The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียนบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง(KM)64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วิจัย tpso8, 2021-10-29 00:55:54

ถอดบทเรียนบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง(KM)64

ถอดบทเรียนบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง(KM)64

การจัดการความรู้

KNOWLEDGE MANAGEMENT

การถอดบทเรียนโครงการ

บูรณาการ
สร้างเสริม
ชุมชน
เข้มแข็ง

ถอดบทเรียนโครงการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
พื้นที่รับผิดชอบ สสว.7 (จังหวัดลพบุรี)

ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน

จังหวัดลพบุรี, จังหวัดสิงห์บุรี, จังหวัดชัยนาท, จังหวัดอุทัยธานี,
จังหวัดนครสวรรค์, จังหวัดพิจิตร

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7
ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์

การจดั การความรู้ (Knowledge Management)
ถอดบทเรียนโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง พ้นื ท่รี ับผดิ ชอบ สสว.7 (จังหวดั ลพบรุ )ี

ภาคเหนือตอนลา่ ง ภาคกลางตอนบน
จังหวดั ลพบรุ ,ี จงั หวดั สิงหบ์ ุร,ี จังหวดั ชยั นาท, จังหวัดอุทยั ธาน,ี จังหวดั นครสวรรค,์ จงั หวดั พจิ ติ ร

จัดทำโดย
สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 7 (จงั หวัดลพบรุ ี)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์

คำนำ

การถอดบทเรียนเป็นทั้งแนวคิดและเครื่องมือเพื่อสร้างการเรียนรู้ ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งของ
การจัดการความรู้ โดยเป็นกระบวนการดึงเอาความรู้จากการทำงานออกมาใช้เป็นทุนในการทำงานเพื่อยกระดับ
ให้ดียิ่งขึ้น การถอดบทเรียน จึงเป็นการสกัดความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) ออกมาเป็นบทเรียน/
ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ซึ่งผลที่ได้จากการถอดบทเรียน ทำให้ได้บทเรียนในรูปแบบชุดความรู้
(ท่เี ป็นรปู ธรรม) และเกิดการเรียนรูร้ ว่ มกนั ของผู้เขา้ รว่ มกระบวนการ อนั นำมาซง่ึ การปรับวิธคี ิด และเปล่ียนแปลง
วิธีการทำงานที่สร้างสรรค์และมีคุณภาพยิ่งขึ้น หัวใจหลักของการถอดบทเรียน คือ ต้องมีการแบ่งปันความรู้
(Knowledge Sharing) โดยมีผลประโยชน์ร่วมกัน (Mutual Benefit) มีความไว้วางใจทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
(Trust) และมีการเรียนรู้ (Learning) การจัดการความรู้ภายในองค์กร หรือ Knowledge Management (KM)
กันมากขึ้น เนื่องจากสภาวะการแข่งขันในปัจจุบัน เป็นสาเหตุ ให้องค์กรต้องพัฒนาและปรับตัวเอง
เพื่อความก้าวหน้าและการอยู่รอด ดังนั้น การจัดการความรู้ที่มีอยู่ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการนําองค์กรไปสู่
องค์กรแห่งการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ท้าทายต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันเพราะหัวใจ สำคัญขององค์กรแห่งการ
เรียนรู้ คือความสามารถในการบริหารจัดการความรู้ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถบริหารให้สมาชิก
ในองค์กรทุกคนมีจิตสํานึกในการพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองอย่างต่อเนื่อง และนําไปสู่
การพัฒนาองค์กรอยา่ งยั่งยนื ได้

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7 เป็นส่วนราชการส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค
โดยมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ให้สอดคล้องกับพื้นที่และเป้าหมาย พร้อมทั้ง ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ข้อมูล
สารสนเทศให้คำปรึกษาแนะนำแก่หน่วยงานบริการกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่ให้บริการในความรับผิดชอบของ
กระทรวงฯรวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรภาคเอกชน และประชาชนนอกจากน้ี
สสว. 7 ยังเป็นศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการพัฒนา
สังคมและการจัดสวัสดิการสังคมที่จะส่งผลทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานและพัฒนางานด้านการพัฒนา
สังคมที่สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและลดความเหลื่อมล้ำของสังคมเพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจได้ความรู้
เกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในหน่วยงานได้และหนว่ ยงานมรี ะบบในการบริหาร
การเรียนรู้เพื่อรองรับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และเพื่อให้เกิดการถอดบทเรียนความสำเร็จและจัดการ
องค์ความรู้ในพื้นท่ีต้นแบบที่สามารถนำองคค์ วามรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นพืน้ ที่อ่ืนๆ ได้

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7
กันยายน 2564

สารบญั 1

บทที่ 1 1
2
บทนำ
กระบวนการดำเนนิ งาน 7

บทที่ 2 7
10
นยิ ามคำศัพท์ 11
ทฤษฎีและหลักการพัฒนา 13
แนวทางการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Approach)
บทที่ 3 13
14
การดำเนนิ การขบั เคล่ือนตามแผน
จงั หวดั ลพบุรี 14
15
การวิเคราะหส์ ถานการณแ์ ละศกั ยภาพเพ่ือการพัฒนา 16
วิเคราะห์ข้อมูลจาก TPMAP 17
การดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัติการสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง
จงั หวัดสงิ ห์บรุ ี 17
18
การวิเคราะห์สถานการณแ์ ละศกั ยภาพเพ่ือการพัฒนา 19
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก TPMAP 22
การดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัติการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็
จังหวดั ชยั นาท 22
23
การวิเคราะหส์ ถานการณ์และศกั ยภาพเพื่อการพัฒนา 24
การวิเคราะห์ขอ้ มลู จาก TPMAP 26
การดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแขง็
จงั หวัดอทุ ยั ธานี 26
27
การวิเคราะหส์ ถานการณ์และศกั ยภาพเพ่ือการพฒั นา 28
วเิ คราะหข์ ้อมูลจาก TPMAP 30
การดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็
จงั หวัดนครสวรรค์ 30
31
การวเิ คราะห์สถานการณแ์ ละศักยภาพเพื่อการพัฒนา 32
วิเคราะห์ข้อมูลจาก TPMAP
การดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง

จงั หวดั พจิ ิตร 39

การวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละศักยภาพเพ่ือการพัฒนา 39
การวเิ คราะห์ข้อมลู จาก TPMAP 41
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็ 41
บทที่ 4 43

การถอดบทเรยี นการบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง 43
พื้นทต่ี ำบลโคกสลงุ อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบรุ ี 43

พน้ื ที่ตำบลคอทราย อำเภอค่ายบางระจนั จังหวดั สงิ ห์บุรี 47

พน้ื ที่ตำบลโพงาม อำเภอสรรคบรุ ี จงั หวดั ชยั นาท 54

พ้นื ทต่ี ำบลสขุ ฤทัย อำเภอห้วยคต จังหวดั อุทยั ธานี 59

พื้นที่ตำบลเขาชนกัน อำเภอแม่วงก์ จังหวดั นครสวรรค์ 64

พื้นที่ตำบลไผ่รอบ อำเภอโพธิป์ ระทบั ช้าง จงั หวดั พจิ ิตร 70

ปัจจยั ความสำเร็จ 75

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ด้วยเคร่อื งมอื SWOT Analysis 75
การบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็งจังหวดั ลพบุรี 75

การบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็งจังหวัดสงิ ห์บุรี 77

การบรู ณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็งจังหวัดชยั นาท 79

การบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งจังหวัดอุทัยธานี 81

การบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งจังหวดั นครสวรรค์ 83

การบูรณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็งจงั หวัดพิจิตร 85

บรรณานกุ รม 87

บทที่ 1

บทนำ
ความเปน็ มา/การเชอื่ มโยงกับยทุ ธศาสตร์/แผนปฏริ ปู และนโยบาย

ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

แผนปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม
การออมสวัสดิการและการลงทุนเพื่อสังคมการช่วยเหลือและเพิ่มขีดความสามา รถกลุ่มผู้เสียเปรียบใน

สังคม การจัดการข้อมูลทางสังคมและองค์ความรู้ระบบการสร้างเสริมชุมชุนเข้มแข็ง การมีส่วนร่วม การเรียนรู้
การรบั รู้ และการส่งเสรมิ กจิ กรรมทางสงั คม
ยุทธศาสตร์ พม. (2560-2564)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 สรา้ งภมู ิค้มุ กนั และพฒั นาศักยภาพกลุ่มเปา้ หมายและเครือขา่ ย
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ผลกึ กำลงั ทางสังคมเพ่ือเป็นกลไกในการพฒั นาสังคม
นโยบายกระทรวงพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง โครงการบวร
โคกหนองนาโมเดล
นโยบายของปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง นโยบาย 4 สร้างใน
การขบั เคล่อื นงาน พม.
1) สร้างคน พม. ใหม้ ีสมรรถนะสูง
2) สร้างองค์กร พม. ใหม้ ีผลสมั ฤทธ์ทิ ่ปี ระจักษ์
3) สรา้ งงาน พม. ให้มีคณุ ภาพ
4) สรา้ งเครือขา่ ยและหนุ้ สว่ นการพัฒนาสงั คม

1

กระบวนการดำเนินงาน

กระบวนการที่ 1 การคัดเลือกพ้ืนทีแ่ ละการกำหนดแผนบูรณาการ

1. สำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ จดั ประชมุ ทมี พม. จงั หวดั (One Home) ในพื้นท่ีรบั ผิดชอบ
เพ่อื ช้แี จงแนวทางการขับเคลอ่ื นการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแขง็

2. ทีม พม. จังหวัด (One Home) ร่วมกำหนดพื้นที่สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งร่วมกำหนดแผนบูรณาการ
ของทมี พม. จังหวดั (One Home)

เกณฑ์การคดั เลอื กพืน้ ท่ี

1. พนื้ ทท่ี ่ีมีเครือขา่ ยทางสงั คมท่ีเข้มแขง็
2. เป็นพื้นที่บรู ณาการตามภารกจิ หลัก / ยุทธศาสตรข์ องกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของ
มนษุ ย์ของทมี พม. จังหวดั (One Home) ดังนี้

2.1 การเสรมิ สรา้ งชมุ ชนเขม้ แขง็
2.2 การพฒั นาแกนนำสภาเด็กและเยาวชน ให้มที กั ษะในศตวรรษท่ี 21
2.3 การพฒั นากลุม่ เป้าหมายด้านสตรแี ละครอบครวั
2.4 การพฒั นาและสง่ เสริมให้ผ้ปู ระสบภาวะยากลำบากและไมส่ ามารถพึ่งพาตนเองได้
2.5 การเตรียมความพรอ้ มดา้ นความรู้ ความเข้าใจของประชากร ก่อนวยั สงู อายุ (อายุ 25-59 ป)ี
2.6 การทำใหค้ นพิการท่ีตกหล่นและไม่ได้รบั สทิ ธิ / สวัสดกิ ารจากรัฐไดร้ ับสิทธิ / สวัสดิการจาก

การมบี ัตรประจำตวั คนพกิ าร
2.7 การพัฒนาตำบลตน้ แบบชมุ ชนเขม้ แขง็ ของสถาบันพัฒนาองคก์ รชุมชน (พอช.)
3. พื้นที่เป้าหมายในการดำเนนิ การ ตอ้ งไมซ่ ำ้ กบั พื้นที่ตำบลสร้างสขุ (Social Smart City) ในปี 2563
4. เป็นพื้นที่ที่มีแผนพัฒนาชมุ ชนท้องถิ่น โดยต้องมีแผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม สุขภาพ
การพัฒนาคนในชมุ ชน เปน็ ตน้

ผลท่ีไดร้ บั

พ้ืนทเ่ี ปา้ หมายอย่างน้อย 1 ชุมชน ตอ่ 1 จังหวดั รวม 76 ชุมชน / 76 จังหวดั

กระบวนการท่ี 2 การวิเคราะหข์ ้อมลู เพื่อจดั ทำแผน

2.1 สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวซิ าการ 1-11 จัดทำรายงานสถานการณท์ างสงั คมของพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย
(ตามแบบฟอรม์ การจดั เกบ็ ข้อมลู ศูนยข์ ้อมลู ทางสงั คมจังหวัด/กลุ่มจงั หวัด)

2.2 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 และทีม พม. จังหวัด (One Home) ประสานชุมชน
ศกึ ษาข้อมลู กลุ่มเป้าหมายรายครัวเรือน ตามประเด็นปญั หาจากข้อ 2.1 และ ขอ้ มูลการให้ความช่วยเหลือของทีม
พม. จงั หวดั (One Home)

2.3 นำข้อมลู กล่มุ เปา้ หมายรายครวั เรือน (จากข้อ 2.2) ทไี่ มท่ ับซ้อนกบั ขอ้ มูล IPMAP ของพื้นท่ีเป้าหมาย
โดย

1) วิเคราะห์ข้อมูลตามระบบ TPMAP 5 ด้าน (ด้านสุขภาพ / ด้านการศึกษา / ด้านรายได้ /
ด้านความเป็นอยู่ / ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ) เพื่อจำแนกครัวเรือนเป้าหมายระดับชุมชนเป็น

2

3 ระดับ (เขียว = ตกเกณฑ์ 1 ด้าน, เหลือง = ตกเกณฑ์ 2 - 3 ด้าน และ แดง = ตกเกณฑ์
4 - 5 ดา้ น)
2) กำหนดครัวเรอื นเปา้ หมายที่จะพฒั นา ไม่นอ้ ยกว่า 35 ครัวเรอื น ในปี 2564
3) ประสานคณะทำงานสร้างเสริมชุมซนเข้มแข็ง จัดทำแผนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งระยะ 3 ปี
(2564 - 2566) ระบุจำนวนพ้นื ท่ี และเปา้ หมายแล้วเสรจ็ ในภาพรวม

กระบวนการที่ 3 กลไกการขบั เคลื่อนสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็

มกี ลไกการขบั เคลอื่ นงานใน 2 ระดับ ดงั น้ี
3.1 ระดับจังหวัด ให้ใช้คณะกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการจังหวัด (สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

เป็นคณะกรรมการและเลขานุการ โดยสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวั ด ร่วมเป็น
คณะกรรมการ)

3.2 ระดับชุมชน สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิซาการ 1-11 ประสานสำนักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงขอมนุษย์จังหวัด ร่วมกับทีม พม จังหวัด (One Home) และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในพื้นที่
จดั ประชมุ เพ่ือ

3.2.1 ชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นที่ชุมชน
เป้าหมายทค่ี ดั เลอื กไว้

3.2.2 นำเสนอข้อมลู พืน้ ฐานทางสงั คม / รายงานสถานการณท์ างสงั คมของพนื้ ที่เปา้ หมาย
3.2.3 นำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จาก TPMAP
3.2.4 พิจารณาแต่งตั้งคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง (สำนักงานพัฒนาสังคมและความ

มน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั เสนอให้ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ลงนามแตง่ ตัง้ )

องคป์ ระกอบ

1) นายอำเภอ (ทีป่ รึกษา)
2) หัวหน้าหนว่ ยงาน One Home พม. ในจงั หวดั (ที่ปรกึ ษา)
3) ผูอ้ ำนวยการสำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ
4) นายกเทศมนตรี / นายกองคก์ ารบริหารส่วนตำบล (ประธานคณะทำงาน)
5) ผ้แู ทนภาครัฐท่ีเกย่ี วขอ้ งในพนื้ ที่ (คณะทำงาน)
6) ผู้แทนทอ้ งท่ี / ทอ้ งถิ่นในพ้นื ที่ (คณะทำงาน)
7) ผู้แทนภาคประชาสังคม / ศาสนาทเี่ กี่ยวข้องในพืน้ ท่ี (คณะทำงาน)
8) ผแู้ ทนภาคเอกชนทีเ่ ก่ียวข้องในพืน้ ที่ (คณะทำงาน)
9) ผแู้ ทนกลไก ทหี่ นว่ ย พม. จัดตั้งในพืน้ ที่ (คณะทำงาน)
10) ประธานอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยต์ ำบล (คณะทำงาน)
11) เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับผิดชอบงานด้านสังคม (เลขานุการและ

คณะทำงาน)
12) อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ได้รับการคัดเลือก

(ผู้ชว่ ยเลขานุการและคณะทำงาน)

3

หนา้ ท่ี

1) จัดทำแผนสรา้ งเสริมชมุ ซนเข้มแข็งระยะ 3 ปี (2564 - 2566) และกำหนดแนวทางการบรู ณาการ
2) ดำเนนิ การขับเคล่อื นกิจกรรมโครงการต่างๆ ภายใต้การบรู ณาการทุกมติ ใิ ห้บรรลเุ ปา้ หมาย
3) ให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานแก้ใขปัญหา และพัฒนาศักยภาพภายใต้การมี

สว่ นร่วมของชมุ ชน
4) สรปุ และเสนอรายงานผลการดำเนินงาน
5) ดำเนินการอื่นๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

กระบวนการที่ 4 บรู ณาการดำเนินงานระดบั พืน้ ที่

4.1 ทีม พม. จังหวัด (One Home) จัดประชุมคณะทำงานสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง
4.1.1 เพื่อนำเสนอข้อมูลจาก TP MAP 5 ด้าน (ด้านสุขภาพ / ด้านการศึกษา / ด้านรายได้ / ด้านความ
เป็นอยู่ /ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ) เพื่อจำแนกครัวเรือนเป้าหมายระดับชุมชนเป็น 3 ระดับ
(เขียว = ตกเกณฑ์ 1 ด้าน, เหลือง = ตกเกณฑ์ 2-3 ด้าน และแดง = ตกเกณฑ์ 4-5 ด้าน)
และข้อมูลกล่มุ เปา้ หมายรายครวั เรอื น ท่ีไม่ทับซ้อนกับขอ้ มูล TPMAP ของพ้นื ทีเ่ ปา้ หมาย
4.1.2 ข้อมูลพื้นฐานทางสังคม และวิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้านสังคมที่น่าสนใจ อาทิ การตั้งครรภ์
ไม่พงึ ประสงค,์ การดูแลผูส้ ูงอายุ, คนไทยตกหล่นไมม่ ีสถานะทางทะเบียน และความยากจน
4.1.3 รว่ มคัดเลือกครวั เรือนเปา้ หมายจากขอ้ มูล 4.1.1 - 4.1.2
4.1.4 จัดทำแผนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เพื่อแก้ไขปัญหาผู้ประสบปัญหาทางสังคมรายครัวเรือนและ
พฒั นาศักยภาพชุมชน โดยใช้
1) แผนปฏริ ูปดา้ นสงั คม 5 ประเด็น
- ประเด็นท่ี 1 การออม สวสั ดกิ าร และการลงทนุ เพื่อสงั คม
- ประเด็นที่ 2 การชว่ ยเหลือและเพิม่ ขีดความสามารถ กลมุ่ ผเู้ สียเปรียบในสงั คม
- ประเด็นที่ 3 การจดั การขอ้ มลู และองค์ความร้ทู างสังคม
- ประเดน็ ท่ี 4 การพัฒนาระบบสรา้ งชุมชนเขม้ แข็ง
- ประเด็นท่ี 5 การสรา้ งการมีส่วนรว่ ม การเรียนรู้ การรบั รู้และการส่งเสริมกิจกรรมทางสังคม
2) แนวคดิ Productive Welfare (Case Manager / สมดุ พกครอบครวั )
3) แนวคิด บวร
4) แนวคดิ โคกหนองนาโมเดล
5) แนวคิด การขจัดความยากจนแบบตรงเป้าหมาย กรณีศกึ ษาประเทศจีน (ดืองนั ฮาต)ี
6) แนวคิด สวัสดิการสงั คม 7 ด้าน (การศึกษา / สุขภาพอนามัย / ที่อยู่อาศยั / การทำงานและ
การมีรายได้ / ความมนั่ คงทางสังคม / บรกิ ารสังคม / นนั ทนาการ)

4.2 คณะทำงานสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็ ดำเนนิ การตามแผนบรู ณาการเพอื่ แก้ไขปญั หาผู้ประสบปัญหาทางสังคม
รายครัวเรือน และพัฒนาศักยภาพชมุ ชน ร่วมกนั ระหวา่ งภาคีเครอื ข่ายทุกภาคสว่ น

4.3 ทีม พม. จังหวัด (One Home) และคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ถอดบทเรียนและสรุปการ
ดำเนนิ งาน พรอ้ มผลการแก้ไขปัญหา / พฒั นาศกั ยภาพ

4.5 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ติดตาม นิเทศการดำเนินงานตามแผนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด รายงานผลการดำเนินงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง

4

(2 ส่วน ประกอบด้วย ผลการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพชุมชน และผลการแก้ไขปัญหาของประชาชน
ในชุมชน) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานคณะกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการจังหวัด
และสง่ รายงานผลการดำเนนิ งานฯ ให้สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ
4.6 สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 1-11 ถอดบทเรียนความสำเร็จการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ ทุกชุมชน
ในพื้นที่รับผิดชอบ และคัดเลือกพื้นที่ Best Practice เขตละ 1 พื้นที่ พร้อมจัดทำข้อเสนอการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็ง เพื่อเป็นนโยบายขับเคลื่อนในชุมชนทั่วประเทศระยะต่อไป เสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์

กระบวนการที่ 5 เกณฑก์ ารประเมิน

5.1 การบรู ณาการภารกิจหลกั /ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวง พม. ในพน้ื ทเ่ี ป้าหมาย
5.1.1 การสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แขง็ (สป.พม.)
5.1.2 ร้อยละความสำเร็จของแกนนำสภาเด็กและเยาวชนที่ผ่านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
และสามารถขับเคลอ่ื นกิจกรรมพฒั นาสังคมได้ (ดย.)
5.1.3 ความสำเร็จในการพัฒนาศกั ยภาพสตรีและครอบครัว โดยใช้ Leaning Center ของศนู ย์เรียนรูก้ าร
พฒั นาสตรีและครอบครัว (สค.)
5.1.4 ความสำเร็จในการใช้ฐานข้อมูล เพอื่ ให้กล่มุ เปา้ หมาย เขา้ ถงึ บริการทางสงั คม (พส.)
5.1.5 ความสำเรจ็ ในการสร้างความรู้ความเขา้ ใจ เร่อื งการเตรียมความพรอ้ มกอ่ นวัยสูงอายุ (ผส.)
5.1.6 ร้อยละของคนพิการท่ีตกหลน่ และไม่ได้รับสิทธิ / สวัสดิการจากรัฐ ได้รับสิทธิ / สวัสดิการจากการ
มบี ตั รประจำตัวคนพิการ (พก.)
5.1.7 การพัฒนาตำบลต้นแบบชมุ ซนเข้มแข็งของสถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน (พอช.)

ขอบเขตการประเมิน : ประเมินผลจากผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของทุกกรมและนำมาคำนวณ
เป็นค่าเฉลีย่ คะแนน ซึ่งจะรับค่าคะแนนเท่ากันทุกกรม

สตู รคำนวณ ผลรวมการดำเนนิ งานของตวั ชว้ี ัดหลกั ตามการกิจหลกั ของกระทรวง พม X 100
7

เกณฑ์การประเมิน
คะแนนที่ 1 ร้อยละ 70 ของความสำเร็จตามภารกิจหลกั / ยุทธศาสตรข์ องกระทรวง พม.
คะแนนที่ 2 รอ้ ยละ 75 ของความสำเร็จตามภารกิจหลัก / ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวง พม.
คะแนนที่ 3 รอ้ ยละ 80 ของความสำเรจ็ ตามภารกิจหลัก / ยทุ ธศาสตร์ของกระทรวง พม.
คะแนนท่ี 4 ร้อยละ 85 ของความสำเร็จตามภารกจิ หลกั / ยทุ ธศาสตร์ของกระทรวง พม.
คะแนนที่ 5 ร้อยละ 90 ของความสำเร็จตามภารกิจหลัก / ยุทธศาสตร์ของกระทรวง พม.

5.2 ระดับความสำเร็จในการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แขง็
5.2.1 ผลการดำเนนิ งานพัฒนาศกั ยภาพชุมชนของคณะทำงานสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง
5.2.2 ผลการแกไ้ ขปญั หาของประชาชนในชมุ ชน

5.3 เกณฑ์การคัดเลือก Best Practice สสว. ละ 1 พนื้ ที่ รวม 11 พนื้ ท่ี
5.3.1 ครวั เรอื นเปา้ หมาย
1) พจิ ารณาครัวเรอื นทพ่ี น้ จากความยากจน พจิ ารณาจากเกณฑพ์ ื้นฐาน 6 ด้าน และเกณฑอ์ นื่ ๆ

ประกอบตามบรบิ ทของพนื้ ที่ตามความเหมาะสม ดังนี้

5

▪ ครัวเรือนมีอาชีพทีส่ ร้างรายได้สูงขึ้นก่อนเข้าร่วมโครงการ และรายได้น้อยมากกว่ารายได้
ตามเสน้ ความยากจนของจังหวัดนั้นๆ

▪ ครัวเรือนมีที่อยูอ่ าศัยทีม่ ั่นคง (อาศัยได้นานมากกว่า 5 ปีขึ้นไป) เหมาะสมตามสภาพของ
สมาชิกในครัวเรือน เช่น ห้องนอน ห้องน้ำ ที่เหมาะสมสำหรับเด็กหญิง / คนพิการ /
ผ้สู งู อายุ และมีเครอ่ื งเรอื น เคร่อื งใช้ เคร่อื งครัวที่จำเปน็ อยา่ งเหมาะสมตามอัตภาพ

▪ ครัวเรือนมีอาหารเพียงพอต่อการบริโภคทุกวัน และมีแหล่งอาหารสำรองในครัวเรือนที่
เหมาะสมตามอตั ภาพ (เชน่ แหล่งอาหารโปรตีน และพชื ผักสวนครวั เปน็ ต้น)

▪ ครัวเรือนมีเครื่องนุ่งห่มที่เหมาะสมแก่อัตภาพ กรณีที่มีนักเรียน / นักศึกษา ต้องมี ชุด
นักเรียนครบตามที่สถาบันการศึกษากำหนด และมีวัสดุอุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นครบ
ตามทีส่ ถาบนั การศึกษากำหนด / ท่จี ำเปน็ ต้องใช้เพื่อการศึกษา

▪ สมาชิกในครัวเรือนมีการจัดทำแผนการรักษา และดูแลสุขภาพตามอาการของโรค โดยมี
หน่วยงานด้านสาธารณสุขกำกับดูแลให้ได้รับการรักษาพยาบาล และการดูแลอย่าง
เหมาะสม

▪ สมาชิกในครวั เรือนไดร้ ับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน และหรอื ไดร้ บั การพฒั นาทักษะการเรียนรู้ที่
เป็นภูมิคุ้มกันชวี ติ ไดต้ ามสมควรแกอ่ ัตภาพ

2) มีการบันทึกข้อมูลผลการช่วยเหลือ ผู้ประสบปัญหาทางสังคมรายครัวเรือนของหน่วยงาน
ตา่ งๆ ในระบบฐานข้อมูล TP MAP

5.3.2 พืน้ ทชี่ มุ ชนเข้มแข็ง
1) ชมุ ชนมีการจัดทำฐานข้อมูลชมุ ชน
2) ชุมชนมีการจัดทำแผน
3) ชุมชนมีกลไกการขับเคล่ือนทุนทางสังคม
4) ชุมชนไดร้ บั การแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจและสงั คม

6

บทที่ 2

นยิ ามคำศพั ท์

TPMAP Thai People Map and Analytics Platform

TPMAP คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytics
Platform) ซึ่งได้รับการพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เป้า (Thai Poverty Map and
Analytics Platform) ให้สามารถครอบคลุมปัญหาที่กว้างขึ้น เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนา
สภาพที่อยู่อาศยั โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการช้ีเป้าความยากจนไวด้ ้วย TPMAP จึงสามารถใช้ระบุ
ปญั หาความยากจนในระดับบคุ คล ครัวเรอื น ชมุ ชน ท้องถิ่น/ท้องท่ี จงั หวดั ประเทศ หรือปัญหาความยากจนราย
ประเด็น ซึ่งทำให้การแก้ปัญหาตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้นและสามารถออกแบบนโยบาย โครงการในการ
แก้ปญั หาใหต้ รงกบั ความตอ้ งการหรือสภาพปญั หาได้

TPMAP เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(สศช.) และ ศนู ย์เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี

ประวัตขิ อง TPMAP

ตามการประชุมครั้งที่ 5 ในปี 2560 ของคณะกรรมการยุทธศาสตร์แห่งชาติ (ปปปป. ยุทธศาสตร์)
องค์ประชุมตกลงที่จะจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ Big Data ของ
รัฐบาล และแต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจดิจิทัลและสังคมเป็น เป็นเจ้าภาพคณะกรรมการ ในเดือน
พฤษภาคม 2560 คณะกรรมการได้มอบหมายให้สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(สศช.) และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ดำเนินการพัฒนากรณีศึกษา
ระบบบิ๊กดาต้าที่ช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนในแง่ของการเพิ่มขึ้น รายได้ ลดภาระค่าครองชีพ
และเพ่ิมโอกาสการจ้างงาน ท้ังสององคก์ รได้ร่วมมอื กันใช้ TPMAP เวอรช์ ั่นตน้ แบบรนุ่ แรก

เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2561 สำนักนายกรัฐมนตรี (PMDU) ได้ยื่นบันทึกข้อตกลงต่อนายกรัฐมนตรีเพ่ือ
แจ้งความคืบหน้าของการศึกษาวิจัย นายกรัฐมนตรีจึงเห็นชอบที่จะมอบหมายให้คณะกรรมการรายงานความ
คืบหน้าและสาธิตวิธีที่ TPMAP สามารถลดความยากจนและปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชน ต่อ
คณะกรรมการรว่ มดา้ นนโยบายการพฒั นาภมู ิภาค

ขอ้ มลู ใน TPMAP

เริ่มต้นจากโครงการนำร่องจากโครงการ Big Data ของรัฐบาลไทย TPMAP มีเป้าหมายในการรวม
แหล่งข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐต่างๆ แนวคิดคือการเปรียบเทียบแหล่งข้อมูลต่างๆ สำหรับการตรวจสอบ
ปัจจุบัน TPMAP ใช้ข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐสองแห่ง: 1) ข้อมูลพื้นฐานความต้องการขั้นตำ่ (BMN) ตามสำมะ
โนของประชากรประมาณ 36 ล้านคนจากกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และ 2) แหล่งข้อมูลแบบ
ลงทะเบยี นประมาณ 11.4 ลา้ นคน บุคคลจากกระทรวงการคลัง

7

เพื่อระบุคนจน TPMAP ใช้ดัชนีความยากจนหลายมิติ (MPI) ที่พัฒนาโดย Oxford Poverty & Human
Development Initiative และโครงการพัฒนาแหง่ สหประชาชาติ (UNDP) แนะนำโดย NESDB ปัจจุบัน TPMAP
ใช้มิติความยากจนห้าด้าน: การดูแลสุขภาพ การศึกษา รายได้ มาตรฐานการครองชีพ และการเข้าถึงบริการ
สาธารณะ เจ้าหนา้ ที่ของรัฐสามารถใช้ TPMAP เพ่ือระบปุ ัญหาของคนจนโดยพิจารณาจากมติ ิความยากจนทง้ั หา้ น้ี
TPMAP สามารถตอบคำถามอะไรได้บ้าง?

8

เป้าหมายของ TPMAP

คือการบรรเทาความยากจนอย่างแม่นยำและปรับปรุงคณุ ภาพชีวิตของประชาชน แพลตฟอร์มนี้สามารถ
ใช้ตอบคำถามสามข้อต่อไปนี้ คนจนอยู่ที่ไหน ความต้องการพื้นฐานของพวกเขาคืออะไร? และจะบรรเทาความ
ยากจนไดอ้ ยา่ งไร? คนยากจนอยทู่ ีไ่ หน เพอื่ ตอบคำถามวา่ คนจนอยทู่ ่ีไหน TPMAP มีฟงั ก์ชนั เจาะลกึ แบบลำดับชั้น
ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถประเมินข้อมูลความยากจน (เช่น จำนวนคนจนและความยากจน) จากระดับประเทศ ไป
จนถึงข้อมูลโดยละเอียดที่เน้นเฉพาะจังหวัด อำเภอ (อำเภอ) หรือตำบล อำเภอ (ตำบล). อะไรคือความต้องการ
พื้นฐานของคนจน? เพือ่ ตอบความต้องการพ้ืนฐานของคนจน TPMAP ใชข้ อ้ มลู ความต้องการข้ันต่ำขัน้ พ้ืนฐานโดย
ละเอียดที่กรมพัฒนาชุมชนรวบรวมเป็นประจำทุกปี แพลตฟอร์มประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล BMN เพ่ือ
คำนวณจำนวนสมาชิกที่ระงับแตล่ ะรายซึง่ ระบวุ า่ เป็นเปา้ หมายที่ยากจน ตัวชี้วัดความยากจนที่ใช้โดย TPMAP มี
ดงั น้ี

ด้านสุขภาพ
• เดก็ แรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขน้ึ ไป
• ครวั เรือนกนิ อาหารถูกสุขลกั ษณะ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน
• ครวั เรอื นมกี ารใช้ยาเพ่ือบำบัด บรรเทาอาการเจ็บปว่ ยเบอ้ื งตน้ อย่างเหมาะสม
• คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ออกกำลงั กายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที

ด้านความเปน็ อยู่
• ครัวเรอื นมีความม่นั คงในท่ีอยู่อาศยั และบา้ นมีสภาพคงทนถาวร
• ครวั เรือนมนี ำ้ สะอาดสำหรบั ด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 5 ลติ รต่อวนั
• ครัวเรอื นมนี ้ำใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวนั
• ครัวเรือนมกี ารจัดการบา้ นเรือนเป็นระเบยี บเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลกั ษณะ

ด้านการศึกษา
• เดก็ อายุ 3-5 ปี ไดร้ บั บริการเลีย้ งดูเตรยี มความพร้อมก่อนวัยเรยี น
• เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รบั การศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี
• เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรยี นต่อช้นั ม.4 หรือเทยี บเทา่
• คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขยี นภาษาไทย และคดิ เลขอยา่ งง่ายได้

ด้านรายได้
• คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และรายได้
• คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มอี าชีพและรายได้
• รายไดเ้ ฉลย่ี ของคนในครัวเรือนต่อปี

ดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารรฐั
• ผู้สูงอายุ ได้รับการดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน
• ผู้พกิ าร ไดร้ บั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน

นอกจากนัน้ TPMAP ยงั สามารถเปรียบเทยี บข้อมูลปีต่อปี ทำให้เห็นสภาพปญั หาวา่ มีทิศทางปรับลดหรือ
รุนแรงมากขึ้นเพียงใด ซ่ึงสามารถนำมาใช้ประเมินปัจจยั ท่ีอาจส่งผลต่อปัญหาดังกล่าว หรือประเมินประสิทธิภาพ
ของนโยบายที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นได้ ซึ่งจะช่วยให้การแก้ปัญหาตรงจุด และเลือกนโยบายได้มีประสิทธิภาพ
มากยง่ิ ขึ้น

9

TPMAP ยังเปรียบเทียบตัวชี้วัดส่วนบุคคลในปี 2561 กับตัวชี้วัดในปี 2560 เพื่อประเมินว่าความยากจน
ลดลงจริงหรือไม่ การเปรียบเทียบแบบปีต่อปีเหล่านี้สามารถใช้เพื่อประเมินและเลือกโครงการบรรเทาความ
ยากจนท่ีเหมาะสม

วธิ กี ารบรรเทาความยากจนของพวกเขา

ข้อมูลและการวิเคราะห์ด้วยภาพของ TPMAP จะให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัญหาตา่ งๆ ที่อาจมีส่วนทำให้
เกิดความยากจนในบางภมู ิภาค ข้อมูลเชงิ ลกึ ดงั กล่าวจะชว่ ยให้ผกู้ ำหนดนโยบายและหนว่ ยงานภาครัฐกำหนดและ
ดำเนินการ "แนวทางแก้ไข" สำหรับแต่ละภูมิภาคที่อาจมีปัญหาต่างกันได้อย่างแม่นยำยิ่งขึ้น เร็วๆ นี้ TPMAP
จะรวมข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐอื่นๆ มากขึ้น ซึ่งครอบคลุมประชากรมากขึ้น และในทางกลับกัน จะปรับปรุง
การวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพโครงการสวสั ดกิ ารของรฐั บาล

ทฤษฎีและหลักการพฒั นา

แนวคิดการพัฒนาสังคมการพัฒนาสังคมเป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งของการพัฒนาประเทศ
ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ได้รับความสนใจจากสหประชาชาติตั้งแต่ในช่วงการพัฒนาในทศวรรษที่ 2 (ค.ศ. 1971-
1980) เป็นต้นมา ในขณะเดียวกันประเทศไทยได้เริ่มให้ความสนใจต่อการพัฒนาสังคมนับตั้งแต่แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 -2514) เป็นต้นมา ทั้งนี้การศึกษาแนวคิดการพัฒนาสังคม
ผู้ศึกษาควรมีการทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ความหมายการพัฒนาสังคมความสำคัญของการพัฒนาสังคม เป้าหมาย
และ แนวทางการพฒั นาสังคม ระบบการพัฒนาสงั คมตลอดจนแนวคิดทฤษฎกี ารพัฒนาสงั คมอย่างชัดเจน เพื่อให้
สามารถเขา้ ใจและนำไปวิเคราะห์กับปรากฏการณ์ทางสงั คมได้อยา่ งถกู ต้อง

ความสำคัญของการพัฒนาสังคมสังคมแต่ละสังคมประกอบไปด้วยบุคคลกลุ่มต่างๆ ที่ต้องมาอยู่ร่วมกัน
และมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันทั้งในส่วนที่เป็นตำแหน่ง ภาระหน้าที่การงาน และพฤติกรรมที่ต้องมาใช้ชีวิตอยู่
รว่ มกนั เพราะฉะนนั้ สงิ่ ทจี่ ะเกดิ ข้นึ ตามมาคือปัญหา เน่ืองจากแต่ละคนมีความแตกตา่ งกนั ท้งั ในดา้ นสภาพร่างกาย
และทางด้านสภาพจิตใจ จึงพบได้ว่าในสังคมที่แตกต่างกันสภาพปัญหาก็จะแตกต่างกันตามไปด้วย ตัวอย่างเช่น
ในชมุ ชนเลก็ ๆ ปัญหาท่เี กิดขน้ึ กจ็ ะไม่ใหญโ่ ต มีขอบเขตทจี่ ำกัด แต่ยงิ่ เป็นสังคมที่มีขนาดใหญ่โตข้ึน ปัญหาก็จะยิ่ง
มีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น ปัญหาความยากจนทำให้เกิดปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด เป็นต้น ดังนั้น
จงึ พอสรปุ ความสำคัญของการพฒั นาสงั คม (อภิชญา อยู่ในธรรม. 2558 : 7-8) ดงั น้ี

1. ทำใหป้ ญั หาท่ีเกิดข้นึ ในสังคมลดน้อย หรือเบาบางลงไป เปน็ ท่ที ราบกันโดยทั่วไปว่าปัญหาสังคมท่ี
เกิดขึ้นจำนวนมาก เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาการใช้ความรุนแรง ปัญหาอาชญากรรม เป็นต้น ล้วนเกิดจาก
กระแสการเปลี่ยนแปลงของสงั คม ฉะนั้น ในการพัฒนาสังคมจึงควรยึดหลักคุณธรรมและมีความอดทน ตลอดจน
กล้าท่ีจะคิดหาแนวทางในการบรรเทาปัญหาต่างๆ และยอมรับการเปล่ียนแปลงทีจ่ ะเกิดขึ้นในลักษณะของการลด
ปญั หา

2. ทำให้เกดิ การปอ้ งกันปัญหาทีเ่ คยเกิดขึน้ มาแล้ว เปน็ การเรยี นรจู้ ากบทเรยี นหมายความวา่ สมาชิก
ในสังคมได้มีการเรียนรู้ มีการคิด มีการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่และมีความสามารถ พร้อมที่จะ
เผชญิ กับการแกป้ ญั หาทจี่ ะเกดิ ข้นึ เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการแกป้ ญั หาท่ีมีความคล้ายคลงึ กนั ในอนาคต

3. ทำใหส้ ังคมมีความเจรญิ ก้าวหน้า กลา่ วคอื มีความร่วมมอื จากทกุ ฝา่ ยในสงั คม ไมว่ ่าจะเป็นสถาบัน
ครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง ตลอดจนสื่อมวลชน อีกทั้งหน่วยงาน
ราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุขกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น และยัง
หมายรวมถึงประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชนภาคเอกชน โดยแต่ละฝ่ายร่วมกันคิด ร่วมกัน
ปฏิบตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทีไ่ ด้กำหนดเอาไว้ในการพัฒนาสงั คม

10

4. ทำให้ประชาชนในสังคมอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสุข การทำให้ประชาชนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสุข หมายถึง การที่สมาชิกแต่ละคนในสังคมมีจิตสำนึกของความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
เป็นสังคมที่สงบสุข ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพภายใต้ขอบเขตทางกฎหมาย ทุกกลุ่มคนในสังคมมีโอกาสและมี
ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มความสามารถเป็นผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่มีแต่ความอบอุ่น
ภายในชุมชนท่มี ีความเข้มแขง็ ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทด่ี อี ยรู่ ่วมกันอย่างสนั ตสิ ขุ ปราศจากความขัดแย้ง

5. ทำให้สงั คมมคี วามมน่ั คงเป็นปีกแผน่ การทำให้สงั คมมีความมัน่ คงเปน็ ปีกแผ่น หมายถงึ สมาชิกใน
สังคมมีความเป็นอนั หนึ่งอนั เดยี วกัน มีเอกลักษณ์รว่ มกัน รู้ซึง้ ถึงคุณคา่ ของวัฒนธรรมคุณธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ไดร้ บั การศึกษาทีเ่ พยี งพอ เปน็ ท้งั คนดแี ละมคี วามสามารถในการมสี ่วนร่วมในการพัฒนาสงั คม

แนวทางการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Approach)

การพัฒนาที่ยั่งยืน มีองค์ประกอบของพื้นฐานของแนวคิดประกอบด้วยความสมดุลของการเข้าใจ
ความหมายของการพัฒนา ที่แตกต่างจากการเจริญเติบโตและเงื่อนไขการบรรลุการพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน
ซึ่งความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน เกี่ยวข้องกับ "ความสัมพันธ์ของระบบย่อยที่เป็นองค์ประกอบสำคัญท่ี
เช่ือมโยงกนั อยา่ งมีระบบและเกิดความสมดุลกัน" ของสง่ิ ตอ่ ไปนี้

1. โมเดลการพฒั นาและการจำลองแบบ (Simulation) ทำใหเ้ ป็น "ตน้ แบบ (Prototype)" ท่เี น้น
การเสมอภาคในการกระจาย (Equity in Distribution) ความเป็นธรรมของการมีรายได้ การกระจายรายได้
คุณภาพชีวิต (Quality of Life) ตามเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.: Basic Minimum Needs) การรักษ์
ส่งิ แวดล้อม การเพ่มิ โอกาสและคณุ ค่า (Values) ของคนในสังคม

2. มีการควบคุมจัดการ (Manipulate) ได้ ด้วยการมียุทธศาสตร์/กลยุทธ์ที่เหมาะสมที่มีการ
ทดลองทดสอบ มกี ารวดั ผลได้ท้ังเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

3. การมปี ระชาชนเป็นศูนย์กลางท่ีไดร้ ับการมอบอำนาจ (Empower) ในการดึงศกั ยภาพของตน
เพื่อสร้างพลังในด้านการสั่งสมทรัพยากรทุนด้านต่าง ๆ การบูรณาการ (Integration)ของเครือข่าย ที่จะรองรับ
การสนับสนุนเชิงบูรณาการ (Integrated Development)

4. มีนวัตกรรมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตปัจจุบันและภาพรวมอนาคตของคนในสังคมรับการ
ถา่ ยทอดอย่างมีระบบและเกิดผลท่ีกำหนดเปน็ โมเดล และใช้เปน็ ต้นแบบได้

5. การมีวัฒนธรรมขององค์กรในการทำงานเชิงบวก (Proactive) คนในสังคมที่สร้างสรรค์
ความสัมพันธ์และความรับผิดชอบที่ดีงามต่อสังคม ในอันที่จะอยู่ร่วมกันแบบแสวงหาจุดร่วมสงวนจุดต่างๆ ได้
อย่างมคี วามม่งั คั่งทางจิตใจ (Spiritual Wealth)

สำหรับประเทศไทย การพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่ยั่งยืนมีลักษณะที่เป็นบูรณาการหรือ
ผสมผสาน (Integrated) เปน็ องค์รวม (Holistic) และมีดุลยภาพ (Balance) หรือการพัฒนาทม่ี กี ิจกรรมสอดคล้อง
กับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ขยายความได้ว่า หมายถึง การพัฒนาที่มีลักษณะผสมผสาน คือ มีกิจกรรมพัฒนา
รวมทั้งมีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในลักษณะที่เป็นส่วนรวมหรือมหภาค และเมื่อใดที่
กิจกรรมพัฒนานั้นส่งผลกระทบด้านลบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือคุณภาพสิ่งแวดล้อมในที่ใดที่หนึ่ง ก็จะต้อง
เสริมสร้างคุณภาพสิง่ แวดล้อมในที่อื่นชดเชยเพื่อให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมในภาพรวมคงอยู่ได้ คำว่า การผสมผสาน
ยงั หมายความรวมไปถึงการผสมผสานแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ นเิ วศวิทยา และสังคมวทิ ยา เขา้ กบั การปฏิบัติงาน
พัฒนาโดยควรเป็นไปในทิศทางเดียวกัน หรือมุ่งตรงไปสู่จุดหมายเดียวกัน อันจะทำให้มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมอยู่
ควบคกู่ ันไปโดยสันติสุขสงบและยงั่ ยนื

11

นอกจากนี้แล้ว การพัฒนาที่ยั่งยืน ยังหมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคมและ
สถาบันตา่ งๆ ทางสงั คม เช่น สถาบันทางเศรษฐกจิ การศึกษา และการเมอื ง ในหลายมติ ิรวมตลอดถึงกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงค่านิยม ทศั นคติ หรือระบบคุณคา่ อนั เปน็ การเปล่ียนแปลงจากเชิงปริมาณไปส่เู ชิงคุณภาพให้ดีย่ิงข้ึน
ปลอดจากระบบผูกขาดทางเศรษฐกิจและการผูกขาดอำนาจทางการเมือง ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิด
การพัฒนาที่ยังยืนซึ่งเอื้ออำนวยต่อระบบเศรษฐกิจ เช่น การพัฒนาที่สามารถเพิ่มผลผลิตอย่างมีดุลยภาพหรือมี
ความสมดุลระหว่างคนกบั สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี พรอ้ มกับมีการแบ่งปนั ผลประโยชนจ์ ากการพัฒนาอย่างเป็น
ธรรม และสรา้ งความเสมอภาคทางโอกาส

12

บทที่ 3

การดำเนนิ การขับเคลือ่ นตามแผน
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7 (จังหวัดลพบุรี) ดำเนินการขับเคลื่อนโครงการ

บูรณาการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บรุ ี
จงั หวัดชยั นาท จงั หวัดอทุ ัยธานี จงั หวดั นครสวรรค์ และจงั หวดั พิจิตร โดยมีการคน้ หา รวบรวมขอ้ มลู ความรู้ และ
สร้างกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพอื่ รว่ มกนั กำหนดทิศทางการพฒั นาหมู่บ้านเช่ือมโยงส่รู ะดบั ตำบลที่สอดคล้อง
กับปัญหาและความต้องการที่แท้จริง สามารถแก้ไขปัญหาที่หมู่บ้านและตำบลเผชิญร่วมกันอยู่ได้ รวมทั้งก่อเกิด
การค้นหาศักยภาพจากทรัพยากรธรรมชาติ ฝีมือ ทักษะ ของคนในตำบล เพื่อแก้ไขปัญหาของตำบล และลดการ
พึ่งพาจากภายนอก เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ โดยการวิเคราะห์สถานการณ์และพัฒนาศักยภาพเพ่ือ
การพฒั นา ตามความต้องการพ้นื ฐาน 5 มิติ (17 ตัวชีว้ ัด)

13

จังหวดั ลพบุรี

การวิเคราะห์สถานการณ์และศกั ยภาพเพอื่ การพัฒนา
เป็นการประเมินสถานการณเ์ พ่ือให้ทราบถงึ ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในตำบลโคกสลุง

และการกำหนดกรอบการทำงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ตั้งเป้าหมายไว้โดยใช้ทฤษฎีที่เรียกว่า SWOT
มาเป็นเคร่อื งมอื ในการประเมินสถานการณ์จากปจั จัยด้านต่าง ๆ ดังน้ี

1. ปัจจยั ภายในชมุ ชนทที่ ำใหเ้ กิดความเข้มแข็ง เป็นจดุ แขง็ ของชุมชน (จดุ แขง็ = Strengths)

• ตำบลโคกสลุงเป็นชมุ ชนใหญ่อยรู่ วมกันเปน็ กลมุ่ ของเครอื ญาตใิ หค้ วามเคารพผู้อาวุโส
• มวี ฒั นธรรมไทยเบง้ิ ที่เป็นอัตลกั ษณข์ องชมุ ชน
• มีวถิ ชี ุมชนประเพณวี ฒั นธรรมภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ ท่ยี ังสบื สานสู่คนรุน่ หลังและผู้สนใจ
• มีกลมุ่ /องคก์ รขับเคล่อื นงานท่ีหลากหลายและเข้มแข็ง
• มหี นว่ ยงานในชุมชนท่ใี หบ้ รกิ ารได้ทวั่ ถึงและให้ความรว่ มมอื ในการทำงานพัฒนา
• มวี ัด 9 ทเี่ ป็นศนู ย์รวมใจคนของหมูบ่ า้ น
• มีสถานทท่ี ่องเท่ยี วในตำบลเช่น พนังกัน้ น้ำเขอ่ื นป่าสักชลสิทธิสถานีรถไฟทางรถไฟลอยน้ำ
• มีแหล่งเรียนรู้ภมู ปิ ัญญาพน้ื บ้าน
• มีพิพิธภัณฑพ์ น้ื บ้านไทยเบิ้งเป็นศนู ยเ์ รียนรวู้ ฒั นธรรมชมุ ชน
• มีกระบวนการเรยี นรู้โดยชุมชนท่ีมคี วามหลากหลายท้ังในระบบ/นอกระบบ/ตามความสนใจ
• มีเครอื ข่ายการทำงานทง้ั ภาครัฐเอกชนประชาสงั คมวชิ าการ

2. ปัจจยั ในชมุ ชนทที่ ำให้เกดิ ความออ่ นแอ เป็นจดุ ออ่ นของชุมชน (จดุ ออ่ น = Weaknesses)

• คนในชุมชนขาดความรคู้ วามเข้าใจในเรื่องสทิ ธิหนา้ ท่ีประชาธปิ ไตยชุมชนกฎระเบียบกติกาของชมุ ชน
• ผู้นําท้องถิ่นกับผู้นําท้องที่ขาดการประสานงานในการทำงานร่วมกัน ส่งผลต่อการขาดโอกาสใน
การพัฒนาของชุมชน
• คนในชุมชนสว่ นใหญ่อยู่ในภาวะพ่ึงพงิ
• คนในชมุ ชนส่วนใหญไ่ มก่ ล้าแสดงออกในเวทสี าธารณะขาดการพัฒนาศักยภาพตนเองเชื่อข้อมูลข่าวสาร
งา่ ยโดยขาดการพจิ ารณาขอ้ เทจ็ จริง
• คนในชุมชนมีภาวะเครียดเพิ่มข้นึ จากโรคภยั / ปญั หาครอบครวั / ปัญหาเศรษฐกจิ
• ค่านิยมในการเลี้ยงดูลูกของครอบครัวสมัยใหม่ไม่สอนทักษะในการดำรงชีวิตในเรื่องการดูแลตนเอง/
การอยรู่ ่วมกันในสังคม
• ค่านยิ มของคนในชุมชนยงั เนน้ “ วตั ถนุ ยิ ม” ไมใ่ ช้ความพอเพยี งในการดำเนนิ ชวี ติ
• มปี ัญหาครอบครัวเช่นการหย่ารา้ ง ท้องก่อนวยั ยาเสพตดิ ฯลฯ
• ปญั หาหนี้สนิ ครัวเรือน (ใน – นอกระบบ)

3. ปจั จยั ตา่ ง ๆ ภายนอกชุมชนทเี่ ออ้ื ประโยชน์ เปน็ โอกาสของชุมชน (โอกาส = Opportunities)

• มหี น่วยงาน ภาคี เครอื ขา่ ย ใหค้ วามสนใจและเขา้ มาหนุนเสริมการทำงานของชมุ ชน
• มีองคก์ รธรุ กจิ เพอ่ื สังคมสนบั การทำธรุ กจิ เพื่อสังคมของชุมชน
• เป็นชมุ ชนเปา้ หมายของการท่องเทยี่ วรถไฟชว่ งเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพนั ธ์ ของทกุ ปี
• มีสื่อที่หลากหลายให้ความสนใจเข้ามาทำสือ่ เพื่อเผยแพร่ทั้งด้านวัฒนธรรมและกระบวนการพัฒนางาน
ของชมุ ชน

14

• เป็นพื้นที่เรยี นรู้วัฒนธรรม/วถิ ีชมุ ชนแก่มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆหน่วยงานและนักท่องเทยี่ ว
• นโยบายภาครัฐสนบั สนุนการท่องเทย่ี วโดยชุมชนและนโยบายจังหวัดลพบรุ ีส่งเสริมการท่องเที่ยวชมุ ชน/
อาหารปลอดภยั
• กระแสของโลกนิยมการทอ่ งเที่ยววิถชี ุมชน

4. ปัจจัยต่าง ๆ ภายนอกชุมชนที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานในชุมชน เป็นข้อจำกัดที่เกิดจากสภาพแวดล้อม
ภายนอก (ขอ้ จำกดั = Threats)

• นโยบายภาครัฐท้องถิ่นยังไม่มีแผนส่งเสริมกระบวนการพัฒนาศักยภาพของคน/ชุมชนอย่างจริงจังและ
ต่อเนอื่ ง

• มลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรมและอนั ตรายจากรถบรรทุกแร่ทเี่ ข้ามาทำกจิ การรอบๆ ตำบลโคกสลุง
• การรกุ คบื ของกลมุ่ ทนุ ขนาดใหญ่
• สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่มีผลกระทบกับกลุ่มคนในชุมชนการเลียนแบบค่านิยมที่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย
ยาเสพตดิ
• มีแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำอาชีพและพักอาศัยในชุมชนมากขึ้นเพิ่มความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
และโรคติดตอ่

วิเคราะห์ข้อมูลจาก TPMAP

พบว่าภาพรวมคนจนเป้าหมายในปี 2562 มีจำนวน ทั้งสิ้น 18,521 ครัวเรือน ข้อมูลคนจนเป้าหมายที่
ต้องได้รับการพัฒนา แบง่ ตามมติ ิความยากจน ได้ดังนี้

มิติความยากจน (MPI) ครัวเรอื น ระดบั มิติตกเกณฑ์ ครวั เรือน

1. ดา้ นสขุ ภาพ 5,350 ระดับท่ี 1 ★ 16,183
2. ดา้ นความเปน็ อยู่ 2,637 ระดับท่ี 2 ★★ 2,095
3. ดา้ นการศกึ ษา 6,342 ระดบั ที่ 3 ★★★ 229
4. ด้านรายได้ 6,815 ระดบั ท่ี 4 ★★★★ 14
5. การเข้าถงึ บริการภาครฐั 19 ระดับที่ 5 ★★★★★ 0
จำนวนรวม 21,163 จำนวนรวม 18,521

15

ตำบลโคกสลุง อำเภอพัฒนานคิ ม จงั หวดั ลพบุรี
ข้อมลู คนจนตำบลโคกสลงุ อำเภอพฒั นานิคม จงั หวดั ลพบรุ ี แบ่งตามมติ ิความยากจน ไดด้ งั นี้

มติ คิ วามยากจน (MPI) ครัวเรอื น ระดับมติ ติ กเกณฑ์ ครวั เรอื น

1. ดา้ นสขุ ภาพ 342 ระดบั ที่ 1 ★ 460
2. ดา้ นความเปน็ อยู่ 503 ระดบั ท่ี 2 ★★ 269
3. ด้านการศกึ ษา 182 ระดบั ท่ี 3 ★★★ 31
4. ดา้ นรายได้ 68 ระดับที่ 4 ★★★★ 1
5. การเข้าถงึ บรกิ ารภาครฐั 0 ระดับท่ี 5 ★★★★★ 0
จำนวนรวม 1,095 จำนวนรวม 761

การดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็

ชื่อโครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้ืนท่ีดำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หนว่ ยงานที่
(ระบุกจิ กรรมโดยสงั เขป) ดำเนนิ การ (ตำบล/อำเภอ/ รับผิดชอบ
(วัน/เดอื น/ปี)
1. การจดั ตัง้ ศูนยบ์ ริการคนพิการ หมู่บา้ น) ยงั ไม่ไดด้ ำเนินการ เน่อื งจาก อบต.โคกสลุง/พมจ.
ในระดบั ตำบล พ.ค. - ส.ค. สถานการณ์การแพร่ระบาดเชอ้ื ลพบรุ ี
2564 ตำบลโคกสลงุ ไวรัสโควิด 2019
ดำเนินการไปบางส่วน กลุ่มสตรีตำบล
2. ฝึกอาชพี พ.ค. - ส.ค. ตำบลโคกสลุง 65,200 โคกสลงุ
2564 ตำบลโคกสลุง อยรู่ ะหว่างเสนอโครงการในการ ชมรม อพม. อำเภอ
3. โครงการอพม. หวั ใจผูใ้ ห้ไม่ทิ้ง ตำบลโคกสลุง ประชมุ กสจ. พฒั นานิคม
ใครไวข้ า้ งหลัง พ.ค. - ส.ค. ยังไมไ่ ด้ดำเนินการ เนือ่ งจาก ศนู ยค์ ้มุ ครองคนไร้
4. สงเคราะห์ผู้มรี ายไดน้ อ้ ยและ 2564 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดเชอ้ื ท่พี ่ึงจงั หวัดลพบรุ ี
คนไรท้ ีพ่ ึง่ ไวรัสโควดิ 2019
พ.ค. - ส.ค. มกี ารจัดตง้ั คณะกรรมการ บา้ นพักเดก็ และ
2564 ดำเนนิ งานแลว้ ครอบครวั จังหวัด
ลพบรุ ี
5. โครงการเสริมสรา้ งศักยภาพ พ.ค. - ส.ค. ตำบลโคกสลงุ 1,150 ดำเนนิ การไปบางส่วน นิคมสรา้ งตนเอง
เครือข่ายในการคุ้มครองเด็กและ 2564 ตำบลโคกสลงุ 20,000 จงั หวัดลพบรุ ี
เยาวชน ตำบลโคกสลุง 50,000
พ.ค. - ส.ค. ยังไมไ่ ดด้ ำเนนิ การ เนือ่ งจาก ศูนยพ์ ฒั นา
6. โครงการสง่ เสริมอาชีพและ 2564 สถานการณ์การแพร่ระบาดเชอ้ื ศกั ยภาพและอาชพี
รายไดต้ ามปรชั ญาเศรษฐกจิ ไวรสั โควิด 2019 คนพิการบา้ นโมกลุ
พอเพียง พ.ค. - ส.ค. ฯ
2564 ดำเนินการไปบางส่วน
7. คา่ ยศกึ ษาวัฒนธรรมประเพณี ศนู ย์วิสาหกิจชุมชน
ชุมชน ไทยเบิง้ โคกสลุง
เพ่ือการพัฒนา
8. การจัดการชมุ ชนบนฐาน พ.ค. - ส.ค. ตำบลโคกสลงุ 1,000,000
วฒั นธรรมอยา่ งสมดุลและพัฒนา 2564
ศักยภาพเด็กและเยาวชน

16

จังหวัดสิงหบ์ ุรี

การวิเคราะห์สถานการณแ์ ละศกั ยภาพเพือ่ การพัฒนา
การวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพเพื่อประเมินสถานการณ์การพัฒนาในปัจจุบันโอกาส การพัฒนา

ในอนาคตของท้องถิ่นของตำบลคอทราย โดยใช้หลักการวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) โดยการพิจารณา
ปัจจัยต่าง ๆ สภาพปจั จบุ นั ของหมูบ่ ้าน ปญั หา ศักยภาพ อุปสรรค โอกาส ในขอ้ เสนอ ในเวทปี ระชาคม ทส่ี ามารถ
บ่งชสี้ ภาพปญั หาและความตอ้ งการของคนในชมุ ชนได้ ดงั น้ี

1. ปจั จัยสภาวะแวดล้อมภายใน ไดแ้ ก่ จุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weakness)
2. ปจั จัยสภาวะแวดลอ้ มภายนอก ได้แก่ โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threats)
ปัจจยั ภายใน : จุดแข็ง (Strengths)
1) ผูน้ ำชมุ ชนสว่ นใหญม่ ีศกั ยภาพ ทำงานเป็นทมี มีความซื่อสัตย์ เสียสละ
2) คนในชมุ ชนมีความรัก สามคั คี ให้ความร่วมมือ มีความเออ้ื อารตี ่อกนั
3) มกี ลุ่ม/องค์กรชมุ ชนท่ีหลากหลายและมีความเข้มแข็ง
4) ประชาชนมกี ารประกอบอาชพี ทห่ี ลากหลาย
5) มีพน้ื ท่ที ำการเกษตรจำนวนมาก
ปัจจัยภายใน : จดุ อ่อน (Weakness)
1) ปัญหาสขุ ภาพคนในชุมชน
2) บางพื้นทแ่ี หลง่ น้ำไมเ่ พียงพอต่อการเกษตร
3) มบี คุ คลภายนอกเขา้ มาทำนาในพืน้ ท่ี ยากแก่การประสาน ควบคมุ มปี ญั หาขัดแยง้
4) พ้ืนทต่ี ำบลมีขนาดกว้างมีทางเขา้ ออกหลายทางยากแกก่ ารตรวจตรา
5) ปัญหาทางดา้ นอาชีพ รายได้ไม่เพียงพอ
6) ปญั หายาเสพติด
ปัจจยั ภายนอก : โอกาส (Opportunity)
1) นโยบายรฐั บาลบางด้าน ทำให้ความเปน็ อยขู่ องชาวบา้ นดีข้นึ
2) มหี นว่ ยงานราชการทุกภาคสว่ นเข้ามาให้การสนับสนนุ ด้านวิชาการ การพฒั นาอาชพี และแหลง่
เงนิ ทุนอย่างตอ่ เน่ือง
3) คนในชมุ ชนไดร้ ับขา่ วสารอย่างทัว่ ถึง
4) ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ ทุนในระบบทงั้ ภาครฐั และเอกชนไดโ้ ดยง่าย
ปจั จัยภายนอก : ขอ้ จำกัด (Threats)
1) การถูกเอารัด เอาเปรยี บ กดราคาผลผลิต จากพ่อค้าคนกลาง
2) ภาวะเศรษฐกจิ ทตี่ กต่ำ ทำใหป้ ระชาชนทำมาหากนิ ยากลำบากข้นึ คา่ ครองชีพสงู
แตร่ ายไดต้ ่ำ เช่น ราคาน้ำมนั แพง ของกนิ ของใช้ราคาแพง แต่ราคาผลผลติ ทางการเกษตร ตกตำ่

17

การวเิ คราะหข์ ้อมลู จาก TPMAP
TPMAP เป็นฐานข้อมูล Big data ที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สคช.)

และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ดำเนนิ การร่วมกัน

TPMAP เป็นฐานข้อมูลการพัฒนาแบบชี้เป้า คนจนอยู่ที่ไหน คนจนมีปัญหาอะไร และจะพ้น ความ
ยากจนได้อย่างไร โดย “คนจนเป้าหมาย” ใน TPMAP คือคนจนใน จปฐ. ที่ไปลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ ซ่ึง
ขอ้ มูล TPMAP ระบุปัญหาทีเ่ กีย่ วกับความยากจน 5 มติ ิ ไดแ้ ก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเปน็ อยู่ ด้านการศึกษา ด้าน
รายได้และด้านการเขา้ ถงึ บริการภาครัฐ

TPMAP คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า ซึ่งได้รับการพัฒนาต่อยอดจาก ระบบ
บริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เป้า (Thai Poverty Map and Analytics Platform) ให้สามารถ ครอบคลุม
ปัญหาที่กว้างขึ้น เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพที่อยู่อาศัย โดยยังคง ความสามารถของ
ระบบเดมิ ในการช้ีเปา้ ความยากจนไว้แล้ว TPMAP จึงสามารถใชร้ ะบุปญั หาความยากจนใน ระดบั บคุ คล ครัวเรือน
ชมุ ชน ท้องถนิ่ /ทอ้ งทจี่ งั หวดั ประเทศ หรอื ปัญหาความยากจน

ความต้องการพ้ืนฐาน 5 มติ ิ

ด้านสุขภาพ
▪ เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมข้ึนไป ครวั เรือนกินอาหารถูกสขุ ลกั ษณะ ปลอดภยั และได้

มาตรฐาน ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจบ็ ป่วยเบ้ืองต้น คนอายุ 6 ปีขึน้ ไป ออก
กำลงั กาย อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 3 วัน วนั ละ 30 นาที
ดา้ นความเป็นอยู่
▪ ครวั เรอื นมีความมั่นคงในท่ีอยู่อาศัย และบา้ นมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือนมนี ำ้ สะอาดสำหรบั ด่มื
และบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี ครัวเรือนมนี ้ำใชเ้ พยี งพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 45 ลิตรตอ่ วัน
ครัวเรือนมีการ จัดการบา้ นเรือนเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด ถูกสุขลักษณะ
ดา้ นการศึกษา
▪ เดก็ อายุ 3-5 ปี ไดร้ ับบรกิ ารเล้ยี งดูเตรยี มความพร้อมก่อนวยั เรยี น
▪ เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
▪ เดก็ จบชัน้ ม.3 ไดเ้ รยี นต่อชัน้ ม.4 หรอื เทยี บเท่า
▪ คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้
ดา้ นรายได้
▪ คนอายุ 15-59 ปี มีอาชีพและรายได้
▪ คนอายุ 60 ปี ข้นึ ไป มีอาชีพและรายได้
▪ รายได้เฉลยี่ ของคนในครวั เรือนตอ่ ปี

ด้านการเข้าถงึ บริการรฐั
▪ ผสู้ ูงอายุ ได้รับการดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน
▪ ผพู้ กิ าร ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน

18

แฟ้มบ้านพฒั นาคนไทย
ภาพรวมคนจนเป้าหมายปี 2562 จงั หวดั สิงหบ์ ุรี

พ้ืนทเี่ ป้าหมาย สำรวจประชากร (คน) คนจนเปา้ หมาย (คน)
ประเทศไทย 36,893,084 983,316
จังหวัดสงิ หบ์ ุรี 14,774 3,343
อำเภอค่ายบางระจนั 30,346 295
ตำบลคอทราย 1,665 15

สำหรบั ขอ้ มลู คนในจงั หวัดสิงหบ์ ุรี จาก TPMAP พบวา่ ภาพรวมคนจนในปี 2562 ของจังหวัดสิงห์บรุ ี มี
จำนวน 3,343 คน สงู สุดจะอยู่ที่ อำเภออนิ ทร์บรุ ี จำนวน 1,841 คน รองลงมา อำเภอบางระจนั จำนวน 623 คน
อำเภอค่ายบางระจนั 295 คน อำเภอทา่ ช้าง จำนวน 267 คน อำเภอเมืองสิงหบ์ รุ ี จำนวน 206 คน และ อำเภอ
พรหมบรุ ี มีคนจนนอ้ ยทีส่ ดุ จำนวน 111 คน ตามมิตดิ ังนี้ มิตดิ ้านสุขภาพ 233 คน มิติดา้ น ความเปน็ อยู่ 34 คน
มิติดา้ นการศึกษา 1,588 คน มติ ิด้านรายได้ 1,653 คน และมติ ิด้านการเข้าถงึ บริการ ภาครัฐ 1 คน

การดำเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง

ช่อื โครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้ืนที่ดำเนินการ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หนว่ ยงานท่ี
(ระบุกิจกรรมโดยสงั เขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/ 303,600 รับผดิ ชอบ

เดือน/ป)ี หมบู่ ้าน)

1. การจดั ตั้งศูนยบ์ รกิ ารคน ปงี บประมาณ ตำบลคอทราย เงินอุดหนนุ ให้ อบต.เพ่อื อบต.คอทราย
พกิ ารทัว่ ไปตำบลคอทราย 2564 กอ่ สรา้ งสง่ิ อำนวยความ
สะดวกสำหรับคนพกิ าร ศนู ยบ์ รกิ ารคน
2. เงินกู้ยืมเพ่อื ประกอบอาชพี ต.ค.-มิ.ย.64 ตำบลคอทราย 60,000 พิการ จ.สงิ หบ์ ุรี
ของคนพกิ าร 23 ก.ค.64 ตำบลคอทราย 38,275 มผี ้ยู ่ืนก้แู ละไดร้ ับเงนิ แล้ว ศนู ยบ์ รกิ ารคน
จำนวน 3 ราย พกิ าร จ.สิงหบ์ ุรี
3. โครงการจดั อบรม 1 ม.ค. 63 - 30 ตำบลคอทราย 499,500
"อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ เม.ย. 64 ตำบลคอทราย 22,500 ดำเนินการจัดอบรมให้
ความม่นั คงของมนุษยเ์ ชย่ี วชาญ ความรูแ้ ก่ อพมก.ในพนื้ ที่
ด้านคนพิการ (อพมก.) จังหวดั 1 มี.ค. 64 - 31 ตำบลคอทราย แลว้ เสร็จ
สงิ ห์บรุ ี พ.ค. 64
ดำเนนิ การปรบั ปรุงอาคาร กลุม่ การพฒั นา
4.โครงการกอ่ สรา้ ง ศพอส. ศพอส.แลว้ เสร็จ สงั คมฯ

5.โครงการปรบั สภาพแวดล้อม อดุ หนนุ งบประมาณ ให้ กลุ่มการพัฒนา
และสิง่ อำนวยความสะดวกของ อบต.คอทรายดำเนนิ การ สังคมฯ
ผูส้ ูงอายฯุ ปรับปรุงซอ่ มแซมบา้ น
ผูส้ งู อายุ หน่วยงานที่
ชือ่ โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พนื้ ทด่ี ำเนินการ งบประมาณ รับผิดชอบ
(ระบุกิจกรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วัน/ (ตำบล/อำเภอ/ ผลการดำเนินงาน

เดอื น/ป)ี หมู่บา้ น)

19

6.งานมอบของท่ีระลึกเนือ่ งใน 30 ก.ค.64 ตำบลคอทราย 5,700 มอบของท่ีระลกึ เพ่ือให้คน ศูนย์บรกิ ารคน
งานวนั คนพิการสากล ปี 2563 ตำบลคอทราย 10,000 พิการได้ใชป้ ระโยชน์ พิการ จ.สิงห์บรุ ี
ใหแ้ กค่ นพิการในตำบล ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย 74,000 จำนวน 19 ชดุ
2564 ตำบลคอทราย 40,000 กลุ่มการพัฒนา
7. เงนิ สงเคราะห์ครอบครวั ผู้ ตำบลคอทราย 43,000 ดำเนินการชว่ ยเหลือ สงั คมฯ
ประสบปัญหาทางสังคมกรณี ปงี บประมาณ ตำบลคอทราย 22,500 จำนวน 5 ครอบครวั
ฉุกเฉนิ 2564 ตำบลคอทราย 20,000
ตำบลคอทราย 60,000 ดำเนินการชว่ ยเหลอื กลมุ่ การพัฒนา
8. เงนิ สงเคราะหค์ รอบครัวเด็ก ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย 20,000 จำนวน 74 ครอบครัว สังคมฯ
ในครอบครัวยากจน 2564 ตำบลคอทราย 26,000
ดำเนนิ การช่วยเหลือ กลุ่มการพฒั นา
9. เงนิ สงเคราะหค์ รอบครวั เดก็ ปงี บประมาณ ตำบลคอทราย จำนวน 2 ครอบครัว สังคมฯ
ในครอบครัวอปุ ถัมภ์ 2564
ตำบลคอทราย ดำเนินการชว่ ยเหลอื กล่มุ การพัฒนา
10. เงินสงเคราะห์ จากกองทุน ปีงบประมาณ พ้นื ทีด่ ำเนนิ การ จำนวน 3 ครอบครวั สังคมฯ
คมุ้ ครองเด็ก 2564 (ตำบล/อำเภอ/
ดำเนนิ การช่วยเหลือ กลมุ่ การพัฒนา
11. โครงการปรบั สภาพแวดล้อม ปีงบประมาณ หมู่บ้าน) จำนวน 1 หลัง สงั คมฯ
และส่งิ อำนวยความสะดวกของ 2564
ผ้สู ูงอายุฯ ดำเนินการชว่ ยเหลือ ศนู ย์บริการคน
จำนวน 1 หลงั
12. โครงการปรับสภาพทีอ่ ยู่ พิการ จ.สงิ หบ์ รุ ี
อาศัยสำหรับคนพกิ าร ดำเนนิ การช่วยเหลือ
จำนวน 2 หลัง กลุม่ การพัฒนา
13. งบปรับปรงุ ซ่อมบา้ น ปงี บประมาณ สงั คมฯ
ผ้สู ูงอายุ ผ้พู กิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาส 2564
ทางสังคม จากจังหวดั สิงหบ์ ุรี

1.โครงการเสริมสร้างศักยภาพ เม.ย. -ก.ค.2564 สงเคราะหเ์ ดก็ จำนวน 25 บพด.สิงหบ์ ุรี
เครือข่ายในการคมุ้ ครองเด็กและ ราย
เยาวชน

2.โครงการส่งเสริมความเขม้ แขง็ 29 มี.ค. 2564 ดำเนินการแล้วเสรจ็ บพด.สิงห์บุรี
สภาเดก็ และเยาวชนตำบลคอ
ทราย (โครงการอบรมใหค้ วามรู้
วินยั จราจรและการขับขอ่ี ย่าง
ปลอดภยั )

3.โครงการสง่ เสรมิ ความเข้มแข็ง 9 เมษายน 2564 15,000 ดำเนินการแลว้ เสร็จ บพด.สิงหบ์ รุ ี
สภาเด็กและเยาวชนตำบลคอ
ทราย (หลกั สตู รการทำขนมจีบ
หมเู ดง้ )

4.โครงการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ เม.ย. - ก.ค.2564 20,000 สงเคราะห์เดก็ จำนวน 25 บพด.สิงหบ์ รุ ี
เครือข่ายในการคุ้มครองเด็กและ ราย
เยาวชน

ชื่อโครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หน่วยงานท่ี
(ระบกุ ิจกรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วัน/ รับผิดชอบ

เดือน/ป)ี

20

1.เงนิ สงเคราะห์ครอบครัวผมู้ ี ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย 12,000 ดำเนนิ การช่วยเหลอื ศคพ.สิงหบ์ ุรี
รายได้น้อยและไร้ที่พ่ึง 2564 ตำบลคอทราย 26,900 จำนวน 4 ครอบครัว
149,200 สนง.พช.อำเภอ
1.โครงการเสริมสรา้ งการพัฒนา เม.ย.-ก.ค.2564 ปลกู ผักกนิ ไดท้ กุ อย่างทรี่ มิ ค่ายบางระจนั
ผูน้ ำการเปล่ียนแปลง - ถนนทางเขา้ อบต.
ระยะทาง 800 เมตร สนง.พช.อำเภอ
2.โครงการหม่บู า้ นเศรษฐกจิ ม.ค.-ก.ค.2564 ตำบลคอทราย 5,000 ค่ายบางระจนั
พอเพียง โคก หนอง นา งบประมาณ อยู่ระหวา่ งรอจัดประชมุ
คกก.กำหนดราคากลางจา้ ง สนง.พช.อำเภอ
3.โครงการนอ้ มนำ แนว เม.ย.-ก.ค.2564 ตำบลคอทราย 4,800 ขดุ บอ่ คา่ ยบางระจัน
พระราชดำรสิ รา้ งความม่ันคง 10,800
ทางอาหาร สู่แผนปฏบิ ัติการ 90 4,200 แจกเมล็ดพันธุ์เพอื่ ใหป้ ลกู
วนั ปลูกผกั สวนครวั เพือ่ สร้าง 4,000 เปน็ ผกั สวนครัวกินได้
ความมัน่ คงทางอาหาร 1,400 จำนวน 540 ครัวเรอื น
2,400 ในชว่ งสถานการณ์ Covid
2,415
1.โครงการอบรมใหค้ วามรูแ้ ก่ 7 ม.ิ ย.64 ตำบลคอทราย ดำเนินการแลว้ เสรจ็ อบต.คอทราย
ผู้ปกครองศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็
ตำบลคอทราย

ช่อื โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พ้นื ท่ีดำเนินการ ผลการดำเนินงาน หนว่ ยงานท่ี
(ระบกุ จิ กรรมโดยสงั เขป) รับผิดชอบ
ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/หมู่บา้ น) ดำเนนิ การแล้วเสรจ็
ดำเนนิ การแล้วเสร็จ กศน.อ.ค่าย
เดือน/ปี) ดำเนินการแล้วเสร็จ บางระจัน
ดำเนนิ การแลว้ เสรจ็
1.โครงการชมุ ชนคอทราย ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย ดำเนินการแลว้ เสร็จ กศน.อ.คา่ ย
ปลอดภยั ห่างไกลยาเสพตดิ 2564 ดำเนนิ การแลว้ เสร็จ บางระจัน
ดำเนนิ การแล้วเสร็จ
2.โครงการกระเปา๋ จากผกั กระฉูด ปงี บประมาณ ตำบลคอทราย กศน.อ.ค่าย
2564 บางระจนั

3.โครงการแปรรปู ผลิตภัณฑใ์ น ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย กศน.อ.คา่ ย
ชมุ ชน 2564 บางระจนั

4.โครงการอาหารวา่ งสร้างรายได้ ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย กศน.อ.คา่ ย
2564 บางระจนั

5.โครงพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ปงี บประมาณ ตำบลคอทราย กศน.อ.ค่าย
ผู้สงู อายุตำบลคอทราย 2564 บางระจนั

6. โครงการชุมชนพอเพยี ง ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย กศน.อ.ค่าย
2564 บางระจัน

7. โครงการส่งเสรมิ สุขภาพกาย ปีงบประมาณ ตำบลคอทราย
ใจ ห่างไกลโควิด-19 2564

21

จงั หวัดชยั นาท

การวิเคราะหส์ ถานการณ์และศกั ยภาพเพอื่ การพัฒนา
เทศบาลตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
1) จุดแขง็ (Strengths)

1.1 พืน้ ทส่ี ่วนใหญ่เปน็ ชนบทประชาชนยังรักษาวัฒนธรรมดง้ั เดมิ
1.2 มบี งึ ธรรมชาติเหมาะสำหรบั ทำเปน็ สถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ สวนสาธารณะ
1.3 มแี ม่น้ำน้อยไหลผา่ นและอยู่ในเขตชลประทาน
2) จุดอ่อน (Weakness)
2.1 ประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไม่มีอำนาจต่อรองราคาสนิ ค้า
2.2 ขาดบคุ ลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในทางปฏิบตั ิ
2.3 การขาดปจั จัยที่เอื้อตอ่ การปฏิบัติงานหน่วยงาน
2.4 ขาดงบประมาณสนบั สนุน
3) โอกาส (Opportunity)
3.1 การทำเกษตรอนิ ทรียเ์ พอ่ื การลดตน้ ทนุ การผลติ ให้ลดลง
3.2 การทำเกษตรปลอดสารพิษ เพมิ่ รายได้ให้กับเกษตรกร
3.3 ประชาชนใสใ่ จสขุ ภาพมากขน้ึ
4) อปุ สรรค (Threats)
4.1 พชื ผลทางการเกษตรบางอย่างไม่สามารถแปรรปู และเกบ็ ไวไ้ ดน้ าน
4.2 เกษตรกรไมส่ ามารถกำหนดราคาขายเองได้
4.3 วยั แรงงานในชุมชนน้อย จำนวนผสู้ ูงอายุมจี ำนวนมาก

22

การวิเคราะห์ขอ้ มลู จาก TPMAP
ข้อมูลจาก TPMAP 5 ดา้ น พบว่า ข้อมูลพื้นฐานทางสงั คม และประเดน็ ปัญหาทางสงั คม ในพนื้ ที่

ตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี จงั หวัดชยั นาท จำนวน 405 ราย มีดงั นี้
• ด้านสขุ ภาพ จำนวน 4 ราย
• ดา้ นความเปน็ อยู่ จำนวน 0 ราย
• ดา้ นการศึกษา จำนวน 12 ราย
• ดา้ นการเขา้ ถึงบริการรฐั จำนวน 0 ราย
• ด้านรายได้ จำนวน 400 ราย

การขับเคลอื่ นการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
1) จงั หวดั ชัยนาทใชค้ ณะกรรมการแกไ้ ขปัญหาความยากจน แบบบูรณาการจังหวดั
2) สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7 ประสานสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุย์

จงั หวัดชยั นาท รว่ มกบั ทมี พม.จังหวัดชยั นาท (One Home) เทศบาลตำบลโพงาม อำเภอสรรคบรุ ี จงั หวดั ชยั นาท
และภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคสว่ นในพน้ื ที่ จัดประชมุ เพอ่ื

• ชี้แจงแนวทางการขบั เคล่ือนการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง
• นาํ เสนอข้อมลู พืน้ ฐานทางสังคม/ รายงานสถานการณ์ทางสงั คม
• นาํ เสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลจาก TPMAP
• พจิ ารณาแต่งตงั้ คณะทำงานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม็ แขง็
3) จังหวัดชัยนาท มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข็มแข็งตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี
จังหวัดชัยนาท
4) เทศบาลตำบลโพงาม อำเภอสรรคบรุ ี จงั หวัดชยั นาท และสำนักงานพฒั นาสังคม และความม่ันคงของ
มนษุย์จังหวัดชัยนาท ร่วมกับทีม พม.จังหวัดชัยนาท (One Home) จัดประชุมคณะทำงาน สร้างเสริมชุมชนเข็ม
แข็งตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท ครั้งที่ 1/2564 พิจารณาคัดเลือกครัวเรือนเป้าหมายที่จะพัฒนา
ไมน่ ้อยกวา่ 35 ครวั เรอื นจากขอ้ มูล จากระบบ TPMAP จำนวน 405 ราย ตรงกับข้อมูลของสถาบันวิทยาลยั ชุมชน
ซ่ึงเข้าสำรวจในพ้ืนทจ่ี ริง จำนวน 4 ราย

23

การดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง

ชื่อโครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้นื ทด่ี ำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ
(ระบุกจิ กรรมโดยสงั เขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/
รายละ3,000 บาท ดำเนินการแล้วเสร็จ One Home พม./ทต.
เงินอดุ หนนุ สงเคราะห์ผ้มู รี ายได้ เดอื น/ปี) หมู่บา้ น) 3,000 บาท/คร้งั ดำเนินการแล้วเสร็จ พอช.
น้อยฯ เม.ย. - ก.ย. 64 ตำบลโพงาม
โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตผู้มี เม.ย. - ก.ย. 64 ตำบลโพงาม ดำเนนิ การแล้วเสรจ็ พอช.
รายได้น้อย เม.ย. - ก.ย. 64 ตำบลโพงาม
โครงการตำบลต้นแบบชุมชน มิ.ย.64-ส.ค.64 เทศบาลตำบล 50,000 บาท อยู่ระหวา่ งดำเนินการ ศนู ยค์ ุ้มครองคนไร้ท่ีพ่ึง
เข้มแข็ง
โครงการตำบลสร้างเสริม ปี พ.ศ. 2564 โพงาม 35,350 อยใู่ นระหวา่ ง คณะประสานงานขบวน
สวสั ดิการสังคม ตำบลโพงาม ดำเนนิ การ องค์กรชมุ ชนจงั หวัด
กิจกรรม เวทจี ดุ ประกายขาย 513,000 ชยั นาท
ความคดิ ตำบลโพงาม อยู่ในระหวา่ ง คณะประสานงานขบวน
โครงการตำบลต้นแบบชมุ ชน 112,500 ดำเนนิ การ องคก์ รชุมชนจงั หวดั
เข้มแขง็ ตำบลโพงาม - ชัยนาท
ตำบลโพงาม อยู่ในระหวา่ ง สนง.พมจ.ชัยนาท
โครงการบา้ นพอเพยี งชนบท ปี พ.ศ. 2565 ตำบลโพงาม 45,000 ดำเนนิ การ
อยใู่ นระหวา่ ง ศนู ย์ CSR ชยั นาท
โครงการปรับสภาพแวดล้อม ปี พ.ศ. 2564 ตำบลโพงาม 35,000 ดำเนนิ การ
ทีอ่ ยู่อาศยั สำหรบั ผ้สู งู อายุ ตำบลโพงาม เดอื นละ 600 อยู่ในระหวา่ ง คณะประสานงานขบวน
ปี พ.ศ. 2565 - ตำบลโพงาม บาท/ราย ดำเนนิ การ องค์กรชมุ ชนจังหวดั
โครงการบ้านในดวงใจ 2566 ตำบลโพงาม รายละ 3,000บาท/ ชยั นาท
เพือ่ คนทุกวัยชยั นาท อยู่ในระหวา่ ง สนง.พมจ.ชัยนาท
ปี พ.ศ. 2564 ตำบลโพงาม ครั้ง ดำเนนิ การ
โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผมู้ ี 10,000 อยู่ในระหวา่ ง สนง.พมจ.ชัยนาท
รายไดน้ อ้ ย ตำบลโพงาม ดำเนินการ
ตำบลโพงาม อยู่ในระหวา่ ง สนง.พมจ.ชัยนาท
โครงการเงนิ สงเคราะห์เดก็ ปี พ.ศ. 2564 ตำบลโพงาม ดำเนนิ การ
ในครอบครัวยากจน ตำบลโพงาม อยใู่ นระหวา่ ง สนง.พมจ.ชัยนาท
โครงการเงินอุดหนุนเพอ่ื การ ปี พ.ศ. 2564 - ดำเนินการ
เลย้ี งดเู ดก็ แรกเกิด 2566
โครงการเงนิ สงเคราะห์ผู้สูงอายุ - อยูใ่ นระหวา่ ง บา้ นพักเด็กและ
ปี พ.ศ. 2565 - ดำเนินการ ครอบครัว จ.ชัยนาท
โครงการเงินอดุ หนุนเพือ่ 2566 ปลี ะ 15,000
ช่วยเหลือ - อย่ใู นระหวา่ ง บ้านพกั เด็กและ
ทางสงั คมกรณฉี ุกเฉินผูป้ ระสบ ปี พ.ศ. 2564 ดำเนนิ การ ครอบครวั จ.ชัยนาท
ปัญหาทางสงั คม 50,000 อยใู่ นระหวา่ ง บา้ นพักเดก็ และ
โครงการเสรมิ สร้างศักยภาพ ปี พ.ศ. 2564 - 100,000 ดำเนนิ การ ครอบครวั จ.ชยั นาท
เครอื ข่ายในการคมุ้ ครองเดก็ และ 2566 อยู่ในระหวา่ ง ศูนย์ค้มุ ครองคนไร้ท่พี ึง่
เยาวชน ดำเนนิ การ จ.ชยั นาท
โครงการส่งเสรมิ ความเข้มแขง็ ปี พ.ศ. 2564 - อยู่ในระหวา่ ง ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่งึ
สภาเดก็ และเยาวชนตำบลโพงาม 2566 ดำเนินการ จ.ชัยนาท
โครงการป้องกันและแกไ้ ขปญั หา
การตง้ั ครรภใ์ นวัยรุ่น ปี พ.ศ. 2564
โครงการเสริมสร้างสวัสดกิ าร
สงั คม ปี พ.ศ. 2564 -
โครงการพฒั นาเพือ่ การแบ่งปนั ที่ 2566
ยิ่งใหญ่
ปี พ.ศ. 2564

24

ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้นื ท่ีดำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน หนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ
(ระบกุ จิ กรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/
รายละ3,000 อยู่ในระหวา่ ง ศนู ย์ค้มุ ครองคนไรท้ ่พี ่งึ
โครงการช่วยเหลอื ผู้ประสบ เดอื น/ปี) หมบู่ า้ น) 3,000 บาท/ครง้ั ดำเนนิ การ จ.ชยั นาท
ปญั หาทางสังคม เงนิ อุดหนนุ ปี พ.ศ. 2564 - ตำบลโพงาม
สงเคราะหผ์ ้มู รี ายได้นอ้ ยฯ - อยูใ่ นระหวา่ ง ศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ ่ีพึ่ง
โครงการช่วยเหลือผูป้ ระสบ 2566 ตำบลโพงาม ดำเนินการ จ.ชยั นาท
ปัญหาทางสงั คม เงินทนุ -
ประกอบอาชีพสตรผี ูต้ ิดเช้อื เอดส์ ปี พ.ศ. 2564 - ตำบลโพงาม อยูใ่ นระหวา่ ง ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ทพี่ ง่ึ
โครงการตามภารกจิ ของศนู ย์ 2566 ดำเนนิ การ จ.ชัยนาท
คุ้มครองคนไรท้ ี่พ่งึ จ.ชยั นาท
ปี พ.ศ. 2564 -
2566

25

จังหวดั อทุ ยั ธานี

การวเิ คราะห์สถานการณแ์ ละศักยภาพเพ่ือการพัฒนา
ปัจจัยภายใน : จุดแขง็ (Strengths)

1. ผ้บู รหิ ารทอ้ งถ่ินมวี ิสยั ทัศน์กวา้ งไกล มีศกั ยภาพในการบริหารงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2. ผูน้ ำชมุ ชนมอี งค์ความร้ดู ้านการพฒั นา ทำงานด้วยความมุ่งม่ัน ซื่อสัตย์ เสยี สละ
3. ประชาชนมวี ถิ ีชีวิตแบบพอเพียง เนื่องจากสว่ นใหญม่ ีอาชพี เกษตรกรรม
4. ประชาชนมคี วามรัก ความสามคั คี เอ้ืออาทรซ่ึงกนั และกัน
5. มที นุ ทางสงั คม กลุ่มองค์กรต่าง ๆ ทเ่ี ข้มแข็ง
ปัจจยั ภายใน : จุดอ่อน (Weakness)
1. ปัญหาดา้ นสขุ ภาพ (กลุม่ ผ้ปู ว่ ยเร้อื รงั /ผปู้ ่วยติดเตียง)
2. ปัญหาประชาชนมรี ายได้ไม่เพยี งพอ/ขาดทนุ ในการประกอบอาชีพ
3. ปัญหาดา้ นเด็กและเยาวชน (ออกเรียนกลางคนั /ต้งั ครรภ์ไมพ่ ร้อม)
4. ปญั หายาเสพติด
5. ปญั หาส่ิงแวดล้อม (มลพิษจากการเผาออ้ ย/เผาขยะ)
6. งบประมาณในการพฒั นาพนื้ ที่/ตำบล ไมเ่ พียงพอ
ปัจจยั ภายนอก : โอกาส (Opportunity)
1. นโยบายรัฐบาลให้การสนับสนนุ งบประมาณเพื่อพัฒนาในดา้ นตา่ ง ๆ
2. หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชนทกุ ภาคส่วน เข้ามามีส่วนร่วมในดา้ นต่าง ๆ เชน่ งบประมาณ วชิ าการ
อาชพี อย่างต่อเนอ่ื ง
3. ประชาชนเข้าถึงชอ่ งทางการใหบ้ ริการข้อมูลข่าวสารอย่างทว่ั ถึง
ปจั จยั ภายนอก : ขอ้ จำกัด (Threats)
1. ปัญหาภัยแล้ง ส่งผลกระทบตอ่ อาชพี หลักของประชาชนในดา้ นเกษตรกรรม
2. ปญั หาเศรษฐกิจตกต่ำ รายไดล้ ดลง ค่าครองชพี สูงขึน้
3. ตน้ ทนุ ในการผลติ สงู ผลผลิตจากการประกอบอาชพี ตกต่ำ ทำให้ประชาชนมีรายไดไ้ มเ่ พียงพอ

26

วเิ คราะห์ขอ้ มูลจาก TPMAP
ข้อมูลภาพรวมของจังหวัดอุทัยธานี จาก TP MAP พบว่า มีจำนวนทั้งสิ้น 3,992 คน เมื่อจำแนกราย

อำเภอ พบว่า อำเภอบ้านไร่มีจำนวนสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง จำนวน 2,169 คน รองลงมา อำเภอลานสัก จำนวน
528 คน และอำเภอทัพทนั จำนวน 330 คน ตามอนั ดบั
ข้อมูล TP MAP ในพื้นทตี่ ำบลสขุ ฤทัย

ข้อมูล TP MAP ในพื้นที่ตำบลสุขฤทัย พบว่า มีจำนวน 40 ครัวเรือน โดยหน่วยงาน พม. อุทัยธานี
One Home ร่วมกับ อบต. สุขฤทัย สำนักงานเกษตร สำนักงานพัฒนาชุมชน โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล
สถานศึกษา กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) จัดเวทีเพื่อร่วม
ระดมความคิดเห็น และคัดกรองข้อมูลครัวเรือน จาก TP MAP จำนวน 40 ครัวเรือน เพื่อให้ได้ข้อมูลครัวเรือนที่
ประสบปัญหาทางสังคมอย่างแท้จริง โดยมติจากเวทีได้ดำเนนิ การคัดกรอง 40 ครัวเรือน คงเหลือ 13 ครัวเรือนที่
จะตอ้ งพฒั นาคุณภาพชวี ติ รายครัวเรือนต่อไป

ตามแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ได้กำหนดครัวเรือนเป้าหมายท่ี
จะพัฒนาอย่างน้อย 35 ครัวเรือน จึงได้มอบหมายให้กำนนั ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ที่เก่ียวข้อง ดำเนินการสำรวจขอ้ มูล
ครัวเรือนทีจ่ ะพัฒนาเพิ่มเติม อีก 27 ครัวเรือน และนำเข้าที่ประชุมคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตำบลสุข
ฤทยั ต่อไป

27

การดำเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง

ช่ือโครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้ืนท่ดี ำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ
(ระบกุ จิ กรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/ 40,000
ดำเนินการปรบั สภาพ สนง.พมจ.อน.
การปรบั สภาพแวดลอ้ มที่อยู่ เดือน/ป)ี หม่บู า้ น) 210,000 ที่อยูอ่ าศยั ให้กับ
อาศัยสำหรบั คนพกิ าร ปี 2564 ตำบลสขุ ฤทยั
อุดหนนุ งบประมาณใหก้ ับ อบต. คนพิการจำนวน 2
สขุ ฤทยั เพอื่ ดำเนินการปรับ ปี 2564 ตำบลสุขฤทัย รายละ 20,000.- บาท
สภาพแวดล้อมที่อยอู่ าศยั ใหก้ บั
คนพิการในพน้ื ท่ี ดำเนนิ การสนบั สนุน สนง.พมจ.อน.
การกูย้ มื เงนิ ทนุ ประกอบอาชพี งบประมาณเพอ่ื เปน็ สนง.พมจ.อน.
คนพิการ สนง.พมจ.อน.
ทุน
สนับสนุนงบประมาณใหก้ บั คน ปี 2564 ตำบลสขุ ฤทยั - สนง.พมจ.อน.
พกิ าร ผดู้ ูแลคนพกิ าร เพอื่ เปน็ ประกอบอาชพี ใหก้ ับ สนง.พมจ.อน.
ทุนในการประกอบอาชพี คนพิการและผูด้ แู ลคน
พกิ าร จำนวน 5 ราย
การออกบัตรประจำตวั คนพิการ
ดำเนินการออกบัตร
โครงการพัฒนาศักยภาพและ ปี 2564 ตำบลสขุ ฤทัย 21,000.- ประจำตวั คนพกิ าร
สง่ เสรมิ การเรียนรู้ เพ่อื ใหค้ นพกิ ารได้
ผสู้ งู อายใุ นชุมชน เข้าถึงสทิ ธสิ วัสดิการท่ี
- จดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาคุณภาพ พงึ ได้รบั จำนวน 10
ชวี ิตใหก้ บั
ผสู้ งู อายุ และจัดการเรียนรตู้ ลอด ราย
ชีวติ เสริมสรา้ ง
สุขภาพที่ดีของผูส้ งู อายทุ ัง้ จดั กจิ กรรมใหก้ บั
ร่างกายและจติ ใจ ผสู้ ูงอายุใน ศพอส.
ตำบลสขุ ฤทัย เพ่อื ให้
การสงเคราะหเ์ ดก็ ในครอบครัว ปี 2564 ตำบลสุขฤทยั 42,000.- ผูส้ ูงอายุท่นี ำความรู้
ยากจน ตำบลสุขฤทัย 20,000.- จากการเข้าร่วม
กิจกรรม ไปปรบั ใช้ใน
โครงการปรบั สภาพแวดล้อมและ ปี 2564 ชวี ติ ประจำวนั และ
สง่ิ อำนวยสะดวกของผสู้ ูงอายุให้ เปน็ การเสรมิ สรา้ งให้
เหมาะสมปลอดภยั ผสู้ งู อายุมสี ขุ ภาพ
ทางรา่ งกายและจติ ใจ
ที่ดี สามารถทำ
ประโยชน์สร้างสรรค์
ใหก้ ับชุมชนและสังคม

ใหก้ ารช่วยเหลอื เปน็
เงนิ สงเคราะห์เด็กใน
ครอบครัวยากจน
จำนวน 18 ครอบครัว

สนับสนนุ งบประมาณ
ใหก้ ับ อบต.

แวดลอ้ มที่เหมาะสม
ปลอดภัยใหก้ ับ
ผู้สูงอายุ จำนวน 1

ราย เพ่อื ดำเนนิ การ
ปรับสภาพ

28

ชื่อโครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พน้ื ทด่ี ำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ
(ระบกุ ิจกรรมโดยสงั เขป) ดำเนินการ (วัน/ (ตำบล/อำเภอ/
9,000.- ใหก้ ารชว่ ยเหลือเปน็ สนง.พมจ.อน.
การสงเคราะห์ผู้สงู อายใุ นภาวะ เดอื น/ปี) หม่บู า้ น) เงนิ สงเคราะหผ์ สู้ งู อายุ
ยากลำบาก - บ้านพักเด็กและ
ปี 2564 ตำบลสขุ ฤทัย ทีอ่ ยใู่ นภาวะ ครอบครัวจังหวดั
3,000.- บาท ยากลำบาก จำนวน 3 อุทยั ธานี
การจดั สวัสดกิ ารสงั คมสำหรับแม่ มนี าคม 2564 ตำบลสุขฤทยั 3,000.- บาท ราย (รายละ 3,000.- สำนักงานเกษตรอำเภอ
วัยรนุ่ 171,000.- บาท สำนักงานเกษตรอำเภอ
บาท) ศนู ยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พงึ่
โครงการสง่ เสรมิ การใชป้ ยุ๋ พชื สด พฤษภาคม 2564 ตำบลสขุ ฤทยั - ศนู ย์คมุ้ ครองคนไรท้ ่ีพ่ึง
เย่ียมบ้านแม่วยั ร่นุ ที่
โครงการสง่ เสรมิ การใช้สารชวี พฤษภาคม 2564 ตำบลสุขฤทยั ลงทะเบียนรบั เงิน
ภัณฑ์ปอ้ งกนั กำจดั ศัตรูพืช ตำบลสขุ ฤทยั อดุ หนนุ เพอื่ การเล้ยี งดู
ตำบลสุขฤทยั เดก็ แรกเกิด จำนวน 7
สนับสนุนเงินสงเคราะห์ผูม้ ี พ.ค. - ม.ิ ย. 2564
รายได้น้อยและผไู้ ร้ท่พี ง่ึ ราย

โครงการรณรงคก์ ารจดั ระเบียบ มิถนุ ายน 2564 จดั อบรมการใช้ปยุ๋ พชื
คนขอทานและคนไรท้ ี่พง่ึ สดและปุ๋ยหมกั ใหก้ บั

เกษตรกร

จัดอบรมการใชส้ ารชีว
ภัณฑป์ ้องกนั กำจัด

ศัตรพู ืช

ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ผู้มี
รายไดน้ อ้ ยและผไู้ ร้ที่

พึง่

รณรงค์ประชาสัมพนั ธ์
การจัดระเบยี บคน
ขอทานและคนไร้ทพ่ี ึง่

29

จงั หวัดนครสวรรค์

การวเิ คราะห์สถานการณ์และศักยภาพเพอื่ การพัฒนา

การวเิ คราะห์ปจั จยั ภายในหรือสภาพแวดล้อมภายในจะทำใหต้ ำบลทราบถงึ ความสามารถหรอื ความเปน็ ตัวตนของ
ตำบล

การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมของตำบลเขาชนกัน (SWOT)

จุดแขง็ จดุ อ่อน

- มกี ลุ่มอาชพี องคก์ รและกลุ่มกองทนุ ทหี่ ลากหลายและ - ประชาชนยงั มปี ัญหาดา้ นสขุ ภาพเนอ่ื งจากการใช้สารเคมมี าก
เข้มแข็ง เช่นกลุ่มสตรี กลมุ่ ผสู้ งู อายุ กองทุนตา่ ง ๆ
- ประชากรวัยแรงงานไปทำงานในพ้นื ทีอ่ ่ืน ในพ้ืนทีจ่ งึ มแี ต่เดก็
- มีผลผลิตทางการเกษตรพชื เศรษฐกิจ เช่น ลำไย พทุ รา อยกู่ ับผ้สู ูงอายุ
นมสด ดอกไมก้ วาดญี่ป่นุ หวั ไชเทา้ แต่ยงั ไมห่ ลากหลาย
- สภาพพน้ื ท่เี สอ่ื มโทรม ขาดแหลง่ นำ้
- มบี คุ คลท่มี คี วามรู้ความสามารถที่หลากหลายในตำบล
เช่น ด้านเกษตรพอเพยี ง ดา้ นสาธารณสุข ด้านการพฒั นา - บรกิ ารโครงสรา้ งพืน้ ฐานยงั ไมค่ รอบคลมุ เชน่ ถนนลาดยาง
ชุมชน เปน็ ตน้ คอนกรีต

- มีผู้นำท้องถนิ่ ทอ้ งทท่ี ่ีเข้มแขง็ และมคี วามสามัคคี - การผลติ ทางการเกษตรไม่หลากหลาย

- ปัญหาด้านงบประมาณในการพฒั นาตำบลมีน้อยทำให้การ
พฒั นาไมส่ ามารถดำเนินได้ในทุก ๆ ดา้ น

- ประชากรมีมากทำใหไ้ มส่ ามารถใหบ้ ริการสาธารณะได้อยา่ ง
ท่วั ถงึ และเมื่อเกดิ ภัยพบิ ัตติ า่ ง ๆการบรกิ ารอาจล่าชา้ ไม่ทันเวลา

โอกาส อุปสรรค

- การได้รบั งบประมาณสนบั สนนุ จากหน่วยงานต่าง ๆ เชน่ - การมพี ้ืนทต่ี ดิ ตอ่ กับจังหวดั อืน่ ทำให้การแพร่ระบาดของยา
ประชารัฐ /สำนกั งานพัฒนาสงั คมฯ / สำนกั งานพฒั นา เสพติดและเยาวชนทคี่ วบคมุ ยาก
ชุมชน/สำนกั งานเกษตร /สำนกั งานสาธารณสุข ฯลฯ
- ราคาผลผลติ ตกตำ่
- เปน็ ทางผา่ นแหลง่ ท่องเทย่ี วในพ้ืนทีไ่ ด้แก่ แก่งเกาะ ใหญ่
ลานนกยงุ นำ้ ตกคลองลาน นำ้ ตกคลองนำ้ ไหล ชอ่ งเยน็ - แหล่งนำ้ ไมเ่ พยี งพอ/และปญั หาภัยธรรมชาตหิ ลายดา้ น เช่น
อทุ ยานแห่งชาตแิ มว่ งก์ ฯ ภยั แลง้ นำ้ หลาก โรคระบาดในพืช / โรคระบาดโควดิ 19

- การเขา้ ถงึ วัตถุนยิ มของประชาชน และเยาวชนในพน้ื ที่

- นโยบายของรฐั บางอยา่ งยากตอ่ การเขา้ ถงึ

- ข้อมูลของแตล่ ะหนว่ ยงานไม่ตรงกันทำให้เกดิ การแกป้ ญั หาไม่
ชัดเจนและตรงจดุ

30

วเิ คราะห์ข้อมูลจาก TPMAP

สำหรบั ข้อมลู คนจนในจงั หวดั นครสวรรค์ จาก TPMAP พบวา่ ภาพรวมคนจนในปี 2562 ของจงั หวัดนครสวรรค์ มีจำนวน
20,681 คน สูงสุดจะอยู่ที่ อ.เมืองฯ จำนวน 3,252 คน รองลงมา อ.แม่วงก์ จำนวน 2,480 คน อ.ตาคลี จำนวน 2,193 คน
ตามลำดับ และอ.ชุมตาบงมีคนจนน้อยที่สุดจำนวน 194 คน ตามมิติดังน้ี มิติด้านสุขภาพ 2,968 คน มิติด้านความเป็นอยู่ 3,196
คน มิตดิ ้านการศึกษา 9,452 คน มติ ิด้านรายได้ 7,274 คน และมิตดิ ้านการเข้าถงึ บริการภาครัฐ 31 คน

ขอ้ มลู คนจนของอำเภอแม่วงก์ จ.นครสวรรค์ มจี ำนวน 2,480 คน เรียงตามลำดบั ดังนี้ ตำบลแม่เลย์ 964 คน ตำบลเขาชน
กนั 862 คน ตำบลแมว่ งก์ 459 คน และตำบลวงั ซ่าน 175 คน

ข้อมูลคนจนของตำบลเขาชนกัน จำนวน 862 คน เป็นคนจนด้านสุขภาพ 174 คน ด้านความเป็นอยู่ 118 คน ด้าน
การศกึ ษา 216 คน ด้านรายได้ 476 คน และดา้ นการเขา้ ถงึ บริการของรฐั 2 คน

การวิเคราะหป์ ญั หาของตำบล

ลำดับ ชื่อปัญหา สาเหตปุ ญั หา ขอ้ บ่งชส้ี ภาพ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา
ความสำคัญ ขนาดและความ
ของปัญหา 1.สง่ เสรมิ ให้เกษตรกรพฒั นา
รุนแรง ปรับปรงุ ผลผลติ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน
1 ปัญหาดา้ น 1.ผลผลติ มรี าคาตกต่ำ ของปัญหา 2.ส่งเสรมิ ให้ทำการเกษตรที่
รุนแรงมาก หลากหลาย
เศรษฐกจิ /สังคม 2.การทำการเกษตรทไี่ ม่ 3.สง่ เสรมิ แหล่งการจำหนา่ ย
ปานกลาง 4.สง่ เสรมิ การสร้างอาชีพเสริม
หลากหลาย
นอ้ ย 1.ใช้งบประมาณของชมุ ชนใน
3.ขาดช่องทางการการตลาด การพฒั นาการคมนาคม การ
นอ้ ย สรา้ งแหลง่ กกั เกบ็ นำ้ และขอ
4.การขาดอาชีพเสรมิ สนับสนุนงบประมาณจาก อบต./
5.สถานการณด์ า้ นโควดิ อบจ. ฯลฯ
2.ส่งเสรมิ ทำความเข้าใจใหค้ นใน
2 ปญั หาด้าน 1.การคมนาคมไมส่ ะดวก ชุมชนเหน็ ความสำคญั และ
เสียสละ
โครงสร้างพืน้ ฐาน เน่อื งจากถนนลาดยางและ
1.สง่ เสรมิ ให้ปลกู พืชป้องกันดิน
คอนกรีตยงั ไมค่ รอบคลมุ ทุก 2.ใหค้ วามรู้ในการพัฒนา
ปรับปรุงดนิ และปลกู พชื บำรุงดนิ
พ้ืนที่
1.จัดเวรยามรักษาการให้
2.น้ำไม่เพยี งพอ ในฤดแู ลง้ ครอบคลมุ ทุกหม่บู ้าน
2.มรี ะบบการส่อื สารแจ้งขา่ ว
3.ขาดแหลง่ กกั เกบ็ นำ้ ระหว่างหมูบ่ ้าน

4.การขาดความร่วมมือเสยี สละ
จากชมุ ชน

3 ปัญหาดา้ น 1.การกัดเซาะพน้ื ท่กี ารเกษตร

ทรัพยากรธรรมชาติ 2.ภัยธรรมชาติ น้ำทว่ ม ขาด

แหลง่ นำ้ การเกษตร

3.ดินเสือ่ มโทรม

4 ปญั หาความมน่ั คง 1.ความไมป่ ลอดภยั ในชีวิตและ
ทรพั ยส์ ิน เนอ่ื งจากการป้องกนั
ดูแลบคุ คลเขา้ พ้ืนทย่ี ังไม่
ครอบคลมุ มชี ่องทางเขา้ ออก
หลายทาง

31

การดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง

ชื่อโครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้นื ท่ดี ำเนินการ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน หน่วยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ
(ระบุกจิ กรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/ -
- ปี 2564 มีสมาชกิ เพม่ิ กองทุนสวสั ดิการชุมชน
การประชาสัมพนั ธข์ ยายจำนวน เดอื น/ปี) หมู่บ้าน)
สมาชกิ กองทนุ สวัสดกิ ารชุมชน ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ จำนวน 29 คน ต.เขาชนกัน
ตำบลเขาชนกนั
การสง่ เสริมการจดั สวัสดกิ ารตาม ต.ค.63 - ก.ย.64 แม่วงก์ กำหนดขอมตจิ ากท่ี กองทนุ สวัสดิการชมุ ชน
ระเบียบข้อบังคับของกองทนุ ฯ ประชุมคณะกรรมการ ต.เขาชนกนั
ตำบลเขาชนกัน อำเภอ กองทนุ ฯ เดอื น
แมว่ งก์ สงิ หาคม 2564 เปน็ ศนู ยบ์ ริการคนพิการ
เครื่องอุปโภค-บริโภค จงั หวัดนครสวรรค์
สนับสนุนการดำเนนิ งานบรหิ าร ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 30,000 รายละ 500 บาท
จำนวน 17 ราย ศูนยบ์ รกิ ารคนพกิ าร
จัดการศนู ยบ์ ริการคนพกิ ารทว่ั ไป แมว่ งก์ จังหวัดนครสวรรค์
ไมไ่ ด้ดำเนนิ การ
สนับสนุนการรวมกลุ่มประกอบ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 50,000 เนอื่ งจากทางศนู ย์ฯ ศนู ย์บริการคนพกิ าร
ไมไ่ ด้เสนอโครงการ จังหวัดนครสวรรค์
อาชพี คนพกิ าร แมว่ งก์ เพอ่ื ขอรับการ
สนับสนนุ อบต.เขาชนกัน
สนบั สนุนโครงการตาม ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 30,000
ไมไ่ ด้ดำเนินการ
แผนพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ แมว่ งก์ เนอ่ื งจากทางศนู ยฯ์
ไม่ได้เสนอโครงการ
โครงการสนบั สนุนการ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 100,000 เพื่อขอรบั การ
ดำเนินงานกลมุ่ ออมทรัพย์ ตำบล ส.ค. 64 แม่วงก์ 20,000 สนับสนนุ
เขาชนกนั อำเภอแมว่ งก์ จังหวัด 100,000
นครสวรรค์ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ ยังไมไ่ ดด้ ำเนินการ
แมว่ งก์ เนื่องจากทางศูนย์ฯ
โครงการการหนุนเสริมและ ไมไ่ ดเ้ สนอโครงการ
พฒั นาขีดความสามารถ เพื่อขอรบั การ
คณะกรรมการกองทนุ สวัสดกิ าร สนบั สนนุ
ชุมชนตำบลเขาชนกัน
ไมด่ ำเนนิ การ
การสงเคราะหค์ รอบครัวผู้
ประสบปัญหาทางสังคมทุก กำหนดดำเนนิ การช่วง พอช.
กลมุ่ เปา้ หมาย กรกฎาคม - สิงหาคม
64

- เงนิ สงเคราะห์ สนง.พมจ.นครสวรรค์
ผู้สงู อายุ 5 ราย/

15,000 บาท - ค่า
จดั การศพผสู้ งู อายุ 2
ราย/6000 บาท - เงิน

สงเคราะหเ์ ด็กใน
ครอบครวั ยากจน
7,000 บาท -

เงนิ กองทุนคุ้มครองเดก็
2ราย/22,000 บาท
รวม 50,000 บาท

32

ชื่อโครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พืน้ ท่ีดำเนินการ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
(ระบุกิจกรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/ งบประมาณระดบั
โครงการพัฒนากองทนุ สวัสดิการ จังหวัด ช่วยในการ 1. รายงานสถานะ พอช.
ชุมชน เดือน/ป)ี หมบู่ า้ น) หนนุ เสริมพื้นที่ กองทนุ สวัสดกิ าร
รายละเอยี ดแผนงาน ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ กองทนุ สวัสดิการ ชมุ ชนตำบล ที่เป็น ศูนย์บริการคนพิการ
- หนนุ เสริมและพัฒนาขดี ปัจจุบนั จังหวดั นครสวรรค์
ความสามารถคณะกรรมการ 1 พฤษภาคม - แม่วงก์ ชมุ ชน จ. 2. มกี ารพฒั นา ศูนย์บรกิ ารคนพิการ
- พฒั นาขีดความสามารถกอง 30 กนั ยายน นครสวรรค์ จาก คุณภาพกองทนุ จังหวดั นครสวรรค์
เลขาและพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ตำบลเขาชนกัน อำเภอ สวสั ดิการชมุ ชนระดับ ศนู ยบ์ รกิ ารคนพิการ
- ตดิ ตามสอบทานกองทุน 2564 แม่วงก์ พอช. ตำบลและบนั ทกึ ขอ้ มลู จงั หวดั นครสวรรค์
- พัฒนาคุณภาพและฟ้ืนฟู ต.ค.63 - ก.ย.64 ครบถว้ น ศนู ย์บริการคนพกิ าร
กองทุนสวัสดิการชมุ ชน ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 100,000 3. มกี ารพฒั นากอง จงั หวดั นครสวรรค์
- การถอดชดุ องค์ความรู้ ต.ค.63 - ก.ย.64 แมว่ งก์ 200,000 เลขากองทนุ สวัสดกิ าร พมจ. รว่ มกบั อบต.เขา
ต.ค.63 - ก.ย.64 ใหส้ ามารถบนั ทกึ ชนกนั
การปรบั สภาพแวดล้อมทอ่ี ยู่ ตำบลเขาชนกนั อำเภอ 10,000 ขอ้ มูลในระบบ
อาศัยสำหรบั คนพกิ าร แมว่ งก์ 7,000 โปรแกรมได้ และมี
22,500 การรวบรวมฐานขอ้ มลู
การกู้ยมื เงนิ ประกอบอาชีพ ตำบลเขาชนกัน อำเภอ การดำเนนิ งานของ
สำหรับคนพิการ แม่วงก์ กองทุนสวสั ดกิ าร
ชมุ ชน
สนบั สนุนเงนิ สงเคราะห์และ ตำบลเขาชนกนั อำเภอ 4. มกี ารบันทกึ ข้อมลู
ฟน้ื ฟูสมรรถภาพคนพกิ าร แม่วงก์ ผลการสอบทาน
สนบั สนุนคา่ กายอปุ กรณ์สำหรบั กองทนุ ในระบบ
ชว่ ยคนพกิ าร โปรแกรม
โครงการปรบั สภาพแวดลอ้ มและ 5. มกี ารจดั ทำ
สง่ิ อำนวยความสะดวกของ ทะเบียนสมาชกิ การ
ผู้สูงอายใุ ห้เหมาะสมและ ดำเนินงานกองทนุ
ปลอดภยั สวสั ดิการชุมชน
6. มีการบนั ทกึ ข้อมลู
ในฐานระบบโปรแกรม
ของสถาบนั ฯ
ได้รบั การสนบั สนนุ
งบประมาณเรยี บร้อย
แล้ว อยรู่ ะหวา่ งการ
ซ่อมแซม
ไม่มีการดำเนินการ
เนอื่ งจาก คนพิการใน
พื้นทไ่ี มไ่ ดย้ ื่นคำขอ
กยู้ มื เงินเพอื่ ประกอบ
อาชพี
ยงั ไมไ่ ด้ดำเนินการ

ยังไมไ่ ด้ดำเนินการ

อยู่ระหว่างดำเนนิ การ
ซ่อมแซม

33

ช่อื โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พืน้ ทด่ี ำเนินการ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ
(ระบกุ ิจกรรมโดยสังเขป) ดำเนนิ การ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/ 150,000
10,000 อยรู่ ะหวา่ งประสาน ศนู ย์คมุ้ ครองฯ
เงนิ อดุ หนุนเงินสงเคราะห์ เดอื น/ป)ี หม่บู ้าน) 100,000 ขอ้ มูลจากหนว่ ยงาน ศนู ย์คุ้มครองฯ
ครอบครวั ผ้มู รี ายไดน้ ้อยและไรท้ ่ี 240,000 One Home เพอ่ื วาง
พง่ึ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ 195,295 แผนการลงพ้นื ทีใ่ ห้
แมว่ งก์ ความช่วยเหลือ
45,000
เงนิ อดุ หนุนเงินทุนประกอบ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ ยงั ไมไ่ ดด้ ำเนนิ การ
อาชีพผูต้ ิดเชอ้ื เอดส์ ต.ค.63 - ก.ย.64 แมว่ งก์
ยงั ไมไ่ ด้ดำเนนิ การ ศูนยเ์ รยี นรู้ฯ จ.ลำปาง
โครงการส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ
และคณุ ภาพชวี ติ ใหแ้ กส่ ตรี และ แมว่ งก์ ยังไม่ได้ดำเนินการ อบต
สรา้ งความเขม้ แข็งใหแ้ ก่สถาบนั
ครอบครวั หมทู่ ่ี 3 (1ครัวเรือน) หมู่ 1. มีการสนับสนุนกลุ่ม - พอช. สนับสนนุ ผ่าน
ท่ี 4 (1ครัวเรือน)หมทู่ ่ี 5
สนบั สนนุ กิจกรรมศูนยพ์ ัฒนา (2ครัวเรอื น) หมู่ท่ี 9 (3 ธรุ กจิ ชุมชนจดั ทำแผน สภาองคก์ รชมุ ชนตำบล
ครอบครัวตำบลเขาชนกนั
ครวั เรอื น) หมู่ท่ี 8 ธรุ กจิ ชุมชนท่ี เขาชนกันในการบริหาร
โครงการบ้านพอเพยี งชนบท (1ครัวเรอื น) หมู่ท่ี 11
รายละเอียดแผนงาน (1ครวั เรอื น)หมทู่ ี่ 12 สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพ จดั การ
การซ่อมแซม และปรับปรงุ ท่อี ยู่ (1ครวั เรอื น) หมทู่ ่ี 13
อาศยั ผู้มีรายไดน้ ้อยในชนบท (1ครวั เรือน)หมทู่ ่ี 16

(1ครวั เรือน) ของกลุม่ และทุนใน

ชุมชน ในการพัฒนา

เศรษฐกจิ ของชุมชน

2. มกี ารเชื่อมโยง

เครือขา่ ยธุรกจิ ชุมชน

ระดับจังหวดั และภูมิ

นเิ วศน์ในการพฒั นา

เศรษฐกจิ ชุมชนให้มี

ความเข้มแข็ง

3. มีพน้ื ทตี่ ้นแบบ

ชุมชนท้องถ่ินใหม้ ี

ความเขม้ แข็งสามารถ

จดั การตนเองบน

พ้ืนฐานทุนชมุ ชน

ทอ้ งถ่นิ

โครงการเศรษฐกิจและทนุ ชุมชน ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 1. มกี ารสนับสนนุ กลมุ่ - พอช. สนบั สนุนผ่าน
- วเิ คราะห์ศกั ยภาพกลุ่มธรุ กจิ แม่วงก์ ธรุ กจิ ชุมชนจดั ทำแผน สภาองค์กรชมุ ชนตำบล
ชมุ ชนในตำบล ธุรกจิ ชมุ ชนทสี่ อดคลอ้ งกับ เขาชนกันในการบริหาร
- การจัดทำแผนธุรกจิ ชมุ ชน ศักยภาพของกล่มุ และทุน
- มีรปู ธรรมการพฒั นากลุ่ม ในชุมชน ในการพัฒนา จดั การ
ธุรกิจชุมชน
เศรษฐกจิ ของชมุ ชน

2. มีการเชอ่ื มโยง

เครอื ขา่ ยธรุ กิจชมุ ชนระดบั

จงั หวดั และภูมินเิ วศนใ์ น

การพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน

ใหม้ ีความเขม้ แขง็

3.มีพนื้ ทต่ี น้ แบบชุมชน

ท้องถิ่นให้มีความเขม้ แขง็

สามารถจัดการตนเองบน

พ้นื ฐานทนุ ชุมชนทอ้ งถน่ิ

34

ช่อื โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พ้ืนทดี่ ำเนินการ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบ
(ระบกุ ิจกรรมโดยสงั เขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/
- อยรู่ ะหวา่ งดำเนนิ การ สนง.พมจ.และ
โครงพัฒนาคุณภาพชวี ิตกลมุ่ เดอื น/ป)ี หมู่บ้าน) 50,000 เย่ียมครอบครัว คณะทำงานฯ
เปราะบางรายครัวเรือน เป้าหมาย/จัดทำแผน/ พมจ. รว่ มกบั อบต.เขา
ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ 30,000 สมุดพกครอบครัว ชนกันและ
แมว่ งก์ งบประมาณ คณะกรรมการ ศพอส.
อยู่ระหวา่ งดำเนนิ การ พมจ. รว่ มกบั อบต.เขา
โครงการธนาคารเวลาแห่ง ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ 10,000 ตามโครงการฯ ชนกัน และ
ประเทศไทย แมว่ งก์ - กิจกรรมช่วยเหลือใน คณะกรรมการ ศพอส.
รปู แบบคนใน ชมุ ชน
โครงการเสรมิ สรา้ งกลไกการ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ 30,000 ดแู ลซง่ึ กนั และกนั สนง.พช.อ.แม่วงก์
300,000
พัฒนาผสู้ งู อายุในชมุ ชน (ศพอส. แมว่ งก์ - กจิ กรรมจัดอบรม
พัฒนาศกั ยภาพ
ตน้ แบบ) เครือขา่ ย ศพอส.
ต้นแบบ วันที่ 11
โครงการอบรมคณะกรรมการ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ มีนาคม 2564 ณ
หมบู่ า้ นและศึกษาดูงานชุมชน แม่วงก์ อบต.เขาชนกัน อ.แม่
เขม้ แขง็ ตำบลเขาชนกัน อำเภอ วงก์ จ.นครสวรรค์ -
แม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ กิจกรรมจัดอบรม
ช่อื โครงการ/กจิ กรรม (ระบุ พฒั นาศักยภาพเพอ่ื
กจิ กรรมโดยสังเขป) ขยายผล ศพอส.
ต้นแบบ วันท่ี 19
โครงการสรา้ งเครือขา่ ยคุม้ ครอง มีนาคม 2564 ณ
เดก็ ในระดบั ตำบล โรงแรมแหรนดฺฮลิ ล์ รี
สอรท์ แอนด์ สปา อ.
เมอื ง

ดำเนนิ การแล้ว

ระยะเวลา พน้ื ที่ดำเนินการ ผลการดำเนนิ งาน หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ
ดำเนินการ (วัน/ (ตำบล/อำเภอ/หม่บู ้าน)
ดำเนินการช้แี จงการ บ้านพกั เดก็ และ
เดอื น/ปี) ตำบลเขาชนกัน อำเภอ ดำเนินงานแลว้ อยู่ ครอบครวั จังหวัด
แมว่ งก์ ระหวา่ งสำรวจและ
1 ม.ี ค. - 30 ม.ิ ย. จดั เกบ็ ขอ้ มูล บ้านพกั เด็กและ
64 ครอบครวั จงั หวัด
อยูร่ ะหว่างดำเนินการ
ดำเนนิ การปรบั ปรุง ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ
คณะกรรมการคมุ้ ครองเด็กใน แม่วงก์ ยังไมด่ ำเนินการ อบต.เขาชนกนั
ระดบั อำเภอ/ตำบล ต.ค.63 - ก.ย.64
ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ ยังไม่ไดด้ ำเนนิ การ อบต.เขาชนกนั
โครงการสรา้ งภูมิคุ้มกนั ด้านยา แม่วงก์
เสพติด
ตำบลเขาชนกนั อำเภอ
สนับสนุนการผลดิ และจำหน่าย แมว่ งก์
สนิ คา้ 1 ตำบล 1ผลติ ภัณฑ์
(OTOP) และการประกอบอาชพี
ของกลุ่มอาชีพ ม. 1-17

35

ช่อื โครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้ืนที่ดำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน หน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ
(ระบกุ จิ กรรมโดยสงั เขป) ดำเนินการ (วัน/ (ตำบล/อำเภอ/
ใช้งบประมาณของ อย่รู ะหวา่ งการดำเนนิ -พมจ. ร่วมกับ อบต.เขา
กจิ กรรมโรงเรียนผ้สู ูงอายุในศนู ย์ เดือน/ปี) หมู่บ้าน) ชมรมผสู้ ูงอายุ กิจกรรม ตาม ชนกนั และ
พฒั นาคุณภาพชวี ิตและสง่ เสรมิ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ โครงการฯ เช่น การให้ คณะกรรมการ ศพอส.
อาชีพผู้สงู อายุ 15,000 ความร้ผู ้สู งู อายุ การ
ต.ค.63 - ก.ย.64 แมว่ งก์ ออกกำลังกาย , การ สภาเดก็ และเยาวชน
โครงการสง่ เสรมิ ความเขม้ แขง็ 30,000 ฝกึ อาชพี ของผ้สู ูงอายุ รว่ มกบั อบต.เขาชนกัน
สภาเดก็ และเยาวชนตำบลเขาชน ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 30,000 ฯลฯ อบต. เขาชนกนั
กัน แมว่ งก์ งบประมาณ งบอุดหนนุ ทีส่ ภาเดก็ ฯ อบต. เขาชนกัน
โครงการตักบาตรเทโว ต.ค.63 - ก.ย.64 ขอรบั การสนบั สนุน หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
ตำบลเขาชนกนั อำเภอ 30,000 จากบา้ นพักเดก็
โครงการรดนำ้ ดำหวั ผู้สงู อายวุ ัน ระยะเวลา แมว่ งก์ 30,000 ดำเนนิ การแล้ว อบต. เขาชนกนั
สงกรานต์ ดำเนนิ การ (วัน/ 30,000 ไมไ่ ดด้ ำเนินการ อบต. เขาชนกัน
ช่ือโครงการ/กจิ กรรม (ระบุ ตำบลเขาชนกนั อำเภอ ผลการดำเนนิ งาน อบต. เขาชนกนั
กจิ กรรมโดยสงั เขป) เดือน/ปี) แม่วงก์ - กศน.ตำบลเขาชนกัน
ต.ค.63 - ก.ย.64 ดำเนนิ การแลว้
โครงการเทศมหาชาติ พ้ืนทีด่ ำเนินการ 5,750 ดำเนินการแล้ว กศน.ตำบลเขาชนกนั
ต.ค.63 - ก.ย.64 (ตำบล/อำเภอ/หมู่บา้ น) 8,000 กศน.ตำบลเขาชนกนั
โครงการปดิ ทองไหวพ้ ระธาตุ 6,000 ดำเนนิ การแล้ว กศน.ตำบลเขาชนกัน
ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ ดำเนนิ การแล้ว
โครงการลอยกระทง แม่วงก์ - กศน.ตำบลเขาชนกัน
ธันวาคม 2563 – 36,000 ดำเนนิ การแล้ว กศน.ตำบลเขาชนกัน
โครงการจกั การศึกษานอกระบบ มกราคม 2564 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ ดำเนินการแล้ว กศน.ตำบลเขาชนกัน
ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน แม่วงก์ - ดำเนินการแลว้ กศน.ตำบลเขาชนกัน
พทุ ธศกั ราช 2551 (กจิ กรรม 23 ธันวาคม - สำนักงานพฒั นาชมุ ชน
พฒั นาคุณภาพผ้เู รียน) 2563 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ 13,000 ดำเนนิ การแล้ว อำเภอ
โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนา แม่วงก์
ทักษะชวี ติ ธนั วาคม 2563 ดำเนนิ การแล้ว
กิจกรรมการเรยี นรูส้ โู้ ควิค - 19 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ ยังไมไ่ ดด้ ำเนินการ
ผลิตเจลแอลกอฮอล์ 29 ธันวาคม แมว่ งก์ ดำเนนิ การแล้ว
โครงการจัดการเรยี นรู้หลกั 2563 ดำเนินการแลว้
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หมูท่ ่ี 9 บา้ นหนองไผ่
หลกั สูตร การทำเกษตรเกษตร ธนั วาคม 2564 – ตำบลเขาชนกนั
ผสมผสาน มกราคม 2564
โครงการสง่ เสริมการอ่าน ธนั วาคม 2563 – ตำบลเขาชนกัน อำเภอ
มกราคม 2564 แม่วงก์
โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ต.ค.63 - ก.ย.64
หม่ทู ่ี 15 บา้ นเนนิ สวา่ ง
โครงการดิจิทัลชุมชน 5 ธ.ค. 2563 ตำบลเขาชนกัน

โครงการพัฒนา กศน.ตำบล พ.ค. ตำบลเขาชนกนั อำเภอ
แม่วงก์
โครงการสารสนเทศตำบล
ต้นแบบเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพ ตำบลเขาชนกนั อำเภอ
ชีวิต แม่วงก์

ตำบลเขาชนกนั อำเภอ
แม่วงก์

หมทู่ ี่ 9 บา้ นหนองไผ่
ตำบลเขาชนกัน

หมทู่ ่ี 9 บ้านหนองไผ่
ตำบลเขาชนกัน

36

ชือ่ โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พนื้ ทีด่ ำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ
(ระบุกจิ กรรมโดยสงั เขป) ดำเนินการ (วนั / (ตำบล/อำเภอ/ 26,900
75,000 ดำเนนิ การแล้ว สำนกั งานพฒั นาชมุ ชน
โครงการเสรมิ สรา้ งและพฒั นา เดอื น/ปี) หม่บู ้าน) ดำเนินการแลว้ อำเภอ
ผูน้ ำการเปล่ียนแปลง ต.ค.63 - ก.ย.64 หมทู่ ี่ 9 บ้านหนองไผ่ 27,000
โครงการสร้างความม่ันคงดา้ น 90,000 สำนักงานพัฒนาชุมชน
อาชีพและรายไดต้ ามหลกั 17 พ.ค. 64 ตำบลเขาชนกนั 240,000 อำเภอ
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หมทู่ ่ี 16 ต.เขาชนกนั
กจิ กรรม สร้างและพฒั นาผ้นู ำ ต.ค.63 - ก.ย.64 0 เบิกเงนิ สงเคราะห์ ศูนยค์ ุ้มครองฯ
สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บา้ น ตำบลเขาชนกัน อำเภอ
เงินอุดหนุนเงินสงเคราะห์ ต.ค.63 - ก.ย.64 แม่วงก์ ครอบครวั ฯ จำนวน 9
ครอบครวั ผู้มีรายไดน้ ้อยและไรท้ ี่
พ่งึ ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกนั อำเภอ ครอบครัว
โครงการส่งเสรมิ พฒั นาศักยภาพ แม่วงก์
และคณุ ภาพชวี ิตให้แก่สตรี และ ไดร้ บั การจัดสรร ศูนยเ์ รียนรฯู้ จ.ลำปาง
สร้างความเข้มแข็งใหแ้ กส่ ถาบัน ตำบลเขาชนกนั อำเภอ
ครอบครวั แมว่ งก์ งบประมาณแลว้ จะ
สนบั สนุนกิจกรรมศนู ยพ์ ฒั นา
ครอบครวั ตำบลเขาชนกัน ดำเนนิ การระหวา่ วันที่

19-29 ก.ค.64

อบต.จดั สรรให้ อบต/ศพค.

เรียบรอ้ ยแลว้ อยู่

ระหวา่ งดำเนินการ

ตามแผน

โครงพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกลุ่ม ต.ค.63 - ก.ย.64 ตำบลเขาชนกัน อำเภอ เยยี่ มครอบครัว/ทำ สนง.พมจ.และ
เปราะบางรายครัวเรือน แมว่ งก์
สมุดพก/จัดทำแผน คณะทำงานฯ

แลว้ 44 ครอบครวั

กจิ กรรม ชี้แจงการสำรวจและ วันที่ 11 มิถนุ ายน ตำบลเขาชนกนั อำเภอ วันศกุ รท์ ่ี 11 มถิ ุนายน บ้านพักเด็กและ
การคัดกรองเด็ก โดยใชแ้ บบคัด 2564 แมว่ งก์ 2564 นางสาวพาณี จนั ทร์ ครอบครวั จงั หวัด
กรองการเลยี้ งดเู ด็ก ตาม 1 วนั ปรุงตน หวั หน้าบา้ นพกั เด็ก
มาตรฐานข้ันตำ่ (CMST) ภายใต้ และครอบครัวจงั หวัด นครสวรรค์
โครงการสร้างเครอื ขา่ คุม้ ครอง
เดก็ ในระดบั ตำบล นครสวรรค์ มอบหมายให้

นางกชพร วนั จันทร์

ตำแหนง่ นกั พฒั นาสงั คม

และนางสาวกันธมิ า

พัฒนศริ ิ ตำแหน่งพนกั งาน

คุม้ ครองสวัสดภิ าพเดก็ ลง

พนื้ ท่ีไปยงั องคก์ ารบรหิ าร

สว่ นตำบลแม่เลย่ ์ และ

โรงเรยี นบา้ นวงั ชมุ พร

ตำบลเขาชนกนั อำเภอแม่

วงก์ จงั หวัดนครสวรรค์ เพือ่

ชี้แจงการสำรวจและการคดั

กรองเดก็ โดยใชแ้ บบคัด

กรองการเลย้ี งดเู ดก็ ตาม

มาตรฐานขนั้ ต่ำ (CMST)

ทั้งนีพ้ ้ืนทีไ่ ดว้ างแผนในการ

ดำเนินการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ตาม

แบบคดั กรองฯ และการ

บนั ทึกข้อมลู ผา่ นระบบ

สารสนเทศเพือ่ การคุ้มครอง

เดก็ รวมไปถึงการวางแผน

ให้ความชว่ ยเหลอื และ

คมุ้ ครองสวัสดิภาพเด็กกลมุ่

เสยี่ ง กลมุ่ เฝา้ ระวงั และการ

ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมเชงิ

ปอ้ งกัน ตอ่ ไป

37

ชื่อโครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พื้นที่ดำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ
(ระบกุ ิจกรรมโดยสังเขป) ดำเนนิ การ (วัน/ (ตำบล/อำเภอ/ 0
วนั พธุ ท่ี 17 มถิ นุ ายน บา้ นพักเด็กและ
ตดิ ตามให้ความช่วยเหลือแม่ เดือน/ปี) หมูบ่ ้าน) 2564 นางสาวพาณี ครอบครัวจงั หวดั
วัยร่นุ และครอบครวั ภายใต้ จนั ทรป์ รุงตน หัวหนา้ นครสวรรค์
โครงการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา วันที่ 17 มิถนุ ายน ตำบลเขาชนกัน อำเภอ บ้านพักเด็กแลt
การตงั้ ครรภ์ ประจำปี 2564 2564 แมว่ งก์ ครอบครัวจงั หวัด
กจิ กรรม การจัดสวัสดิการสงั คม 1 วัน นครสวรรค์
แมว่ ยั รนุ่ และครอบครัว เจา้ หน้าทบี่ ้านพกั เด็ก
และครอบครัวฯ
พรอ้ มดว้ ย ผูน้ ำชุมชน
ลงพื้นที่ไปยัง ตำบล
เขาชนกัน อำเภอแม่
วงก์ จงั หวัด
นครสวรรค์ เพอื่ ให้
ความช่วยเหลือแม่
วัยรุ่นและครอบครัว
ภายใต้ โครงการ
ป้องกันและแกไ้ ข
ปัญหา
การตั้งครรภ์ ประจำปี
2564 กจิ กรรมการจัด
สวัสดกิ ารสงั คมแม่
วยั รุ่นและครอบครวั
โดยให้ความชว่ ยเหลอื
เครอ่ื งอุปโภคและของ
ใช้สำหรับเด็กแรกเกดิ
และพจิ ารณา
ช่วยเหลือเงิน
สงเคราะหเ์ ดก็ ใน
ครอบครวั ช่วยเหลือ
ขาดแคลนและเด็กฝาก
เล้ียงตามบา้ น พรอ้ ม
ท้ังแนะนำบทบาท
ภารกจิ ของบ้านพกั
เดก็ และครอบครวั ฯ
และแนะนำเรื่องการ
เล้ียงดูบตุ ร

38

จังหวดั พจิ ติ ร

การวิเคราะหส์ ถานการณแ์ ละศกั ยภาพเพอ่ื การพัฒนา

มติ ิด้านสขุ ภาพ 1. ทมี อสม. ตรวจความดนั เบาหวาน
จดุ แข็ง 2. ทีม care giver ในการดูผู้ป่วยตดิ เตียง ร่วมกันลงไปเยย่ี ม
3. ชมรมทบู ีนมั เบอร์วัน ส่งเสรมิ การออกกำลังกายทุกเย็น
จดุ ออ่ น 1. ปญั หาสุขภาพในเร่ืองใชส้ ารเคมใี นการเกษตร (มะเรง็ )
โอกาส 1. โครงการดูแลผูส้ งู อายุระยะยาว Lone Term care ออกเปน็ 4 ระดบั
2. โครงการอาสาบริบาลดูแลผสู้ ูงอายุ
อุปสรรค 3. มรี ถกู้ชีพรับ - ส่งผู้ป่วย
3.2 มติ ดิ ้านการศึกษา 1. สภาพแวดลอ้ มภายนอก เช่น ศัตรูพชื ความตอ้ งการในการเรง่ ผลผลติ ทำให้
เกษตรกรต้อง ใชส้ ารเคมีในการเกษตร
จุดแขง็
จดุ อ่อน 1. เดก็ ไดร้ บั การศึกษาท้ังหมด
2. นกั เรียนออกกลางคนั ประมาณ 1-2%
โอกาส 1. เด็กส่วนใหญ่ฐานะยากจน
อุปสรรค 2. เด็กสว่ นใหญ่อาศัยกับปยู่ า่ ตายาย เน่อื งจากบิดามารดาไปทำงานตา่ งจงั หวดั
3. ปัญหาเดก็ ติดโทรศัพท์ ปัญหาเดก็ อาศัยอยู่ในครอบครวั ยากจนอยู่ญาติ
1. เด็กฐานะยากจน ได้รับทุนของ กสส. (ทนุ ยากจนพเิ ศษ)
1. อตั ราการจ้างงานในจงั หวดั น้อย ทำให้ประชากรสว่ นใหญ่ต้องหางานทำใน
ต่างจังหวดั บิดามารดาจงึ ต้องฝากบตุ รไว้ให้ปู่ ย่า ตา ยาย เลี้ยงดแู ทน

มติ ิดา้ นรายได้

จุดแขง็ 1. อาชพี สว่ นใหญท่ ำเกษตรกรรม
2. มีนำ้ บาดาลสำหรบั ทำเกษตร
3. มีกลุม่ แมบ่ ้านสระปทุม (OTOP)
4. กลุ่มสตรีผลิตภณั ฑ์ไทดำ ชุดไทดำ กระเปา๋ แปรรูปผลติ ภณั ฑ์
ทางการเกษตร กล้วย น้ำพรกิ ผักปลอดสาร

จดุ ออ่ น 1. ประสบภัยแลง้
2. โรคระบาดของแมลงบ่ัว เพลย้ี กระโดด
3. ปัญหาเรือ่ งน้ำ (นำ้ ท่วมและนำ้ แล้ง)
4. ครัวเรอื นมีหน้สี ินเยอะ

โอกาส 1. มีจัดกิจกรรม/โครงการอบรมอาชพี (ทำทุกป)ี ทำไม้กวาด
กระเป๋าจากเส้นพลาสติก
2. การประสานศูนย์สตรลี ำปาง ฝึกอาชพี ให้แกส่ ตรี

39

อุปสรรค 1. จังหวดั พจิ ิตรประสบภยั แลง้ ไมม่ นี ้ำใชใ้ นการเกษตร เกษตรกรขาดรายได้
2. การแกป้ ัญหาภัยแลง้ โดยการขุดเจาะน้ำบาดาลและตดิ แผงโซล่าเซล ซงึ่ มี
ค่าใช้จ่ายในการขุด เจาะ และตดิ ตั้งในราคาท่สี ูง

มติ ดิ ้านความเปน็ อยู่ 1. ผนู้ ำในพ้นื ท่ใี หค้ วามสำคัญในการพัฒนาที่อยู่อาศยั
จดุ แขง็ 2. คนในพ้นื ท่ีใหค้ วามรว่ มมือในการซ่อมแซมบา้ นผู้ยากไร้
จดุ อ่อน 3. มีการสำรวจผมู้ ที ี่อยู่อาศยั ไม่เหมาะสมเปน็ ประจำทุกปี
โอกาส
-
อุปสรรค
1. ได้รับการสนบั สนนุ การพัฒนาทอี่ ยู่อาศัยจาก
- สถาบันพฒั นาองค์กรชมุ ชน พัฒนาที่อยู่อาศยั ผยู้ ากไร้
ปี 2563 กองทุนฟ้ืนฟูผพู้ ิการ 6 หลัง ซ่อมบ้านผู้สงู อายุ 4 หลัง
ปี 2564 งบสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน 10 หลงั อบจ 3 หลัง พม. 1 หลัง
- องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดพจิ ิตร
- สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัดพิจิตร

-

มิติการเขา้ ถงึ บริการภาครฐั

จดุ แข็ง 1. ทุกคนในตำบลไผร่ อบได้รับสทิ ธิ
จดุ อ่อน -
โอกาส -
อุปสรรค -

สถานการณก์ ลุ่มเปา้ หมาย

กล่มุ เดก็ และเยาวชน 1. เด็กทุกคนได้รับการศึกษา
2. ไม่มเี ด็กตั้งครรภ์ในวัยเรียน (แมว่ ัยใส)
กลุม่ สตรี 3. ส่วนหนึ่งมีปญั หาเด็กติดยาเสพติด และมพี ฤติกรรมไมเ่ หมาะสม
กลุ่มวัยแรงงาน
1. กลุ่มสตรีมีการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ
กลมุ่ ผ้สู ูงอายุ
กลุ่มคนพิการ 1. ประชากรวัยแรงงานส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม
2. มีการเคล่ือนย้ายประชากรสว่ นหน่ึงไปทางานท่ีกรงุ เทพมหานคร
และต่างจังหวดั

1. กล่มุ ผสู้ งู อายขุ า้ ถึงสวัสดิการ
2. ได้รับการดแู ลดา้ นสุขภาพเป็นอย่างดี

1. กลุ่มคนพิการเข้าถึงสวสั ดกิ าร

กลมุ่ คนไรท้ ่ีพึ่ง-ขอทาน 1. ไมม่ คี นขอทานในตำบลไผร่ อบ

40

ทนุ ทางสังคมในตำบล

1. หมู่บา้ นกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ
2. มโี ครงการโคกหนองนาโมเดล 7 ครัวเรือน
3. มีโครงการบวร บา้ น วัด โรงเรียน
4. มโี ครงการ 1 ตำบล 1 เกษตรทฤษฎใี หม่
5. มกี ารประกวดวฒั นธรรมไทดำ การแต่งกายไทดำทกุ วันศุกร์
6. ประชากรเป็นไทดำ 80% ของประชากรทั้งหมด
7. ศูนยก์ ารเรยี นรไู้ ทดำ หมู่ 8

การวเิ คราะหข์ ้อมูลจาก TPMAP

ข้อมลู TPMAP ตามโครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ กลุม่ เปราะบางรายครวั เรือนจังหวัดพิจิตร และตำบลไผ่
รอบ มขี ้อมูล ดังนี้

ระดับจงั หวัด จำนวน 6,027 ครวั เรอื น 9,762 คน
ระดบั อำเภอ จำนวน 652 ครัวเรือน 1,022 คน
ระดับตำบล จำนวน 168 ครัวเรือน 265 คน

การดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง

ชอ่ื โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา พื้นทีด่ ำเนินการ งบประมาณ ผลการดำเนนิ งาน หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ
(ระบุกิจกรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วัน/ (ตำบล/อำเภอ/ 10,000 บาท
การประชมุ สสว.7
กจิ กรรมวเิ คราะหข์ ้อมลู พน้ื ฐาน เดือน/ป)ี หมูบ่ ้าน) คณะทำงานขบั เคลอ่ื น
ของชมุ ชน การบูรณาการ ครัง้ ท่ี
22 มีนาคม 2564 ที่วา่ การอำเภอ 1/2564 เมือ่ วันที่ 22
มีนาคม 2564 ณ หอ้ ง
และขอ้ มูล TPMAP โพธป์ิ ระทบั ช้าง ประชุมทว่ี ่าอำเภอโพธ์ิ

ประทบั ช้าง โดยมี
นายหฎั ฐะพล เมฆ
อาภา นายอำเำอภโพธ์ิ
ประทบั ช้าง เปน็

ประธาน

เสริมสร้างชมุ ชน
เข้มแขง็ เทศบาลตำบล

ไผ่รอบ

ครั้งที่ 1/2564 เมอ่ื
วนั ท่ี 22 มนี าคม
2564 ห้องประชมุ
ทวี่ ่าอำเภอโพธ์ปิ ระทบั
ช้างณ หอ้ งประชมุ ทีว่ า่
อำเภอโพธิ์ประทับช้าง

41

ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา พ้ืนทีด่ ำเนนิ การ งบประมาณ ผลการดำเนินงาน หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ
(ระบกุ จิ กรรมโดยสงั เขป) ดำเนินการ (วัน/ (ตำบล/อำเภอ/
80,000 บาท วันท่ี 9 มถิ นุ ายน สนง.พมจ.พิจติ ร/บพด.
กิจกรรมการพฒั นาและสง่ เสรมิ เดอื น/ปี) หมบู่ า้ น) 2564 ทีม One พิจติ ร/ศคพ.พิจติ ร
ให้แก่ 250,035 บาท Home จังหวัดพิจติ ร
1 มี.ค. - 30 ก.ย. ทต.ไผ่รอบ งบประมาณ ะอาสาสมคั รพฒั นา /ศคพ.พจิ ิตร
2564 สังคมและความมน่ั คง
ของมนุษยจ์ อำเภอโพธิ์ สนง.พมจ.พิจติ ร/บพด.
ผ้ปู ระสบปัญหาภาวะยากลำบาก ประทบั ช้าง ใน พจิ ติ ร/ศคพ.พิจติ ร
ครอบครวั ผู้มรี ายได้ /พอช
โครงการปรบั สภาพแวดล้อมและ 1 มี.ค. - 30 ก.ย. ทต.ไผร่ อบ นอ้ ยและไรท้ ี่พึ่ง หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ
จำนวน 37 ครวั เรอื น
สิง่ อำนวยความสะดวก 2564 พน้ื ทีด่ ำเนินการ และพจิ ารณาใหก้ าร
(ตำบล/อำเภอ/ สงเคราะหค์ รวั เรอื นละ
ชื่อโครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา 3000 บาท รวมเปน็
(ระบกุ จิ กรรมโดยสังเขป) ดำเนินการ (วนั / หมบู่ า้ น) เงินทัง้ สิน้ 111,000
ทต.ไผร่ อบ
โครงการสนบั สนนุ ศูนยพ์ ฒั นา เดอื น/ปี) บาท
ครอบครัวในชุมชน (ศพค.ไผ่ 1 ม.ี ค. - 30 ก.ย. ทต.ไผร่ อบ ร่วมกบั เทศบาลตำบล
รอบ) ทต.ไผร่ อบ ไผ่รอบและอพม. ลง
โครงการอบรมอาสาสมคั รพฒั นา 2564 พน้ื ท่ีสำรวจครวั เรอื นท่ี
สังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ทต.ไผ่รอบ ประสบปญั หาทาง
โครงการสง่ เสรมิ ความเข้มแขง็ 1 มี.ค. - 30 ก.ย.
สภาเดก็ และเยาวชน ตำบลไผ่ 2564 สงั คม
รอบ อยู่ในระหวา่ ง
กจิ กรรมสรุปผลโครงการ 1 มี.ค. - 30 ก.ย. ดำเนนิ การ
ขับเคล่อื นการสรา้ งเสริมชมุ ชน 2564
เขม้ แขง็ ตำบลไผ่รอบ ผลการดำเนนิ งาน
1 - 31 ส.ค.
2564 - อยใู่ นระหวา่ ง สนง.พมจ.พจิ ิตร
12,500 บาท ดำเนินการ
15,000 บาท
10,000 บาท อยใู่ นระหวา่ ง สนง.พมจ.พิจติ ร
ดำเนินการ บพด./ทต.ไผ่รอบ

อยใู่ นระหวา่ ง
ดำเนนิ การ

ยงั ไมไ่ ด้ดำเนินการ สสว.7

42

บทท่ี 4

การถอดบทเรยี นการบรู ณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็
พ้ืนทีต่ ำบลโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จงั หวดั ลพบุรี

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป
1.1 พื้นที่บูรณาการสร้างเสริมชมุ ชนเข้มแขง็ ตำบลโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวดั ลพบุรี
1.2 คณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งหรอื ไม่

1.3 บทบาทในคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง

1.4 บทบาทในการขบั เคลื่อนการบรู ณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็
 การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางสังคม
 การถา่ ยทอดเชงิ นโยบาย
 การนำเสนอขอ้ มลู สถานการณท์ างสังคม
 การลงปฏบิ ตั ิชว่ ยเหลอื ฟนื้ ฟู เยียวยา แกไ้ ขปัญหาในพืน้ ท่ี
 การกำหนดกล่มุ เปา้ หมายในการพัฒนา
 การพัฒนาโครงการหรือกิจกรรมเพ่ือการแก้ไขปญั หาสังคมในพื้นที่

สว่ นที่ 2 คำถามในสว่ นปัจจัยนำเข้า (Input)
2.1 การกำหนดตำแหน่งหน้าที่ ความรับผิดชอบในการดำเนนิ การขับเคลื่อนการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชน
เขม้ แข็ง มีความชดั เจน อย่ใู นระดบั ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 70.00
2.2 การดำเนนิ โครงการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็ มีการบูรณาการร่วมกันระหวา่ งหน่วยงานภายใน/
ภายนอก และภาคที ี่เกีย่ วข้อง อยู่ในระดบั ปานกลาง คดิ เป็นร้อยละ 75.00
2.3 ระบบฐานข้อมูล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มปี ระสิทธิภาพในการขบั เคลื่อนการบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชน
เขม้ แข็ง อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 80.00
2.4 การกำหนดเปา้ หมายรว่ มในการดำเนินงานบูรณาการเชงิ พ้ืนที่

- การกำหนดเป้าหมายการแก้ไขปัญหาในระดับกลุ่มคน, การกำหนดเปา้ หมายการแก้ไขปัญหาในระดบั
ชมุ ชน

43

2.5 แนวคดิ ในการพัฒนาที่นำมาประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินงาน
- อาศยั แนวคิดจากโครงการบูรณาการเพือ่ พัฒนาคุณภาพชวี ิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน

2.6 สถานการณป์ ัญหาสงั คมทตี่ ้องการให้เกิดการบูรณาการแก้ไขปญั หาในพื้นที่มากทส่ี ุด
- ความยากจน, สถานการณ์แก้ไขปญั หาความยากจนในพ้นื ท่ี, แก้ไขปญั หาความยากจนในระดบั ครวั เรือน,
การเข้าถึงสิทธิและสวัสดกิ ารของผ้ดู ้อยโอกาส กลุ่มเปราะบาง

ส่วนท่ี 3 ปจั จัยด้านกระบวนการ (Process)

3.1 การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติในการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในระดับพื้นที่สามารถสร้าง
ความเข้าใจและประสบผลสำเร็จ อยูใ่ นระดับ ปานกลาง คดิ เปน็ ร้อยละ 65.00
จากข้อ 3.1 ถา้ ประสบผลสำเร็จน้อย เนือ่ งจากเหตุผลใด เพราะอะไร

- การร่วมมือของคนในชมุ ชน
- สถานการณโ์ ควิด-19 ทำใหล้ งพ้นื ทไี่ มไ่ ด้
- ความไมช่ ดั เจนของนโยบาย/ระยะเวลา/ฐานข้อมูล
- หน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน และประชาชนในพ้นื ที่ร่วมมือกันแก้ไขปัญหา
3.2 การกำหนดพ้ืนที่และแผนบูรณาการ ดำเนินการได้อย่างเหมาะสมกับสภาพปญั หาของพน้ื ทใี่ น อยู่ในระดับ
มาก คดิ เป็นร้อยละ 65.00
3.3 การเชอ่ื มกลไกเครือข่ายในรปู แบบคณะทำงานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งในระดับพื้นท่สี ามารถขับเคลอ่ื นการ
ดำเนนิ งานรว่ มกันเพอ่ื ไปสเู่ ป้าหมายในการแก้ไขปญั หาทางสังคมบนฐานข้อมลู และการมสี ว่ นร่วม อย่ใู นระดบั
ปานกลาง คดิ เป็นร้อยละ 70.00
3.4 กลไกอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) สามารถร่วมขบั เคล่ือนการดำเนินงานรว่ มกัน
เพือ่ ไปส่เู ป้าหมายในการแก้ไขปัญหาทางสงั คมบนฐานข้อมูล และการมีส่วนร่วม อยู่ในระดบั ปานกลาง คิดเป็น
รอ้ ยละ 65.00
3.5 การใช้ขอ้ มูลในการขบั เคลือ่ น ท่านใช้ข้อมลู ในการขบั เคล่ือนการชว่ ยเหลอื และแกไ้ ขปญั หาให้กลุ่มเปา้ หมาย

- จากแหลง่ ข้อมลู ที่แกนนำชุมชนในแตล่ ะพน้ื ทน่ี ำเสนอ,ขอ้ มูล TPMAP, ข้อมลู การชว่ ยเหลอื เงนิ
สงเคราะห์ของกระทรวง พม

3.6 การมสี ่วนรว่ มมกี ารนำขอ้ มูลที่ไดม้ าวเิ คราะห์ และสรปุ รว่ มกันเพื่อนำไปสู่การวางแผนงานรว่ มกัน อยู่ในระดบั
ปานกลาง คิดเปน็ รอ้ ยละ 70.00
3.7 ประเด็นปญั หาทางสังคมท่ถี กู เสนอและกำหนดในพื้นที่ และนำมาสกู่ ารจัดทำแผนให้การช่วยเหลือหรือแก้ไข
ปัญหา ท่านทราบ

เพราะเหตุใด
- ความยากจน
- ประเดน็ เก่ียวกับความยากจนในพ้นื ท่ี
- ภาคเี ครอื ข่ายในพ้ืนที่มีศกั ยภาพ
- จากการลงพน้ื ที่ และข้อมลู จาก ระบบ TPMAP
3.8 มกี ารนำประเด็นปญั หาสถานการณส์ ังคม แก้ไขปัญหา รว่ มกับหนว่ ยงานภาคเี ครือขา่ ยในระดับพ้ืนที่ อยใู่ น
ระดบั ปานกลาง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 65.00
3.9 การตดิ ตอ่ ส่ือสารระหวา่ งผนู้ ำชุมชน คนในชุมชน และเครือขา่ ยอาสาสมัครตา่ งๆ เป็นสงิ่ สำคัญในการดำเนนิ
โครงการฯ ให้เกิดความสำเร็จ อยู่ในระดบั มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 85.00

44

4.8 คนในชุมชนทราบถงึ สภาพปญั หาภายในชมุ ชนเป็นอย่างดี หรือไม่ ทราบ อยู่ในระดับ ปานกลาง คดิ เป็นร้อยละ
65.00

ส่วนที่ 4 คำถามในสว่ นของผลลัพธ์ (Output)

4.1 มีการบูรณาการแผนในมิติ
- การสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง, การพัฒนาแกนนำสภาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21,
การพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านสตรีและครอบครัว, การพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้ประสบภาวะยากลำบาก
และไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้, การเตรียมความพร้อมด้านความรู้ ความเข้าใจของประชากรก่อนวัย
สูงอายุ (อายุ 25-59 ปี ), การทำให้คนพิการที่ตกหล่นและไม่ได้รับสิทธิ/สวัสดิการจากรัฐได้รับสิทธิ/
สวัสดิการจากการมีบัตรประจำตัวคนพิการ, การพัฒนาตำบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็งของสถาบันพัฒนา
องคก์ รชมุ ชน

4.2 มีการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายไดต้ รงประเด็นปัญหา ตรงตามประเด็น
เพราะเหตใุ ด

- การสงเคราะห์เงนิ ช่วยเหลือเบื้องต้น
- ทราบจากพื้นทว่ี า่ ครัวเรอื นใดเปน็ ผทู้ ต่ี ้องการได้รบั ความช่วยเหลือเรง่ ด่วน
- มีการประชุมหารือร่วมกันในการคดั เลือกกลมุ่ เปา้ หมาย
- มกี ารกำหนดกล่มุ เป้าหมายและปัญหาความต้องการแตล่ ะมิติจากฐานข้อมลู ระบบ TPMAP
4.3 สถานการณ์ทางสังคมที่ไดก้ ำหนดหรือวิเคราะหร์ ่วมกันสามารถขบั เคลอื่ นให้เกิดการแก้ไขปญั หาอย่างเปน็
รูปธรรม

เพราะเหตุใด
- ติดปญั หาการลงพื้นที่
- ทำให้ทราบว่าสถานการณ์ในพน้ื ท่เี ปน็ อย่างไร เพ่ือจะไดแ้ ก้ปัญหารว่ มกัน
- เกดิ สถานการณโ์ รคโควิด-19
- มีการกำหนดหรอื วิเคราะห์รว่ มกนั สามารถขับเคลือ่ นให้เกิดการแก้ไขปญั หาอย่างเปน็ รูปธรรม
4.4 กรณีตัวอย่างการแกไ้ ขปัญหาทางสังคมของกลุ่มเปา้ หมายที่ทา่ นเหน็ วา่ เป็นผลสำเร็จ
- การรวมกลมุ่ ฝกึ อาชีพผสู้ งู อายุ
- การลงพน้ื ทช่ี ว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบปญั หาทางสงั คมอย่างจรงิ จัง และมกี ารติดตามการให้ความชว่ ยเหลอื
- ไมส่ ามารถดำเนนิ การไดเ้ น่ืองจากเกดิ สถานการณ์โรคโควิด-19 ในพนื้ ท่ีไมส่ ามารถดำเนินการได้
- จากข้อมูลระบบ TPMAP สามารถช้เี ปา้ กลุ่มเป้าหมายที่ตอ้ งการใหก้ ารช่วยเหลอื ไดต้ รงกับปัญหาในพื้นที่
4.5 ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็
- การลงพืน้ ท่ีดำเนินการ
- สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019(Covid-19) /ประกาศพืน้ ทคี่ วบคมุ ไม่

สามารถลงพ้ืนที่ได้/เป็นพนื้ ที่เกิดสถานการณ์
4.6 แนวทางการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็งในระดบั พื้นท่ี

- จดั เก็บข้อมูลเบื้องต้นก่อน
- หนว่ ยงาน One Home รว่ มกันวางแผนการทำงาน และลงพื้นท่ีร่วมกัน เพ่ือแก้ปัญหาความจน
- ตอ้ งมีการปรบั แผนกิจกรรมโครงการใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ฺปจั จบุ นั ถอดบทเรยี น

45


Click to View FlipBook Version