The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียนบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง(KM)64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วิจัย tpso8, 2021-10-29 00:55:54

ถอดบทเรียนบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง(KM)64

ถอดบทเรียนบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง(KM)64

- เนอื่ งสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้การดำเนินงานไม่
เปน็ ไปตามแผน

4.7 ปัญหาทางสังคมในพืน้ ท่ีทที่ า่ นดำเนินโครงการฯ มีความซับซ้อนและหลากหลาย อยู่ในระดับ มาก คดิ เปน็
ร้อยละ 70.00

สว่ นที่ 5 คำถามปจั จยั สภาพแวดล้อมทเ่ี ป็นผลกระทบ (Impact)
5.1 การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดับพื้นที่ สามารถทำให้เกิดความร่วมมือในการเข้ามาร่วมคิด
รว่ มทำ เพื่อแกไ้ ขปัญหาทางสังคม อยูใ่ นระดบั ปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 70.00

เพระเหตุใด
- การเขา้ ใจปัญหา
- การบูรณาการการทำงานร่วมกนั ทำให้การทำงานเป็นไปในทศิ ทางเดียวกัน และสามารถแกไ้ ขปญั หาไปใน

ทศิ ทางเดยี วกันได้
- เครอื ข่ายในพ้นื ทม่ี ีศกั ยภาพและมีประสบการณ์ในการบูรณาการกจิ กรรมโครงการ
- มขี อ้ มลู ทส่ี ามารถเข้าถงึ กล่มุ เป้าหมาย
- มีคณะทำงานในการขบั เคล่ือนอย่างเปน็ ระบบ
- มเี ครอื ข่ายในการทำงานเช่น อพม. อสม. และผู้นำชมุ ชน
5.2 มกี ารบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดบั พ้นื ท่ี สามารถทำให้เครอื ข่ายรวมถึงประชาชน เชอ่ื มนั่ ในการ
ดำเนินงานที่เน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ของหน่วยงาน One Home พม. อยู่ในระดับ มาก
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70.00

เพระเหตุใด
- เป็นหน่วยงานของรฐั ที่ประชาชนรจู้ กั
- การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในการดำเนินงาน เป็นการสร้างการมสี ่วน

ร่วมในการทำงานรว่ มกนั
- เน่ืองจากสถานการณ์โฺ รคโควิด-19 ทำให้การดำเนินการขาดความต่อเน่ืองและหนว่ ยงานในพ้ืนท่ีมีภารกิจ

งานเรง่ ดว่ นท่ีจะตอ้ งใหก้ ารชว่ ยเหลือประชาชนในสถานการณโ์ รคโควิด-19
- มีการประสานงานผ่านหน่วยงานระดับพื้นที่ เช่น อปท. และอาสาสมัคร อพม. ร่วมกันลงพื้นที่ทำให้

ประชาชนเกดิ ความไวว้ างใจ และให้ข้อมูลทแ่ี ทจ้ ริงในการนำไปแก้ปัญหา
5.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 Covid-19 มีผลกระทบอย่างไรในการ
ดำเนินงาน และมีแนวทางดำเนินงานอย่างไรเพื่อให้สามารถขับเคลื่อนเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาสังคมอย่าง
บูรณาการ

- ทำให้ไมส่ ามารถลงพน้ื ท่ีได้ แนวทางมเี พียงจดั เกบ็ ข้อมูลเบ้ืองต้น
- มีผลกระทบมาก ทำใหไ้ มส่ ามารถลงพน้ื ท่ีไปช่วยเหลอื ประชาชนตามแผนการดำเนินงานที่ตง้ั เปา้ หมายไว้

ได้ แนวทางแก้ไขปัญหาคอื ใชก้ ารสอบถามข้อมูลจากพื้นท่ีหรอื เปลี่ยนแผนการลงพืน้ ทเี่ ป็นปงี บประมาณ
2565
- การดำเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆในพ้ืนที่ไมต่ รงตามแผนทีว่ างไว้
- พื้นทม่ี ีการระบาดไม่สามารถรวมกลมุ่ หรือ ลงเก็บข้อมลู เพื่อนำมาวเิ คราะห์แกไ้ ขปัญหาได้

46

พ้นื ทต่ี ำบลคอทราย อำเภอคา่ ยบางระจนั จังหวัดสิงห์บรุ ี
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไป

1.1 พื้นที่บูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ ตำบลคอทราย อำเภอค่ายบางระจัน จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี
1.2 คณะทำงานสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็งหรอื ไม่

1.3 บทบาทใดในคณะทำงานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง

Sales

6.89 6.89
3.45

48.27 13.79
10.34

ผบู้ รหิ าร เจา้ หนา้ ท่ขี องหนว่ ยงาน One Home พม. เจา้ หนา้ ท่ขี องหนว่ ยงานราชการในพนื้ ท่ี
เจา้ หนา้ ท่อี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
เครอื ขา่ ยแกนนาชมุ ชน ประธานคณะทางานสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็

1.4 บทบาทในการขับเคลือ่ นการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
 การถ่ายทอดเชิงนโยบาย
 การนำเสนอขอ้ มูลสถานการณท์ างสงั คม
 การวเิ คราะห์สถานการณ์ทางสงั คม
 การกำหนดกลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นา
 การลงปฏบิ ตั ิช่วยเหลือ ฟนื้ ฟู เยยี วยา แกไ้ ขปัญหาในพนื้ ที่
 การพัฒนาโครงการหรอื กิจกรรมเพื่อการแก้ไขปญั หาสงั คมในพน้ื ที่

47

สว่ นที่ 2 คำถามในสว่ นปจั จัยนำเขา้ (Input)

2.1 การกำหนดตำแหน่งหนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบในการดำเนนิ การขับเคล่ือนการบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชน
เข้มแข็ง มีความชดั เจน อยู่ในระดับ มากท่สี ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 84.82
2.2 การดำเนินโครงการบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง มีการบูรณาการรว่ มกนั ระหว่างหนว่ ยงานภายใน/
ภายนอก และภาคีทเ่ี ก่ียวข้อง อยู่ในระดับ มากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 84.13
2.3 ระบบฐานข้อมูล ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่มี ีประสิทธภิ าพในการขับเคลือ่ นการบรู ณาการสรา้ งเสริม
ชมุ ชนเขม้ แขง็ อยใู่ นระดบั มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.21
2.4 การกำหนดเป้าหมายร่วมในการดำเนนิ งานบรู ณาการเชงิ พ้ืนที่

- การกำหนดเปา้ หมายการแก้ไขปญั หาในระดับบคุ คลและครวั เรือน
2.5 แนวคิดในการพฒั นาท่นี ำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ งาน

- แนวคิดโครงการบรู ณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน
2.6 สถานการณป์ ัญหาสังคมที่ต้องการใหเ้ กดิ การบูรณาการแกไ้ ขปัญหาในพ้ืนท่ีมากท่สี ดุ

- ปญั หาความยากจน
- การสง่ เสรมิ อาชีพและการสร้างรายไดใ้ ห้กบั ครอบครวั เปราะบาง
- ความพิการ
- โรคระบาด
- ปญั หาครอบครวั แตกแยก
- การถกู เลิกจา้ งจากสถานการณ์ โควิด-19

ส่วนท่ี 3 ปัจจยั ดา้ นกระบวนการ (Process)

3.1 การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติในการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดับพื้นที่สามารถสร้าง
ความเข้าใจและประสบผลสำเร็จ อยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด คดิ เปน็ ร้อยละ 86.89
จากข้อ 3.1 ถา้ ประสบผลสำเร็จน้อย เนื่องจากเหตผุ ลใด เพราะอะไร

- การมภี ารกิจหลกั ตาม function อาการโควดิ ทำให้กจิ กรรมต้องหยุดหรือชะลอ
- การประสานบรู ณาการกับภาคส่วนอน่ื ยังอยู่ในวงจำกดั
- การประสานงานระหว่างตัวบุคคล
- ประชาชนบางกลุม่ ไมใ่ ห้ความรว่ มมือ
- ปัญหาการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โควิด-19
3.2 การกำหนดพน้ื ที่และแผนบูรณาการ ดำเนนิ การได้อยา่ งเหมาะสมกบั สภาพปญั หาของพืน้ ท่ีใน อย่ใู นระดบั
มากทีส่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 90.34
3.3 การเชอ่ื มกลไกเครือขา่ ยในรปู แบบคณะทำงานสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็งในระดับพนื้ ทสี่ ามารถขับเคลื่อนการ
ดำเนนิ งานร่วมกนั เพ่ือไปสเู่ ป้าหมายในการแก้ไขปญั หาทางสงั คมบนฐานข้อมลู และการมีสว่ นรว่ ม อยู่ในระดบั
มากท่สี ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 84.82
3.4 กลไกอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) สามารถรว่ มขับเคล่ือนการดำเนนิ งานรว่ มกนั
เพอ่ื ไปสเู่ ป้าหมายในการแกไ้ ขปญั หาทางสงั คมบนฐานข้อมูล และการมีส่วนรว่ ม อยใู่ นระดับ มากที่สุด คิดเป็น
รอ้ ยละ 84.13
3.5 การใช้ขอ้ มูลในการขับเคล่ือน ท่านใช้ข้อมลู ในการขับเคล่อื นการชว่ ยเหลอื และแกไ้ ขปญั หาให้กลมุ่ เป้าหมาย

48

- จากแหล่งข้อมูลท่ีแกนนำชุมชนในแต่ละพน้ื ทนี่ ำเสนอ,ข้อมูล TPMAP, ข้อมลู การช่วยเหลือเงิน
สงเคราะห์ของกระทรวง พม

3.6 การมีสว่ นรว่ มมีการนำข้อมูลท่ไี ดม้ าวิเคราะห์ และสรุปรว่ มกนั เพื่อนำไปสู่การวางแผนงานร่วมกัน อยู่ในระดับ
มากทส่ี ดุ คิดเป็นร้อยละ 85.51
3.7 ประเด็นปัญหาทางสังคมทถี่ กู เสนอและกำหนดในพืน้ ท่ี และนำมาสู่การจัดทำแผนให้การชว่ ยเหลอื หรือแกไ้ ข
ปญั หา ท่านทราบ เพราะเหตุใด

- ครัวเรือนมีความยากจน รายไดไ้ ม่พอ บ้านทรุดโทรม
- การเกบ็ ข้อมลู เชงิ รุกจากคณะทำงาน
- การแก้ไขปัญหากล่มุ เปราะบางและครัวเรอื นยากจนในพื้นที่
- ขนาดพื้นทีไ่ ม่ใหญ่ ประชากรไมม่ าก องคก์ รชุมชนเข้มแขง็
- บ้านยากจน
- การกกั ตัวโควิด ประชาชนในพืน้ ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณโ์ ควิด-19
- ปัญหาเศรษฐกิจ
- มีการประชมุ เพื่อวิเคราะห์และวางแผนรว่ มกัน
- ความเดือนร้อนของการดำรงชพี
- รว่ มเสนอกลุ่มเป้าหมายในพ้นื ท่ี
3.8 มกี ารนำประเด็นปัญหาสถานการณส์ ังคม แกไ้ ขปัญหา ร่วมกบั หนว่ ยงานภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนท่ี อยใู่ น
ระดับ มากท่สี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.20
3.9 การติดตอ่ ส่ือสารระหว่างผนู้ ำชุมชน คนในชุมชน และเครอื ข่ายอาสาสมัครต่างๆ เป็นสง่ิ สำคญั ในการดำเนนิ
โครงการฯ ให้เกดิ ความสำเรจ็ อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด คดิ เป็นร้อยละ 84.13

สว่ นท่ี 4 คำถามในส่วนของผลลัพธ์ (Output)
4.1 มีการบูรณาการแผนในมิติ

การสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็ , การพัฒนาแกนนำสภาเดก็ และเยาวชนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21, การ
พัฒนาและสง่ เสริมให้ผู้ประสบภาวะยากลำบากและไม่สามารถพงึ่ พาตนเองได้, การเตรียมความพร้อมด้านความรู้
ความเข้าใจของประชากรกอ่ นวยั สูงอายุ (อายุ 25-59 ปี ), การพัฒนาตำบลตน้ แบบชุมชนเขม้ แข็งของสถาบัน
พัฒนาองคก์ รชุมชน
4.2 มีการช่วยเหลอื กลุม่ เป้าหมายได้ตรงประเดน็ ปัญหา ตรงตามประเดน็

เพราะเหตุใด
- คนในชุมชนชีเ้ ป้า นำเสนอปัญหา
- ทมี one homeได้ให้ความชว่ ยเหลือภายใตท้ รัพยากรของแต่ละหน่วยแบบบูรณการ
- การประสานงาน
- ส่วนมากผนู้ ำชุมชนเปน็ ผู้เสนอกลุม่ เป้าหมาย
- การส่อื สารและบูรณาการร่วม
- มกี ารสำรวจกลมุ่ เปา้ หมายก่อนแลว้ นำขอ้ มลู มาพิจารณารว่ มกัน
- ได้ช่วยเหลือท่เี ขาอยากใหช้ ่วยไดร้ บั ข้อมลู ชัดเจนจากผนู้ ำชมุ ชน คณะทำงานชมุ ชน
- ได้รับข้อมลู จากคณะผูน้ ำชุมชน ได้รับข้อมูลขา่ วสารมาจากกลุ่มผู้ประสบปัญหาจริง
- การตง้ั ใจทำส่ิงน้นั ชว่ ยกันทำรว่ มมือ
- ความใส่ใจการทำงาน

49

- ปญั หาจะได้นอ้ ยลง
- ตรงประเดน็ ท่ีตอ้ งการ
- มกี ารประชมุ พูดคุยรว่ มกบั กอ่ นเขา้ ใหก้ ารช่วยเหลือ
- มีคณะทำงานจากในพ้ืนที่เขา้ รว่ มบรู ณาการการทำงาน
4.3 สถานการณ์ทางสงั คมที่ไดก้ ำหนดหรือวิเคราะห์รว่ มกันสามารถขบั เคลือ่ นให้เกดิ การแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเปน็
รปู ธรรม เพราะเหตุใด
- เปน็ ปญั หาทต่ี ้องการแก้ไขจริงจัง
- สามารถบูรณการในดา้ นทรัพยากรรว่ มกนั
- ทุกฝ่ายต้องใหค้ วามรว่ มมือกัน
- แก้ปญั หาตรงตามกลุ่มเป้าหมาย
- มีการแบ่งงาน
- เกดิ จากความรว่ มมือของคณะกรรมการและผู้นำชุมชน
- มีการวางแผนการแก้ไขปญั หารว่ มกัน แกป้ ัญหาในการพฒั นาชมุ ชน
- เจาะจงเป็นรายครัวเรือน
- การร่วมมอื ลงมือทำ
- สามารถแก้ไขปัญหาร่วมกนั อย่างบรู ณาการ
- การทำแผนการทำงานแบบบูรณาตามสภาพปัญหา
4.4 กรณีตวั อย่างการแกไ้ ขปัญหาทางสังคมของกลุ่มเปา้ หมายท่ีท่านเหน็ วา่ เปน็ ผลสำเร็จ
- ปญั หาความยากจนครอบครวั
- การช่วยเหลือเงนิ สงเคราะห์เดก็ ในครอบครวั ยากจน และการซ่อมแซมที่อยู่อาศยั
- การใหค้ วามชว่ ยเหลือด้านเงินสงเคราะห์
- การซ่อมสรา้ งผยู้ ากไรใ้ นชมุ ชนจากโครงการบา้ นพอเพยี งชนบ ทต.คอทราย
- เงินสงเคราะหเ์ ดก็
- การลงพน้ื ทจ่ี ริงในการตรวจสอบข้อมลู และใหค้ วามช่วยเหลอื
- ซ่อมแซมครวั เรือน
- ยาเสพตดิ
- การช่วยเหลือเยีย่ มบา้ นเยยี วยาครอบครัวท่มี ีปัญหายากไร้
- ซ่อมแซมครัวเรือนที่เกิดจากวาตะภัย
- การฝึกอาชพี
- แกไ้ ขบ้านยากไร้
- ดา้ นอาชพี
- สง่ เสรมิ การปลกู พืชผกั ครวั เรือน หรือพชื เศรษฐกิจในชุมชนอยา่ งอญั ชัน ฟ้าทะลายโจร
- การแก้ไขปญั หากลุ่มเปราะบางที่เข้าไมถ่ ึงสวสั ดิการ และปัญหาทอ่ี ยู่อาศัย

50

4.5 ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็
- ความร่วมใจกัน
- อพม. ยังไม่สามารถจัดทำสมุดพกครอบครวั หรอื เกบ็ ขอ้ มูลในพ้นื ท่ีได้ เนือ่ งจากขาดทักษะและความรู้
จงึ เปน็ ภาระให้กับเจ้าหนา้ ที่one home ซง่ึ แตล่ ะหนว่ ยกม็ ีภารกจิ มากอยแู่ ลว้
- ไมส่ ามารถออกหมบู่ ้านได้เพราะสถานการณโ์ ควดิ
- สถานการณโ์ รคโควิด-19ทำใหท้ ำงานยาก,การประสานงานระหวา่ งตวั บุคคล
- ด้วยสถานการณ์โควิคและสภาพเศรษฐกิจท่ยี ำ่ แย่ในการสร้างเสริมชุมชนใหเ้ ข้มแข็งในตอนน้ีอาจจะมี
ผลกระทบและลา่ ชา้
- กลมุ่ เปา้ หมายทจี่ ำนวนมาก
- สถานการณ์การเกิดโรคระบาดทำใหก้ ารขับเคลื่อนบางอย่างไม่สามารถดำเนินการได้
- การซ้ือของ/ของไมพ่ อ
- ประชาชนบางกล่มุ ไม่ให้ความร่วมมือ
- เวลาน้อย
- งบไม่เพียงพอ

4.6 ไมส่ ามารถจดั เวที ไดเ้ น่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 4.6 แนวทางการแกไ้ ขปญั หาและ
ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ การบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็งในระดับพ้นื ที่

- การบรู ณาการ
- ตอ้ งมีการบูรณาการกบั ทุกภาคส่วนอยา่ งจริงจงั ให้ร่วมกนั แก้ไขปัญหา
- สถานการณ์ปัจบุ นั ทำอะไรยากมาก,ผู้นำและหนว่ ยงานตอ้ งจริงใจในการแก้ไขปัญหา
- รัฐบาล
- การไดร้ ับข่าวสารและข้อความรู้
- ต้องค่อยๆปรบั ไปตามสถานการณ์กิจกรรมสามารถทำได้กท็ ำกอ่ น
- การประชาสมั พนั ธ์
- บา้ นยากจน
- มีการฝกึ อาชีพ
- สรา้ งความรว่ มมือของประชาชนในชมุ ชน
- การติดต่อสื่อสารผา่ นLine ประชุมผ่าน Zoom ส่งเอกสารผ่าน email
- การต่อเนื่องและยกระดับการพฒั นาในพนื้ ที่
4.7 ปัญหาทางสงั คมในพนื้ ที่ทีท่ า่ นดำเนินโครงการฯ มีความซับซอ้ นและหลากหลาย อยู่ในระดบั มากที่สดุ คดิ
เป็นรอ้ ยละ 76.55
4.8 คนในชุมชนทราบถึงสภาพปญั หาภายในชุมชนเปน็ อย่างดี หรือไม่ ทราบ อยใู่ นระดบั มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ
84.13

ส่วนที่ 5 คำถามปัจจยั สภาพแวดล้อมทเี่ ปน็ ผลกระทบ (Impact)

5.1 การบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งในระดับพน้ื ท่ี สามารถทำใหเ้ กดิ ความร่วมมือในการเขา้ มาร่วมคดิ ร่วม
ทำ เพื่อแก้ไขปญั หาทางสงั คม อยู่ในระดับ มากท่สี ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 86.89

51

เพระเหตุใด
- ปญั หามหี ลายมิติ
- ไดแ้ ตค่ วามรว่ มมือกันในเฉพาะทีมone home ยังขาดการบรู ณาการกับภาคส่วนอ่ืน
- เพื่อเกดิ ความสามคั คีในชมุ ชนและความเปน็ อยู่ทด่ี ีของประชาชน
- หน่วยงานมกี ำลังทรัพย์มโี ครงการต่างๆมากมายสว่ นชุมชนมกี ลุ่มเป้าหมายทช่ี ดั เจน
- มกี ารชว่ ยเหลอื ทกุ มิติ
- มคี วามสามัคคี
- ทุกภาคสว่ นตอ้ งทำงานทำงานร่วมกันการแก้ไขปญั หาบางอยา่ งแก้ไขด้านเดียวไม่ประสบ
ความสำเร็จตอ้ งทำไปพร้อมๆกนั
- ความรว่ มมือ
- เพราะประชาชนเดอื นร้อนต้องชว่ ยเหลือ
- เกิดความพรอ้ ม/ความสามัคคี/ความร่วมมือ
- มองปัญหาหลายมติ ิ
- การจัดทำแผนภารกจิ การทำงานท่คี รอบคลุมประเดน็ พัฒนา

5.2 มีการบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดบั พน้ื ท่ี สามารถทำให้เครอื ข่ายรวมถึงประชาชน เชอ่ื มนั่ ในการ
ดำเนนิ งานท่เี น้นการมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปญั หาของชมุ ชน ของหนว่ ยงาน One Home พม. อยใู่ นระดบั มาก
ท่ีสุด คดิ เป็นร้อยละ 81.37

เพระเหตุใด
- งบประมาณ
- เพราะมีการให้ความช่วยเหลือทันทว่ งที
- ให้เขาเช่อื มน่ั ในการทำงาน
- จากการลงทำงานจริงในชุมชนของหน่วยงาน
- พม ใหค้ วามช่วยเหลือ
- กระบวนการ
- มีหลายภาคสว่ นรับทราบปัญหาและทำงานรว่ มกนั
- ความสามคั คี
- ทำใหเ้ หน็ คิดวา่ จะแก้ไขปัญหาไดต้ รงจุด
- ความรว่ มมอื
- เพราะการแกไ้ ขปัญหาได้ถกู กล่มุ เปา้ หมาย
- การทำงานที่เหน็ ผลเป็นรูปธรรมชดั เจน
- การใหค้ วามสำคัญการการบรู ณาการจากทุกภาคสว่ น

5.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา่ 2019 Covid-19 มีผลกระทบอย่างไรในการ
ดำเนินงาน และมีแนวทางดำเนนิ งานอย่างไรเพื่อให้สามารถขบั เคลอื่ นเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาสังคมอย่าง
บรู ณาการ

- การเขา้ พื้นที่/ทำให้ไม่สามารถงพืน้ ท่ีได้
- ความยากลำบากในการลงพ้นื ที่ ขาดอปุ กรณ์ในการป้องกันตนเอง พนื้ ที่ก็ไมเ่ สย่ี งต่อการทำงาน
- ออกหม่บู ้านไม่ได้ทำให้การขับเคลอื่ นงานล่าช้าวธิ กี ารแกไ้ ขคือการประสานงานทางโทรศัพท์
- ทุกคนรักชีวติ ดว้ ยสถานการณ์การประสานงานใช้เคร่ืองมือส่อื สารดีทส่ี ดุ

52

- ขาดการประสานงานที่ต่อเนื่องกลมุ่ เป้าหมายมีความเสี่ยงจากสถานการณโ์ ควดิ ทำให้ไม่ต่อเนื่องใน
การพฒั นาชุมชน

- ทำให้กจิ กรรมบางอยา่ งไม่สามารถขบั เคลื่อนได้
- ไม่สามารถรวมกลมุ่ ได้
- มีการประชุมผ่านทางวดี โี อ ออนไลน์แทน
- ประชาชนมคี วามระมดั ระวังต่อคนนอกพื้นทช่ี ุมชน
- การเปดิ เวทที ำงานในพืน้ ท่ี และผลกระทบทางสขุ ภาพและเศรษฐกจิ ของประชาชนในพน้ื ท่ี

53

พื้นท่ีตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี จังหวดั ชัยนาท

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป

1.1 พน้ื ทบี่ รู ณาการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง ตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
1.2 คณะทำงานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็งหรอื ไม่

1.3 บทบาทใดในคณะทำงานสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง

16.67 16.67

33.33 16.67
16.67

1.4 บทบาทในการขบั เคล่ือนการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็
 การพฒั นาโครงการหรือกิจกรรมเพ่ือการแกไ้ ขปัญหาสงั คมในพื้นท่ี
 การลงปฏบิ ัตชิ ่วยเหลอื ฟืน้ ฟู เยยี วยา แก้ไขปัญหาในพื้นที่
 การถ่ายทอดเชิงนโยบาย
 การนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ทางสงั คม
 การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางสังคม
 การกำหนดกลุม่ เป้าหมายในการพัฒนา

สว่ นท่ี 2 คำถามในส่วนปจั จัยนำเขา้ (Input)
2.1 การกำหนดตำแหนง่ หนา้ ที่ ความรบั ผิดชอบในการดำเนินการขับเคล่ือนการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชน
เข้มแข็ง มคี วามชัดเจน อยใู่ นระดับ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 83.33
2.2 การดำเนินโครงการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ มกี ารบูรณาการรว่ มกันระหว่างหนว่ ยงานภายใน/
ภายนอก และภาคที ่เี ก่ียวขอ้ ง อยู่ในระดับ มาก คิดเปน็ ร้อยละ 90.00

54

2.3 ระบบฐานข้อมลู ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทมี่ ีประสทิ ธภิ าพในการขบั เคล่อื นการบูรณาการสรา้ งเสรมิ
ชุมชนเข้มแขง็ อยู่ในระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 83.33

2.4 การกำหนดเปา้ หมายรว่ มในการดำเนินงานบรู ณาการเชงิ พน้ื ท่ี

- การกำหนดเป้าหมายการแก้ไขปญั หาในระดับบุคคลและครัวเรอื น, การกำหนดเปา้ หมายการแก้ไข
ปญั หาในระดบั ชุมชน

2.5 แนวคิดในการพัฒนาทน่ี ำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ งาน
- แนวคิดโครงการบูรณาการเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน, แนวคิดโครงการ
ตำบลสร้างเสริมสวสั ดิการสงั คม, แนวคิดจติ อาสาพฒั นาสงั คม, แนวคิดปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

2.6 สถานการณป์ ัญหาสงั คมที่ตอ้ งการใหเ้ กดิ การบรู ณาการแกไ้ ขปญั หาในพืน้ ที่มากท่ีสดุ

- ความยากจน, การศึกษา, การแกไ้ ขปัญหาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนในพนื้ ที่เป้าหมาย, ความเปน็ อย,ู่
การจ้างงาน

ดา้ นสวสั ดิการทางสังคมส่วนที่ 3 ปจั จัยดา้ นกระบวนการ (Process)

3.1 การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏบิ ัตใิ นการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็งในระดับพื้นทสี่ ามารถสรา้ งความ
เขา้ ใจและประสบผลสำเรจ็ อยใู่ นระดบั มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 80.00
จากข้อ 3.1 ถา้ ประสบผลสำเรจ็ นอ้ ย เน่อื งจากเหตุผลใด เพราะอะไร

- การนำข้อมูลมาวิเคราะหแ์ กไ้ ขปัญหาด้วยคนในชุมชน
- สถานการณโ์ ควิด 19
- ปัญหา/อปุ สรรค บางเรื่องอาจต้องใช้ระยะเวลาในการแก้ไข
- นโยบายมอบใหค้ ณะทำงานซ่ึงอาจไม่ถึงกลุ่มเปา้ หมาย
- การสร้างความเข้าใจ
- ความร่วมมือของภาคเี ครือข่าย

3.2 การกำหนดพืน้ ทแ่ี ละแผนบูรณาการ ดำเนนิ การได้อยา่ งเหมาะสมกับสภาพปัญหาของพ้ืนทใ่ี น อยูใ่ นระดับ
มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 86.67

3.3 การเชือ่ มกลไกเครอื ข่ายในรูปแบบคณะทำงานสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็งในระดับพน้ื ท่ีสามารถขับเคล่อื นการ
ดำเนินงานร่วมกนั เพื่อไปสเู่ ป้าหมายในการแก้ไขปัญหาทางสังคมบนฐานข้อมูล และการมสี ่วนร่วม อยู่ในระดบั
มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.33

3.4 กลไกอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ (อพม.) สามารถร่วมขบั เคล่ือนการดำเนนิ งานรว่ มกัน
เพ่ือไปสู่เป้าหมายในการแก้ไขปัญหาทางสังคมบนฐานข้อมลู และการมีสว่ นรว่ ม อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็น
ร้อยละ 76.66

3.5 การใช้ขอ้ มลู ในการขบั เคลอื่ น ท่านใชข้ ้อมลู ในการขบั เคลอ่ื นการช่วยเหลอื และแก้ไขปัญหาใหก้ ลุ่มเป้าหมาย

- ขอ้ มลู TPMAP, ข้อมูลการช่วยเหลอื เงนิ สงเคราะหข์ องกระทรวง พม., ขอ้ มูลที่แกนนำชุมชนในแต่ละ
พนื้ ทนี่ ำเสนอ, ขอ้ มูลการทำงานในพน้ื ท่ี จากคณะประสานงานขบวนองค์กรชุมชน

55

3.6 การมีส่วนรว่ มมีการนำข้อมลู ที่ได้มาวิเคราะห์ และสรปุ ร่วมกันเพ่ือนำไปสู่การวางแผนงานรว่ มกนั อยู่ในระดบั
มาก คิดเป็นร้อยละ 83.33

3.7 ประเดน็ ปัญหาทางสงั คมที่ถูกเสนอและกำหนดในพน้ื ท่ี และนำมาสูก่ ารจัดทำแผนให้การช่วยเหลือหรือแก้ไข
ปัญหา ทราบ คดิ เปน็ ร้อยละ 80.00

เพราะเหตใุ ด

- ความยากจน
- การแก้ไขปญั หาความยากจน,การศกึ ษา
- ประเด็นปัญหาในพ้ืนที่ และฐานขอ้ มูลบริบทของพืน้ ที่ ความพรอ้ มเรอ่ื งทรัพยากรบุคคล/ อ่นื ๆ และ

ทุนทางสังคมในพน้ื ท่ี ท่ีเป็นโอกาสในการพฒั นา
- ปัญหาเร่งด่วนท่คี ดั เลือกโดยพน้ื ที่
- เปน็ ปัญหาในชุมชน
- การแก้ปัญหาด้านท่ีอยอู่ าศยั

3.8 มกี ารนำประเดน็ ปัญหาสถานการณ์สังคม แก้ไขปญั หา รว่ มกบั หน่วยงานภาคเี ครือข่ายในระดับพืน้ ที่ อยใู่ น
ระดับ มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 73.33

3.9 การตดิ ต่อสื่อสารระหวา่ งผ้นู ำชมุ ชน คนในชุมชน และเครือขา่ ยอาสาสมัครตา่ งๆ เป็นสิ่งสำคัญในการดำเนนิ
โครงการฯ ให้เกดิ ความสำเรจ็ อยูใ่ นระดบั มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.66

3.10 คนในชุมชนทราบถึงสภาพปัญหาภายในชมุ ชนเป็นอย่างดี หรือไม่ ทราบ อย่ใู นระดับ มาก คิดเปน็ ร้อยละ 76.67

ส่วนที่ 4 คำถามในส่วนของผลลัพธ์ (Output)

4.1 มีการบรู ณาการแผนในมิติ

- การสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ , การพฒั นากลมุ่ เปา้ หมายด้านสตรแี ละครอบครัว, การพัฒนาและ
สง่ เสริมให้ผปู้ ระสบภาวะยากลำบากและไมส่ ามารถพึง่ พาตนเองได้, การพัฒนาตำบลต้นแบบชุมชน
เขม้ แข็งของสถาบันพฒั นาองค์กรชุมชน

4.2 มกี ารชว่ ยเหลอื กลุ่มเป้าหมายไดต้ รงประเดน็ ปัญหา ตรงตามประเด็น
เพราะเหตุใด

- มกี ารสำรวจข้อมูลระดับครัวเรอื น
- มีข้อมลู ทช่ี ัดเจน
- ความพร้อมดา้ นฐานข้อมลู และแผนปฏบิ ตั กิ าร
- กลุม่ เป้าหมายทพ่ี จิ ารณาจากพน้ื ที
- เป้าหมายไดร้ ับความช่วยเหลือไม่ท่วั ถึง
- มกี ารสำรวจขอ้ มลู

4.3 สถานการณ์ทางสังคมท่ีไดก้ ำหนดหรอื วิเคราะห์ร่วมกันสามารถขบั เคลื่อนให้เกดิ การแก้ไขปญั หาอย่างเปน็
รปู ธรรม

56

เพราะเหตุใด
- วิเคราะหค์ วามต้องการจากเจ้าของปัญหา และนำไปสกู่ ารแก้ไข เช่น เรือ่ งอาชีพ สรา้ งอาชีพและรายได้
- ทมี งานมีความเข้มแข็งใหค้ วามร่วมมอื
- คุณภาพของข้อมูล และความร่วมมือในการบรู ณาการการทำงานจากหลายภาคส่วน
- มีการวิเคราะห์ข้อมลู ร่วมกัน
- การชว่ ยเหลือกลุ่มเปราะบาง
- การรว่ มมือกันทุกฝ่าย
4.4 กรณีตัวอย่างการแก้ไขปัญหาทางสังคมของกลุ่มเปา้ หมายทท่ี า่ นเหน็ ว่าเปน็ ผลสำเร็จ
- การสร้างอาชีพให้กับคนจน
- ปญั หาการศึกษา นักเรียนทีป่ ระสบปัญหาสามารถมีท่เี รยี นกบั กศน.
- การแก้ไขปญั หาที่อยอู่ าศยั การพฒั นาคุณภาพชีวติ ครัวเรอื นเปราะบาง
- การมอบสิ่งของอุปโภคและบรโิ ภคของอพม
- การตง้ั ครรภก์ ่อนวัยอันควร
- ปรบั ปรงุ ทอี่ ยู่อาศยั
4.5 ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็
- สถานการณ์โควิด ไม่สามารถดำเนนิ กิจกรรมได้ การลงพ้ืนที่ยากลำบาก
- ขาดความรู้ความเขา้ ใจ มใี จเป็นกลาง
- เจา้ หนา้ ทม่ี ภี าระงานทำใหเ้ ขา้ รว่ มดำเนินงานไม่ได้ทุกครั้ง
4.6 แนวทางการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดับพ้ืนท่ี
- การจัดทำข้อมูลด้วยคนในชุมชน
- ใชม้ าตรการป้องกนั โควิดอย่างเข้มงวด
- คนในชุมชนมีสว่ นในการแกไ้ ขปัญหาของตนเอง
- รว่ มบรู ณากบั ภาคีในกจิ กรรมตา่ งๆ
- มอี าชีพ มีการจ้างงาน
- ตอ้ งหาเวลาวา่ งทตี่ รงกัน
4.7 ปัญหาทางสังคมในพื้นที่ที่ท่านดำเนินโครงการฯ มีความซับซ้อนและหลากหลาย อยู่ในระดับ ปานกลาง
คิดเปน็ ร้อยละ 70.00
4.8 คนในชุมชนทราบถึงสภาพปัญหาภายในชุมชนเปน็ อยา่ งดี หรอื ไม่ อย่ใู นระดับ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 76.67

57

ส่วนท่ี 5 คำถามปัจจยั สภาพแวดลอ้ มท่เี ป็นผลกระทบ (Impact)
5.1 การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดับพื้นที่ สามารถทำให้เกิดความร่วมมือในการเข้ามาร่วมคิด
ร่วมทำ เพือ่ แกไ้ ขปญั หาทางสงั คม อยใู่ นระดับ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 76.66

เพระเหตุใด
- ทกุ ภาคส่วนเข้ามาร่วมดำเนินการ
- ผู้นำและชมุ ชนใหค้ วามสำคัญ
- มกี ารทำแผนพฒั นาและแกไ้ ขปญั หาตามความตอ้ งการของชมุ ชน และสภาพปัญหาจริง
- พืน้ ที่ และภาครี ่วมมือ กำหนดเป้าหมายใหช้ ดั เจน
- หน่วยงานกม็ ีความเขา้ ใจในการที่จะแกป้ ัญหาในสว่ นทตี่ ัวเองรบั ผิดชอบ
5.2 มีการบูรณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็งในระดบั พืน้ ท่ี สามารถทำใหเ้ ครอื ขา่ ยรวมถึงประชาชน เชื่อมั่นในการ
ดำเนินงานท่เี น้นการมีส่วนรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาของชุมชน ของหนว่ ยงาน One Home พม. อยู่ในระดบั มาก
คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00
เพระเหตุใด
- มีการดำเนินการทต่ี ่อเนื่อง
- ความทุ่มเทและเข้มแข็งของคณะทำงาน
- มกี ารเปิดเวทีทำความเขา้ ใจร่วมกบั หนว่ ยงานหลายภาคส่วน รวมถึงหนว่ ยงานในท้องถิน่ จนนำไปสู่

การเกดิ รปู ธรรมการทำงาน
- การไดร้ บั บริการท่เี ขา้ ถึงกลมุ่ เป้าหมาย
- การชเี้ ปา้
- ความร่วมมือของทุกหนว่ ยงาน
5.3 ผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 Covid-19 มีผลกระทบอยา่ งไรในการ
ดำเนนิ งาน และมแี นวทางดำเนินงานอย่างไรเพื่อใหส้ ามารถขบั เคลอ่ื นเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปญั หาสังคมอยา่ ง
บรู ณาการ
- ทำให้จัดกิจกรรมท่ีรวมคนไม่ได้
- มีผลกระทบมากท่สี ดุ
- มีความลำบากในการขับเคล่ือนงานในระดบั พ้ืนท่จี นนำไปสู่ขอ้ จำกัดในการทำงานหลายๆอย่าง
- การแก้ไขปัญหาไม่ตรงกลมุ่ เปราะบางลา่ ชา้
- การประชมุ การเกบ็ ขอ้ มลู
- บางงานอาจตอ้ งมกี าร รวมกลุ่ม แตส่ ถานการณ์โควิด ทำให้ต้องลดจำนวนคนลง

58

พ้นื ท่ีตำบลสุขฤทัย อำเภอห้วยคต จังหวดั อทุ ัยธานี

สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป

1.1 พื้นทบ่ี รู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ ตำบลสุขฤทัย อำเภอห้วยคต จังหวดั อุทยั ธานี
1.2 คณะทำงานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็งหรือไม่

1.3 บทบาทใดในคณะทำงานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง

1.4 บทบาทในการขบั เคลือ่ นการบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็
 การถ่ายทอดเชงิ นโยบาย
 การกำหนดกลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นา
 การลงปฏิบตั ิช่วยเหลือ ฟืน้ ฟู เยียวยา แกไ้ ขปัญหาในพ้นื ท่ี
 การนำเสนอขอ้ มูลสถานการณท์ างสงั คม
 การวิเคราะหส์ ถานการณท์ างสังคม
 การพัฒนาโครงการหรือกจิ กรรมเพื่อการแกไ้ ขปญั หาสังคมในพน้ื ที่

สว่ นท่ี 2 คำถามในสว่ นปัจจัยนำเข้า (Input)

2.1 การกำหนดตำแหนง่ หน้าท่ี ความรับผดิ ชอบในการดำเนนิ การขับเคลื่อนการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชน
เข้มแข็ง มคี วามชัดเจน อยใู่ นระดบั ปานกลาง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 72.00
2.2 การดำเนินโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง มกี ารบรู ณาการรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานภายใน/
ภายนอก และภาคที ีเ่ ก่ียวข้อง อยู่ในระดับ มาก คดิ เป็นร้อยละ 72.00
2.3 ระบบฐานข้อมลู ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการขับเคลื่อนการบรู ณาการสร้างเสรมิ
ชุมชนเขม้ แข็ง อยใู่ นระดบั มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 72.00
2.4 การกำหนดเป้าหมายร่วมในการดำเนินงานบรู ณาการเชิงพน้ื ที่

59

- การกำหนดเป้าหมายการแก้ไขปญั หาในระดบั บุคคลและครัวเรือน
2.5 แนวคิดในการพัฒนาทน่ี ำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน

- แนวคิดโครงการบรู ณาการเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน
2.6 สถานการณ์ปัญหาสังคมทตี่ ้องการให้เกิดการบรู ณาการแกไ้ ขปญั หาในพนื้ ท่ีมากท่สี ดุ

- ดา้ นอาชีพรายได้ ในช่วงสถานการณ์ปจั จุบนั นี้,การช่วยเหลอื ผทู้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาด,อาชพี และรายได้,ด้านความเป็นอยู่ และรายได้ของประชาชน,ปัญหาการวา่ งงาน เป็น
ปญั หาทางสงั คมทตี่ ้องการให้เกดิ การแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่มากท่สี ุด

สว่ นท่ี 3 ปัจจัยด้านกระบวนการ (Process)

3.1 การถา่ ยทอดนโยบายสู่การปฏิบัตใิ นการบูรณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งในระดับพื้นที่สามารถสร้างความ
เขา้ ใจและประสบผลสำเรจ็ อย่ใู นระดบั ปานกลาง คดิ เป็นร้อยละ 68.00
จากข้อ 3.1 ถา้ ประสบผลสำเร็จน้อย เนอ่ื งจากเหตผุ ลใด เพราะอะไร

- กระบวนการในปีน้ี ยงั ไม่ชัดเจนเนอ่ื งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้
กระบวนงานยังไม่ได้ดำเนินการในบางข้นั ตอน

- ทุกคนรอแต่ความช่วยเหลอื จากหน่วยงาน
- เนอ่ื งจากสถานการณ์โควิด 19 ทำให้มีการถ่ายทอดนโยบาย และการแลกเปลย่ี นเรยี นร้รู ่วมกันไม่

เป็นไปตามแผนท่กี ำหนดไว้
การใหค้ วามร่วมมอื และการมีส่วนรว่ ม3.2 การกำหนดพ้ืนที่และแผนบรู ณาการ ดำเนนิ การไดอ้ ย่างเหมาะสมกับ
สภาพปญั หาของพน้ื ที่ใน อยู่ในระดบั ปานกลาง คิดเปน็ ร้อยละ 68.00
3.3 การเช่อื มกลไกเครือข่ายในรปู แบบคณะทำงานสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็งในระดับพน้ื ท่ีสามารถขับเคลื่อนการ
ดำเนินงานรว่ มกันเพอ่ื ไปสเู่ ป้าหมายในการแก้ไขปัญหาทางสังคมบนฐานข้อมลู และการมสี ว่ นร่วม อยู่ในระดับ
มาก คดิ เป็นร้อยละ 80.00
3.4 กลไกอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) สามารถรว่ มขับเคล่ือนการดำเนนิ งานร่วมกนั
เพอื่ ไปสเู่ ปา้ หมายในการแก้ไขปญั หาทางสังคมบนฐานข้อมูล และการมสี ่วนร่วม อยใู่ นระดับ มาก คดิ เปน็ ร้อยละ
76.00
3.5 การใชข้ อ้ มลู ในการขบั เคล่อื น ทา่ นใช้ข้อมูลในการขบั เคล่ือนการชว่ ยเหลอื และแก้ไขปญั หาใหก้ ลุม่ เป้าหมาย

- จากแหลง่ ข้อมลู ที่แกนนำชมุ ชนในแตล่ ะพ้นื ที่นำเสนอ,ข้อมูล TPMAP, ข้อมูลการช่วยเหลอื เงิน
สงเคราะหข์ องกระทรวง พม, ขอ้ มลู ที่แกนนำชมุ ชนในแตล่ ะพื้นท่นี ำเสนอ

3.6 การมสี ว่ นร่วมมกี ารนำข้อมูลท่ไี ด้มาวเิ คราะห์ และสรปุ ร่วมกันเพ่ือนำไปสู่การวางแผนงานร่วมกนั อยู่ในระดบั
ปานกลาง คดิ เป็นร้อยละ 76.00
3.7 ประเดน็ ปญั หาทางสงั คมท่ีถูกเสนอและกำหนดในพ้นื ท่ี และนำมาสู่การจัดทำแผนให้การช่วยเหลือหรือแก้ไข
ปญั หา ทา่ นทราบ

เพราะเหตใุ ด
- นโยบายของรฐั บาลในการรว่ มมอื ทำข้อตกลง (MOU) กันเพอ่ื บูรณาการการทำงานรว่ มกนั
ชมุ ชนตำบลเข้มแข็งทง้ั ด้านผู้นำชุมชน
- เปน็ ปญั หาที่ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ
- เพือ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนให้ดีขน้ึ และพฒั นาชุมชนใหม้ ีความเขม้ แข็งในด้านการจดั

สวัสดกิ ารสงั คมใหเ้ ปน็ รูปธรรมภายใตก้ ารบรู ณาการของทุกภาคส่วน

60

3.8 ปญั หาทางดา้ นรายไดแ้ ละคุณภาพชีวิต3.8 มีการนำประเด็นปัญหาสถานการณส์ งั คม แก้ไขปัญหา รว่ มกับ
หน่วยงานภาคีเครอื ข่ายในระดับพนื้ ที่ อยูใ่ นระดับ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 84.00

3.9 การติดต่อสื่อสารระหวา่ งผู้นำชมุ ชน คนในชมุ ชน และเครือข่ายอาสาสมัครต่างๆ เป็นส่ิงสำคญั ในการดำเนนิ
โครงการฯ ให้เกดิ ความสำเร็จ อยใู่ นระดับ มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 68.00

สว่ นที่ 4 คำถามในส่วนของผลลัพธ์ (Output)

4.1 มกี ารบรู ณาการแผนในมิติ
การพฒั นาและสง่ เสรมิ ให้ผปู้ ระสบภาวะยากลำบากและไม่สามารถพงึ่ พาตนเองได้, การทำใหค้ นพิการที่

ตกหล่นและไมไ่ ด้รับสทิ ธิ/สวสั ดกิ ารจากรัฐได้รบั สทิ ธ/ิ สวสั ดิการจากการมีบัตรประจำตัวคนพกิ าร, การพัฒนา
ตำบลตน้ แบบชุมชนเข้มแข็งของสถาบันพัฒนาองค์กรชมุ ชน/การพัฒนาแกนนำสภาเดก็ และเยาวชนให้มีทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21
4.2 มีการช่วยเหลอื กลุ่มเปา้ หมายได้ตรงประเด็นปัญหา ตรงตามประเด็น คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

เพราะเหตใุ ด
- มกี ารจัดเวทปี ระชาคมกับผู้นำชมุ ชน เพือ่ วิเคราะหป์ ัญหาความตอ้ งการของผปู้ ระสบปัญหาทาง

สงั คมแล้ว ทำใหก้ ารช่วยเหลอื ตรงประเด็น
- การช่วยเหลือดา้ นเงนิ สงเคราะห์กล่มุ เปราะบาง
- รายได้ และความเป็นอยู่ การเขา้ ถงึ บริการภาครฐั
4.3 สถานการณ์ทางสังคมท่ีได้กำหนดหรอื วิเคราะหร์ ่วมกันสามารถขับเคลือ่ นใหเ้ กดิ การแก้ไขปญั หาอยา่ งเป็น
รปู ธรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.00
เพราะเหตุใด
- เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้การทำงานต้องหยุดดำเนิน

กจิ กรรมทกุ กจิ กรรมตามคำสั่งจังหวัดอุทยั ธานี
- เพราะสามารถนำข้อมูลที่ลงพื้นที่จัดเก็บมาวิเคราะห์รายครัวเรือนและขับเคลื่อนสู่แผนระยะยาว

ตอ่ ไป ร่วมถึงการประสานสง่ ตอ่ หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง
- การรว่ มบรู ณาการของทกุ หน่วยงาน
- การวิเคราะหข์ อ้ มลู การทำแผนปฏบิ ตั ิการรว่ มกนั
- มคี ณุ ภาพชวี ิตที่ดขี ้นึ
4.4 กรณีตวั อยา่ งการแกไ้ ขปัญหาทางสังคมของกลุ่มเปา้ หมายท่ที ่านเห็นวา่ เป็นผลสำเร็จ
- การจดั เกบ็ สมดุ พกครอบครัว ทำให้การวิเคราะห์สภาพปัญหาแต่ละครวั เรอื น ทำให้หนว่ ยงานไดเ้ ข้า

ร่วมบรู ณาการในการชว่ ยเหลอื ได้อย่างถูกต้อง
- การช่วยเหลอื ด้านเงนิ สงเคราะห์ ดา้ นที่อยอู่ าศยั และดา้ นอาชีพ เพือ่ คณุ ภาพชีวิตท่ีดีขน้ึ ของ

กลุม่ เปา้ หมาย
- การวเิ คราะห์ขอ้ มูลรว่ มกนั ทำใหร้ ูป้ ญั หา รชู้ มุ ชน รูก้ ลุม่ เป้าหมาย ตลอดจนมีงบประมาณสนบั

สนับสนุนในการแกป้ ัญหากลุ่มเป้าหมายเฉพาะหนา้ เชน่ เงนิ สงเคราะห์ต่างๆ
- เงนิ สงเคราะห์
4.5 ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนินงานบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็
- ชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้การขบั เคล่ือนกิจกรรมไมส่ ามารถ

ดำเนนิ ได้

61

- งบประมาณในการลงพื้นท่ีจดั เก็บข้อมูล
- บคุ ลากรของหนว่ ยงานในการปฏิบัตงิ านท่ีได้รับมอบหมายมีภาระกิจงานหลายดา้ นจึงทำไดไ้ ม่เต็มที่

รวมท่ังความเข้าใจในบทบาทหน้าทีท่ ตี่ ้องทำ
- สถานการณโ์ ควิด 19 ทำให้ไท่สามาถดำเนนิ การได้ตามแผน เชน่ การลงพ้นื ที่ การจดั ประชุม

คณะทำงาน
4.6 แนวทางการแก้ไขปญั หาและข้อเสนอแนะในการดำเนินการบูรณาการสร้างเสริมชมุ ชนเขม้ แข็งในระดบั พื้นท่ี

- เหน็ ควรจดั สรรงบประมาณในการลงพน้ื ท่จี ัดเกบ็ ขอ้ มูล
- ควรมกี ารเจรียมควาทพร้อมบุคลากรก่อนมีการทำงานจรงิ
- การประสานขอข้อมลู จากเครือขา่ ยในพน้ื ทจ่ี ัดประชุมผา่ นระบบออนไลน์
- การมสี ว่ นร่วม
4.7 ปญั หาทางสังคมในพน้ื ที่ทที่ า่ นดำเนนิ โครงการฯ มีความซบั ซ้อนและหลากหลาย อยู่ในระดบั มาก คดิ เปน็
ร้อยละ 60.00
4.8 คนในชมุ ชนทราบถงึ สภาพปญั หาภายในชมุ ชนเปน็ อย่างดี หรือไม่ อยใู่ นระดับ มาก คดิ เป็นร้อยละ 68.00

ส่วนท่ี 5 คำถามปจั จัยสภาพแวดล้อมทเี่ ปน็ ผลกระทบ (Impact)

5.1 การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดบั พน้ื ท่ี สามารถทำใหเ้ กิดความรว่ มมือในการเขา้ มาร่วมคดิ รว่ ม
ทำ เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม อยใู่ นระดบั มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.00

เพระเหตุใด

- การมผี นู้ ำท่ีเข้มแขง็ เลง็ เห็นความสำคญั ความเดือดร้อนของชุมชนได้อย่างชดั เจน และ ภาคี
เครือข่ายให้การสนบั สนนุ กิจกรรม

- หน่วยงานมีความรว่ มมือในการเขา้ ร่วมการดำเนนิ งานร่วมคิดรว่ มทำ เพื่อใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด
แกก่ ลมุ่ เป้าหมาย

- มีหลายภาคสว่ นเขา้ มามีส่วนร่วม
- แนวทางแก้ไขปัญหารว่ มกนั

5.2 มกี ารบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดบั พ้นื ที่ สามารถทำให้เครือข่ายรวมถึงประชาชน เชอื่ มั่นในการ
ดำเนินงานที่เน้นการมีสว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปัญหาของชมุ ชน ของหนว่ ยงาน One Home พม. อยู่ในระดับ มาก
คิดเป็นรอ้ ยละ 60.00

เพระเหตุใด

- มกี ารสง่ เสริมสนบั สนุนกิจกรรมไดเ้ หน็ อยา่ งชัดเจน
- การลงพ้นื ที่ไดร้ ับความร่วมมือจากชุมชน และผู้นำชุมชนเป็นอย่างดี เพ่อื รว่ มกนั กบั หนว่ ยงาน ONE

HOME ในการแกไ้ ขปัญหาต่างๆ
- มกี ารช่วยเหลอื ตรงตามสภาพปญั หาความเดือดร้อน มกี ารลงพน้ื ทเี่ ย่ียมบ้านเชิงรุก

5.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2019 Covid-19 มีผลกระทบอย่างไรในการ
ดำเนินงาน และมีแนวทางดำเนินงานอย่างไรเพ่ือให้สามารถขบั เคลื่อนเพ่ือนำไปสู่การแก้ไขปัญหาสังคมอยา่ ง
บูรณาการ

- ทำใหไ้ ม่สามารถขบั เคลื่อนกจิ กรรมตามกระบวนงานได้ตามข้ันตอน และมาขบั เคล่อื นโครงการฯใน
พน้ื ท่เี ดมิ อีกคร้งั เพ่อื จะไดน้ ำไปสู่การแก้ไขปญั หาสังคมได้

62

- ผลกระทบในการลงพ้ืนทจี่ ดั เกบ็ ข้อมูล เพ่ือความปลอดภยั ท้ังเจา้ หน้าที่และกลุ่มเปา้ หมาย แต่สามารถ
ขบั เคลื่อนงานได้ตามกระบวนการ เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาดา้ นตา่ งๆ ในสงั คม

- ความเส่ียงในการลงพน้ื ท่/ี พืน้ ทมี่ ีการแพรร่ ะบาดของโรค
- การลงพนื้ ที่มคี วามเส่ียง/การจัดประชมุ ไม่เป็นไปตามแผน การแก้ไขปัญหา มกี ารประสานขอ้ มูลจาก

หนว่ ยงานในพน้ื ที่ และ อพม. ปรบั การประชุมเปน็ ระบบออนไลน์ แต่จะไมไ่ ดเ้ ป้าหมายการเขา้ รว่ ม
ของคณะทำงานทงั้ หมด
- กิจกรรมและโครงการต่างๆไม่สามารถดำเนินการได้

63

พนื้ ที่ตำบลเขาชนกัน อำเภอแมว่ งก์ จังหวัดนครสวรรค์
ส่วนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป

1.1 พื้นทบ่ี รู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ ตำบลเขาชนกัน อำเภอแม่วงก์ จงั หวัดนครสวรรค์
1.2 คณะทำงานสรา้ งเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็งหรือไม่

1.3 บทบาทใดในคณะทำงานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็

17.65 23.53
5.88 23.53
11.76

17.65

1.4 บทบาทในการขบั เคล่อื นการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง ตามลำดับ
 การถา่ ยทอดเชิงนโยบาย
 การลงปฏิบัตชิ ่วยเหลือ ฟ้ืนฟู เยียวยา แกไ้ ขปัญหาในพนื้ ที่
 การนำเสนอขอ้ มลู สถานการณท์ างสังคม
 การวเิ คราะห์สถานการณท์ างสังคม
 การพฒั นาโครงการหรือกจิ กรรมเพ่ือการแก้ไขปญั หาสงั คมในพ้นื ท่ี
 การกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา

สว่ นท่ี 2 คำถามในสว่ นปัจจัยนำเข้า (Input)
2.1 การกำหนดตำแหน่งหนา้ ที่ ความรับผิดชอบในการดำเนนิ การขบั เคลื่อนการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชน
เข้มแข็ง มคี วามชดั เจน อยใู่ นระดบั มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 84.71
2.2 การดำเนนิ โครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง มีการบรู ณาการรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานภายใน/
ภายนอก และภาคที ี่เกี่ยวขอ้ ง อย่ใู นระดบั มาก คิดเปน็ ร้อยละ 83.52

64

2.3 ระบบฐานข้อมลู ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทม่ี ปี ระสิทธิภาพในการขับเคล่อื นการบูรณาการสรา้ งเสริมชมุ ชน
เขม้ แข็ง อยใู่ นระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 83.52

2.4 การกำหนดเปา้ หมายร่วมในการดำเนินงานบูรณาการเชงิ พืน้ ท่ี
- เกีย่ วข้องในระดับของการกำหนดเป้าหมายการแก้ไขปญั หาในระดับบุคคลและครวั เรอื น

2.5 แนวคดิ ในการพฒั นาท่ีนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินงาน
- อาศยั แนวคดิ จากโครงการบูรณาการเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุม่ เปราะบางรายครัวเรือน

2.6 สถานการณป์ ัญหาสังคมที่ต้องการใหเ้ กิดการบูรณาการแกไ้ ขปัญหาในพ้นื ที่มากทีส่ ดุ
- สถานการณด์ ้าน ผู้พกิ าร ผ้สู งู อายุ กลมุ่ เปราะบาง เป็นปัญหาทางสังคมทีต่ ้องการให้เกดิ การแก้ไข
ปญั หาในพน้ื ท่ีมากท่สี ุด

สว่ นท่ี 3 ปจั จัยดา้ นกระบวนการ (Process)

3.1 การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏบิ ัตใิ นการบูรณาการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแข็งในระดับพื้นท่สี ามารถสรา้ งความ
เข้าใจและประสบผลสำเร็จ อยูใ่ นระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 75.29
จากข้อ 3.1 ถ้าประสบผลสำเร็จน้อย เนอ่ื งจากเหตุผลใด เพราะอะไร

- การพบปะพูดคยุ กับชุมชนมนี ้อย ด้วยในปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-
19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินการในระดบั พ้นื ทีไ่ ดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี ทำใหม้ ีคนกลับมาอย่ใู นหมู่บ้านเยอะ วา่ งงาน
ดแู ลไม่ทัว่ ถึง

- เพราะผูท้ ล่ี ำบาก ผเู้ ปราะบางในตำบลมีมาก
- ชุมชนยังไมเ่ ขา้ ใจในการดำเนินงานของศนู ย์พฒั นาครอบครัว
- คณะทำงานไมท่ ราบบทบาทหน้าทีท่ ีช่ ดั แจน และครอบครวั ของเด็กไม่ยอมรบั พฤติกรรมเส่ยี งของเด็ก
- ประสบผลสำเรจ็ มาก เนอ่ื งจากการบูรณาการงาน

3.2 การกำหนดพ้นื ที่และแผนบรู ณาการ ดำเนนิ การได้อยา่ งเหมาะสมกับสภาพปญั หาของพนื้ ที่ใน อยูใ่ นระดับ
มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.52

3.3 การเช่ือมกลไกเครอื ข่ายในรูปแบบคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็งในระดับพืน้ ท่สี ามารถขับเคลือ่ นการ
ดำเนนิ งานรว่ มกันเพอ่ื ไปสเู่ ป้าหมายในการแก้ไขปญั หาทางสงั คมบนฐานข้อมลู และการมีส่วนรว่ ม อยู่ในระดับ
มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00

3.4 กลไกอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) สามารถรว่ มขับเคล่ือนการดำเนนิ งานร่วมกัน
เพ่อื ไปสเู่ ป้าหมายในการแกไ้ ขปัญหาทางสังคมบนฐานข้อมลู และการมีสว่ นร่วม อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ
82.35

3.5 การใชข้ ้อมูลในการขบั เคล่ือน ท่านใช้ข้อมลู ในการขับเคลื่อนการช่วยเหลือและแกไ้ ขปัญหาใหก้ ลุ่มเปา้ หมาย
- จากแหล่งข้อมูลท่ีแกนนำชุมชนในแตล่ ะพื้นทีน่ ำเสนอ,ขอ้ มูล TPMAP, ข้อมูลการชว่ ยเหลอื เงิน
สงเคราะห์ของกระทรวง พม

3.6 การมสี ่วนร่วมมีการนำขอ้ มูลท่ีได้มาวิเคราะห์ และสรุปร่วมกนั เพ่ือนำไปสู่การวางแผนงานร่วมกัน อยูใ่ นระดบั
มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 78.82

65

3.7 ประเดน็ ปญั หาทางสังคมที่ถกู เสนอและกำหนดในพื้นที่ และนำมาสูก่ ารจัดทำแผนให้การช่วยเหลือหรอื แกไ้ ข
ปัญหา ท่านทราบ

เพราะเหตุใด
- การดำเนินงานด้านการส่งเสริมอาชีพในครวั เรือน ด้านที่อยู่อาศัย และดา้ นความเปน็ อยุ่ในครัวเรอื น

ด้านการศึกษา
- ไดล้ งพ้ืนท่ีร่วมกบั พมจ., หนว่ ยงาน, เจ้าหน้าที่ท่ีรบั ผดิ ชอบ,กรรมการหมู่บ้าน,ผู้นำ เพื่อลงสำรวจ

ความตอ้ งการให้ความช่วยเหลอื เบอ้ื งต้น และจัดทำแผนการชว่ ยเหลอื
- การแลกเปล่ยี นประเดน็ ปญั หาทางสงั คมตามขอ้ เท็จจรงิ ในพื้นท่ี สู่การวางแผนให้การชว่ ยเหลอื หรอื

แกไ้ ขปัญหารายกรณี
- เพราะเปน็ บทบาทหน้าท่ีของคณะทำงานศูนย์ชุมชนคมุ้ ครองเด็ก
- หนว่ ยงานรบั ผิดชอบในพื้นที่และผู้นำชมุ ชนใหค้ วามสนใจ
- เนอื่ งจากไดร้ บั การขอความช่วยเหลอื จาก อบต ในพื้นท่ี
- ในปัจจบุ ันน้ี กลุ่มคนในชุมชนมกี ารนำเอาวัฒนธรรมทผี่ ิด ๆ มาใชท้ ำให้เกิดปัญหาภายในชุมชนมาก
- ปจั จุบัน สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิค-19 ทกี่ ำลังระบาดในขณะนี้

3.8 มีการนำประเดน็ ปัญหาสถานการณส์ งั คม แกไ้ ขปัญหา รว่ มกับหนว่ ยงานภาคีเครือขา่ ยในระดับพน้ื ที่ อยู่ใน
ระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 82.35

3.9 การตดิ ตอ่ ส่ือสารระหวา่ งผนู้ ำชุมชน คนในชุมชน และเครือข่ายอาสาสมัครตา่ งๆ เป็นสง่ิ สำคัญในการดำเนิน
โครงการฯ ให้เกิดความสำเร็จ อยู่ในระดบั มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 85.88

ส่วนที่ 4 คำถามในสว่ นของผลลัพธ์ (Output)

4.1 มีการบรู ณาการแผนในมิติ

การพัฒนาและสง่ เสรมิ ใหผ้ ูป้ ระสบภาวะยากลำบากและไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้, การทำให้คนพิการท่ี
ตกหล่นและไม่ได้รับสทิ ธิ/สวัสดิการจากรฐั ได้รับสิทธิ/สวสั ดิการจากการมีบัตรประจำตวั คนพิการ, การพัฒนา
ตำบลต้นแบบชมุ ชนเข้มแข็งของสถาบันพฒั นาองค์กรชุมชน/การพัฒนาแกนนำสภาเดก็ และเยาวชนให้มีทักษะใน
ศตวรรษที่ 21

4.2 มีการชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปา้ หมายไดต้ รงประเดน็ ปัญหา ตรงตามประเด็น
เพราะเหตุใด
- มีการลงพน้ื ท่เี ยี่ยมครอบครวั เปา้ หมายทุกครอบครัว ร่วมกับคณะทำงานและหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง
บางประเดน็ ปัญหาสามารถดำเนนิ การได้ทันทีโดยหน่วยงานในระดับพืน้ ที่
- มีการสำรวจแต่ละหมู่บ้าน ให้ผนู้ ำคัดเลอื กผูเ้ ปราะบางและลงสำรวจพ้ืนท่ีพร้อมกบั พมจ. เพ่อื สำรวจ
ความต้องการและช่วยเหลือชาวบ้าน
- มกี ารสำรวจแตล่ ะหมู่บ้านให้ผนู้ ำคดั สรรผู้เปราะบาง และลงพืน้ ที่พร้อมกับ พมจ. เพ่ือสำรวจความ
ตอ้ งการและชว่ ยเหลอื เบ้ืองต้น
- มกี ารสำรวจและคัดเลอื กในแตล่ ะหมู่ และลงพ้ืนท่ีเพื่อทราบความตอ้ งการ สำรวจกอ่ นช่วยเหลอื
ถ่ายรูปประกอบภาพ ลงพื้นท่ีกอ่ นทุกครั้งท่ีจะช่วยเหลือ
- เปน็ คนในพน้ื ท่ีจงึ พบเห็นปญั หาภายในหมู่บ้าน และรบั รปู้ ัญหาของชาวบา้ นโดยตรง
- มกี ารพูดคยุ กับครอบครัวก่อนร่วมกนั พจิ ารณาช่วยเหลือ

66

- มีการลงพ้ืนทสี่ ำรวจข้อเท็จจริงในการให้ความชว่ ยเหลือกลุ่มเป้าหมาย
- ชว่ ยเหลอื ความเดอื ดร้อนเฉพาะหนา้ ด้วยเงินสงเคราะห์ครอบครัวผมู้ ีรายได้น้อย
- มีหนว่ ยงาน one home รบั ผดิ ชอบ
- เมื่อได้รับแจง้ เหตุ ก็จะมีการดำเนินการตามสถานการณ์นั้นๆ

4.3 สถานการณ์ทางสงั คมที่ได้กำหนดหรือวเิ คราะหร์ ว่ มกันสามารถขบั เคลือ่ นใหเ้ กดิ การแกไ้ ขปญั หาอย่างเป็น
รปู ธรรม เพราะเหตใุ ด

- มมี มุ มองหลายดา้ น รว่ มทั้งการใชท้ รพั ยากรทมี่ ีอยู่รว่ มกนั แกไ้ ขปัญหา เกิดการเชอ่ื มโยงองคก์ ร
เครือข่ายต่าง ๆมากขึน้ คณุ ภาพชีวติ ดขี ึน้ อย่างชัดเจน

- มกี ารนัดหมาย หาข้อมลู ลงสำรวจ วิเคราะห์ความชว่ ยเหลอื เบ้อื งตน้ และติดตามประเมินผล
- นัดหมายผู้นำ หน่วยงาน พม. ผู้ใหญ่บ้าน พมจ. และคณะกรรมการแต่ละหมู่บ้าน พร้อมกันตามจุด

นดั หมายแตล่ ะหมู่บา้ น ลงพน้ื ที่ ในการวเิ คราะห์สภาพปญั หาในพนื้ ทแี่ ก้ไขปัญหาร่วมกนั
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้มีการร่วมมือกันช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน

โดยการมอบถุงยังชีพ และเงนิ ชว่ ยเหลอื เบ้อื งตน้ เพ่ือให้สามารถบรรเทาความเดอื ดร้อนเบ้อื งตน้
- มกี ารรว่ มมอื กันช่วยเหลือผู้ท่ีได้รบั ความเดือดรอ้ น เชน่ ประสานหน่วยงานราชการ อบต. อสม อพม.

และ พมจ. โดยมอบถงุ ยงั ชพี และเงนิ ชว่ ยเหลอื เบื้องต้น
- มกี ารขับเคลอ่ื นอยา่ งตอ่ เน่อื งเพ่ือใหเ้ กดิ เป็นรูปธรรม
- ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ กรณีมีปัญหาอื่นใดเพิ่มขึ้นใช้ลักษณะการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหา

learning by doing

4.4 กรณีตัวอยา่ งการแกไ้ ขปัญหาทางสงั คมของกลุ่มเป้าหมายทท่ี ่านเห็นวา่ เป็นผลสำเร็จ
- แกไ้ ขปญั หาด้านทีอ่ ยู่อาศัย
- แก้ปญั หาผทู้ ี่เส่ยี งมากและขยายครัวเรอื นผู้ทยี่ ากจนชว่ ยเหลอื อยา่ งเร่งด่วน ไดอ้ ย่างท่ัวถึง
- มีการช่วยเหลอื เงนิ สงเคราะห์ กรณกี ลุม่ เส่ยี งสูง

4.5 ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด – 19 ทำให้กิจกรรมบางอย่างของ พม. ไมส่ ามารถ
ดำเนนิ การได้
- ปัญหาผู้สูงอายุอยกู่ ับลกู หลาน
- การไม่ได้รับความร่วมมือจากครอบครวั ท่ีให้ความชว่ ยเหลอื
- งบประมาณไมเ่ พียงพอตอ่ ความต้องการ
- การตดิ ตามอย่างต่อเน่ืองต่อสภาพปญั หานัน้ ของหนว่ ยวันโฮมและหน่วยงานในระดับพ้นื ท่ี

4.6 แนวทางการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินการบรู ณาการสร้างเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็ ในระดบั พ้ืนที่

- ควรดำเนนิ การในพื้นท่เี ดิมให้มปี ระสทิ ธภิ าพก่อนขยายไปพ้ืนท่ใี หม่
- การพฒั นาศกั ยภาพคณะทำงาน และการเฝ้าระวงั การบรู ณาการ ตดิ ตามการช่วยเหลอื เด็ก
- แนะนำใหช้ าวบ้านดูแลตวั เองให้หา่ งไกลจากโรคภยั ต่าง ๆ
- สง่ เสรมิ ให้ชาวบา้ นรู้จักดูแลตนเอง หา่ งไกลจากอบายมุขตา่ ง ๆ และโรคภัย โดยให้ใชข้ องที่มอี ยู่ใน

ชุมชน รู้จกั พึง่ ตนเองเปน็ อนั ดับแรก โดยการอบรมให้ความรู้

67

- ประชมุ ผนู้ ำ วางแผน วเิ คราะห์ปญั หา กบั หนว่ ยงานภาคตี ่าง ๆ จะไดบ้ รู ณาการรว่ มกัน เพื่อแก้ไข
ปญั หา การสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจใหก้ บั คนในชุมชนในการเข้าช่วยเหลอื เบือ้ งตน้

- การบรู ณาการอาจจะยงั ไมค่ ่อยชัดเจน ส่วนใหญ่ต่างคนต่างทำตามภารกจิ
- พม. ยังไม่สามารถเขา้ ถึงหนว่ ยงานในระดับพน้ื ที่ได้อย่างครอบคลมุ แต่กับผนู้ ำท้องถน่ิ /ทอ้ งท/่ี อพ

ม./อสม. สามารถดำเนนิ งานร่วมกันได้เปน็ อย่างดี
- โครงการหรอื กิจกรรมต่าง ๆ ของ พม. ยงั ไมส่ ่งผลใหเ้ กดิ ความเขม้ แข็งในพน้ื ที่ได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม
- พลงั ของ พม. ยงั ไมม่ ากพอท่จี ะสามารถดึงหน่วยงานตา่ ง ๆ ในพนื้ ที่มารว่ มดำเนินการอยา่ งจริงจงั

และเห็นเป็นรปู ธรรม

4.7 ปัญหาทางสังคมในพื้นท่ีทีท่ ่านดำเนนิ โครงการฯ มีความซบั ซอ้ นและหลากหลาย อยู่ในระดบั มาก คิดเป็น
รอ้ ยละ 77.64

4.8 คนในชุมชนทราบถึงสภาพปัญหาภายในชุมชนเปน็ อย่างดี หรือไม่ ทราบ อย่ใู นระดับ มากทสี่ ุด คดิ เปน็ ร้อยละ
83.52

ส่วนท่ี 5 คำถามปัจจัยสภาพแวดลอ้ มที่เปน็ ผลกระทบ (Impact)

5.1 การบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แขง็ ในระดบั พืน้ ท่ี สามารถทำใหเ้ กิดความรว่ มมือในการเข้ามาร่วมคดิ รว่ ม
ทำ เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม อย่ใู นระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 83.53

เพระเหตุใด
- สามารถทำใหเ้ กิดความรว่ มมือได้ในระดบั หนึง่ และเกิดแนวคิดใหมใ่ นการแก้ไขปัญหาท่ีลงถึง

รายบุคคลของแต่ละครัวเรอื น
- มเี จ้าหนา้ ที่ ผนู้ ำระดับตำบล และเจา้ หน้าที่ พมจ. ร่วมกันบูรณาการชว่ ยเหลอื เบื้องต้นการรว่ มกัน

เพ่ือช่วยเหลอื ในเบ้ืองตน้
- ประสานความรว่ มมือในพ้นื ท่ี และเจา้ หนา้ ทส่ี ำรวจข้อมูลทุกหมู่ ความรว่ มมือกับพม.และอบต.

ร่วมกนั
- ปญั หาทกุ อย่างไม่สามารถแก้ปญั หาได้เพียงลำพัง ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายหนว่ ยงาน
- ปัญหาทุกอยา่ งต้องช่วยกันแก้ปัญหาทุกภาคสว่ น
- แกนนำต้องร่วมมือกนั ช่วยกันแก้ไขปัญหาในชมุ ชนไปในทิศทางเดียวกัน
- เพราะมีเวทกี ารสร้างความเข้าใจ การวิเคราะห์ขอ้ มลู ชุมชนและกลุม่ เป้าหมาย สถานการณ์ของ

ชมุ ชน และข้อมูลอ่ืนๆ โดยอาศัยความรว่ มมือของภาคเี ครอื ขา่ ยการดำเนินงาน/คณะทำงาน และ
การลงพ้นื ท่ีอยา่ งต่อเน่ืองของ
- การรว่ มคดิ รว่ มทำ ร่วมแก้ไขปญั หา การติดตามและร่วมกันอยา่ งต่อเรือ่ ง รวมถึงการถอดบทเรยี น
และสรุปบทเรยี น
- เจ้าหนา้ ทท่ี ราบบทบาท และการประสานส่งต่อ

5.2 มกี ารบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดบั พ้ืนท่ี สามารถทำใหเ้ ครอื ขา่ ยรวมถึงประชาชน เชื่อมน่ั ในการ
ดำเนนิ งานทเ่ี นน้ การมสี ว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ของหนว่ ยงาน One Home พม. อยใู่ นระดับ มาก
คิดเปน็ รอ้ ยละ 84.71

68

เพระเหตุใด
- ประชาชน/ผู้นำท้องถิ่น/ท้องที่ รู้จักและทราบถึงบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน พม. มากขึ้นสามารถ

เป็นทึ่พึ่งให้ได้เมื่อมีปัญหา และยังเกิดมุมมองเพิ่มขึ้นด้วยว่าหน่วยงาน พม. ทำจริงสามารถแก้ไข
ปัญหา หรือชว่ ยเหลอื ไดโ้ ดยเฉพาะภายใต้ภารกิจของ พม.
- ผู้นำ หน่วยงานภาคี ให้ความร่วมมือเป็นอยา่ งดีและประชาชนให้ความสนใจและให้ความรว่ มมือเปน็
อย่างดี
- หน่วยงานภาคีให้ความร่วมมอื เป็นอย่างดี
- แกนนำเข้มแข็งในระดับพื้นที่หมู่บ้านต้องมีส่วนร่วม ช่วยประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม
ช่วยเหลือกัน ภายในหมบู่ ้านหรอื ตำบล
- การประชาสัมพนั ธ์ และการมสี ่วนร่วมของคนในชุมชน
- แกนนำเขม้ แข็งในระดบั พืน้ ที่ หมู่บา้ น ตอ้ งมสี ว่ นรว่ ม การประชาสัมพนั ธ์ และคนในชุมชนมีส่วนรว่ ม
- มีจติ สาธารณะ พรอ้ มให้คำแนะนำช่วยเหลอื
- มคี วามเปน็ ผนู้ ำในทุก ๆ ด้าน พร้อมใหค้ วามช่วยเหลือในทกุ ดา้ นท่ีสามารถทำได้
- มีส่วนรว่ มในทกุ ระดับ
- มกี ารแลกเปลย่ี น วิเคราะห์ปญั หา และแนวทางการแก้ไขปัญหาจากขอ้ เท็จจรงิ ร่วมกนั ของชุมชน
- ผูป้ ระสบปญั หารับรูช้ ่องทางการขอความช่วยเหลือมากขนึ้
- เกดิ การบูรณาการของหน่วยงานตา่ งๆ
- มีการบูรณการงานและการติดตามอย่างต่อเนื่อง ทั้งในส่วนของหน่วยงานวันโฮมและหน่วยงานท่ี
เกีย่ วขอ้ งในระดบั พนื้ ท่ี
- การลงพน้ื ทร่ี ่วมกนั และประชุมทีมสหวิชาชีพร่วมกนั

5.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 Covid-19 มีผลกระทบอย่างไรในการ
ดำเนนิ งาน และมแี นวทางดำเนนิ งานอยา่ งไรเพ่ือใหส้ ามารถขบั เคลื่อนเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาสงั คมอยา่ ง
บูรณาการ

- มผี ลกระทบมาก ทำให้ไม่สามารถดำเนนิ กจิ กรรมตามแผนท่ีกำหนดได้
- มผี ลกระทบเยอะมาก ทำใหล้ งพ้ืนท่ีไม่ได้ มคี วามเสีย่ งสงู
- มผี ลกระทบมากทำใหม้ ีกลุ่มเปราะบางเยอะในหมบู่ ้าน ไม่มงี านทำ ไมม่ รี ายได้ ขอรับการสนบั สนนุ

จาก พมจ. และในส่วนของ อบต.
- มีความเสย่ี งสงู กับอาสาสมัครในการดแู ลคนในพ้ืนที่
- ดำเนินการได้บางสว่ น และมีกล่มุ เปราะบางยากจนเพม่ิ ขึ้น
- ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามแผน เพราะต้องมาชว่ ยโควดิ ก่อน
- การลงพ้ืนท่ี การจัดเวทกี ารแลกเปลีย่ นในด้านตา่ งๆ เพราะมขี ้อจำกัดเร่ืองการรวมกลุ่มบคุ คล และ

ขอ้ จำกัดในการใชเ้ ทคโนโลยี
- มีผลกระทบ เนื่องจากขาดการประชุมและสรา้ งความเขา้ ใจใหก้ บั คณะทำงาน
- ไมส่ ามารถลงพื้นท่ใี หค้ วามชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปา้ หมายได้ อาจต้องปรับแนวทางการช่วยเหลือ

กลมุ่ เป้าหมายในรูปแบบใหม่
- มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน หน่วยงานตอ้ งปรบั ตัว เรียนรู้ และแก้ไขปญั หา learning by doing

โดยใชเ้ ทคโนโลยี และเครือข่าย อาสาสมัครเปน็ ตัวชว่ ย

69

พนื้ ที่ตำบลไผ่รอบ อำเภอโพธปิ์ ระทับช้าง จังหวัดพจิ ติ ร
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.5 พนื้ ท่ีบูรณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง ตำบลไผ่รอบ อำเภอโพธป์ิ ระทับช้าง จงั หวดั พจิ ิตร
1.6 คณะทำงานสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็งหรอื ไม่

1.7 บทบาทใดในคณะทำงานสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง

1.8 บทบาทในการขบั เคลอื่ นการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ จากมากไปหาน้อย
 การลงปฏิบตั ิช่วยเหลอื ฟืน้ ฟู เยียวยา แก้ไขปัญหาในพื้นท่ี
 การพฒั นาโครงการหรือกจิ กรรมเพ่ือการแกไ้ ขปัญหาสังคมในพื้นที่
 การถ่ายทอดเชิงนโยบาย
 การนำเสนอข้อมลู สถานการณท์ างสังคม
 การวเิ คราะห์สถานการณ์ทางสังคม
 การกำหนดกลุม่ เป้าหมายในการพฒั นา

ส่วนท่ี 2 คำถามในส่วนปัจจัยนำเข้า (Input)
2.1 การกำหนดตำแหน่งหนา้ ท่ี ความรับผิดชอบในการดำเนนิ การขับเคลื่อนการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชน
เข้มแข็ง มีความชดั เจน อย่ใู นระดบั มาก คิดเปน็ ร้อยละ 78.18
2.2 การดำเนินโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ มกี ารบรู ณาการรว่ มกันระหว่างหน่วยงานภายใน/
ภายนอก และภาคที ี่เกี่ยวขอ้ ง อยู่ในระดบั มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.18
2.3 ระบบฐานข้อมลู ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธภิ าพในการขบั เคลอ่ื นการบูรณาการสรา้ งเสริม
ชุมชนเขม้ แข็ง อยูใ่ นระดับ มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 76.36

70

2.4 การกำหนดเปา้ หมายร่วมในการดำเนินงานบูรณาการเชิงพ้ืนท่ี
- การกำหนดเป้าหมายการแก้ไขปัญหาในระดับบคุ คลและครัวเรือน

2.5 แนวคิดในการพัฒนาทนี่ ำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินงาน
- แนวคิดโครงการบรู ณาการเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวติ กลมุ่ เปราะบางรายครวั เรอื น

2.6 สถานการณป์ ัญหาสังคมทีต่ อ้ งการให้เกิดการบรู ณาการแก้ไขปญั หาในพน้ื ที่มากที่สดุ
- ปัญหาคนไร้ที่พ่งึ และผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย
- การแก้ไขปญั หาผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คมในระดับพืน้ ที่
- ผลกระทบจากโควดิ 19
- การชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคมในพืน้ ที่
- รายไดไ้ ม่เพยี งพอตอ่ การดำรงชวี ิตประจำวันเนื่องจากสถานการณโ์ ควดิ -19
- ขาดอาชีพไม่มีรายได้
- ปญั หาความยากจน

สว่ นที่ 3 ปจั จยั ดา้ นกระบวนการ (Process)
3.1 การถา่ ยทอดนโยบายสกู่ ารปฏิบัติในการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แข็งในระดับพื้นที่สามารถสรา้ งความ
เข้าใจและประสบผลสำเรจ็ อย่ใู นระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 74.54
จากข้อ 3.1 ถา้ ประสบผลสำเร็จนอ้ ย เน่อื งจากเหตุผลใด เพราะอะไร

- ขาดความรว่ มมือ
- การทำงานรว่ มกับเครือขา่ ยและการเข้าถงึ ชมุ ชน
3.2 การกำหนดพืน้ ที่และแผนบูรณาการ ดำเนนิ การได้อย่างเหมาะสมกบั สภาพปญั หาของพ้นื ท่ใี น อยู่ในระดบั
มาก คดิ เปน็ ร้อยละ 80
3.3 การเชือ่ มกลไกเครอื ข่ายในรูปแบบคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดบั พน้ื ท่สี ามารถขับเคล่อื นการ
ดำเนนิ งานร่วมกนั เพือ่ ไปส่เู ป้าหมายในการแก้ไขปัญหาทางสังคมบนฐานข้อมูล และการมสี ่วนร่วม อยู่ในระดบั
มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 74.54
3.4 กลไกอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ (อพม.) สามารถรว่ มขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานร่วมกัน
เพื่อไปสเู่ ป้าหมายในการแก้ไขปญั หาทางสังคมบนฐานข้อมลู และการมีสว่ นร่วม อยู่ในระดบั มาก คิดเป็นร้อยละ
78.18
3.5 การใช้ขอ้ มลู ในการขบั เคลอื่ น ท่านใช้ข้อมูลในการขับเคล่ือนการช่วยเหลอื และแก้ไขปญั หาใหก้ ลุม่ เปา้ หมาย
- จากแหล่งข้อมลู ที่แกนนำชุมชนในแต่ละพนื้ ท่นี ำเสนอ,ขอ้ มูล TPMAP, ข้อมลู การชว่ ยเหลือเงนิ

สงเคราะห์ของกระทรวง พม ,ขอ้ มูลที่แกนนำชุมชนในแตล่ ะพน้ื ที่นำเสนอ
3.6 การมีสว่ นร่วมมีการนำข้อมูลที่ได้มาวเิ คราะห์ และสรุปร่วมกันเพ่ือนำไปสู่การวางแผนงานร่วมกัน อยูใ่ นระดบั
มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.36

71

3.7 ประเดน็ ปัญหาทางสังคมทถี่ กู เสนอและกำหนดในพน้ื ที่ และนำมาสกู่ ารจัดทำแผนให้การชว่ ยเหลอื หรอื แกไ้ ข
ปญั หา ท่านทราบ

เพราะเหตุใด

- เป็นสถานการณ์สำคัญในพ้นื ที่
- มีการประสานและการบูรณาการทำงานร่วมกัน
- การนำข้อมูล TP Map มาคัดกรอง และนำข้อมูลมาทำแผนให้การช่วยเหลือ
- การทำงานตามนโยบายกระทรวงโดยการทำงานเป็นทีม One Home
- เป็นพ้นื ที่มีกลุ่มเปราะบางจำนวนมาก
- ความยากจน

3.8 มีการนำประเดน็ ปญั หาสถานการณ์สังคม แกไ้ ขปญั หา ร่วมกบั หนว่ ยงานภาคีเครือข่ายในระดบั พื้นที่ อยูใ่ น
ระดบั มาก คดิ เป็นร้อยละ 76.36

3.9 การติดต่อส่ือสารระหวา่ งผู้นำชมุ ชน คนในชุมชน และเครอื ข่ายอาสาสมัครต่างๆ เป็นสง่ิ สำคัญในการดำเนนิ
โครงการฯ ใหเ้ กิดความสำเรจ็ อยใู่ นระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 74.54

สว่ นที่ 4 คำถามในสว่ นของผลลพั ธ์ (Output)

4.1 มีการบรู ณาการแผนในมิติ
การพฒั นาและสง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ระสบภาวะยากลำบากและไมส่ ามารถพงึ่ พาตนเองได้, การทำให้คนพิการที่

ตกหล่นและไม่ได้รบั สทิ ธ/ิ สวัสดิการจากรัฐไดร้ บั สิทธ/ิ สวสั ดกิ ารจากการมีบตั รประจำตวั คนพกิ าร, การพัฒนา
ตำบลตน้ แบบชมุ ชนเขม้ แข็งของสถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน/การพัฒนาแกนนำสภาเดก็ และเยาวชนให้มีทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21

4.2 มีการช่วยเหลอื กลมุ่ เป้าหมายไดต้ รงประเดน็ ปัญหา ตรงตามประเดน็
เพราะเหตุใด

- ดำเนินการตามแผน
- การให้ผนู้ ำ หนว่ ยงาน เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหา
- มีการวางแผนและการบรู ณาการร่วมกนั
- ดำเนินการตามนโยบายกระทรวงผ่านการทำงานทีม One Home
- นำขอ้ มูลทไี่ ด้จากการสำรวจมาวิเคราะห์และกำหนดกลุ่มเป้าหมาย

4.3 สถานการณ์ทางสงั คมที่ไดก้ ำหนดหรอื วเิ คราะหร์ ว่ มกันสามารถขับเคลอื่ นให้เกิดการแก้ไขปญั หาอย่างเปน็
รปู ธรรม

เพราะเหตุใด

- การบูรณาการข้อมลู และนำมาวเิ คราะห์รว่ มกนั
- เปน็ สถานการณ์ทางสงั คมที่มมาจากระดบั พ้ืนที่ ซ่ึงสามารถแกไ้ ขปญั หาได้ตรงตามความต้องการ
- มเี ป้าหมายตรงกันและ นำเป้าหมายมาขับเคลอ่ื นงานอยา่ งบูรณาการ
- ดำเนนิ การใหค้ วามช่วยเหลอื ตรงตามกลมุ่ เป้าหมายสภาพปัญหา
- เครอื ข่ายเข้าใจและรว่ มดำเนินงานในระดบั พนื้ ที่

72

4.4 กรณตี วั อยา่ งการแก้ไขปัญหาทางสังคมของกลุ่มเปา้ หมายทท่ี ่านเห็นว่าเป็นผลสำเร็จ
- การช่วยเหลือคนไร้ท่พี ่งึ ทีป่ ว่ ยจิตเวช
- การบรู ณาการให้ความชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสังคมแบบมีสว่ นรว่ มของพ้นื ท่ี
- การช่วยเหลือกลุม่ เปราะบาง

4.5 ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนินงานบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
- ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ทำใหไ้ ม้สามารถลงพ้นื ทเี่ ยยี่ มผู้ประสบ
ปญั หาไดแ้ ละไม่สามารถจดั โครงการได้ตามแผน
- เน่อื งจากสถานการณโ์ ควิด-19 ทำให้การเข้าถึงกล่มุ เป้าหมายเป็นไปอย่างยากลำบาก และ่ต้องมกี าร
ปอ้ งกันตวั เองจากโรคโควิด-19
- การจดั กิจกรรมเพื่อสรา้ งความรับรู้ความเข้าใจทำได้ยากเนื่องจากสถานการณโ์ ควิด-19

4.6 แนวทางการแกไ้ ขปญั หาและข้อเสนอแนะในการดำเนินการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็งในระดบั พนื้ ท่ี
- เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั เครอื ข่ายในพน้ื ที่
- จดั กจิ กรรมแบบออนไลน์

4.7 ปญั หาทางสงั คมในพน้ื ที่ท่ีทา่ นดำเนนิ โครงการฯ มีความซับซ้อนและหลากหลาย อยู่ในระดับ ปานกลาง
คดิ เป็นรอ้ ยละ 63.63
4.8 คนในชมุ ชนทราบถงึ สภาพปัญหาภายในชมุ ชนเปน็ อย่างดี หรอื ไม่ ทราบ อยู่ในระดบั มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.18
ส่วนที่ 5 คำถามปัจจยั สภาพแวดลอ้ มที่เป็นผลกระทบ (Impact)
5.1 การบรู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็งในระดับพืน้ ท่ี สามารถทำใหเ้ กิดความรว่ มมือในการเข้ามารว่ มคดิ รว่ ม
ทำ เพื่อแก้ไขปญั หาทางสงั คม อย่ใู นระดบั มาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.18

เพระเหตุใด
- ผนู้ ำ ชมุ ชนมเี ข้มแขง็
- ภาคสว่ นรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาตรงจดุ
- มีการระดมทรัพยากรและสรรพกำลงั ในการร่วมแกไ้ ขปัญหา
- เพราะผ้ปู ฏบิ ัตมิ ีเปา้ หมายเดยี วกันในการรว่ มกนั เพื่อชมุ ชนของตนเอง
5.2 มีการบูรณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แข็งในระดบั พ้ืนที่ สามารถทำให้เครอื ขา่ ยรวมถึงประชาชน เชื่อมนั่ ในการ
ดำเนินงานทเี่ น้นการมีสว่ นร่วมในการแก้ไขปญั หาของชมุ ชน ของหน่วยงาน One Home พม. อย่ใู นระดับ มาก
คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.36
เพระเหตุใด
- มีการบรู ณาการการชว่ ยเหลือกลุ่มเป้าหมายจากหลายหนว่ ยงาน
- ใช้การมสี ่วนร่วมของพื้นทเ่ี ครือขา่ ย โดยหน่วยงานวนั โฮมเป็นหนว่ ยสนบั สนนุ

73

5.3 ผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 Covid-19 มีผลกระทบอยา่ งไรในการ
ดำเนินงาน และมีแนวทางดำเนนิ งานอยา่ งไรเพื่อใหส้ ามารถขบั เคลอ่ื นเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปญั หาสงั คมอยา่ ง
บูรณาการ

- ไม่สามารถดำเนินโครงการ/กิจกรรม บางกจิ กรรมได้
- การลงพนื้ ทีช่ ่วยเหลือกลุ่มเปา้ หมาย แนวทางดำเนนิ การประสานทางโทรศัพท์ หรือเจา้ หนา้ ทเ่ี พ่ือ

แจ้งขอ้ มูล
- ทำให้การชว่ ยเหลือของกล่มุ เป้าหมายเขา้ ถึงอย่างยากลำบากและมีแนวทางในการป้องกันตัวเองจาก

โควิด-19 และเสรมิ สร้างเครือขา่ ย
- ไมส่ ามารถดำเนนิ การได้ตามแผน หรือจัดกจิ กรรมได้ ซ่งึ อาจจะต้องสรา้ งการรบั รู้และเข้าใจกบั

เครือข่ายในระดับพืน้ ทีก่ ่อน

74

ปัจจยั ความสำเรจ็

การวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้วยเคร่อื งมอื SWOT Analysis

การบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็ จังหวัดลพบรุ ี
ประเดน็ ปญั หา • กรอบแนวทางในการพฒั นาพ้ืนทีย่ ังไม่เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั

• การให้ความสำคัญและการเข้ามามีส่วนร่วมในระดบั พ้นื ท่ี

จดุ แขง็ • บา้ นพกั เด็กและครอบครวั มีการจดั ทำ Child information system ในพื้นท่ี
• การขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนมเี สถยี รภาพ เพอ่ื ส่งเสริมศกั ยภาพเดก็ ในการ
จุดอ่อน
โอกาส พัฒนาพ้ืนท่ีเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพโดยการสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชน (กล่มุ
อุปสรรค เมลด็ ขา้ วเปลือก และกลมุ่ อพม. นอ้ ย)
• ศูนยค์ มุ้ ครองคนไร้ทพ่ี ึง่ ดำเนินการจดั ทำพน้ื ท่ีตำบลตน้ แบบ หว่ งใยไมท่ ้ิงกัน
• ทุนทางสงั คมด้านวัฒนธรรมท้องถน่ิ ไทยเบ้ิง ท่ีเป็นรากเหง้าของพน้ื ทีแ่ ละมปี ราชญ์
ชาวบา้ นที่มีองคค์ วามรู้ดา้ นศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น การทอผา้ , กลองยาว, เพลง
พ้นื บ้าน และอาหารพ้ืนถิ่น
• มีการจดั ทำแผน 3 ปี ทส่ี อดคล้องกับนโยบายของกระทรวง และมกี ารประเมิน
โครงการทส่ี อดคล้องกับแนวนโยบาย และการติดตามประเมินการทำงานทุก
ไตรมาส

• การบรู ณาการของภาคส่วนต่างๆ ยังขาดการสอื่ สาร และการประสานความรว่ มมือ
ระหว่างหน่วยงานในการร่วมทำงานในพนื้ ท่ี

• การเพ่ิมช่องทางการตลาดในระบบออนไลนย์ ังไม่เพยี งพอ ต้องได้รับการสนบั สนุนจาก
หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง

• หน่วยงานภายนอก (สสส) และสถาบันการเงิน เข้ามาสง่ เสริมการจัดกิจกรรมและ
สนับสนนุ งบประมาณการดำเนินโครงการของชุมชนไทยเบ้ิง

• มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรเี ขา้ มาดำเนินการโครงการ หน่ึงตำบล หนึ่งมหาวิทยาลยั
เพ่อื พัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชนไทยเบิ้ง

• สสว. 7 เขา้ ไปสนับสนุนองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีการผลติ สอ่ื ใหแ้ ก่กลุ่มเมล็ดข้าวเปลอื ก

• เครอ่ื งมือด้านเทคโนโลยี ยังไมเ่ พียงพอตอ่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมดา้ น
การตลาด

• สภาวะทางด้านเศรษฐกิจส่งผลตอ่ รายได้ และสภาพความเปน็ อยขู่ องประชาชน
• ตน้ ทนุ การผลิตสินคา้ ชมุ ชนท่ีสงู ขน้ึ ส่งผลต่อระบบการผลติ สนิ คา้ ของชมุ ชน

75

การแกป้ ญั หาชว่ ง • มาตรการการปอ้ งกนั และเฝา้ ระวงั เปน็ ไปตามเง่ือนไขของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่
โควดิ - 19 ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.)

• มีการจัดตง้ั ศูนยพ์ ักคอย และแจกถงุ ยงั ชีพให้กับประชาชนในพนื้ ที่ อีกทงั้ มีการรณรงค์
ใหป้ ระชาชนตระหนกั และเฝา้ ระวงั การแพร่ระบาดของโควิด - 19

• มกี ารใช้ Line Official Account ในการประสานงานเบื้องตน้

ผลสรปุ การวเิ คราะห์ SWOT

พ้ืนทตี่ ำบลโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวดั ลพบรุ ี มีความอุดมสมบรู ณ์ ดว้ ยทรพั ยากรท่ีสำคัญ
อีกทั้งยังมีอัตลักษณ์ของชาวไทยเบิ้ง ที่ถือเป็นรากเหง้าของพื้นท่ี ที่มีมายาวนานในการบริหารจัดการและพัฒนา
สู่ชุมชนเข้มแข็ง การได้รับความรว่ มมือจากหน่วยงานทุกระดับ จงึ เปน็ ตวั ขับเคล่ือนให้พื้นท่ีก้าวไปสู่การเป็นชุมชน
ที่เข้มแข็งได้ มีการสร้างผู้นำที่เป็นปราชญ์ชาวบ้าน ที่มีองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่น ก่อให้เกิดการ
ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ สู่เยาวชนในชมุ ชนในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมของตน กระบวนการทำงานของหนว่ ยงานทุกภาค
สว่ นท่ีม่งุ เนน้ การพัฒนาในพื้นที่ จะต้องใหค้ วามสำคญั กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมเป็นทีต่ ัง้ การกา้ วไปสชู่ ุมชนเขม้ แข็ง
ได้มาจากกระบวนการจากความรัก ความสามัคคีของคนในพื้นที่ตำบลโคกสลุง และในพื้นที่มีโอกาสในหลายด้าน
โดยมีหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนเข้ามาสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง จากการผนึกกำลังกันที่จะพัฒนาพื้นที่น้ี
ด้วยการมองภาพเดียวกันในการพัฒนาพื้นที่ตำบลโคกสลุงให้เป็นชุมชนต้นแบบด้านศิลปวัฒนธรรม ให้กับชุมชน
อนื่ ไดใ้ นอนาคต

76

ประเดน็ ปญั หา การบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็ จังหวัดสงิ ห์บรุ ี

• ขาดแคลนทรัพยากรด้านแหล่งน้ำ เพือ่ ทำการเกษตรในพืน้ ท่ี
• ระยะเวลาในการดำเนินงานมีขดี จำกดั ประกอบกบั หน่วยงานมภี ารกจิ ทีต่ ้องดำเนนิ การ

เป็นจำนวนมาก จงึ ทำให้การดำเนินการไมไ่ ด้หรือลา่ ช้าในบางกจิ กรรม
• ประชาชนมีรายได้น้อยไม่เพียงพอตอ่ การดำรงชีพ

จดุ แขง็ • มีการบูรณาการร่วมกันอย่างมีส่วนร่วม ระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ ภาควิสหากิจ
หน่วยงานส่วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่ จัดตั้งคณะทำงานในการขับเคลื่อนชมุ ชน
เขม้ แขง็

• ผู้นำท่ีมีความเข้มแข็งบูรณาการงานทุกภาคส่วน โดยมี นายก อบต. พมจ. กำนัน
ผู้ใหญ่บา้ น ภาคประชาชน รวมเป็นองคก์ รชุมชนในการทำงานร่วมกัน

• องค์การบริหารส่วนตำบลคอทราย เป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐกับภาคประชาชนในการสร้างงานสร้างอาชีพและการจัดสนับสนุน
งบประมาณสร้างอาชีพให้แก่ผู้สูงอายุและคนพิการรวมทั้งการพัฒนาสาธารณูปโภค
ข้นั พื้นฐานท่ตี รงต่อความตอ้ งการของประชาชน

• ผู้นำที่มีจิตวิญญาณของการพฒั นาประชาธิปไตย ที่มุ่งเน้นการช่วยเหลอื และพัฒนาจาก
ใจจริง

• มีการส่งเสริมให้คนในพื้นที่ปลูกพืชสมุนไพร และดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยมีการสร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน เช่น การทำอโรมา
เทียนหอม จากวสั ดธุ รรมชาติในท้องถ่ิน

• มีการสร้างความเข้มแข็งในระดับพืน้ ท่แี ละพัฒนาเปน็ วสิ าหกจิ ชุมชน จาก กระจบั และ
เครอื่ งจักสาน โดยการนำเทคโนโลยเี ข้ามาเพ่มิ ชอ่ งทางในการจำหน่ายสนิ คา้ ในระบบ
ออนไลน์

• มีการพฒั นาระบบและนวัตกรรมในการแจง้ เตือนการชว่ ยเหลือผูพ้ กิ ารและคนตดิ เตียง

• มีระบบการบรกิ ารดา้ นการเข้าถงึ สทิ ธิ ในด้านที่อยู่ สขุ ภาพ และการรบั วัคซีน

• มีการส่งเสริมจิตอาสา ในการชี้เป้าเฝ้าระวังโดยประชาชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
รายครวั เรอื น

• มกี ารร่วมกนั พูดคุยแลกเปล่ยี นข้อมลู ขา่ วสารโดยการใช้ส่ือออนไลน์มากข้ึน

• อบต. และ ศพอส. รว่ มจดั กจิ กรรมสง่ เสริมสุขภาพให้ผ้สู งู อายแุ ละคนในพน้ื ท่ี

• รพสต. สง่ เสรมิ สุขภาพ และพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มโี ครงการสวดมนต์ไหว้พระ และ
กิจกรรมออกกำลังกาย

• บ้านพักเด็กและครอบครัว มีการจัดทำโครงการร่วมกับสภาเด็กและเยาวชน เช่น
การพัฒนาผูน้ ำเยาวชนไทยหวั ใจใสสะอาดตอ่ ต้านการทุจรติ

• มีการติดตามการดำเนินงานโครงการอย่างสม่ำเสมอ และรายงานผลเป็นระยะ ต้นน้ำ
กลางน้ำ ปลายนำ้

77

จดุ ออ่ น • ประชาชนบางส่วนยังไมเ่ หน็ ถึงความสำคัญของกระบวนการใหค้ วามช่วยเหลือของ
ภาครัฐ

• อปุ กรณ์ด้านเทคโนโลยี ยงั เข้าถึงประชาชนน้อย ส่งผลใหป้ ระชาชนบางสว่ นรบั ข้อมูล
ขา่ วสารได้ไม่ครบถ้วน

โอกาส • ไดร้ บั ความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ ในการดำเนินโครงการ เชน่ การศกึ ษานอก
โรงเรยี น มโี ครงการดา้ นการฝึกอาชพี ระยะส้ัน ในการแปรรูปผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร

• ไดร้ ับสนับสนุนงบประมาณจากหนว่ ยงานภาครัฐ ในพื้นท่ีในการดำเนนิ การกจิ กรรม
ตา่ งๆ

อปุ สรรค • เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงไม่สามารถ
ดำเนนิ การลงพนื้ ที่ และรวมกล่มุ เพอื่ ทำกิจกรรมตา่ งๆ ได้

• การสง่ เสรมิ การตลาดออนไลน์ยังไม่คลอบคลุมทุกกลุ่มผลติ ภัณฑ์ของชุมชน

การแกป้ ัญหาช่วง • องค์การบริหารส่วนตำบลคอทราย ช่วยเหลือ อาหาร 3 มื้อ ให้แก่ผู้ที่ติดเชื้อ โควิด- 19
โควิด - 19
พรอ้ มทัง้ แจกข้าวสาร อาหารแห้ง

• มกี ารจัดต้งั จดุ พกั คอยในการชว่ ยเหลอื ให้กบั ประชาชนในพื้นที่

• มกี ารนำเทคโนโลยีในการส่อื สาร ดา้ นการช่วยเหลือในสถานการณ์โควิด-19 มาใชใ้ นการ

พัฒนาระบบและนวตั กรรมการแจ้งเตือนการช่วยเหลือผูพ้ ิการและผูป้ ่วยติดเตียง และ

การเขา้ รบั วัคซนี

ผลสรปุ การวเิ คราะห์ SWOT

พื้นที่ตำบลคอทราย อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี มีการบริหารจัดการและการ
ขับเคลื่อนที่ดี โดยมีผู้นำที่ให้ความสำคัญในการแก้ปัญหาและขับเคลื่อนที่ตรงต่อความต้องการของประชาชน
รวมถึงการมีส่วนร่วมของทุกหน่วยงานส่งผลให้การบูรณาการ การทำงานในพื้นที่เป็นพลังของสังคมอย่างแท้จริง
ทั้งยังมีหน่วยงานด้านสังคมเข้ามาเป็นพี่เลี้ยงในการเชื่อมประสานการพัฒนางานด้านสังคมอย่างต่อเนื่อง
และก่อให้เกิดการขับเคลือ่ นอย่างเข้มแข็ง เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากปัญหานำมาสู่การพัฒนาอย่างมีส่วนรว่ ม
หน่วยงานภาครัฐให้งบสนับสนุนในการสร้างอาชีพ บริหารการดำเนินงาน โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้
ในการพฒั นาสงั คมในพืน้ ท่ีได้อย่างดี อีกทงั้ ยงั สอดคลอ้ งกับหลกั การพฒั นาตามหลกั ยุทธศาสตรก์ ระทรวง ทมี่ ุง่ เน้น
การพัฒนาศักยภาพกลุ่มเปา้ หมาย เครอื ขา่ ย และพลงั ทางสงั คมในการขบั เคล่ือนสังคมอย่างยงั่ ยืน

78

ประเด็นปัญหา การบูรณาการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ จังหวัดชยั นาท

• ขาดแคลนทรัพยากรดา้ นแหล่งนำ้ ในการทำเกษตร
• การชว่ ยเหลือประชาชนกลมุ่ เปราะบางยังไม่ครอบคลมุ
• มปี ญั หาดา้ นผสู้ ูงอายุ ปญั หาด้านสขุ ภาพ และประชาชนในพ้นื ทีย่ งั วา่ งงาน
• ผู้ด้อยโอกาสบางสว่ นยังไม่ได้รับการชว่ ยเหลือและจัดสรรงบประมาณในการช่วยเหลอื

จดุ แข็ง • มีผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงที่มุ่งเน้น และร่วมกันแก้ไขปัญหาโดยการสร้างทีม
อพม.,อสม. เพื่อประสานงาน กับหน่วยงาน พม. และหน่วยงานอื่นๆ ในการขับเคลื่อน
ชุมชนใหเ้ กิดความเขม้ แขง็

• มกี ารจัดทำแผน 3 ปี ทีส่ อดคลอ้ งกับนโยบายของกระทรวง และมีการประเมนิ โครงการ
ที่สอดคล้องกบั แนวนโยบาย และการติดตามประเมินผลการทำงานทุกไตรมาส

• มที ุนทางสังคม ทนุ ทางวัฒนธรรม ทุนมนุษย์ท่ีมศี ักยภาพ

• มุ่งเน้นการสร้างผลติ ภณั ฑข์ องชมุ ชนเชน่ ปยุ๋ มูลแพะ ตะไคร้หอม เพื่อให้เกิดเป็นรายได้
กับชมุ ชน

• การพฒั นาด้วยโครงการ Ship and Share เวทีจดุ ประกายขายความคิดอย่างบูรณาการ

• มภี าคีเครือขา่ ยเขา้ มาสนบั สนุนขอ้ มลู โครงการและงบประมาณ

จดุ ออ่ น • ประชาชนบางส่วนยังไม่เห็นถึงความสำคญั กับกระบวนการใหค้ วามชว่ ยเหลือของ
ภาครฐั /การใหค้ วามรว่ มมือกับภาครัฐยังมนี ้อย

• ประชาชนบางสว่ นยังไมเ่ ปิดเผยขอ้ มลู ส่วนบุคคลท่ีแท้จรงิ จงึ ทำใหย้ ากแก่การช่วยเหลอื
และการพัฒนาทตี่ รงจุด

• ขาดการนำเทคโนโลยมี าใช้ในช่องทางการจำหน่ายสำหรับบางผลิตภัณฑ์ของชมุ ชน

• เจา้ หนา้ ทีผ่ ดู้ ำเนนิ การมหี ลายหนา้ ทีส่ ง่ ผลให้การดำเนนิ งานบางภารกจิ ไม่สามารถบรรลุ
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีวางไว้

โอกาส • มีการบูรณาการในพื้นที่โดยมีทีมนักวิจัย จากกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัย
และนวัตกรรม (อว.) เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการให้คำปรึกษาและขับเคลื่อน พัฒนา
ในพื้นที่

• มีการสร้างนักสำรวจข้อมูลชุมชน โดยมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนเพื่อ
กอ่ ให้เกดิ การพฒั นาตรงตามความต้องการอย่างแทจ้ ริงและย่ังยนื

• การพัฒนากลุม่ วิสาหกิจชมุ ชน ในการเลีย้ งแพะ เพ่ือนำไปแปรรปู การทำปุ๋ยจากมลู แพะ
เพ่ือต่อยอดและเพิ่มมลู ค่าทางการตลาด

• หน่วยงานภาครัฐเขา้ มามีสว่ นร่วมและสนับสนนุ ในการพัฒนากลมุ่ วิสาหกิจชุมชน

79

อปุ สรรค • เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงไม่สามารถ
ดำเนนิ การลงพ้นื ทแ่ี ละรวมกลุ่มเพ่อื ทำกจิ กรรมตา่ งๆ ได้

• เกดิ ความเหลื่อมล้ำในการเขา้ ถึงงบประมาณและการจดั สวัสดกิ ารจากหน่วยงานภาครฐั

การแก้ปัญหาช่วง • ชว่ งการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด – 19 มีมาตรการการป้องกัน และเฝ้าระวังเป็นไป
โควดิ - 19 ตามมาตรการ ของศูนย์บรหิ ารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(ศบค.) และมีการช่วยเหลือเบื้องต้น เช่น การแจกถุงยังชีพ การมอบเงินสงเคราะห์
การแจกเมลด็ พันธ์ุใหป้ ระชาชนไวเ้ พาะปลูก

ผลสรปุ การวเิ คราะห์ SWOT

พื้นที่ตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ในด้าน
เกษตรกรรม มีการบูรณาการร่วมกันหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีผู้นำ และแกนนำให้
การสนับสนุนการขับเคลื่อนในทุกส่วนงาน โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแกนกลางในการประสานการให้
ความช่วยเหลือในพื้นที่ มีนักสำรวจข้อมูลในพื้นที่เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อการแก้ไขปัญหาของ
คนในชุมชน พร้อมทั้งมีการส่งเสริมอาชีพให้กับกลุ่มสตรีและเยาวชนในการทำผลิตภัณฑ์เพื่อการจำหน่าย
การไดร้ ับการส่งเสริมความรู้ด้านการตลาดออนไลน์จากหน่วยงานที่มีองค์ความรู้ ทำใหพ้ ื้นที่น้ีมีการพัฒนาและต่อ
ยอดในการผลิตภณั ฑท์ างการเกษตร

80

การบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็งจังหวัดอุทัยธานี
ประเด็นปญั หา • ผลผลติ ทางการเกษตรมรี าคาตกตำ่ คนในพื้นทส่ี ่วนใหญ่มรี ายได้น้อยและการจดั สรร

งบประมาณยงั ไมท่ วั่ ถึง

จดุ แข็ง • การพัฒนาผูน้ ำโดยการสร้างนวัตกรชมุ ชนรวมท้งั มกี ารจดั ตั้งชมรมอาสายวุ กาชาดใน
จดุ ออ่ น พนื้ ท่ี

โอกาส • ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไร้ทพ่ี ่งึ มีการจดั ทำโครงการ miracle of life
อปุ สรรค • องค์การบริหารส่วนตำบลสขุ ฤทยั มกี ารหนนุ เสริมโรงเรียนห้วยคต เพื่อพัฒนาเป็นแหล่ง

เรยี นรู้และสร้างความเปน็ เลิศทางวชิ าการในพืน้ ที่ โดยมกี ารสร้างแกนนำเด็กและ
เยาวชนในการขบั เคล่ือนร่วมกบั หนว่ ยงานในระดับพื้นที่
• มกี ารสรา้ งผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน เชน่ ชามลั เบอรรี่ และข้าวเกรียบสมุนไพร
• มที นุ ทางสังคมดา้ นวัฒนธรรมกลองยาวของผูส้ งู อายุ
• ขาดการสง่ เสริมการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ทางการเกษตรหลกั ในพนื้ ท่ีให้กบั คนในชมุ ชน เชน่
ออ้ ย มันสำปะหลงั และขา้ ว
• ประชาชนขาดการมีสว่ นร่วมในการใหค้ วามร่วมมือกบั ภาครัฐ
• วถิ ีความเชอื่ ทางชาตพิ ันธ์ุของชนเผ่าบนพน้ื ทสี่ งู ยงั มีข้อจำกัดไม่ยอมรับความชว่ ยเหลือ
จากหน่วยงานภาครัฐในบางเรือ่ ง
• การบูรณาการการทำงานทุกภาคสว่ นยังไม่เป็นไปตามเปา้ ประสงค์ของพ้นื ที่
• การนำเทคโนโลยเี ขา้ มาดำเนินการแก้ไขปัญหาและช่องทางการบริการข้อมูลข่าวสารยงั
ไม่ทัว่ ถงึ
• บรบิ ทบางพน้ื ทยี่ งั ไม่อยู่ในฐานข้อมูล TPMAP

• สถาบนั ทางการเงิน เข้ามามบี ทบาทในการเข้าถงึ แหลง่ ทุนในดา้ นสนิ เชอ่ื เพื่อการลงทุน
ในการสรา้ งงาน สร้างอาชพี และพฒั นาที่อยู่อาศยั

• มกี ารวางแผนระยะยาวในการวางแผนจดั ทำโครงการสร้างอาชีพ
• ไดร้ ับการสนบั สนุนงบประมาณจากภาครัฐในการเพิ่มจำนวนอาสาสมัครพฒั นาสังคม

และความม่นั คงของมนษุ ย์ (อพม.) ในระดบั ตำบลที่มากขน้ึ

• สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) ส่งผลใหก้ าร
ดำเนนิ งานบางโครงการยงั ไม่สามารถดำเนินการได้

• ยังไมม่ ีการบรู ณาการรว่ มกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาพืน้ ท่ี
• ขอ้ จำกัดด้านงบประมาณท่ีไม่เพยี งพอและไมส่ อดคลอ้ งกับการดำเนนิ งานของพ้ืนท่ี
• การขับเคล่ือนตามนโยบายยังไมส่ ามารถดำเนินการได้ตามเปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้

81

การแกป้ ัญหา • มมี าตรการป้องกนั และเฝ้าระวงั เปน็ ไปตามมาตรการของศูนยบ์ ริหารสถานการณ์แพร่
ช่วงโควิด ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (ศบค.)

• มจี ดั ต้ังศูนย์พกั คอย และแจกถุงยังชีพ

• รณรงค์ใหป้ ระชาชนตระหนกั และเฝา้ ระวังถึงการแพร่ระบาดของโควิด

ผลสรปุ การวิเคราะห์ SWOT

พื้นที่ตำบลสุขฤทัย อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี เป็นพื้นที่ที่ยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ด้าน
ทรพั ยากรธรรมชาติ ประชาชนในพน้ื ท่ีประกอบอาชพี เกษตรกรรม และรับจ้าง การขบั เคลื่อนเชิงพื้นที่แบบบูรณา
การหน่วยงานในพื้นที่ยังคงเป็นไปได้น้อย เนื่องจากสถานการณ์มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (โควิด -19) การประสานงาน การให้ความสำคัญกับกระบวนการ การมีส่วนร่วมที่มุ่งเน้นการดำเนินงาน
เชิงรุก เพื่อขับเคลื่อนการบูรณาการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่มีการวางแผนที่เป็นรูปธรรม และดำเนินการ
ตามแผนการพฒั นาท่มี าจากการสะท้อนเชิงพ้นื ที่ เพ่อื นำไปสู่การพฒั นาในทุกด้าน

82

ประเดน็ ปญั หา การบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเขม้ แขง็ จังหวดั นครสวรรค์

• ขาดแคลนทรัพยากรด้านแหล่งนำ้ เพ่ือทำการเกษตรในพ้ืนท่ี
• ปัญหาครอบครัวขา้ มรนุ่ คนวัยทำงานไปประกอบอาชพี ตา่ งพ้นื ท่ปี ล่อยให้ บตุ รหลานอยู่

กับผสู้ ูงอายุเพียงลำพัง
• ความเป็นอยู่ของประชาชนยงั ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากภาครฐั เป็นสว่ นใหญ่
• ชาวบ้านไมส่ ามารถต่อยอดและสรา้ งอาชีพจากเงินสนับสนนุ จากภาครัฐได้เท่าที่ควร

จุดแขง็ • มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ ในการส่ือสาร การบรหิ ารและการพฒั นาในชมุ ชน
• มกี ารพัฒนาศกั ยภาพของคน โดยมุง่ สร้างผนู้ ำในพ้นื ที่ เพอ่ื พัฒนาเมล็ดพนั ธุ์พชื เพ่อื จดั ทำ
เป็นธนาคารเมล็ดพนั ธุ์พืช

• มกี ารรวมกลุม่ ในการดำเนินงานด้านวสิ าหกิจชุมชน เชน่ เสอ้ื มดั ย้อมจากสีธรรมชาติ
หัวไชเท้าแปรรปู การตดั เย็บเส้ือผา้ ผลิตภณั ฑ์ขา้ วแตน๋

• มีการรวมกลมุ่ เพื่อสร้างการออมภายในชุมชน

• การพฒั นาเด็กและเยาวชน โดยการนำเทคโนโลยมี าขับเคลื่อนการขายสินคา้ ออนไลน์

• มีการจัดทำบ้านให้คนยากไรโ้ ดยใชท้ นุ ทางสังคมในพนื้ ทจ่ี ดั สร้าง

• มีการรวมกลุ่มสร้างเป็นชุมชนท่ีเข้มแข็ง และช่วยกันแก้ไขปัญหาขั้นต้นโดยยึดหลักการ
เรียนรู้และการลงมือทำ learning by doing เช่น การรวมกลุ่มสร้างผลิตภัณฑ์แปรรูป
หวั ไชเทา้ การตดั เย็บเสอ้ื ผา้ ขา้ วแตน๋

• มกี ารติดตามปญั หาสุขภาพโดยทีมงาน อสม. และ อพม.

• มกี ารสำรวจความต้องการและสง่ ทมี เข้าไปดำเนินการ

• มีการวางแผนสามระยะ คือ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว

• การดำเนินการขับเคล่ือนตาม TPMAP ในกล่มุ เปราะบาง

• การคดั เลือกครอบครัวต้นแบบตำบลละ 3 ครอบครวั เพ่ือพัฒนาด้านสงั คมในกลุ่ม
เปราะบาง

• ผู้นำหมบู่ า้ นส่งเสริมการเขา้ ถึงบรกิ ารทางสงั คมบนพน้ื ฐานความพอเพียง

จดุ อ่อน • การสำรวจปญั หาและความต้องการยังไม่ตรงกล่มุ เป้าหมาย
• ขาดแคลนงบประมาณในการสนับสนุนการพัฒนาดา้ นสาธารณปู โภค
• การบูรณาการร่วมกันยงั ไม่เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้

โอกาส • มีผนู้ ำทางศาสนาเขา้ มามีบทบาทในการพัฒนาชุมชนและใหค้ วามชว่ ยเหลือในด้านต่างๆ
• มีการวางแผนการดำเนนิ งานระยะยาวและทุกภาคสว่ นใหค้ วามสำคัญในการส่งเสรมิ สร้าง
อาชพี เช่น การเลี้ยงปลาชอ่ นในบ่อซเี มนต์

• ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนมุ่งเน้นการส่งเสริมอาชพี ด้านการเล้ียงเป็ดพันธุ์ไขใ่ นพน้ื ที่

83

อุปสรรค • เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงไม่สามารถ
ดำเนนิ การลงพน้ื ทแ่ี ละรวมกลุ่มเพอ่ื ทำกจิ กรรมต่างๆ ได้

• บรบิ ทของพ้นื ท่ไี มส่ อดคล้องตามเกณฑ์การพฒั นาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ

การแกป้ ัญหา • มีมาตรการป้องกันและเฝ้าระวงั เปน็ ไปตามมาตรการของศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์แพร่
ช่วงโควดิ - 19 ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) และมีการช่วยเหลือเบ้ืองต้นเชน่ การ
แจกถงุ ยังชีพ และอาหาร

• มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ โดยใช้เสียงตามสายรณรงค์ให้ชาวบา้ นนำสมุนไพรใกล้ตวั มา
ป้องกันโรคขนั้ ต้น โดยยดึ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT

พื้นที่ตำบลเขาชนกัน อำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ มีการขับเคลื่อนด้วยผู้นำชุมชน อีกท้ัง
มีการบูรณาการจากภาคส่วนต่างๆ ท่ีเข้ามามีบทบาทหนุนเสริมในการพัฒนาพื้นที่ มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้า
โอทอปประจำตำบล เช่น ขนมข้าวแตน๋ และผา้ มดั ย้อม ในพ้ืนทไ่ี ด้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพ่ือต่อยอด
การดำเนินงาน ส่งผลให้พื้นที่นี้กลายเป็นพื้นที่สารสนเทศระดับภาค การดำเนินงานในด้านการพัฒนาสังคมใน
พื้นที่ยังมีความต้องการความช่วยเหลือในด้านครอบครัวข้ามรุ่นอยู่เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยคนทำงานต้องออก
จากพื้นที่ไปทำงานในพื้นที่อื่น และอีกปัญหาที่สำคัญคือการขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตรในพื้นที่ ส่งผล
ให้ชาวบ้านเปลี่ยนวิถีการทำเกษตรในการเพาะปลูกพืชใช้น้ำน้อย แต่ในพื้นที่นี้มีระบบการบริหารจัดการโดยผ้นู ำ
ทม่ี ีศักยภาพส่งผลให้พ้ืนท่โี ดยรวมมีการพฒั นาไปในทิศทางที่ดีขน้ึ

84

ประเดน็ ปญั หา การบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แข็งจังหวัดพิจิตร

• ประชาชนในพ้ืนท่ีมรี ายไดน้ ้อย
• ประชาชนในพ้ืนท่ีบางสว่ นได้รับการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษา

จุดแข็ง • ทีม พม. (One Home) ลงพ้ืนท่ีรบั ทราบปัญหาและดำเนินการแก้ไขได้ตรงจุด
• มกี ารบูรณาการทำงานแกไ้ ขปัญหาร่วมกนั จากทุกภาคสว่ น
จุดออ่ น • มกี ารรวมกลุม่ จติ อาสาในระดับพืน้ ที่
โอกาส • มีทุนทางสงั คมและทางวฒั นธรรมในระดบั พืน้ ที่
• มกี ารรวมกลุ่มสตรี จัดกิจกรรมรว่ มกันเสรมิ สร้างอาชีพ เช่น กล้วยกวน

และกล้วยอบเนย
• มกี ารจดั ต้ังเปน็ กล่มุ วิสาหกจิ ชุมชน แปรรปู กล้วยกวนและกลว้ ยอบเนย และได้รับ

มาตรฐานเปน็ ผลิตภณั ฑ์ OTOP
• มีการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยให้คนพิการในชุมชน และได้งบประมาณสนับสนุนจาก

สนง.พมจ. พิจติ ร
• บ้านพักเด็กและครอบครัว ส่งเสริมความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนโดยมีการ

ฝกึ อาชพี การฝึกทักษะดา้ นงานฝมี ือ
• มีการส่งเสริมอัตลักษณ์ชุมชนไทยทรงดำให้เปน็ ที่รู้จัก มีการทำสื่อประชาสัมพันธ์โดยใช้

เทคโนโลยีสร้างเพจศูนย์อนุรักษ์ไทยทรงดำ
• ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไร้ทีพ่ งึ่ จดั ทำระบบ E-Service ให้กับกลุ่มเปราะบางในระดบั พื้นท่ี
• อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ มีกลไกลขับเคล่อื นอย่าง เขา้ ใจ

เข้าถึง และพัฒนา
• มีการจัดทำแผน 3 ปี ทีส่ อดคลอ้ งกบั นโยบายของกระทรวง และมกี ารประเมินโครงการ

ท่ีสอดคล้องกบั แนวนโยบาย มกี ารตดิ ตามและประเมินผลการทำงานทุกไตรมาส

• แหลง่ เงนิ ทุนในการสนบั สนนุ การประกอบอาชพี ยังมีนอ้ ย
• การสง่ เสรมิ ชอ่ งทางการตลาดและการนำเทคโนโลยีมาประยกุ ต์ใชใ้ นการขายออนไลน์ยงั

พฒั นาได้ไม่ทัว่ ถงึ ทุกกลุม่

• มีการนำโครงการบา้ นวัดโรงเรยี น (บวร) มาบูรณาการร่วมกบั คนในชมุ ชนก่อใหเ้ กิดการ
มีส่วนร่วมของคนในชมุ ชนอย่างมีประสิทธภิ าพ

• หน่วยงานภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทและช่วยขับเคล่อื นการดำเนินงานร่วมกนั กบั ผู้นำ
ทอ้ งถนิ่ และเยาวชน

• ได้รับงบประมาณในการสนับสนุนจากสำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.)

85

อปุ สรรค • การสนับสนุนของแหล่งเงนิ ทุนยังขาดความต่อเนื่อง
• ปญั หาด้านเศรษฐกจิ ตกต่ำสง่ ผลตอ่ การประกอบอาชีพ
• ต้นทุนการผลิตสนิ คา้ ทางการเกษตรมีราคาสงู ไม่คุ้มค่ากบั การลงทุน

การแก้ปัญหา • มมี าตรการป้องกนั และเฝ้าระวงั เปน็ ไปตามมาตรการของศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์แพร่
ช่วงโควิด ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (ศบค.) และมีการชว่ ยเหลือเบอ้ื งตน้ เชน่ การ
แจกถุงยงั ชีพ และเงนิ สงเคราะห์

• ดำเนินการมอบถุงยังชพี และสร้างโรงพยาบาลสนามในโรงเรียน

ผลสรปุ การวิเคราะห์ SWOT

พื้นที่ตำบลไผ่รอบ อำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร มีผู้นำที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการ
ทำงานกับทุกภาคส่วน ตำบลไผ่รอบ ยังมีความพร้อมทางด้านวัฒนธรรมของชาวไทยทรงดำที่เป็นอัตลักษณ์ท่ี
ชัดเจน มีการพัฒนาคนจากรุ่นสู่รนุ่ ภายใตก้ ารดำเนินงานมีการบรู ณาการกบั ภาคส่วนอืน่ ๆ ท้ังภายในและภายนอก
มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ การบริหารจัดการที่ดีในอนาคต ชุมชนไทยทรงดำมี
อัตลักษณ์ ทำให้ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และวิถีชีวิตเป็นอยู่ของคนในชุมชนมีความยั่งยืน และสามารถสร้างรายได้
ให้ท้องถิ่นได้ ด้วยการนำสื่อหรือเทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุนสินค้าชุมชนผ่านช่องทางการตลาดบนโลกออนไลน์
ท้ังยงั สามารถสร้างเปน็ จดุ ขายทางการท่องเท่ยี วในอนาคต

86

บรรณานกุ รม

TPMAP Thai People Map and Analytics Platform
27 ส.ค. 2562 เข้าถึงไดจ้ าก https://www.tpmap.in.th/about

ทฤษฎีและหลักการพัฒนา ดิเรก ฤกษ์หร่าย. (2552). เอกสารการสอนชุดวิชา 91701 สังคมไทยกับการสง่ เสรมิ
การเกษตร หน่วยท่ี 1-6 "ทฤษฎีและแนวทางการพฒั นาสงั คม" หน่วยที่ 6. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.

http://aritbooks.nrru.ac.th/uploadfiles/books/2-2018-08-30-08-37-26.pdf
แนวทางการพัฒนาท่ียัง่ ยนื (Sustainable Development Approach) ดเิ รก ฤกษ์หร่าย. (2552). เอกสารการ
สอนชดุ วชิ า 91701 สังคมไทยกบั การส่งเสริมการเกษตร

http://aritbooks.nrru.ac.th/uploadfiles/books/2-2018-08-30-08-37-26.pdf

87

บรรณาธิการ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7

นางสุดา สุหลง

คณะผู้จัดทำ นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ
นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ
นางสาวชลธิชา ถาดวิจิตร นักพัฒนาสังคม
นายธนันธาดา ฐิตะทัต พนักงานพิมพ์ดีด ชั้น 2
นางสาวฐินันชาพัฒน์ อนุวงศ์ พนักงานบริการ
นางสาวภัทรภร พลอยสีงาม เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการวิชาการฯ
นายจีรวัฒน์ ตะละศักดิ์
นางสาวธัญญลักษณ์ ชัยศรี

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7
275/3 หมู่ 2 ตำบลโคกตูม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15210

โทรศัพท์ : 0 3649 9184, 0 3665 8218, 0 3649 9353
โทรสาร : 0 3649 9184

E-Mail : [email protected], [email protected]
Facebook : tpso7 , Fanpage: สสว.7 ลพบุรี


Click to View FlipBook Version