งใหม่ไม่เกนิ 1 ปี
2. กลุ่มเกษตรกรท่ีหยดุ ดำเนนิ งาน
3 . กลุ่มเกษ ตรกรที่ เลิกอยู่ระห ว่างช ำระบั ญ ชีห รือกลุ่ม เกษ ตรกรที่ ล้ม ละลาย
โดยศาลสั่ง

3. วัตถปุ ระสงค์ :
3.1 เพ่ือวัดความเป็นสถาบนั สหกรณ์ องค์กรของสมาชกิ
3.2 ประเมินศักยภาพในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลจากการจัดระดับมาตรฐาน

สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรสะทอ้ นให้เห็นวา่ สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรมจี ุดอ่อนจุดแข็งอยา่ งไร มีศกั ยภาพที่จะ
อำนวยบรกิ ารประโยชน์แก่สมาชิกซ่ึงเป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้ดีเพียงใด มีความสามารถในการ
บริหารจดั การมากน้อยเพียงใด

3.3 แบ่งระดับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกรเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นแก่เจ้าหน้าท่ีของกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการแบ่งระดับสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพข้อเท็จจริงและสอดคล้องกับความต้องการของ
สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร เพื่อเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งกา้ วหนา้ แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรต่อไป

ข้ึนหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 53

4. ประโยชน์ :
4.1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้ทราบถึงสถานะและผลการดำเนินงานของตนในภาพรวมเบ้ืองต้น

เน่ื อ ง จ า ก ตั ว ช้ี วั ด ร ะ ดั บ ม า ต ร ฐ า น ส ห ก ร ณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต ร ก ร เป็ น เก ณ ฑ์ เบ้ื อ งต้ น ทั่ ว ไป
ท่ีสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรสามารถดำเนินงานให้ผ่านได้โดยยึดหลักการและวิธีการสหกรณ์
ซง่ึ สอดคลอ้ งอย่างยงิ่ กบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

4.2 สห กรณ์ และกลุ่มเกษ ตรกรสามารถกำห นดแน วท างการด ำเนิน งานห รือแนวท าง
การพัฒนาให้ผ่านมาตรฐานในแต่ละระดับได้ เช่น หากสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรตกมาตรฐานข้อใด
ก็ต้องวเิ คราะห์หาสาเหตแุ ละแกไ้ ขปรบั ปรุงใหผ้ า่ นเกณฑ์มาตรฐานข้อนั้น ๆ

4.3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับสิทธิบางประการที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด เช่น
การพิ จารณ าขอกู้เงิน ก อ งทุ น พั ฒ น าสห ก รณ์ ก ารพิ จารณ าคั ด เลือก เข้าร่วม โค รงก ารต่ าง ๆ
ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ เป็นต้น

5. กระบวนการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใหผ้ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน :
5.1 ศึกษาวิเคราะห์สาเหตุการไม่ผ่านมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และแนวทางแก้ไขการ

พั ฒ น าสห กรณ์ และกลุ่มเกษ ต รกรให้ ผ่าน มาตรฐาน จำเป็ น ต้องมีการศึกษ าวิเคราะห์ สาเห ตุ
การไม่ผ่านมาตฐานร่วมกับสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้ทราบสาเหตุที่แท้จริงของสหกรณ์
แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต รก ร ที่ ไม่ ผ่ าน ม าต รฐ าน ห ลั งจ าก น้ั น จึ งน ำข้ อ มู ล ม าจั ด ท ำแ ผ น ก ารพั ฒ น า
โดยใช้แนวคดิ กระบวนการจดั ทำแผนแบบมสี ่วนร่วมในกระบวนการตอ่ ไป

5.2 จดั ทำแผนการพัฒนาสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรแบบมีสว่ นร่วม เม่ือทำการศึกษาวเิ คราะห์สาเหตุ
ที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านมาตรฐานแล้ว ก็นำมาวางแผนพัฒนาโดยใช้แนวคิดการจัดทำแผนแบบมี
สว่ นร่วม ดงั ตอ่ ไปนี้

5.2.1 ขั้นตอนการสร้างความรู้ (Appreciation: A) เปน็ ขั้นตอนวางแผนแบบมสี ่วนรว่ มในชั้น
ตอนแรก ซ่ึงเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกณ์ต้องเข้าไปให้ความรู้เกี่ยวหลักเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ประโยชน์ท่ีสหกรณ์จะได้รับจากการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมท้ังร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละ
หาสาเหตทุ ่ีแท้จริงของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีไม่ผ่านมาตรฐาน ร่วมกับคณะกรรมการดำเนินการและฝ่าย
จดั การสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร โดยหาข้อสรุปร่วมกนั เพื่อนำไปกำหนดวธิ ีการแก้ไขปัญหาในขั้นตอนต่อไป

5.2.2 ขั้นตอนการสร้างแนวทางการพัฒ นา (Influence: I) เป็นข้ันตอนวางแผน
แบบมีส่วนร่วมในข้ันตอนที่สอง เป็นช้ันตอนท่ีเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการและฝ่าย
จัด การส ห กรณ์ แ ล ะก ลุ่ ม เก ษ ต รก ร ต้ องร่ว ม กั น ห าวิธีการแ ล ะเสน อ ท างเลือ ก ใน การพั ฒ น า
สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐาน โดยกำหนดเป้าหมาย กำหนดกิจกรรมจัดล ำดับ
ความสำคัญของการพัฒนาใหผ้ ่านมาตรฐานเป็นรายข้อ และจัดทำเป็นแผนระยะส้นั ระยะปานกลาง ตามความ
ยากง่ายของสาเหตุท่ีไม่ผ่านมาตรฐานในแต่ละข้อ และสุดท้ายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรต้องมีเป้าหมายท่ีจะ
พัฒนาตนเองให้ผ่านเกณฑ์มาตฐานทั้งหมด ได้ภายในระยะเวลาก่ีปี และสำนักงานสหกรณ์จังหวัดต้องนำ
แผนการพัฒนาของทุกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมากำหนดเป็นเป้าหมายรวมท้ังจังหวัด ทำให้สำนักงาน
สหกรณจ์ งั หวัดสามารถกำหนดเปา้ หมายและมีทศิ ทางการพฒั นาที่ชดั เจนมากย่ิงข้ึน

ขนึ้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 54

5.2 .3 ข้ั น ต อ น ก าร ส ร้ างแ น ว ท างป ฏิ บั ติ (Control: C) เป็ น ข้ั น ต อ น ว างแ ผ น
แบบมีส่วนร่วมเป็นขั้นตอนสุดท้าย ซ่ึงเป็นข้ันตอนท่ีทุกฝ่ายต้องร่วมกันกำหนดแนวทางปฏิบัติ
ตามแผนโดยผ่านการยอมรับจากทุกฝ่าย เช่น จัดทำโครงการ/แผนงาน รวมท้ังมีการติดตามประมินผลการ
ดำเนิน งานกระบ วน การวางแผน แบ บ มีส่วน ร่วมจะมีส่วน ช่วยให้ สห กรณ์ และกลุ่มเกษ ตรกร
รวมท้ังเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้มีแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร
ในแต่ละข้อ และมีเป้าหมายในการพัฒนาที่ชัดเจนมากย่ิงขึ้น กรมส่งเสริมสหกรณ์สามารถนำมาวางแผนงาน/
โครงการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานในภาพรวมท้ังประเทศสำหรับสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานแล้ว ก็สามารถนำหลักการวางแผนแบบมีส่วนร่วมไปปรับใช้กับการรักษามาตรฐาน
หรือการพัฒนาระดับมาตรฐานให้สูงข้ึน โดยอาจจะเพิ่มขั้นตอนการประเมินหลักเกณฑ์มาตรฐานทุกรายไตร
มาส โดยเจ้าหน้าทีส่ ่งเสริมสหกรณ์ต้องเขา้ ประเมนิ ผลทุกรายไตรมาส

5.3 การบูรณาการงาน/โครงการของทุกหน่วยงานท้ังในระดับกรมและจังหวัดเพ่ือสนับสนุนให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละข้อ การจัดมาตฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็น
ตัวชี้วัดหลักที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ควรจะเป็นเร่ืองท่ีทุกหน่วยงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จะ
ร่วมกันพัฒนาแบบบูรณาการ ไม่ควรที่ให้กลุ่มจัดต้ังและส่งเสริมสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เป็น
ผู้รับผิดชอบแต่เพียงฝ่ายเดียว การบูรณาการระหว่างหน่วยงานเป็นเร่ืองที่ยาก แต่ถ้านำเสนอเร่ืองดังกล่าว
กำหนดเป็นนโยบายของกรมฯ ก็จะสามารถขบั เคลื่อนได้เปน็ รูปธรรมมากยง่ิ ขึน้

5.4 การจัดการองค์ความรู้เร่ืองมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้
ระหว่างสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การจัดการองค์ความรู้เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการบริหารจัดการองค์กรยุค
ใหม่ เพ่ือให้องค์ความรู้ที่ติดอยู่กับตัวบุคคลสูญหายไป ให้อยู่คู่กับองค์กร รวมท้ังได้มีการพัฒนาความรู้ในเรื่อง
ต่าง ๆ ให้ทันสมัยและสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้รวดเร็ว แนวทางการพัฒนาและส่งสริมสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรให้ผ่านมาตรฐานควรนำเร่ืองการจัดการองค์ความรู้มาใช้ในการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร จะเกิดเรียนรู้การแก้ไขปัญหาสาเหตุการไม่ผ่านมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในแต่ละข้อว่ามี
เทคนิควิธีกรอย่างไรท่ีจะพัฒนาให้ผ่านมาตรฐาน โดยกำหนดแนวทางปฏิบัติให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดจัดทำ
องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ได้มาตามกระบวนการจัดการองค์
ความรู้ และนำองค์ความรู้ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ท้ังท่ีผ่านมาตรฐาน
และไม่ผ่านมาตรฐาน เพ่ือเป็นการเพ่ิมเติมองค์ความรู้และได้เทคนิคต่าง ๆ ในการรักษามาตรฐาน
การพัฒนาให้ผ่านมาตรฐานเป็นรายขอ้ จากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด นำมา
เผยแพร่บนเว็บไซต์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งจะสร้างประโยชน์อย่างมากแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
รวมทั้งเจา้ หนา้ ท่สี ง่ เสริมสหกรณ์ในการพฒั นาและส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผา่ นมาตรฐาน

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 55

6. แนวทางพัฒนาและสง่ เสริมสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านเกณฑ์มาตรฐาน :
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ประกอบด้วย การ

ผลักดันให้สหกรณ์ผ่านมาตรฐานในะดับท่ีสูงขึ้น และการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานในแต่ละข้อรายละเอียดดงั ต่อไปนี้

1) การผลักดันให้สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรผ่านหลักเกณ ฑ์มาตรฐานในระดับที่สูงข้ึน
ควรสง่ เสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปนี้

1.1 ให้การศึกษ าอบรมความรู้ ด้านอุดมการณ์ ห ลักการ และวิธีการสหกรณ์
แกส่ มาชิกสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

1.2 ยึดถือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติงานประจำปี ซึ่งได้รับอนุมัติจากท่ีประชุมใหญ่
ประกอบด้วย แผนปฏิบตั ิงานและแผนการใช้จ่ายเงินของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร

1.3 กระจายแผนงานลงสู่การปฏิบัติเป็นรายเดือน มอบหมายผู้ปฏิบัติให้ชัดเจน
และมผี รู้ ับผดิ ชอบ ตดิ ตามผลการปฏิบตั ิงาน ทง้ั ฝ่ายกรรมการและฝา่ ยจัดการ

1 .4 ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส ห ก ร ณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต ร ก ร ร า ย เดื อ น
หรือรายไตรมาส ในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ จัดทำงบทดลองประจำเดือน งบรับ-จ่าย
ของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

1.5 ตดิ ตามผลการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นประจำทกุ เดือน เพื่อทราบ
ผ ล ก ารป ระ ก อ บ ก ารปั ญ ห า อุ ป ส ร รค ต่ าง ๆ เพ่ื อ ห าแ น ว ท างแ ก้ ไช ป รับ ป รุง แ ล ะ พั ฒ น า
ในธุรกจิ ตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปนี้

- ธรุ กิจการรบั เงินฝาก
- ธรุ กจิ การใหเ้ งนิ กู้ หรอื สินเชือ่
- ธรุ กิจการรวมซื้อ การรวมขาย
- ธรุ กิจการใหบ้ ริการ
- ธรุ กจิ การแปรรปู เชน่ โรงสี โรงเมล็ดพนั ธ์ุ โรงนม โรงรมยาง เป็นตัน
- อนื่ ๆ
1.6 มกี ารควบคุมภายใน และตดิ ตามผลประจำเดือนทุกเดอื น ดังต่อไปนี้
- การดูแลทรัพยส์ ินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใหพ้ ร้อมใช้งาน
- การรับ-จา่ ยเงิน การเก็บรกั ษาเงินสด ให้เป็นไปตามข้อบังคบั และระเบียบ
- การจัดทำบญั ชี
- ธรุ กจิ สนิ เชื่อ
- ธรุ กิจจัดหาสินคา้ มาจำหน่าย (การรวมซ้อื )
- ธรุ กิจการรวบรวมผลผลิต (การรวมขาย)
- ธรุ กจิ การรับฝากเงิน
- ธุรกจิ การแปรรูป
- ธุรกิจการให้บริการ
- การจดั สวัสดกิ าร
- ข้อสงั เกตทตี่ รวจพบ และแนวทางแก้ไขของผ้สู อบบัญชี

ข้ึนหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 56

1.7 สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรจดั ทำบญั ชใี หเ้ ปน็ ปจั จุบนั
- บั น ทึ ก ส มุ ด บั น ที่ ก ร า ย ก า ร ข้ั น ตั น (ส มุ ด เงิน ส ด ส มุ ด ซ้ื อ ส มุ ด ข า ย

สมุดรายไดค้ ่าบริการ สมุดรายงานทว่ั ไป) และตรวจนบั สินคา้ คงเหลอื เปน็ ประจำทุกเดือน
- สมดุ บญั ชีแยกประเภท
- งบทดลอง
- งบการเงิน ได้แก่ งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน งบต้นทุนขาย/บริการ งบ

ต้นทุนการผลติ ตามรปู แบบบญั ชีท่ีกรมตรวจบัญชสี หกรณ์กำหนด
- จัดท ำงบ การเงิน ทุ ก ไตรม าส และจัดท ำงบ การเงิน ณ วัน ส้ิน ปี บั ญ ชี

เพื่อส่งให้ผู้สอบบญั ชตี รวจสอบภายใน ๓๐ วัน
1.8 ตรวจนับเงินสด เพอื่ ตรวจสอบเงินสดคงเหลอื เป็นไปตามทีก่ ำหนดในระเบยี บ
1.9 ประชุมใหญ่สามญั ประจำปี ภายใน ๑๕๐ วัน นบั แต่วันส้ินปที างบัญชี
1.10 คณะกรรมการดำเนินการและเจา้ หนา้ ท่ี ดำเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี
- ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการดำเนนิ การ
- ตรวจสอบหลักประกันของเจา้ หน้าที่
- มีคำสง่ั มอบหมายงานให้กรรมการและเจา้ หน้าท่อี ยา่ งซดั เจน
1 .1 1 ให้ตรวจสอบ กิจการของสห กรณ์ และกลุ่มเกษ ตรกร เข้าตรวจสห กรณ์

และกลุ่มเกษตรกร และรายงานผลต่อท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนินการเป็นประจำทุกคราวที่ประชุม หรือ
เดือนละ ๑ คร้งั

1.12 มกี ารตรวจสอบระเบียบ/ขอ้ บงั คับ ในเรอ่ื งความเหมาะสม ครบถ้วน ถกู ตอ้ ง
1 .1 3 จั ด ส รรก ำไรสุ ท ธิต าม ข้ อ บั งคั บ โด ย เฉ พ าะ ก ารจั ด ส วั ส ดิ ก าร ส ม าชิ ก
และสาธารณประโยชนแ์ ละมีการจ่ายเงนิ ดงั กล่าวในแต่ละรอบบัญชี
1.14 ปฏิบัติตามกฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์
ระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณ์ คำสง่ั นายทะเบยี นสหกรณ์ และกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
1.15 ส่งเสริมใหส้ มาชิกทำธุรกิจกบั สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร โดย

- มีข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกในเรื่อง การผลิต ปัจจัยการผลิต รายได้ ค่าใช้จ่าย เพื่อ
เปน็ ข้อมลู ในการเลือกประเภทและปรมิ าณธรุ กจิ ทีจ่ ะทำกบั สมาชกิ

- ทำธรุ กิจตามความต้องการของสมาชิก
- ทำความเข้าใจกับสมาชิก ถึงวิธีการ ข้ันตอนการท ำธุรกิจ ผลประโยชน์
ท่ี ส ม าชิ ก จ ะ ได้ รับ เม่ื อ ท ำธุ รกิ จ กั บ ส ห ก รณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต รก ร มี ค ว าม ยุ ติ ธ รรม กั บ ส ม าชิ ก
ทง้ั ในด้านราคาผลผลติ ราคาขายสินค้าและบรกิ าร อัตราดอกเบี้ย ตลอดจนการบรกิ ารดา้ นตา่ ง ๆ
- ช่วยเห ลื อสม าชิ ก เมื่ อ ได้ รับ ความ เดื อด ร้อน ด้ าน ก ารป ระก อบ อาชี พ
และดา้ นอน่ื ๆ เช่น ประสบภัยธรรมชาติ การเจ็บปว่ ย ฯลฯ ตามสมควร
- จัดสรรกำไรเป็นเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจให้กับสมาชิก
ในอัตราทีเ่ หมาะสม
1 .1 6 กระบวนการข้อใดยังไม่ด ำเนิน การ ให้ พิ จารณ าด ำเนินการให้ ครบ ถ้วน
ตามข้อกำหนด
1.17 ให้ใชห้ ลกั ธรรมาภิบาลในการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 57

2 ) ก ารส่ งเส ริม ส ห กรณ์ แล ะก ลุ่ ม เก ษ ต รก รให้ ผ่ าน ห ลั กเก ณ ฑ์ ม าต รฐ าน ใน แต่ ล ะข้ อ
ในการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละข้อ มีข้ันตอนการดำเนินการ
ดงั ต่อไปนี้

2.1 ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรว่า เม่ือเปรียบเทียบกับเกณฑ์ชี้วัด
ระ ดั บ ม าต ฐ าน ส ห ก รณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต รก ร แ ต่ ล ะ ข้ อ แ ล้ ว ผ ล ก ารด ำเนิ น งาน เป็ น อ ย่ างไร
และวิเคราะห์ปญั หา สาเหตุ ของการไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละข้อ เพื่อวางแผนในการสง่ เสริมและแนะนำ
สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรสหกรณ์

2.2 ประชุมช้ีแจงทำความเข้าใจเกณฑ์มาตรฐานทุกข้อ และร่วมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานตาม
ขั้ น ต อ น ท่ี 1 กั บ ส ห ก ร ณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต ร ก ร แ ล ะ เจ้ า ห น้ า ท่ี เพ่ื อ ห า แ น ว ท า ง แ ก้ ไ ข
หรือแนวทางการดำเนนิ งาน

2.3 แนะนำ ส่งเสริม การปฏิบัตงิ านของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแต่
ละข้อ

2.4 ตดิ ตามและประเมนิ ผล โดย
2.4.1 กรรมการดำเนินการตรวจติดตามการปฏิบัติงานและรายงานเสนอต่อ

คณะกรรมการดำเนนิ การ
2.4.2 เจ้าหน้าท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ติดตามผลเสนอสหกรณ์จังหวัดและแจ้ง

สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

7. ผลการดำเนนิ งาน :

ผลการจดั มาตรฐานสหกรณ์ ประจำปี 2564
สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

(ขอ้ มลู ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2564)

จำนวน ไม่นำมาจดั มาตรฐาน (แหง่ ) นำมาจัด ผลการจดั มาตรฐาน
สหกรณท์ ี่ มาตรฐาน สหกรณ์ (แหง่ )
ที่ ประเภท สำรวจ
(แหง่ ) ไมค่ รบ 2 ปี หยุด เลิก (แหง่ ) ผา่ น ไม่ผ่าน
1 สหกรณ์การเกษตร
2 สหกรณ์นคิ ม 29 - - 1 28 5 23
3 สหกรณ์ประมง 2 - -1 1 1 -
4 สหกรณอ์ อมทรพั ย์ - -- - - -
5 สหกรณ์รา้ นคา้ - - - 1 16 14 2
6 สหกรณบ์ รกิ าร 17 - -- - - 1
7 สหกรณ์เครดิตยเู น่ยี น 1 - 1 1 20 9 11
22 - 11 3 2 1
รวม 5 - 2 5 69 31 38
76

ขึน้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 58

ผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ประจำปี 2564
สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ข้อมูล ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564)

จำนวนกลุ่ม นำมาจดั ผ่านมาตรฐาน (กลมุ่ ) ต่ำกว่า
รกั ษา ผลักดัน มาตรฐาน
ที่ ประเภท เกษตรกร มาตรฐาน มาตรฐาน ใหผ้ า่ น (กลมุ่ ) หมายเหตุ
เดิม มาตรฐาน
ท้ังหมด (กลมุ่ ) 60 2 9
-
1 กลุ่มเกษตรกรทำนา 77 71 2- -
2 กลุ่มเกษตรกรทำสวน 5 2 1- 9
3 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 1 1 63 2
83 74
รวม

กล่มุ เกษตรกรท่ีไมต่ ้องนำมาจัดมาตรฐาน

ท่ี สาเหตุ จำนวน (กลมุ่ ) หมายเหตุ
1 กลุ่มเกษตรกรทีจ่ ดั ตง้ั ใหม่ ไมเ่ กิน 1 ปี -
2 กลมุ่ เกษตรกรทห่ี ยดุ ดำเนนิ งาน 2
3 กลุม่ เกษตรกรทเี่ ลิกหรอื ชำระบัญชี 7
4 กลุ่มเกษตรกรท่ีถกู ฟอ้ งล้มละลาย/พทิ กั ษท์ รพั ย์ -
5 คน้ หาขอ้ มลู ไมพ่ บ -
9
รวม

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 59

◼ การส่งเสรมิ การออมและการลดหนี้ของสมาชกิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

สหกรณ์เป็นองค์กรการเงินภาคประชาชน ดำเนินการภายใต้พระราชบัญญัติสหกรณ์
มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสรมิ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสังคมของบรรดาสมาชิกด้วยวิธีการช่วยเหลือตนเอง
และช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน การออมเงินในสหกรณ์เป็นกิจกรรมหนึ่งท่ีมีเจตนาฝึกนิสัย สมาชิกให้รู้จักการ
ช่วยเหลือตนเองด้วยวิธีการเก็บออมเงินไว้ในสหกรณ์เพื่อความมั่นคงของชีวิต แล้วสหกรณ์นำเงินออมดังกล่าว
มารวมกันเป็นเงินทุนดำเนินงานของสหกรณ์ ทำธุรกิจให้บริการตามวัตถุประสงค์ของสมาชิกท่ีมารวมกันเป็น
สหกรณ์ เช่น การให้เงินกู้เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนหรอื จำเปน็ ในการประกอบอาชพี ลงทุนทำธุรกิจ ใช้จา่ ยใน
ครัวเรือน จัดหาสินค้าวัสดุอุปกรณ์มาบริการสมาชิก หรือรวบรวมผลผลิตของสมาชิกไปจำหน่าย เป็นต้น ซ่ึง
เป็นวิธีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างหมู่สมาชิกในสหกรณ์ให้สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ซึ่งลำพังเพียงคน
เดียวไมส่ ามารถทำได้สำเรจ็

ดังน้ัน หากสหกรณ์สามารถระดมเงินออมจากสมาชิกได้อย่างต่อเน่ืองและเพียงพอกับความ
ต้องการใช้เงินทุนหมุนเวียนทำธุรกิจของสหกรณ์ได้ผลประโยชน์จะเกิดกับสมาชิกสูงสุด กล่าวคือสมาชิกจะมี
เงินออมสำหรับไว้ใช้จ่ายในบ้ันปลายของชีวิต หรอื สมาชิกมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงในชีวิต นำไปสู่
การมีคุณภาพชีวิตท่ีดีได้ทางหน่ึง ส่วนสหกรณ์ก็มีความม่ันคงจากแหล่งเงินทุนภายในสหกรณ์เอง ทำให้ได้รับ
ผลกระทบจากปัจจัยเส่ียงภายนอกต่ำ เงินออมของสมาชิกอาจใช้เป็นหลักประกันการกู้เงินหรือการให้สินเชื่อ
ของสหกรณ์ได้ จึงช่วยลดภาระของผู้ค้ำประกัน สมาชิกสำนึกในความเป็นเจ้าของสนใจดูแลติดตามผลการ
ดำเนินงานของสหกรณม์ ากข้ึน สหกรณ์จึงควรใหค้ วามสำคัญสง่ เสรมิ การออมเงินในหมู่สมาชกิ ในรปู แบบตา่ งๆ

แนวทางในการส่งเสรมิ การออมทรพั ยใ์ ห้กบั สมาชิกและกล่มุ เกษตรกร
1. การส่งเสริมการออมทรัพย์ให้กับสมาชิกและกลุ่มสมาชิกของสหกรณ์ ควรจัดทำเป็น
โครงการ/กจิ กรรมและกำหนดให้มีวิธีการออมทรัพย์ตามความเหมาะสมหรือรณรงค์ให้มกี ารออมในวันสำคัญๆ
2. ส่งเสริม และแนะนำในท่ีประชุมกลุ่มสมาชิก ที่ประชุมใหญ่ และควรมีการติดตามในที่
ประชุมคณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์ทกุ คร้งั เพือ่ ให้ทราบถึงผลการดำเนินการและปัญหาอุปสรรค ตา่ ง

3. ประชาสัมพันธ์เก่ียวกับการส่งเสริมการออมทรัพย์ ประโยชน์ของการออมทรัพย์ วิธีการ
ขั้นตอนการรับฝากและการถอนเงินฝาก อัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากประเภทต่าง ๆ ให้กับสมาชิกได้รับรู้อย่าง
ต่อเน่ืองและสมำ่ เสมอ เพอื่ เปน็ การสร้างแรงจูงใจในการออมทรัพยก์ ับสมาชกิ สหกรณ์
4. การส่งเสริมการออมทรัพย์ให้แก่สมาชิก หรือกลุ่มสมาชิก สหกรณ์ควรมีการแนะนำ
เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ เพื่อเพ่ิมรายได้ หรือแนวทางในการลดต้นทุนในการผลิต ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
ใหแ้ กส่ มาชกิ ควบคู่กันไป

ขน้ึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 60

◼ โครงการฝึกอบรม หลักสูตร “ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรข้ันปลาย”
ผ่านระบบสื่อสารทางไกล (ระบบ Zoom)

1. วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พ้นื ทีด่ ำเนนิ งานโครงการ :
การชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นภารกิจหนึ่งของกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่จะต้อง

เร่งดำเนินการให้แล้วเสร็จ ซึ่งข้อมูล ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖3 พบว่า มีสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นภารกิจหน่ึงของกรมส่งเสริม
สหกรณ์ที่จะต้องเร่งกระบวนการชำระบัญชีท้ังสิ้น ๑,๘๕๕ แห่ง แบ่งเป็นสหกรณ์ ๑,๒๖๐ แห่ง
และกลุ่มเกษตรกร ๕๙๕ แห่ง ซึ่งขั้นตอนการชำระบัญชีได้กำหนดไว้เพ่ือการติดตามงาน
มีจำนวน 10 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 เผยแพร่ การเลิกและแจ้งชื่อผู้ชำระบัญชี ข้ันตอนท่ี 2
รบั มอบทรพั ย์สินและจัดทำงบแสดงฐานะการเงนิ ตามมาตรา ๘0 ขั้นตอนท่ี ๓ ส่งงบการเงินประจำปี
ให้ผู้สอบบัญชีรับรองมาตรา ๘0 ข้ันตอนที่ ๔ ผู้สอบบัญชีรับรองงบการเงินประจำปีตามมาตรา 80
ขั้นตอนท่ี ๕ เสนองบการเงินตามมาตรา 80 ให้ท่ีประชุมใหญ่หรือนายทะเบียนสหกรณ์อนุมัติ
ขั้นตอนท่ี ๖ ดำเนินการจดั การทรัพย์สนิ และหนี้สินให้เสร็จสิ้น ข้นั ตอนท่ี ๗ สง่ รายงานการชำระบัญชี
และรายการย่อตามมาตรา ๘๗ ให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรอง ข้ันตอนที่ ๘ ผู้สอบบัญชี
รับรองบัญชีท่ีชำระตามมาตรา ๘๗ เพื่อเสนอนายทะเบียนสหกรณ์เห็นชอบ ชั้นตอนท่ี ๙
ถอนชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรออกจากทะเบียน และขั้นตอนที่ ๑0 ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี
และเอกสารทั้งหลายแก่นายทะเบียนสหกรณ์ ซ่งึ สำนักนายทะเบียนและกฎหมายได้มีการจดั ฝึกอบรม
ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรช้ันพ้ืนฐาน (ขั้นตอนที่ ๑ ถึง ขั้นตอนท่ี ๓) เพ่ือให้ผู้ชำระบัญชี
สามารถนำความรู้ความเข้าใจ และทักษะจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานแล้ว
จำนวนหลายรนุ่ ในปงี บประมาณที่ผ่านมา แตก่ ารชำระบญั ชยี งั ไม่สามารถดำเนินการให้เสร็จส้นิ ได้

สำนักนายทะเบียนและกฎหมายพิจารณาแล้วเห็นว่า สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ใน
ข้ันตอนท่ี ๕ ขึ้นไป มีจำนวนทั้งสิ้น ๘๓๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๔๕ ของจำนวนสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกรท่ีอยู่ระหว่างชำระบัญชี โดยส่วนใหญ่ผู้ชำระบัญชีจะพบปัญหาในช้ันตอน
การจัดการทรัพย์สินหน้ีสินทำให้ไม่สำมารถดำเนินการชำระบัญชีให้แล้วเสร็จได้ และใช้ระยะเวลา
ในการชำระบัญชีค่อนข้างนาน จึงเห็นควรจัดทำโครงการฝึกอบรม หลักสูตร “ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกรข้ันปลาย” โดยพิจารณาคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมจากข้าราชการ
หรือพนักงานราชการของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด สำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร
ท่ีได้รับมอบหมายเป็นผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนที่ ๕ ข้ึนไป
หรือเป็นผู้ชำระบัญชีที่ผ่านการฝึกอบรมการชำระบัญชีข้ันพ้ืนฐาน หรืออบรมผู้ชำระบัญชีมือใหม่
เพื่อให้ผู้ชำระบัญชีมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ขั้นตอนวิธีปฏิบัติในการชำระบัญชี
กฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติต่าง ๆ และสามารถดำเนินการจัดการทรัพย์สินและหน้ีสินให้เสร็จสิ้นได้
อย่างถูกต้องครบถ้วน อีกท้ังได้แลกเปลี่ยนปัญหาและการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ส่งผลให้การปฏิบัติงาน
การชำระบัญชีเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและเสร็จส้นิ ตามกระบวนการได้

ข้ึนหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 61

1.1 วัตถปุ ระสงค์ :
1.1.1 เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ กฎหมายสหกรณ์ว่าด้วยการชำระบัญชี

ระเบียบ คำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณท์ ี่เกีย่ วกบั การชำระบัญชีในส่วนที่เก่ียวขอ้ งกับการจดั การ
ทรัพยส์ ินและหน้ีสิน

1.1.2 เพอ่ื เสริมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ กฎหมายว่าด้วยหน้ี การจดั การหนี้กองทุน
ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ กรณีการชำระบัญชี

1.1.3 เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวบรวมปัญหา การแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะ
เพ่อื พฒั นางานการชำระบัญชี

1.2 เปา้ หมาย :
ข้าราชการและพนักงานราชการที่เป็นผู้ชำระบั ญชีปฏิบัติการชำระบัญชี

ซึ่งอยู่ระหว่างข้ันตอนท่ี 5 ข้ึนไป หรือเป็นผู้ชำระบัญชีท่ีผ่านการฝึกอบรมผู้ชำระบัญชีสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกรมือใหม่หรือข้ันพื้นฐาน สังกัดสำนักงานสหกรณ์จังหวัดและสำนักงานส่งเสริม
สหกรณ์กรุงเทพมหานคร พ้ืนที่ 1-2 ดำเนินการอบรม จำนวน 2 รุ่น จังหวัดส่งคนอบรม
จังหวดั ละ 1 คนต่อรนุ่ รวม 78 คน

1.3 พนื้ ที่ดำเนินโครงการ :
รุน่ ที่ 1 ระหว่างวันท่ี 17-19 สิงหาคม 2564 และ รุ่นท่ี 2 ระหว่างวันที่ 24-26

สิงหาคม 2564 โดยถ่ายทอดสัญญาณจากห้องประชุม กพน. 2 ชั้น 1 อาคาร 3 กรมส่งเสริม
สหกรณ์ กรุงเทพมหานคร ไปยังสำนักงานสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์
กรุงเทพมหานคร พ้ืนที่ 1-2

2. ผลการดำเนินงาน :
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ดำเนินการส่งข้าราชการเข้าร่วมอบรม

จำนวน 2 คน ประกอบดว้ ย
2.1 รุ่นท่ี 1 ระหว่างวันที่ 17-19 สิงหาคม 2564 ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่

นางสาวนุชรา ใจตา ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ สังกัด กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
โดยเป็นผู้ชำระบัญชี จำนวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่

2.1.1 สหกรณ์เคหสถานอาคารสงเคราะหท์ รัพย์เจรญิ จำกดั เลิกสหกรณ์ ปี 2561
2.1.2 สหกรณเ์ ครดติ ยเู น่ียนเซนต์โยเซฟอยธุ ยา จำกัด เลกิ สหกรณ์ ปี 2562
2.2 รุ่นท่ี 2 ระหว่างวันที่ 24-26 สิงหาคม 2564 ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่
นายการันดร์ สามงามไฝ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ สังกัด กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3
โดยเปน็ ผู้ชำระบญั ชี จำนวน 4 แห่ง ได้แก่
2.2.1 กลุ่มเกษตรกรทำสวนพระยาบนั ลอื เลกิ กลุม่ เกษตรกร ปี 2562
2.2.2 กลมุ่ เกษตรกรทำสวนลาดบวั หลวง เลิกกล่มุ เกษตรกร ปี 2564
2.2.3 กล่มุ เกษตรกรทำนาบานกลึง เลกิ กลมุ่ เกษตรกร ปี 2564
2.2.4 กลมุ่ เกษตรกรทำนากกแกว้ บูรพา เลิกกลุม่ เกษตรกร ปี 2564

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 62

3. ผลลพั ธ์ :
3.1 ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ :
3.1.1 ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมมผี ลคะแนนการทดสอบไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60
3.2 ผลลพั ธ์เชงิ คณุ ภาพ :
3.2.1 ผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมมีความรเู้ พ่มิ ขึ้น
3.2.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติงานชำระบัญชีได้

อย่างมปี ระสิทธิภาพ
3.2.3 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถถา่ ยทอดความรู้ที่ได้ให้กับผู้ชำระบัญชีซ่ึงอยู่ใน

จงั หวัดเดียวกันใชเ้ ป็นแนวทางการชำระบญั ชีสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรอน่ื ต่อไป
4. ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ :

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช ำระบัญชี
สามารถถอนชอ่ื ได้ รอ้ ยละ 25 ของจำนวนสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรทอ่ี ยู่ระหวา่ งชำระบญั ชีทงั้ หมด
5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข :

-
6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนนิ กิจกรรมของงาน/โครงการ :

-

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 63

◼ โครงการการประชุมซกั ซอ้ มการตรวจการสหกรณ์

1.หลักการและเหตผุ ล
ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แผนงาน พื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับ
การส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตาม
ศักยภาพ ซ่ึงกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้อนุมัติงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการประชุมซักซ้อมการตรวจ
การสหกรณ์ ให้สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

เพื่อดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานดังกล่าว กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงาน
สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้กำหนดจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ เพื่อให้การ
กำกับดูแลสหกรณ์ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกิด
ประสิทธิภาพ และสหกรณ์ดำเนินงานด้วยความโปร่งใส เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจน
ป้องกันปัญหาการเกิดข้อบกพร่องอันเกิดจากการดำเนินงานหรือการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ซึ่งมี
ความซับซ้อนมากข้ึน หรือหากเกิดข้อบกพร่องขึ้นก็สามารถแก้ไข หรือระงับยับยั้งได้อย่างรวดเร็วทัน
ต่อเหตุการณ์

2. วตั ถุประสงค์
5.1 เพื่อซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ให้แก่เจ้าหน้าท่ีสำนักงานสหกรณ์จังหวัด

พระนครศรอี ยุธยา
5.2 เพ่ือให้การตรวจการสหกรณ์เกิดประสิทธิภาพ ตลอดจนป้องกันปัญหาการเกิด

ข้อบกพร่องจากการดำเนนิ งานของสหกรณ์

3. ผู้เขา้ รว่ มประชุม
ข้าราชการและพนักงานราชการสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จำนวน 24 คน

4. ระยะเวลา/สถานที่
จัดประชุม จำนวน 1 คร้ัง ระหว่างเดือนมกราคม 2564 ณ ห้องประชุมสำนักงาน

สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา อำเภอพระนครศรีอยธุ ยา จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

5. ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั

1. ข้าราชการและพนักงานราชการสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยามี
ความรูแ้ ละแนวทางในการตรวจการสหกรณ์

2. สหกรณ์ท่ีอยู่ในความดูแลของสำนกั งานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับ
การกำกับดแู ลเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และสามารถป้องกันปัญหาการเกิดข้อบกพร่อง ตลอดจน
สามารถแกไ้ ข หรือระงบั ยบั ย้งั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทนั เหตุการณ์

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 64

6. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ

ขึน้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 65

◼ โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธท่ีมี
อานุภาพทำลายล้างสูงแกส่ หกรณ์ผ่านระบบออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม Zoom Meeting

1. วัตถปุ ระสงค/์ เปา้ หมาย/พนื้ ทีด่ ำเนินงานโครงการ :
สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สำนักงาน ปปง.) ขอความร่วมมือกรมส่งเสริม

สหกรณ์ติดตาม กำกับดูแลให้สหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีทุนดำเนินการซ่ึงมีมูลค่าหุ้นรวมต้ังแต่สองล้าน
บาทข้ึนไป นำส่งข้อมูลประกอบการประเมินความเส่ียงเก่ียวกับการฟอกเงินและการสนับสนุนทาง
การเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธท่ีมีอานุภาพทำลายล้างสูง กรมส่งเสริมสหกรณ์
ได้มอบหมายให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คัดเลือกสหกรณ์และส่งรายชื่อเจ้าหน้าท่ี
สหกรณ์ท่ีมีความประสงค์เข้ารับการอบรม ตามระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน ว่าด้วยการจดั ใหม้ ีการฝกึ อบรมใหแ้ ก่ผมู้ หี น้าทรี่ ายงาน ตามมาตรา 13 และมาตรา 16

1.1 วตั ถุประสงค์ :
1.1.1 เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ และเจ้าหน้าท่ีกรมส่งเสริมสหกรณ์มีความรู้ความ

เข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินฯ รวมทั้งการดำเนินการของ
สหกรณ์ท่ีมีความเกี่ยวข้องกับกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินฯ และสหกรณ์ได้
มีการกำหนดนโยบายด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน การกำหนดผู้รบั ผิดชอบโดยตรง

1.1.2 เพื่อให้สหกรณ์ได้มีข้อมูลการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงนิ มาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำเนินงานของสหกรณ์

1.2 เป้าหมาย :
-เจา้ หน้าที่สหกรณ์ผู้มหี น้าที่รายงานตามกฎหมาย เฉพาะสหกรณ์ทม่ี ีทุนดำเนินการ

ซึ่งมีมูลค่าหุ้นรวมตั้งแต่สองล้านบาทข้ึนไป และมีวัตถุประสงค์ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการรับฝากเงิน
ใหก้ ู้ จำนวนท้ังสน้ิ 509 สหกรณ์ สหกรณ์ละ 1 คน รวม 509 คน

-วทิ ยากร เจา้ หนา้ ท่ี และผสู้ ังเกตการณ์ รวมจำนวน 75 คน
1.3 พ้ืนทด่ี ำเนินโครงการ :

ภายในเดือนสิงหาคม 2564 จัดอบรมผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Zoom
Meeting จากส่วนกลางที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ และผู้เข้าร่วมการอบรม ณ สถานที่ตั้งสำนักงานของผู้
เข้ารบั การอบรม หรือสถานทสี่ ำนักงานสหกรณ์จงั หวัดแต่ละจังหวัดจัดให้ โดยจดั อบรมแบง่ เปน็ 5 รุ่น

ร่นุ ท่ี 1 กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล 100 สหกรณ์ จำนวน 100 คน
รุ่นท่ี 2 ภาคกลาง 105 สหกรณ์ จำนวน 105 คน
รุ่นท่ี 3 ภาคเหนือ สหกรณ์ 100 สหกรณ์ จำนวน 100 คน
รุ่นท่ี 4 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 98 สหกรณ์ จำนวน 98 คน
รนุ่ ท่ี 5 ภาคใต้ 106 สหกรณ์ จำนวน 106 คน
ท้ังนี้ สถานท่ีจัดอบรมส่วนกลาง ณ กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีผู้เข้าร่วมจำนวน รุ่นละ
15 คน จำนวน 5 ร่นุ รวมจำนวน 75 คน

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 66

2. ผลการดำเนนิ งาน :
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ดำเนินการส่งข้าราชการและเจ้าหน้าที่เข้า

ร่วมการอบรม จำนวน 4 คน และสหกรณ์ที่มีหน้าที่รายงาน ตามมาตรา 13 และมาตรา 16
สง่ ผแู้ ทนเข้ารว่ มประชุมทางไกล (Conference) จำนวน สหกรณล์ ะ 2 คน
4. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั :

เจ้าหน้าที่สหกรณ์และเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินการ
ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน รวมท้ังเข้าใจในนโยบายและระเบียบ
วธิ กี ารปฏิบตั ิดา้ นการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ อยา่ งถกู ตอ้ ง
5. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ :

ขึ้นหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 67

◼ โครงการ การขับเคล่ือนการส่งเสรมิ สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณเ์ ครดิตยูเนย่ี ม
เพ่ือเข้าสู่เกณฑ์การกำกับดูแล ตามาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.
2542 และที่แก้ไขเพ่มิ เติม

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนทด่ี ำเนินงานโครงการ :
สรา้ งความรู้ความเขา้ ใ

จให้แก่เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและเจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ให้สามารถ
ปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยู
เนยี่ น พ.ศ.2564 เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพในการกำกบั ดแู ลสหกรณ์
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมทีด่ ำเนนิ งานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนนิ งานโครงการ)

-เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ
แนวทางการปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์
เครดิตยูเน่ียน พ.ศ. 2564

-เจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน สามารถนำความรู้และแนว
ทางการปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิต
ยูเนย่ี น พ.ศ.2564 ไปปฏิบตั แิ ละปรับใชใ้ นการดำเนินงานของสหกรณ์ได้เป็นอยา่ งดี
3. ผลลพั ธ์ :

ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรแู้ ละนำความรทู้ ีไ่ ดร้ บั ไปปฏิบัติ โดยผูเ้ ข้าร่วมโครงการ

ท้ัง 34 คน สามารถนำความรู้และแนวทางดังกล่าวไปปรับใช้ในการกำกับดูแลและส่งเสริมสหกรณ์
เพือ่ ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพและปฏิบัติตามกฎหมายโดยเครง่ ครดั

ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภาพ
เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีความรู้ความเข้าใจ พร้อมทั้ง

สามารถแนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์ปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์
ออมทรพั ย์และสหกรณเ์ ครดติ ยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องตามกฎหมาย

เจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน มีความรู้ความเข้าใจและนำ
หลักเกณฑ์แนวทางการปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และ
สหกรณเ์ ครดติ ยูเนีย่ น พ.ศ.2564 ไปปฏบิ ตั ิ
4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข

ผู้เข้าร่วมโครงการยังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎกระทรวงการดำเนินงานและ
การกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนไม่เพียงพอ และในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชือ้ โควิด-19 ในปัจจบุ ัน จงึ มขี ้อจำกัดเกยี่ วกบั จำนวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ การจดั ประชมุ

ข้ึนหน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 68

5. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ

ขึน้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 69

◼ โครงการสง่ เสริมการดำเนินธรุ กิจรา้ นค้าสหกรณ์ในรปู แบบซปุ เปอรม์ าเก็ตสหกรณ์

กรมส่งเสริมสหกรณ์เดินหน้าขับเคล่ือนโครงการซูเปอรม์ าร์เก็ตสหกรณ์ หลังประสบ
ผลสำเร็จในปีที่ผ่านมาสามารถพัฒนาและผลักดันให้สหกรณ์เป็นจุดศูนย์รวบรวมและจำหน่ายสินค้า
เกษตรที่มีคุณภาพ มีร้านค้าสหกรณ์เข้าร่วมโครงการมากถึง 94 แห่ง ใน 42 จังหวัด เพ่ิมปริมาณ
ธรุ กิจหมุนเวียนในระบบสหกรณ์กว่า 86 ล้านบาท พร้อมขยายผลยกระดับคุณภาพผลผลิตและ
คัดสรรสินค้าปลอดภัย ตอบสนองความต้องการผู้บริโภค คาดจะช่วยสร้างรายได้ให้สมาชิกสหกรณ์
เพ่ิมมากข้ึน ในปีน้ีจะเดินหน้าขยายผลโครงการซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ต่อเนื่องจากปีท่ีผ่านมา ซ่ึง
นับว่าเป็นอีกหน่ึงโครงการท่ีประสบความสำเร็จ มีการผลักดันให้สหกรณ์เป็นจุดจำหน่ายสินค้าและ
ผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิก และยกระดับธุรกิจสหกรณ์การเกษตรให้เป็นศูนย์รวบรวมและ
จำหน่ายผลผลิตที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและจำหน่ายในราคาท่ีเป็นธรรมอย่างท่ัวถึง พร้อม
ทั้งใช้หลักของ “ตลาดนำการผลิต” ทำให้เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือระหว่างเครือข่าย
สหกรณ์ผผู้ ลิตทที่ ำหน้าที่รวบรวม แปรรปู รวมถึงบริหารจดั การสนิ ค้าเกษตรของสมาชกิ และเกษตรกร
ในชุมชนต่าง ๆ จนเกิดการเช่ือมโยงไปสู่ผู้บริโภคผ่านซูเปอร์จนสามารถขยายช่องทางการตลาดและ
เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของลูกค้า ส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์และสินค้าคุณภาพของ
สหกรณ์ที่เป็นท่ีรู้จักแก่ผู้บริโภคและประชาชนทั่วไปมากข้ึน ภายใต้แนวคิด “สด สะอาด ปลอดภัย
Fresh From Farm by Co-op สดจากฟารม์ ถึงมือคณุ ”

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้คัดเลือกสหกรณ์ที่มีความพร้อมใน
ด้านการผลิต การตลาด รวมถึงการแปรรูปสินค้าที่มีกระบวนการที่ครบวงจร คือ สหกรณ์การเกษตร
ท่าเรือ จำกัด โดยผลิตภัณฑ์หลักท่ีสหกรณ์รวบรวมผลผลิตจากสมาชิกและเกษตรกรทั่วไปนำมาแปร
รูปของสหกรณ์การเกษตรทา่ เรือ จำกัด คือ ข้าวสาร ซึง่ ในปัจจุบันสหกรณ์ฯ มีข้าวสารหลายชนิด เช่น
ข้าว กข43, ข้าวหอมมะลิ105 (หอมภาชี), ข้าวขาว แต่ผลิตภัณฑ์ที่สหกรณ์คัดเลือกเข้าโครงการ
ซเู ปอรม์ าร์เก็ตสหกรณ์ คือ ข้าวบุญอโยธยา(ข้าว กข.43) ซง่ึ เป็นขา้ วสำหรับผู้บริโภคที่ใส่ใจในสุขภาพ
ของตนเอง เน่ืองจากข้าวบุญอโยธยาเป็นข้าวที่น้ำตาลค่อนข้างต่ำ และข้าวหอมอโยธยา(ข้าวหอมมะลิ
105) เป็นข้าวหอมมะลิท่ีสหกรณ์รวบรวมจากสมาชิกแปลงใหญ่ในเขตอำเภอภาชี จังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา

ผลการดำเนนิ งาน
สหกรณก์ ารเกษตรทา่ เรือ จำกดั มีนโยบายที่จะพัฒนารา้ นคา้ ของสหกรณใ์ ห้สามารถ

เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตของสมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรท่ัวไปมาแปรรูปและจำหน่าย อีกท้ังยัง
ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างเครือข่ายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตท่ีมีบทบาทในการบริหาร
จดั การผลิตและสนิ ค้าจากสมาชิกเกษตรกรเช่ือมโยงไปสู่ผู้บริโภค อันจะเป็นการสง่ เสริมใหส้ หกรณเ์ ป็น
กลไกในการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจระดับชุมชน และคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรท่ัวไป
รวมถึงชุมชนและสังคมได้บริโภคสินค้าท่ีมีคุณภาพปลอดภัย ในราคาที่เป็นธรรม โดยคณะกรรมการ
ดำเนินการของสหกรณ์ได้มอบหมายให้ผู้จดั การสหกรณ์ทำการประชาสัมพันธ์นโยบายดังกล่าว ให้กับ
ขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผ่านการประชุมใหญ่สามัญประจำปีของสหกรณ์ การ
ประชุมชมรมผู้จัดการสหกรณใ์ นจงั หวดั การได้รบั เชญิ เป็นวิทยากรในงานตา่ ง ๆ

ข้นึ หนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 70

ผลลัพธ์

ผลลพั ธเ์ ชิงปริมาณ

สหกรณก์ ารเกษตรท่าเรือ จำกัด มีผลการจำหน่ายสินค้าในปี 2564 ดังนี้

1. ขา้ วบุญอโยธยา (ข้าว กข.43) จำนวน 1,035 ถุง มูลค่า 160,425.00 บาท

2. ข้าวหอมอโยธยา (ขา้ วหอมมะลิ 105) จำนวน 958 ถุง มลู คา่ 167,650.00 บาท

ผลลพั ธเ์ ชงิ คณุ ภาพ
สมาชิกและประชาชนทั่วไปที่ได้ซ้อื สินค้า(ข้าวสาร) จากสหกรณ์ได้สินค้าที่มีคณุ ภาพ
ไม่มีสารเคมตี กค้างในร่างกาย ข้าวสารของทางสหกรณ์ฯ ไม่ได้ขัดข้าวจนขาวทำให้สารอาหารยังคงอยู่
และมีประโยชน์ต่อผบู้ รโิ ภค และยงั ไดส้ ินคา้ ในราคาท่ถี กู กวา่ ทอ้ งตลาด

ภาพถา่ ยแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ

โครงการส่งเสริมการดำเนินธรุ กิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซเู ปอร์มารเ์ กต็

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 71

ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านท่ี 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ประเดน็ แผนแมบ่ ท 15 พลงั ทางสังคม

⚫ แผนงานยทุ ธศาสตร์

แผนงานยุทธศาสตรเ์ สริมสรา้ งพลงั ทางสงั คม

◼ โครงการคลนิ ิกเกษตรเคล่อื นท่ีในพระราชานุเคราะห์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1. วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นทด่ี ำเนินงานโครงการ :
1.1 วตั ถุประสงค์ :
1.1.1 เพ่ือให้คำปรึกษา แนะนำ เกี่ยวกับการสหกรณ์ แก่สมาชิกสหกรณ์

หรอื บคุ คลทัว่ ไป
1.1.2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้รับบริการสามารถนำวิธีการสหกรณ์ ไปปรับใช้ใน

ชวี ิตประจำวนั
1.1.3 เพ่ือบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานวิชาการ หน่วยงานส่งเสริม

สหกรณ์ และหนว่ ยงานอนื่ ในการใหบ้ ริการแก้ไขปัญหาทางการเกษตรรว่ มกันมากย่ิงขน้ึ
1.2 เป้าหมาย/พื้นท่ีดำเนนิ งานโครงการ :
ใหบ้ ริการคลินกิ สหกรณใ์ นพน้ื ทจี่ งั หวดั พระนครศรอี ยุธยา รวม 4 ครั้ง

2. ผลการดำเนนิ งาน :
ด้วยสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)

ได้ทวีความรุนแรงเพิ่มมากข้ึน จึงส่งผลให้การดำเนินงานโครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนที่
ใน พ ระ รา ช า นุ เค ร าะ ห์ ฯ ป ร ะ จ ำปี 2 5 6 4 ไม่ ส าม าร ถ ด ำเนิ น ก า ร ให้ เป็ น ป ก ติ ได้
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงได้กำหนดแผนการดำเนินโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ี
ในพระราชานุเคราะห์ฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในวันอังคารที่ 7 กันยายน 2564
ต้ังแต่เวลา 08.30 – 15.00 น. ผ่านทางระบบสื่อสารทางไกล (ระบบ Zoom Meeting)
เป้าหมายเกษตรกร จำนวน 500 ราย โดยกำหนดให้มีการจัดจุดให้บริการทางการเกษตร
และขอความร่วมมือหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีการบริกา รทางการเกษตรผ่านระบบออนไลน์
การจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ และบริการเอกสารวิชาการ แผ่นพับ วัสดุการเกษตรไว้บริการ
ใหแ้ ก่เกษตรกรตามความเหมาะสม

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ร่วมจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ
และสนับสนุนเอกสารวิชาการ แผ่นพับ ไว้บริการแก่เกษตรกรเป้าหมาย ณ สำนักงานเกษตร
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และร่วมให้คำปรึกษา แนะนำ เก่ียวกับการสหกรณ์ แก่สมาชิกสหกรณ์
หรือบุคคลทั่วไปผู้สนใจด้านการสหกรณ์ ผ่านทางระบบส่ือสารทางไกล (ระบบ Zoom Meeting)
ในวันและเวลาดังกล่าวขา้ งตน้

ขนึ้ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 72

3. ผลลพั ธ์ :
3.1 ผลลพั ธ์เชงิ ปริมาณ :
- ผู้เข้ารับบริการคลนิ ิกสหกรณ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70
3.2 ผลลัพธ์เชิงคณุ ภาพ
- ผู้เข้ารับ บ ริการคลินิ กสห กรณ์ มีความรู้ความเข้าใจใน กระบ วน การสห กรณ์

สามารถนำวธิ กี ารสหกรณ์ไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้

รูปภาพกิจกรรมประกอบ

โครงการคลนิ กิ เกษตรเคลอื่ นทใี่ นพระราชานเุ คราะห์ฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
วันที่ 7 กันยายน 2564

จดั กจิ กรรมผา่ นทางระบบสื่อสารทางไกล (ระบบ Zoom Meeting)
ณ สำนักงานเกษตรจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

ขน้ึ หน้าใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 73

ขึ้นหนา้ ใหม่

รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 74

ขึ้นหนา้ ใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 75

◼ โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรยี นในโรงเรียนตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิ
ราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2564

1. วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นทดี่ ำเนนิ งานโครงการ :
1.1 วัตถุประสงค์ :
1.1.1 เพื่อสนองงานตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีต้องการให้นักเรียนในโครงการพระราชดำริ ได้เรียนรู้เรื่องการสหกรณ์
เพื่อนำความร้แู ละทกั ษะไปใชใ้ นวิถีชวี ิต

1.1.2 เพ่ือเผยแพร่การสหกรณ์ให้แก่นักเรียนและบุคคลท่ัวไป ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ
ทักษะพืน้ ฐานในเร่ืองของการสหกรณใ์ นภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ มีพฤตกิ รรมตามอุดมการณ์สหกรณ์

1.1.3 เพื่อสร้างความคุ้นเคยระบบสหกรณ์ให้กับนักเรียนสามารถนำหลักการสหกรณ์ไป
ประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินชีวติ ประจำวัน ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงได้

1.2 เป้าหมาย/พน้ื ท่ีดำเนินงานโครงการ :
1.2.1 เป้าหมาย : นักเรยี นท่ีเป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรยี นโรงเรียนเจ้าฟ้าสรา้ ง นักเรียน

ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-6 ครู และผูส้ งั เกตการณ์ รวมจำนวน 60 คน
1.2.2 พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : โรงเรียนเจ้าฟ้าสร้าง อำเภอบางปะอิน จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา

2. ผลการดำเนินงาน :
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดำเนินกิจกรรมตามโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ.

2564 ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 ประสานโรงเรียนเจ้าฟ้าสร้างเพ่ือแจ้งแผนการดำเนินงาน และนัดวันประชุมเพ่ือเตรียมแนว

ทางการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนร่วมกัน และประสานสำนักงานตรวจบัญชสี หกรณ์พระนครศรีอยุธยา
เพ่ือขอความอนุเคราะห์จัดส่งเจ้าหน้าท่ีเข้าให้คำแนะนำ ส่งเสริมด้านการจัดทำบัญชีของสหกรณ์นักเรียนให้
ถูกตอ้ งเปน็ ปจั จุบัน

2.2 ประชุมหารือกับผู้บริหาร ฝ่ายวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เพ่ือชี้แจง
และวางแผนการสง่ เสรมิ กจิ กรรมสหกรณ์นักเรยี นรว่ มกนั

2.3 แนะนำ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การเรียนรูเ้ ร่อื งการสหกรณใ์ นภาคทฤษฎี
2.4 จัดกิจกรรมหรือแนะนำการจัดกระบวนการเรียนรู้เร่ืองการสหกรณ์แก่ครูผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหาร
โรงเรยี น เพอื่ นำไปถ่ายทอดความรูใ้ หน้ ักเรียนได้มีการเรยี นรู้เรื่องอดุ มการณ์ หลักการ และวธิ ีการสหกรณ์ และ
มีความคุ้นชินในด้านการสหกรณ์ โดยแนะนำให้โรงเรียนมีกิจกรรมสหกรณ์ ตามพ้ืนฐานหลัก 4 กิจกรรม
ได้แก่ การผลิต ร้านค้า ออมทรัพย์ และสาธารณประโยชน์ แนะนำให้มีการจัดทำบัญชีสหกรณ์ให้เป็นปัจจุบัน
และปิดบัญชีได้ทุกภาคเรียน แนะนำการจัดกระบวนการเปิดรับสมาชิกสหกรณ์ใหม่ การจัดประชุมใหญ่สามัญ
ประจำปี และการเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน แนะนำให้มีการจดบันทึกรายงานการประชุม
คณะกรรมการสหกรณ์นักเรยี น/การประชมุ ใหญ่ และตรวจสอบใหเ้ ป็นปจั จุบนั

ขนึ้ หนา้ ใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 76

2.5 จัดกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์แก่นักเรียนท่ีเป็นคณะกรรมการ สหกรณ์
นักเรยี น และสมาชกิ สหกรณ์

(1) กิจกรรมทัศนศึกษาเพ่ือเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์แก่นักเรียน
ที่เป็นคณะกรรมการสหกรณน์ ักเรยี น และสมาชกิ สหกรณ์

เน่อื งจาก สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) ยังคง
มีต่อเน่ือง โดยจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจัดอยู่ในพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุด 28 จังหวัด ตามประกาศศูนย์บริหาร
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ณ วันที่ 3 มกราคม 2564 ประกอบกับ
กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดและออกประกาศมาตรการควบคุมและป้องกันการ
แพร่ระบาดของโรคอย่างเข้มงวดในการป้องกนั โรคติดต่อ การดำเนินกิจกรรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้
พิจารณาโดยคำนึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียนเป็นสำคัญ จึงยกเลิกการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา
และการเข้าศึกษาดูงานนอกพ้ืนท่ี และจัดกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์แก่เด็กนักเรียนใน
โครงการฯ โดยจัดให้มีกิจกรรมพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์แก่นักเรียน
ท่ีเป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-6 ครู และผู้สังเกตการณ์ รวม
จำนวน 60 คน ณ โรงเรียนเจา้ ฟา้ สรา้ ง อำเภอบางปะอิน จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

(2) กจิ กรรมประกวดการออม “สดุ ยอดเด็กดมี ีเงินออม”
แนะนำ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมประกวดการออมทรัพย์ของนักเรียน “สุดยอดเด็กดี
มีเงินออม” เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริม และสร้างลักษณะนิสัยท่ีสอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์
โดยการช่วยตนเอง ได้แก่ การขยัน ประหยัด รู้จักกิน รู้จักใช้ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่สุรุ่ยสุร่าย เป็นคนอดออม มี
ความพอดี แบ่งสรรรายได้อย่างเหมาะสม เพ่ือการดำเนินชีวิตและเก็บออม ตลอดจนให้มีความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และเพื่อเป็นการปลกู จิตสำนกึ และสรา้ งวนิ ัยในการออม
2.6 ประเมินผลการเรียนเดก็ นักเรยี น ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6
ด ำ เนิ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง เด็ ก นั ก เรี ย น ใน ร ะ ดั บ ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า
ปีท่ี 6 ก่อนจบการศึกษา โดยใช้แบบทดสอบเพื่อวัดความรู้ ทักษะและความคิด ประเมินเชิงพฤติกรรมของ
นักเรียน จากเว็บไซต์กองประสานงานโครงการพระราชดำริ ซึ่งนักเรียนจะต้องผ่านการประเมินจากการทำ
แบบทดสอบ จำนวน 50 ข้อ และตอ้ งผา่ นเกณฑ์การทดสอบไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โรงเรยี นเจ้าฟ้าสร้างมีนักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษา ปีท่ี 6
จำนวน 16 คน นักเรียนทุกคนได้คะแนนการสอบรายบุคคลไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และมีผลคะแนนการสอบ
เฉลีย่ ท้งั ระดับชนั้ คิดเป็นร้อยละ 82.38
2.7 รายงานผลการดำเนินงานตามทีก่ องประสานงานโครงการพระราชดำริกำหนด

3. ผลลัพธ์ :
3.1 ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ :
- นักเรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน 16 คน ทุกคนมีผลสัมฤทธไ์ิ ด้คะแนนสอบวิชาสหกรณ์

ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70
3.2 ผลลพั ธเ์ ชงิ คุณภาพ :
- นกั เรยี นทเ่ี ปน็ คณะกรรมการสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ และครผู ู้รบั ผดิ ชอบกจิ กรรมสหกรณ์โรงเรยี นมี

ความรคู้ วามเข้าใจดา้ นการสหกรณม์ ากขนึ้ สามารถนำไปประยกุ ต์และปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันได้

ข้ึนหนา้ ใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 77

รปู ภาพกจิ กรรมประกอบ

จดั กิจกรรมพฒั นาศักยภาพและเสรมิ สรา้ งประสบการณด์ ้านการสหกรณ์แก่นกั เรยี น
ทเ่ี ป็นคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน เมอ่ื วนั ท่ี 30 มนี าคม 2564

ณ โรงเรียนเจา้ ฟ้าสรา้ ง อ.บางปะอนิ จ.พระนครศรีอยธุ ยา ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมจำนวน 60 คน

ขึ้นหน้าใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 78

แผนงานยทุ ธศาสตร์เพ่อื สนบั สนุนด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

◼ โครงการลดดอกเบี้ยเงนิ ก้ใู ห้เกษตรกรสมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร

1.วตั ถปุ ระสงค/์ เป้าหมาย/พน้ื ทีด่ ำเนนิ งานโครงการ :
1. เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/

กลุ่มเกษตรกร
2. เพ่ือให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ท่ีประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับการ

ชว่ ยเหลอื ไปฟ้ืนฟูประกอบอาชพี ตลอดจนมีเงนิ ทุนไว้ใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น
เป้าหมาย : สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีหน้ีเงินกู้ในวัตถุประสงค์เพ่ือการเกษตร ณ วันที่ 31

กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกู้ขอรบั การชดเชยไม่เกนิ 300,000 บาทแรก
พ้นื ทีด่ ำเนนิ งานโครงการ : สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ในพื้นทจี่ งั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมท่ดี ำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนินงานโครงการ)
1. สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดแจ้งวงเงินที่ได้รับจัดสรรให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อเตรียมความ

พร้อมในการจดั สง่ เอกสารประกอบการขอเบิกเงนิ ชดเชยดอกเบี้ย
3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

เพ่ือพิจารณาให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขอเบิกเงินชดเชยดอกเบ้ียและจัดส่งเอกสารประกอบตามที่โครงการฯ
กำหนดและรายงานขอเบกิ ไปยงั สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดภายในระยะเวลาที่กำหนด

4. สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ตรวจสอบเอกสารประกอบการขอเบิกเงินชดเชยของสหกรณ์/
กลุม่ เกษตรกร ตอ้ งเป็นไปตามหลักเกณฑข์ องโครงการและรายงานขอเบกิ เงินชดเชยไปยังกรมภายในระยะเวลา
ท่ีกำหนด

5. สำนักงานสหกรณ์จังหวดั แจง้ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรเพื่อเบิกจา่ ยเงินชดเชยดอกเบีย้
6. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตรวจสอบเอกสารประกอบการเบิกจ่ายและคำนวณดอกเบี้ยให้ครบถ้วน
ถกู ต้อง ตามหลกั เกณฑท์ โี่ ครงการฯ กำหนดกอ่ นโอนเงินใหส้ หกรณ์/กลุม่ เกษตรกรตอ่ ไป
7. สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดรายงานผลการเบิกจ่ายตามแบบ ลบ.2 และลบ.3 ให้กรมสง่ เสริมสหกรณ์
ทราบภายในระยะเวลาที่กำหนด
3. ผลลพั ธ์ : (ระบุทง้ั ผลลัพธเ์ ชงิ ปรมิ าณ และเชิงคณุ ภาพ)
ผลลัพธ์เชงิ ปริมาณ
ดำเนินการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบ้ีย ร้อยละ 1 00 จำนวน 26 แห่ง เป็นเงินท้ังสิ้น
1,355,760.04 บาท
ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภาพ
สมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ได้รับความช่วยเหลอื บรรเทาความเดอื ดร้อนดา้ นภาระหนี้สนิ และไดร้ บั
โอกาสในการฟนื้ ฟตู นเองในช่วงการพกั ชำระหนี้

ขึ้นหนา้ ใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 79

ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นท่ี 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกจิ ฐานราก

⚫ แผนงานบรู ณาการ

แผนงานบรู ณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก

◼ โค ส่ ส แ ส ษ ใ ใ แ ภ ค ษต
( ำ ส ต่ ษต )

1. วตถ ส ค/์ ้ ย/ ำ โค :
ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้พิจารณาเห็นว่า ปัจจุบันภาคการเกษตรของไทยกำลัง

ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ ลูกหลานเกษตรกรซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่นิยมออกไปทำงานในเมืองใหญ่
และไม่สนใจประกอบอาชพี เกษตรกรรม ทำให้แรงงานภาคเกษตรเร่ิมขาดแคลนและจะมีผลต่อผลิตภาพในภาค
การเกษตร ทำให้มีข้อจำกัดเรื่องความสามารถในภารเป็นแหล่งผลิตอาหารท่ีสำคัญเพ่ือการบริโภคของคนไทย
ท้ังประเทศและการส่งออกสู่ตลาดโลก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงมีนโยบายที่จะสร้างแรงจูงใจให้คนรุ่น
ใหม่หันกลับมาทำอาชีพเกษตรกรรมมากข้ึน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มอบหมายให้กรมส่งเสริมสหกรณ์
ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทำหน้าท่ีเป็นพ่ีเล้ียง ให้คำปรึกษา และให้คำแนะนำแก่สหกรณ์และสมาชิก
เกษตรกร โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดทำโครงการสง่ เสริมและสร้างทกั ษะในการ
ประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร กิจกรรมนำลูกหลานเกษตรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร เพ่ือ
ดำเนินกิจกรรมต่อเน่ืองจากโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตรประกอบด้วย
กิจกรรมการฝึกอบรมและแนะนำส่งเสริมการประกอบอาชีพของเกษตรกรรุ่นใหม่ให้มีความก้าวหน้าต่อเน่ือง
โดยในเบื้องต้นได้จัดทำโครงการฝึกอบรมแนวทางในการประกอบอาชีพสมัยใหม่ผ่านระบบสื่อสารทางไก ล
ระบบ ZOOM แก่เกษตรกรเป้าหมายไปแล้วท้ังส้ิน 500 ราย ในข้ันตอนต่อไปจะดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะ
ด้านการตลาดเพ่ือให้เกษตรกรรายย่อยมีพ้ืนฐานความรู้สำหรับผู้ประกอบการเกษตร เพื่ออยู่รอดในตลาดที่มี
การแข่งขนั สงู

.ผ ำ
1. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพ่ือสรา้ งทักษะ

การตลาดสินค้าเกษตรให้กบั ลูกหลานเกษตรกรกลบั บ้านสานต่ออาชีพการเกษตร
2. ประสานกลุ่มเป้าหมาย วิทยากร
โดย ดำเนนิ การจดั ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ในรูปแบบการฟงั บรรยายหวั ขอ้ “หลักการตลาด

และการสร้างแบรนด์สินค้า” “การสร้าง Platform บน Shopee Lazada” “การสร้าง Content ในช่องทาง
ออนไลน์” และการฝึกปฏิบัติหัวข้อ “เทคนิคการถ่ายภาพสินค้า” ในหัวข้อ วันที่ 17-18 กรกฎาคม 2564
ณ หอ้ งประชุมสำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

3. ประเมินผลการประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารฯ
4. รายงานผลการจัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการฯ

ขึน้ หน้าใหม่

3. ผ ธ์ รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 80

ผ ธ์ ณ
กล่มุ เป้าหมายมาเข้าประชุมเชงิ ปฏิบัติการฯ ครบ 100%

ผ ธ์ คณภ
กล่มุ เป้าหมายสามารถนำความรทู้ ี่ไดร้ ับการประชมุ เชิงปฏบิ ัติการฯ คร้ังนี้ไปปรับใช้ในการ
ประกอบอาชีพได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และสามารถประกอบอาชพี ทางการเกษตรได้อย่างยั่งยืน

4. ั / ส ค ใ ำ แ แ ว แ

-ไมม่ ี-

. ภ ถ่ ยแส ำ /โค

โครงการส่งเสรมิ และสรา้ งทกั ษะในการประกอบอาชีพทัง้ ในและนอกภาคเกษตร

(นำลูกหลานกลบั บ้านสานต่ออาชีพเกษตร)

ขึน้ หน้าใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 81

◼ โค ส่ ส ฒ ต ภ ยใ สำ ส ค ษต

กรมส่งเสริมสหกรณ์มีภารกิจหลักในการส่งเสริมและแนะนำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มี

ความเข้มแข็ง สนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม

สร้างกลไกเพื่อส่งเสริมสหกรณ์และผู้ประกอบการมีความสามารถในการแข่งขันอย่างเหมาะสม สร้างความ

ม่ันคงด้านการสหกรณ์เพื่อยกระดับการพัฒนาในด้านองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมท่ีจะช่วยให้สหกรณ์มี

การบริหารจัดการองค์กร การจัดการผลผลิต การตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามยุทธศาสตร์กรม

สง่ เสริมสหกรณ์ จึงได้ผลักดันให้สหกรณ์การเกษตรทำหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน เพ่ิม

บทบาทการดูแลและส่งเสริมความรู้และเทคโนโลยีท่ีทันสมัยให้แก่เกษตรกรสมาชิก การบริหารจัดการสินค้า

เกษตร ต้ังแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ตามหลักการตลาดนำการผลิตต้ังแต่การวางแผนการผลิตโดย

ส่งเสริมสมาชิกสหกรณ์ผลิตสินค้าคุณภาพให้ตรงกับความต้องการของตลาด พัฒนาการดำเนินธุรกิจรวบรวม

ผลผลิต ส่งเสริมการแปรรูปเพ่ิมมูลค่า และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร รวมทั้ง

ส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้สถาบันเกษตรกรเป็นที่พ่ึงของสมาชิกและ

ชุมชนอยา่ งยงั่ ยืนตอ่ ไป

ผำ

1. คัดเลือกสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ทีม่ ศี ักยภาพความต้องการและความพรอ้ มในดา้ นการผลิต

และการตลาดสินค้าเกษตรเข้าร่วมโครงการ โดยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีเป้าหมาย จำนวน 8 แห่ง

แบ่งเป็นสหกรณ์ 6 แห่ง และกลมุ่ เกษตรกร 2 แห่ง ไดแ้ ก่

- สหกรณ์การเกษตรพระนครศรีอยธุ ยา จำกัด - สหกรณก์ ารเกษตรเสนา จำกัด

- สหกรณ์การเกษตรบางปะอิน จำกดั - สหกรณก์ ารเกษตรบางไทร จำกดั

- สหกรณ์การเกษตรทา่ เรือ จำกัด - กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสัตวน์ ำ้ บางชะนี

- สหกรณก์ ารเกษตรบางปะหัน จำกัด - กล่มุ เกษตรกรทำนาชายนา

2. เชญิ ผ้แู ทนสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร และผู้แทนหน่วยงานภายนอกเขา้ ร่วมประชุมเชิงปฏบิ ัติ

การบูรณาการการขบั เคลื่อนแผนบริหารจดั การสนิ คา้ เกษตร

3. นำแผนการบริหารเกยี่ วกับปรมิ าณความต้องการเสนอขายสนิ คา้ ของสหกรณท์ ี่ได้จากการ

ประชมุ มาจดั ทำแผนพฒั นาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนนิ ธรุ กจิ ของสถาบันเกษตรกร

ผ ธ์
1. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การส่งเสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารจัดการดา้ นการตลาด
การเชอื่ มโยงเครือข่าย
2. ปริมาณธรุ กิจของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการขยายตัวไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3
3. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรมกี ารบรหิ ารจดั การสนิ คา้ เกษตรไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ขนึ้ หน้าใหม่

ภ ถ่ ยแส รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 82

ำ /โค
โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสนิ ค้าเกษตร

ขน้ึ หน้าใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 83

◼ โค ส่ ส แ ฒ แ ั ำ ษต (ค .)

1. วตถ ส ค/์ ้ ย/ ำ โค :
ตามท่ีรัฐบาลและคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.) มีนโยบายแก้ไขปัญหาความ

ยากจนและพัฒนาชนบท โดยการนำที่ดินสาธารณประโยชน์ที่ประชาชนเลิกใช้ประโยชน์ร่วมกันแล้ว มาจัด
ระเบียบการถือครองให้แก่ราษฎรในลักษณะแปลงรวมในท่ีสาธารณประโยชน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้
ประชาชนทอ่ี ยใู่ นท่ีดินของรัฐได้รบั การจัดระเบียบการถือครองและยกระดับคณุ ภาพชีวิตให้อยดู่ ีมสี ุขอย่างย่ังยืน
และเพ่ือให้การแกไ้ ขปญั หาการบุกรกุ ท่ีดินของรัฐตามระเบยี บสำนักนายกรัฐมานตรีวา่ ด้วยการแก้ไขปัญหาการ
บุกรุกทีดินของรัฐ พ.ศ.2545 ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 ตามท่ีคระกรรมการแกไข
ปัญหาบุกรุกทดี่ ินของรฐั (กบร.) เสนอ และตรมมติคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหง่ ชาติ (คทช.) คร้ังที่ 1/2558
เมอื่ วนั ที่ 19 มนี าคม 2558
.ผ ำ

1. ประชุมช้ีแจงทำความเข้าใจกับราษฎรในพื้นท่ีให้ทราบถึงแนวทางการจัดท่ีดินทำกินให้กับ
ชุมชนตามนโยบายของรัฐบาล รวมทั้งแนวทางในการดำเนินการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลในรูปแบบสหกรณ์
หรือรูปแบบอนื่ ทเี่ หมาะสมกับพน้ื ท่ี

2. วางผงั แปลงทดี่ ิน
3. คดั เลอื กบคุ คล
4. ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ซ่ึงเป็นพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีตามความในมาตรา9แห่งประมวดกฎหมายทด่ี ิน(ตามคำสั่ง
กระทรวงมหาดไทย ที่ 109/2538 ลงวันที่ 16 มนี าคม 2538) จะเป็นผู้พิจารณาอนุญาตให้ผู้ท่ีอยู่ในหลักเกณฑ์เข้าครอบครองทำ
ประโยชนใ์ นที่สาธารณประโยชนโ์ ดยออกหนงั สืออนญุ าตเป็นแปลงรวมแปลงเดยี ว
5. ผู้ได้รับอนุญาตเสียค่าตอบแทนตามความในมาตรา 9 ทวิ แห่งประมวดกฎหมายที่ดินและ
ตามทก่ี ำหนดในระเบียบกระทรวงมหาดไทย

3. ผ ธ์
ผ ธ์ ณ
สำนักงานท่ีดินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ดำเนินการภายใต้โครงการบริหารจัดการการใช้

ประโยชนท์ ่ดี ินสาธารณประโยชน์มกี ารบกุ รกุ จำนวน 4 แปลง ได้แก่
1) แปลง”ดอนแพงสาธารณประโยชน”์ ตามหนังสือสำคญั สำหรบั ที่หลวง เลขที่ 6750 หมู่

ที่ 6 ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร
2) แปลง “ที่สาธารณประโยชน”์ ตามหนงั สอื สำคัญสำหรับที่หลวง เลขท่ี 0347 หมทู่ ่ี 5

ตำบลชา้ งน้อย อำเภอบางไทร
3) แปลง “ท่สี าธารณประโยชน์ชะวาดโคก 1” ตามหนังสอื สำคญั สำหรบั ท่หี ลวงเลขท่ี 0358

หมู่ 8 ตำบลไมต้ รา อำเภอบางไทร
4) แปลง “ท่ีสาธารณประโยชน์ชะวาดโคก 2” ตามหนังสือสำคญั สำหรับท่ีหลวง เลขที่ 0357

หมู่ท่ี 8 ตำบลไม้ตรา อำเภอบางไทร
ผ ธ์ คณภ
ราษฎรได้รวมตัวกันจัดตงั้ เปน็ กล่มุ ร้านคา้ ชมุ ชนโดยนำวธิ ีการสหกรณใ์ นปรบั ใชใ้ นการบริหาร

จดั การรา้ นค้าชมุ ชน

ขนึ้ หนา้ ใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 84

◼ โค ฏ ต ฒ ศ ยภ ว ว ็ แ
แ วใ ว ต

ขา้ วเป็นอาหารสำคัญของคนไทย และเปน็ อาหารสำคัญอยา่ งหนง่ึ ของโลก สำหรับคนไทยการ
มีการบริโภคข้าวเปน็ อาหารหลกั ในทุกครวั เรือน ยทุ ธศาสตร์ขา้ วไทย ปี 2563 – 2567 กำหนดวิสัยทัศน์ให้ไทย
เป็นผู้นำการผลิต การตลาดข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าวคุณภาพของโลก ยทุ ธศาสตร์ข้าวไทย การตลาดต่างประเทศ
ท่ีต้องการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานข้าวไทย ด้านการตลาดภายในประเทศที่ต้องการรักษาคุณภาพข้าว
และสรา้ งความเชื่อม่นั ของผบู้ รโิ ภค ดา้ นการผลิต ที่ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การแปรรูปและผลติ ภณั ฑ์ทมี่ ีมูลค่าสูงตาม
ความต้องการของตลาด และด้านผลิตภัณฑ์แปรรูปและนวัตกรรมจากข้าว ที่สนับสนุนการวิจัยการพัฒนาเพื่อ
สรา้ งงานวจิ ยั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการแปรรูปข้าวใหเ้ ป็นผลติ ภณั ฑ์ใหมท่ มี่ ีมูลคา่ สงู

ในภาคสหกรณ์มีผลผลิตขา้ วเปลือกปีละประมาณ 2.43 ลา้ นตันข้าวเปลือก โดยมกี ารสแี ปรรูป
เป็นข้าวสารประมาณ 0.4 ล้านตันข้าวสาร สหกรณ์มีการสีแปรรูปเป็นข้าวสารจำหน่ายโดยโรงสีข้าวของ
สหกรณ์และโรงสีขา้ วเอกชน รวมถึงแปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จำหนา่ ยท่วั ไป ในปัจจุบันยุคที่ผู้บริโภคเข้าถึง
ข้อมูลได้ง่าย แหล่งข้อมูลมีอยู่หลากหลาย ผู้บริโภคตระหนักถึงการเลือกรับประทานอาหารท่ีอุดมไปด้วย
สารอาหาร สนใจการดูแลสุขภาพท้ังร่างกายและจิตใจ ใส่ใจในคุณภาพ และมาตรฐานของอาหาร รวมถึงเท
รนด์การดแู ลสุขภาพท่ีครอบคลุมทุกเรื่อง ท้ังนำ้ หนัก ผิว ไขมัน และรูปแบบการบริโภคทเ่ี ปลี่ยนไป การบริโภค
อาหารเพ่ือสุขภาพ อาหารปรุงสุกใหม่ การซ้ือสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์เพิ่มมากข้ึน กรมส่งเสริมสหกรณ์
ตระหนกั ถึงคณุ ภาพสนิ คา้ ของสหกรณ์ กระบวนการปลูกจนถงึ การแปรรปู ของสหกรณท์ ่ีได้มาตรฐาน ผลติ สินค้า
ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน และสามารถทำตลาดให้เข้าถึงผู้บริโภคในยุค New Normal
สามารถสร้างการซ้ือซ้ำจากผู้บริโภค ประกอบกับยุทธศาสตร์ข้าวไทยท่ีสนับสนุนการพัฒนาผลผลิต และ
ผลิตภัณฑ์ขา้ วของประเทศไทย อนั สร้างโอกาสทีใ่ นการพฒั นาการแปรรูปขา้ วในระบบสหกรณ์จงึ จัดทำโครงการ
พัฒนาศักยภาพการรวบรวม จัดเก็บ และการแปรรูปข้าวให้ก้าวทันตลาด เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ผลผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปข้าวให้กับผ้แู ทนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อ
เปน็ แนวทางใหส้ หกรณส์ ามารถปรับตวั เขา้ กบั ยคุ ปัจจุบัน

โครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาศักยภาพการรวบรวมจัดเก็บและการแปรรูปข้าวให้ทันตลาด เป็นการ
จัดประชุมผ่านระบบส่ือสารทางไกล (ผ่านระบบ WebConference) จากห้องประชุม 226 กรมส่งเสริมสหกรณ์ เทเวศร์
กรุงเทพมหานคร และถ่ายทอดสัญญาณไปยังสำนักงานสหกรณ์จังหวัด 59 จังหวัด ผู้แทนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ผลิต
รวบรวม จัดเก็บ และแปรรปู ข้าว 205 แห่ง และเจ้าหน้าที่รวม 354 คน เข้าร่วมโครงการ โดยจัดขึ้นเมื่อวันท่ี 17 –18 มิถุนายน
2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้แทนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาศักยภาพการรวบรวมผลผลิต
จัดเก็บและแปรรปู ข้าวให้ตรงกบั ความต้องการของตลาดซึง่ ปจั จุบันผบู้ รโิ ภคตระหนกั ถงึ การเลอื กรบั ประทานอาหารเพ่ือสุขภาพ
ใส่ใจในคุณภาพและมาตรฐานของอาหารมากขึ้น สหกรณ์จึงมีความจำเป็นจะต้องผลิตข้าวให้ได้มาตรฐาน ตรงกับความต้องการ
ของตลาดตอ่ ไป

ซึง่ ในการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารฯ ครั้งน้ีมีวทิ ยากรภาครัฐและภาคเอกชนบรรยายในหวั ขอ้
- สถานการณต์ ลาดข้าวในปจั จุบนั
- การเลอื กใช้พนั ธ์ุข้าวท่เี หมาะสม การจัดการแปลงปลูก การใชเ้ ทคโนโลยใี นการปลกู ข้าว
- เทคนิคการรับซือ้ ข้าวเปลือกและการคดั ข้าวคุณภาพเขา้ โรงงาน
- การผลติ อาหารปลอดภัยโดยประยุกต์ใชม้ าตรฐาน GHPs และ HACCP สำหรบั โรงสี
โดยมีผู้แทนจากสหกรณ์และเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เข้ารับ
ฟงั จำนวน 20 คน

ขน้ึ หน้าใหม่

◼ โค ฒ ศ ยภ รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 85

ำ ธ ส ณ์ ่ ษต แ ธ

สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรทกี่ ระจายอย่ทู ่ัวประเทศไทยในปัจจบุ ัน เป็นองค์กร
ของประชาชน โดยประชาชนเพ่ือประชาชน การบริหารงานของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร
มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในการประกอบอาชีพของมวลสมาชิกและชุมชน รัฐบาลจึง
ใชส้ หกรณ์เปน็ เครือ่ งมือในการพฒั นาเศรษฐกิจ
ฐานรากของประเทศ ซ่ึงสหกรณ์ที่จัดต้ังในระดับอำเภอหรือจัดตั้งในพ้ืนที่ท้องที่ที่ต้องดูแลสมาชิก บางแห่งยัง
ขาดความเข้มแข็ง ทำให้ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้างอำนาจต่อรองของเกษตรกรได้ และ
ความสามารถในการส่งผ่านนโยบายรัฐต่อชุมชนท้องถ่ินทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร ปัจจุบันสหกรณ์ภาคการเกษตรท่ี
เป็นองค์กรหลักระดับอำเภอและสหกรณ์รูปแบบพิเศษในพื้นท่ี 77 จังหวัด ผลผลิตหลักของสหกรณ์เป็น
เศรษฐกิจท่ีสำคัญ คือ ข้าวรอ้ ยละ 59.10 ยางพาราร้อยละ 12.86 ผลไมร้ ้อยละ 5.83 ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ร้อยละ
4.25 มันสำปะหลังร้อยละ 4.13 ปาล์มน้ำมันรอ้ ยละ 3.64 โคนมร้อยละ 2.31 และอื่น ๆ ร้อยละ 7.88 ซง่ึ กรม
ส่งเสริมสหกรณ์มีการจัดระดับช้ันความเข้มแข็งตามเกณฑ์การจัดระดับความเข้มแข็ง 4 ระดับ ประกอบด้วย
ความสามารถในการให้บริการสมาชิก ประสิทธิภาพในการดำเนินธรุ กิจ ประสิทธภิ าพในการจัดการองคก์ ร และ
ประสิทธิภาพของการบริหารงาน เพื่อส่งเสริมสร้างแรงจูงใจในการบริหารจัดการองค์กร และการดำเนินธุรกิจ
สหกรณ์ให้ประสบความสำเร็จ เป็นท่ีพ่ึงของสมาชิกและชุมชน ประกอบกับนโยบายกระทรวงเกษตรและ
สหกรณต์ ามแผนแม่บทประเภทการเกษตร เกษตรแปรรูป ตามนโยบายตลาดนำการผลิตเพ่ือปฏิรูปภาคเกษตร
ในเรื่องส่งเสริมการผลิตพัฒนาสินค้าเกษตรและสนับสนุนการตลาด ภายใต้โครงการ 1 อำเภอ 1 ผลิตภัณฑ์
สนิ ค้าเกษตร เพื่อเพ่ิมมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปและผลติ ภัณฑ์ รวมท้ังการพัฒนาช่องทางเชื่อมโยงตลาดสินค้า
เกษตรทั้งในและตา่ งประเทศ

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เห็นว่าวิธีการท่ีจะช่วยพัฒนาสหกรณ์ภาค
การเกษตรให้มีความเข้มแข็งเป็นองค์กรหลักระดับอำเภอที่มีศักยภาพการดำเนินธุรกิจและการ บริหารจัดการ
องค์กร ควรสนับสนุนองค์ความรู้ให้แก่บุคลากรของสหกรณ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการวางแผนพัฒนาองค์กร
แผนพัฒนาธุรกิจ แผนแก้ไขปัญหาหนี้ แผนการส่งเสริมอาชีพสมาชิก รวมท้ังการส่งเสริมการผลิตแล้ว
ตวั ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ภาคการเกษตรก็เป็นสิ่งสำคัญอีกประการหน่ึงที่ควรจะได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับองค์กรไปสู่โครงการ 1 อำเภอ มี 1 ผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรเพ่ือพัฒนาคุณภาพเพิ่ม
มูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์ และเพ่ือการพัฒนาช่องทางเช่ือมโยงตลาดสินค้าเกษตรทั้งในและ
ตา่ งประเทศโดยเชือ่ มโยงเครอื ข่าย/คลัสเตอร์ให้แกส่ หกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร

ผำ
ประชุมโครงการเชิงปฏิบัติการเพ่ือจัดทำแผนพัฒนาศักยภาพองค์กร และแผนบริหารจัดการ
สินค้าเกษตรภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและธุรกิจชุมชน เพื่อ
พัฒนาขีดความสามารถในการดำเนินกิจการและธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้เป็นองค์กรหลักในก าร
พฒั นาเศรษฐกจิ ระดับอำเภอ โดยมีการให้ความรใู้ นเรื่องตา่ ง ๆ แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในวันที่ 25 – 26
กรกฎาคม 2564 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา โดยหวั ขอ้ การจดั ประชมุ มีดังนี้

ข้ึนหน้าใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 86

- การจดั ทำและฝกึ ปฏิบตั ิเกย่ี วกับแผนพัฒนาศักยภาพการดำเนนิ งานขององค์กร แผนบริหาร
จดั การสินคา้ เกษตร

- แนวทางการพฒั นาสินคา้ เกษตรสตู่ ลาดโลก
- ความสำคัญและองค์ประกอบของบรรจุภัณฑ์ รวมถึงฝึกปฏิบัติการออกแบบบรรจุภัณฑ์
สินค้าเกษตร
โดยมีผู้แทนจากสถาบันเกษตรกรจำนวน 8 แห่ง แบ่งเป็นจากสหกรณ์ จำนวน 6 แห่ง
กลมุ่ เกษตรกร จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ 1)สหกรณ์การเกษตรพระนครศรีอยุธยา จำกัด 2)สหกรณ์การเกษตร บาง
ปะอิน จำกัด 3)สหกรณ์การเกษตรท่าเรือ จำกัด 4)สหกรณ์การเกษตรบางปะหัน จำกัด 5)สหกรณ์การเกษตร
เสนา จำกัด 6)สหกรณ์การเกษตรบางไทร จำกัด 7)กลุ่มเกษตรกรทำนาชายนา และ 8)กลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียง
สัตว์น้ำบางชะนี และต่อยอดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้กับสมาชิกเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการนี้ โดยการจัด
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตร ภายใต้โครงการพัฒนา
ศักยภาพการดำเนินธรุ กิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชมุ ชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 ณ ห้องประชุมสหกรณก์ ารเกษตรทา่ เรอื จำกัด เมื่อวันที่ 7 – 8 กรกฎาคม 2564
ผ ธ์
1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินกิจการและธุรกิจ

ใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางเศรษฐกจิ ชุมชนในระดับอำเภอ
2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายไดจ้ ากการดำเนินธรุ กิจรวบรวม แปรรูป จำหนา่ ยผลผลิต

สนิ ค้าเกษตรและใหบ้ รกิ ารทางด้านสินคา้ เกษตรเพิ่มข้นึ
3. ผลิตภัณฑส์ ินค้าเกษตร ได้รับการพฒั นาคุณภาพ เพิ่มมูลค่าสินคา้ เกษตรแปรรูป
4. สหกรณ์ภาคการเกษตรมีความเข้มแข็งเป็นที่พึ่งของสมาชิกและชุมชน เป็นองค์กรหลักใน

การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมในชมุ ชน

ขึน้ หนา้ ใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 87

◼ โค ฒ ศ ยภ ว ผ ต โ ส วส่ ต ฐ CODEX GHPs
& HACCP

กระบวนการสีแปรรูปข้าวเป็นกระบวนการหน่ึงที่สำคัญของห่วงโซ่คุณค่าของตลาดข้าวสาร
ซึ่งในปัจจุบันได้มีการกำหนดมาตรฐานต่าง ๆ เพ่ือเป็นการรับรองคุณภาพในการผลิตสินค้า โดยที่มาตรฐาน
CODEX GHPs & HACCP เป็นระบบพ้ืนฐานท่ีโรงงานผลิตอาหาร หรือผู้ประกอบการท่ีอยู่ในห่วงโซ่คุณค่า
อาหารควรจะนำไปประยุกต์ใช้ และเข้ารบั การประเมินจากผู้ตรวจประเมินที่ได้รับอนุญาตเพื่อได้รับการรับรอง
มาตรฐาน CODEX GHPs & HACCP แล้วน้ัน จะได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดอันตรายกับ
ตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ข้าวไทย ปี 2563 – 2567 ในประเด็นยุทธศาสตร์ข้าวไทยด้านการตลาด
ภายในประเทศท่ตี อ้ งการเพม่ิ ประสิทธิภาพระบบการคา้ ข้าวและยกระดับกลไกการซอื้ ขายสูม่ าตรฐานสากล

ในภาคสหกรณ์มีโรงสีข้าวจำนวน 135 แห่ง ใน 132 สหกรณ์ ซ่ึงมีสหกรณ์ที่ได้รับมาตรฐาน
GMP จำนวน 57 แห่ง โดยมีการสีแปรรูปเป็นข้าวสารประมาณ 0.40 ล้านตันข้าวสาร ซึ่งการประกอบธุรกิจ
ของสหกรณ์มีการสีแปรรูปเป็นข้าวสารจำหน่ายโดยโรงสีข้าวของสหกรณ์ และโรงสีข้าวเอกชน ทั้งนี้ปัจจุบันที่
พฤติกรรมการบริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปโดยที่มีความใส่ใจในสุขภาพ รวมถึงกระบ วนการผลิตมีคุณภาพ
กรมส่งเสริมสหกรณ์ตระหนักถึงคุณภาพสินค้าของสหกรณ์ ตั้งแต่กระบวนการปลูกจนถึงการแปรรูปของ
สหกรณ์ท่ีได้มาตรฐาน ผลิตสินค้าตรงกับความต้องการของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน จึงจัดทำโครงการพัฒนา
ศักยภาพกระบวนการผลิตของโรงสีข้าวสู่มาตรฐาน CODEX GHPs & HACCP พัฒนาขบวนการผลิตข้าวสาร
ของสหกรณ์ให้มีระบบมาตรฐานสากลและผลิตสินค้าข้าวท่ีมีมาตรฐานความปลอดภัยสำหรับบริโภค สามารถ
ลดการสูญเสยี ลดต้นทนุ และเพมิ่ ความสามารถในการแข่งขัน

วตถ ส ค์
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบการจัดการและควบคุมสุขลักษณะที่ ดีในการผลิต
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในระบบการจัดการท่ีดใี นการผลติ
ซึง่ ในการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารฯ คร้งั นี้มีวิทยากรภาคเอกชนจากบริษทั ยูไนเต็ด เทรนน่ิง
เซอร์วิส จำกัด บรรยายในหวั ข้อเร่อื ง
- แนะนำระบบ CODEX GHPs และ HACCP
- ขอบเขตและคำจำกดั ความ CODEX GHPs และ HACCP
- การควบคมุ อนั ตรายทางดา้ นอาหาร
- สถานประกอบการ: การออกแบบอุปกรณ์ภายในสถานประกอบการทางอาหาร
- การบำรุงรักษาสถานประกอบการ, การทำความสะอาด และการควบคุมสตั วพ์ าหะ
- การควบคุมการผลติ
- ข้อมลู ผลติ ภัณฑแ์ ละการรบั รองผ้บู ริโภค
- การวิเคราะห์จุดวิกฤตในการควบคมุ อันตรายทางอาหาร

ขึน้ หน้าใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 88

2.2 ผลการดำเนนิ งาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

◼ งานกำกับตดิ ตามและงานแก้ปญั หา

➢ โครงการสนบั สนุนเงนิ ทนุ เพ่อื สร้างระบบน้ำในไรน่ าของสมาชิกสถาบันเกษตรกร

1. วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย/พน้ื ทีด่ ำเนนิ การ
1.1 เพอ่ื สรา้ งโอกาสในการทำเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนนำ้
1.2 เพ่อื ส่งเสริมการจัดระบบไรน่ าของเกษตรกรกรให้มีความยงั่ ยืน มแี หลง่ น้ำในฟารม์ ของตนเอง ลด

การพง่ึ พาน้ำจากระบบชลประทานและแหล่งน้ำธรรมชาติ
1.3 เพ่ือสร้างการเปลย่ี นแปลงจากระบบทำการเกษตรกรรมแบบพ่ึงธรรมชาติ เปน็ การเกษตรแบบ

บริหารจดั การเพ่ือลดความเส่ียงจากการขาดนำ้
2. ผลการดำเนนิ งาน

จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา มสี ถาบนั เกษตรกรเข้ารว่ มโครงการในปงี บประมาณ พ.ศ.2560 2 สถาบนั
ได้แก่

1. สหกรณ์การเกษตรมหาราช จำกัด สมาชกิ เข้าร่วมโครงการ 12 ราย จำนวนเงนิ ใหส้ มาชิกก้เู พอื่ ขุด
สระเกบ็ กักน้ำ/ปรับปรุงสระ จำนวน 755,000.00 บาท

2. กลมุ่ เกษตรกรทำนาวังพัฒนา สมาชกิ เขา้ ร่วมโครงการ 1 ราย จำนวนเงินใหก้ เู้ พื่อปรับปรงุ สระเก็บ
กกั น้ำ จำนวน 50,000.00 บาท
3. ผลลพั ธ์

จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ได้รบั วงเงนิ จดั สรรดำเนินการตามโครงการท้ังสิ้น 805,000.00 บาท
เกษตรกรทีเ่ ข้ารว่ มโครงการใชเ้ งินกจู้ ำนวน 805,000.00 บาท รวมเกษตรกรท่ีไดร้ ับเงินกู้ยมื จำนวน 13 ราย
ดำเนินการและชำระหนีเ้ สร็จเรยี บร้อยแลว้
4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข

พ้ืนทด่ี ำเนนิ การประสบปัญหาน้ำท่วมเป็นปัญหาในการขดุ สระเกบ็ กักนำ้ /ปรับปรุงสระเกบ็ กักน้ำ

ข้ึนหน้าใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 89

➢ โครงการแก้ไขปญั หาหนี้คา้ งชำระของสมาชิกสหกรณ์

1. วตั ถปุ ระสงค/์ เปา้ หมาย/พนื้ ท่ีดำเนินการ

1.1 เพื่อสง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณ์การเกษตรให้มีศักยภาพในการดำเนนิ ธุรกิจใหค้ รอบคลุมทกุ ธรุ กจิ

1.2 เพอื่ กำหนดแนวทางในการแก้ไขปญั หนีค้ ้างชำระของสมาชกิ สหกรณ์

1.3 เพื่อให้สหกรณ์ขบั เคล่ือนการแก้ไขปญั หาหนค้ี ้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ สามารถลดจำนวนหน้ี

คา้ ง

2. ผลการดำเนนิ งาน

จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา มีสหกรณ์ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการจำนวน 7 แหง่ ไดแ้ ก่ 1.สหกรณ์การเกษตรบาง

ปะอิน จำกัด 2.สหกรณ์การเกษตรพระนครศรีอยุธยา จำกัด 3.สหกรณก์ ารเกษตรบางบาล จำกดั 4.

สหกรณก์ ารเกษตรบางปะหนั จำกัด 5.สหกรณ์การเกษตรเสนา จำกัด 6.สหกรณ์การเกษตรบางไทร จำกดั

และ 7.สหกรณ์การเกษตรผักไห่ จำกัด

3. ผลลพั ธ์

จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ได้ดำเนนิ โครงการต้ังแต่ปี งบประมาณ พ.ศ.2562 จนถงึ ปจั จบุ นั 30

กนั ยายน 2564 ผลลัพธ์ ดงั น้ี

สหกรณ์ ข้อมูล ณ วนั เขา้ รว่ มโครงการปีงบประมาณ พ.ศ. ขอ้ มูล ณ 30 กนั ยายน 2564

2562

ต้นเงิน ดอกเบยี้ คา่ ปรับ ตน้ เงิน ดอกเบย้ี คา่ ปรบั

1.สกก.บางปะ 61,723,060 12,524,051 1,823,309 49,105,580 12,009,251 1,545,688

อิน จำกัด

2.สกก.พระนคร 26,931,981 10,631,807.68 1,214,058.85 32,895,217.33 13,775,220.01 1,789,755.13

ศรอี ยุธยา จำกดั

3.สกก.บางบาง 5,000,000 3,000,000 300,000 1,188,647.19 1,855,349.60 -

จำกดั

4.สกก.บางปะ 20,872,163 7,713,207 1,793,527.58 18,660,380.19 6,276,563.84 1,091,826.87

หัน จำกดั

5.สกก.เสนา 35,212,123 4,866,152.80 625,038.77 22,193,117 3,201,992.07 18,363.16

จำกดั

6.สกก.บางไทร 25,452,980 13,738,918 2,148,138 23,923,667 13,323,824 2,144,345

จำกัด

7.สกก.ผักไห่ 6,929,861.89 838,240.71 279,413.39 5,139,800 1,581,650.22 527,216.68

จำกัด

4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
สมาชิกที่เขา้ ร่วมโครงการฯ อายเุ ยอะ ไมม่ ีรายได้ท่ีแน่นอนส่งผลให้การดำเนินงานอาจไม่เปน็ ไปตาม

เปา้ หมายท่สี หกรณ์ตัง้ ไว้

ข้ึนหนา้ ใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 90

2.3 รางวลั ที่หนว่ ยงานไดร้ ับจากหนว่ ยงานภาคสว่ นต่าง ๆ ภายนอก

ประกาศเกียรตคิ ุณแกห่ น่วยงานภาคีความร่วมมือจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 นายวิชา งามสวย ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 และ
คณะ เป็นตัวแทนสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่หน่วยงานภาคี
ความรว่ มมอื จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จากนายสมศกั ดิ์ เจรญิ ไพฑูรย์ รองผ้วู ่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จาก
งาน “มหกรรมวันท่ีอยอู่ าศยั โลก ปี 2564 ภาคกลางและตะวันตก” ณ สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชุมชนชะ
แมบพฒั นา จำกัด ตำบลลำตาเสา อำเภอวังน้อย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา กลุม่ เปา้ หมายคอื เครอื ข่ายสหกรณ์
เคหสถานบ้านมั่นคงภาคกลางและตะวันตกจาก 13 จังหวัด วัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาความร่วมมือกับรัฐบาล
และประกาศนโยบายการพฒั นาทีด่ นิ ท่อี ยอู่ าศยั โดยชุมชน

ส ำนั ก งาน ส ห ก รณ์ จังห วัด พ ระน ค รศ รีอยุธ ย าเป็ น ห น่ วย งาน ภ าคี ค วาม ร่ว ม มื อจั งห วั ด
พระนครศรีอยุธยา ให้การสนับสนุนจัดตัง้ สหกรณ์โครงการบา้ นม่นั คงในพื้นท่ี บริหารจัดการในรูปแบบสหกรณ์
และให้ความรู้ในเรอ่ื งกฎหมายที่เก่ียวข้อง แนะนำ สง่ เสริม กำกับดแู ล ภายใต้ปรัชญาของการพ่ึงพาตนเองและ
การชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกันด้วยวธิ ีการสหกรณ์ การนำระบบสหกรณ์มาใช้บริหารจัดการในบ้านมั่นคง ทำใหเ้ กิดความ
เชื่อมั่นว่าบ้านโดยชุมชนที่ทุกคนร่วมสร้าง เป็นเคร่ืองมือสำคัญในการพัฒนาสังคมจากชุมชนฐานรากและสร้าง
ความมั่นคงของมนุษย์ การรวมตัวกันสร้างบ้านเป็นการรวมคน รวมความคิด รวมพลังความสามารถ รวมเงิน
สร้างวินัยในการออมทรัพย์ ก็จะสามารถสร้างความม่ันคงในการอยู่อาศัยได้และทำให้นโยบายรัฐบาลในการ
แกไ้ ขปญั หาทอ่ี ยู่อาศยั ผู้มรี ายไดน้ ้อยบรรลุผลอย่างเปน็ รูปธรรม รวดเรว็ และกว้างขวางขนึ้ อยา่ งแน่นอน

ขึน้ หน้าใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 91

ประกาศเกยี รตบิ ัตรองค์กรคุณธรรม

สำนักงานวัฒนธรรมจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ไดม้ อบเกยี รติบตั รองค์กรคุณธรรม เพ่ือเป็น
การยกย่องและสรา้ งขวญั กำลังใจในการดำเนินงานส่งเสรมิ และขับเคล่ือนคุณธรรมตอ่ ไป

รูปภาพกจิ กรรม

ขนึ้ หนา้ ใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 92

สว่ นที่ 3

กิจกรรมประชาสมั พันธง์ านสหกรณ์ฯ โดดเด่นในรอบ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ขึน้ หนา้ ใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 93

◼ งานบรู ณาการร่วมกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ภายในจังหวัด

เม่ือวันท่ี 8 มีนาคม 2564 นางสาวนลินี สาระกูล สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พร้อมข้าราชการ
ลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ ร่วมรับฟังโครงการอบรมทางไกล (Conference) เร่ือง “การป้องกัน
ผลประโยชน์ทับซ้อน” เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ และเสริมสร้างจริยธรรมแก่ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ
และพนักงานราชการ

เม่ือวันท่ี 2 เมษายน 2564 นายพรพจน์ บัณฑิตยานุรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พร้อมหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ผู้แทนและประชาชนในพ้ืนที่ตำบลวัดตะกู ร่วมต้อนรับ
คณะสมาชิกวุฒิสภาตามโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ ตำบลวัดตะกู อำเภอบางบาล
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

ขึ้นหนา้ ใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 94

◼ ภาพกิจกรรมของหนว่ ยงานรว่ มกบั จงั หวดั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เม่ือวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2563 นายภานุ แย้มศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประธานงานแถลงข่าว “ยอยศยิ่งฟ้าอยุธยามรดกโลก ประจำปี 2563” ระหว่างวันที่ 11-20 ธันวาคม
2563 เพ่ือเฉลิมฉลองเมืองมรดกโลก สืบเนืองจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติมีมติให้ขึ้นทะเบียนอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไว้ในบัญชีมรดกโลกทางวัฒนธรรม
ท้ังน้ี นางสาวนลินี สาระกูล สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และหัวหน้าส่วนราชการในจังห วัด
พระนครศรีอยุธยา ไดเ้ ข้ารว่ มงานแถลงข่าว ดงั กล่าว ณ วิหารพระมงคลบพติ ร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

ขึ้นหน้าใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 95

เม่ือวันที่ 3 ธันวาคม 2563 นายภานุ แย้มศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประธานพิธี
บวงสรวงบูรพกษัตรยิ าธิราชแหง่ กรุงศรีอยุธยา พระบรมราชานสุ าวรีย์สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
และมีคณะนางรำชาวอยุธยาจากทุกภาคส่วน โดยแต่งกายสุภาพสตรี นุ่งโจงกระเบน เสื้อแขนยาวสีฟ้า
สไบสีชมพู สุภาพบุรุษ นุ่งโจงกระเบน เสื้อคอกลมสีฟ้า ผ้าคาดเอวสีชมพู ร่วมกันรำบวงสรวงถวายแด่
สมเด็จพระรามาธิบดี ท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง) นางสาวนลินี สาระกูล สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พร้อมข้าราชการสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และหัวหน้าส่วนราชการ ข้าราช การ
พ นั ก งาน ราช ก าร ลู ก จ้างส่ ว น ราช ก ารใน จังห วัด พ ระน ค รศ รีอยุ ธย า ได้ เข้าร่ว ม พิ ธีดั งก ล่ าว
ณ พระบรมราชานุสาวรียส์ มเด็จพระรามาธบิ ดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)

เม่ือวันท่ี 9 มีนาคม 2564 นางสาวนลินี สาระกูล สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มอบหมายให้
ขา้ ราชการสำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เข้าร่วมพิธีถวายภัตตาหารเพล และส่ิงของพระราชทาน
แด่พระภิกษุ สามเณรในการสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี พ.ศ. 2564 โดย นายพรพจน์ บัณฑิตยานุรักษ์
รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานในพิธี

ขึ้นหนา้ ใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 96

◼ ภาพกิจกรรมของหนว่ ยงานรว่ มกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

เมื่อวันท่ี 30 ตุลาคม 2563 นางสาวนลินี สาระกูล สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประธานเปิด
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2562 สหกรณ์การเกษตรเสนา จำกัด พร้อมด้วย นายสัญญา กิจสัจจิ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 และคณะสำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เขา้ ร่วมประชมุ ฯ

เมื่อวันท่ี 16 กุมภาพันธ์ 2564 นางสาวนลินี สาระกูล สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มอบหมายให้
ทีมประชาสัมพันธ์สหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ร่วมจัดนิทรรศการภายใต้โครงการระบบส่งเสริมเกษตร
แบบแปลงใหญ่ ปี 2564 (นาแปลงใหญ่) ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง สวนบวรรังษี ตำบลบางหลวง
อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ขึน้ หน้าใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 97

สว่ นท่ี 4

รายงานข้อมูลงบการเงนิ (ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564)

ขึน้ หนา้ ใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 98

งบการเงนิ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564

งบแสดงฐานะทางการเงนิ

สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชี สิน้ สดุ วันท่ี 30 กนั ยายน 2563

สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น สินทรัพย์

เงนิ ฝากธนาคารในงบประมาณ - บาท
เงนิ ฝากธนาคารนอกงบประมาณ - บาท
เงินฝากไม่มีรายตัว - บาท
เงินทดรองราชการ 5,000.00 บาท
เงินฝากคลงั 39,530.00 บาท
ลูกหนี้เงนิ ยมื - บาท
รายได้จากงบประมาณค้างรับ 67,730.00 บาท
112,260.00 บาท
รวมสนิ ทรพั ย์หมุนเวียน
บาท
สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวยี น บาท
บาท
อาคาร (สุทธิ) 8,430,334.89 บาท
ครุภณั ฑ์ (สุทธ)ิ 4,223,319.58
12,653,654.47 บาท
รวมสนิ ทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวยี น 12,765,914.47 บาท
รวมสินทรพั ย์ บาท

หนี้สินหมนุ เวยี น หน้สี นิ 67,730.00 บาท
หน้ีสินไมห่ มนุ เวยี น 91,065.00 บาท
ใบสำคญั คา้ งจา่ ย 158,795.00 บาท
เจ้าหน้กี ารคา้ ภายนอก บาท
39,530.00
รวมหนส้ี ินหมนุ เวียน 13,450,698.28 บาท
13,490,228.28 บาท
เงินรบั ฝากและเงินประกัน 13,649,023.28 บาท
เงนิ รับฝากอ่ืน ๆ บาท

รวมหนส้ี นิ ไมห่ มนุ เวียน
รวมหนสี้ นิ

ทุน สว่ นทุน 553,893.00
รายไดส้ งู /ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายสะสม - 1,437,001.81
รวมส่วนทนุ - 883,108.81
รวมหน้สี นิ และทุน
12,765,914.47

ขึ้นหนา้ ใหม่

รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 99

งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงิน

สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชี สนิ้ สุดวนั ที่ 30 กนั ยายน 2563

รายได้จาการดำเนนิ งาน 1,955,260.04
รายไดจ้ ากรฐั บาล 6,595,359.80
รายไดจ้ ากเงินงบประมาณ 8,550,619.84

รวมรายไดจ้ ากรฐั บาล 74,313.06
40,080.00
รายได้จากแหล่ง 233,181.75
อืน่ 347,574.81
8,898,194.65
รายไดค้ ่าปรบั และอนื่
รายไดเ้ งนิ นอกงบประมาณ 3,482,924.48
รายไดง้ บกลาง 233,181.75
3,065,071.32
รวมรายไดจ้ ากแหล่งอื่น 1,955,260.04
206,965.22
รวมรายได้ 853,729.41
404,245.18
คา่ ใช้จา่ ยจากการดำเนินงาน 133,819.06
ค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากร 10,335,196.46
คา่ ใชจ้ า่ ยงบกลาง - 1,437,001.81
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 8,898,194.65
ค่าใชจ้ า่ ยงบอุดหนนุ
ค่าใชจ้ า่ ยงบลงทุน
ค่าเสอื่ มราคาครุภัณฑ์
คา่ เส่อื มราคาอาคาร
คา่ ใชจ้ ่ายอนื่
รายคา่ ใช้จา่ ยจากการดำเนินงาน
รายได้สูง/ต่ำกวา่ ค่าใช้จ่ายจากการดำเนนิ งาน

รวมคา่ ใช้จ่าย

ขึ้นหน้าใหม่

รูปแบบการจดั ทำรายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 100

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

รายงานงบทดลองหนว่ ยเบิกจา่ ยรายปี

ขึน้ หน้าใหม่


Click to View FlipBook Version