รายงานผล
การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน
(Ordinary National Education Test : O - NET)
ปีการศกึ ษา 2563
กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
เอกสารลาดบั ที่ 4/ 2564
คำนำ
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2563 (Ordinary National Education
Test : O-NET) ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป้าหมายสาคัญเพื่อเป็นการควบคุมและรักษาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่างๆ
ในเขตพ้ืนที่การศึกษาให้มีมาตรฐานใกล้เคียงกัน จึงดาเนินการจัดให้มีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ข้ันพื้นฐาน เพื่อเป็นการประกันคุณภาพผู้เรียน ดังนั้น เม่ือการจัดสอบแล้วเสร็จจึงได้นาผลการทดสอบสู่การ
วเิ คราะห์ เพอ่ื ให้เห็นผลการพัฒนาท้ังระดบั เขตพ้ืนทแี่ ละระดับสถานศกึ ษา อีกทงั้ เปรยี บเทยี บกบั ผลการประเมนิ ของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากนี้ได้นาเสนอผลการทดสอบในระดับกลุ่มพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ซึ่งผลการทดสอบที่ได้นอกจากจะเป็นตัวบ่งชี้คณุ ภาพการศึกษาของประเทศในภาพรวมแลว้ ยงั ใช้เป็น
ขอ้ มูลสาคัญประกอบการตดั สนิ ใจในการกาหนดนโยบายระดับชาติ ระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ระดับสถานศกึ ษา
และใช้วางแผนในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาต่อไป
ขอขอบคณุ คณะครู นกั เรียนและผบู้ รหิ ารโรงเรยี นทุกทา่ น ท่ใี หค้ วามสาคัญกบั การทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาติขน้ั พื้นฐานในครงั้ น้ี ขอขอบคณุ คณะศกึ ษานิเทศก์ และบุคลากรในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทุกท่านทไี่ ดใ้ ห้
การสนบั สนนุ สาหรับการประเมินเพอ่ื เป็นฐานในการพฒั นาคุณภาพใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาท่ีกาหนด
กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา
สารบญั
หน้า
คํานํา ก
สารบญั ตาราง ข
สารบัญแผนภมู ิ ค
บทที่ 1 บทนํา 1
1.1 ความเปนมาและความสําคญั 1
1.2 วตั ถุประสงค์ 2
1.3 กลุมเปาหมาย 2
1.4 ขอบขา่ ยของการศึกษา 3
1.5 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั 3
บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวข้อง 4
2.1 แนวคดิ เกยี่ วกบั การวดั และประเมินผลทางการศึกษา 4
2.2 แนวคิดการประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน 9
2.3 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 10
2.4 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ระดับศูนย์สอบ 11
2.5 มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตริ ะดับสนามสอบ 12
2.6 การบริหารการจดั สอบของศนู ย์สอบ 13
บทที่ 3 วิธดี ําเนนิ การ 20
3.1 กลุ่มเป้าหมายของการศกึ ษา 20
3.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศกึ ษา 20
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมลู 21
3.4 การวิเคราะห์ข้อมลู และสถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล 22
บทท่ี 4 ผลการศึกษา 23
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 44
5.1 สรปุ ผลการศึกษา 44
5.2 อภิปรายผล 48
5.3 ขอ้ เสนอแนะ 52
บรรณานุกรม 55
ภาคผนวก 56
ภาคผนวก ก ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563เรียงลาํ ดับ 57
ภาคผนวก ข ค่าสถิตริ ายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) 67
สารบญั ตาราง ก
ตารางที่ หน้า
24
1 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O – NET) ประจาํ ปกี ารศึกษา 25
2563 นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ของโรงเรยี น ในสังกดั สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ี 26
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
27
2 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O – NET) ประจําปีการศึกษา 28
2563 นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสาํ นักงานเขตพ้นื ท่ี 29
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 31
32
3 แสดงผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ 34
ข้ันพ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2562 กับคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2563 ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6
โรงเรียนในสงั กัดสํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
4 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน
(O–NET) ปีการศึกษา 2562 กบั คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ
ข้ันพื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2 563 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
โรงเรียนในสังกัดสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
5 เปรียบเทียบผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา
2561 และ ปกี ารศกึ ษา 2563 ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี น ในสังกดั
สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
6 เปรียบเทียบผลทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา
2561 และ ปีการศกึ ษา 2563 ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นในสังกดั
สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
7 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ ดีมาก
(Group A) ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรยี นในสงั กัดสาํ นกั งาน เขตพนื้ ที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
8 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2563 กลุ่มดี
(Group B) ของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นในสังกดั สาํ นักงาน เขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
9 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุม่
พอใช้ (Group C) ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนในสังกดั สํานกั งาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
ตารางที่ หนา้
36
10 ผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2563 กลมุ่ 40
ปรับปรุง (Group D) ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นในสังกดั สํานกั งาน 42
เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 43
59
11 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2563 กลมุ่ ดี 62
(Group B) ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนในสังกดั สํานักงานเขตพื้นท่ี 64
การศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
12 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่
ปรับปรุง (Group D) ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นในสังกดั สํานกั งาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
13 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563 กลุม่
ปรับปรงุ (Group D) ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นในสังกดั สาํ นักงาน
เขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
14 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) นักเรียนชั้นประถมศกึ ษา
ปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563 เรียงลําดบั ตามคะแนนเฉลย่ี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
จากมากไปนอ้ ย
15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปี
ท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 เรียงลาํ ดบั ตามคะแนนเฉลยี่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้
จากมากไปน้อย
16 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) นักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2563 เรยี งลําดบั ตามคะแนนเฉลย่ี 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้
จากมากไปนอ้ ย ระดบั กลุ่มพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
ค
สารบญั แผนภูมิ
แผนภมู ิที่ หน้า
1 แสดงผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ีย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ
ข้ันพนื้ ฐาน (O – NET) ปีการศกึ ษา 2563 นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ของ 24
โรงเรยี นในสังกัด สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กับคะแนน
เฉล่ียระดบั ประเทศ
2 แสดงผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ
ขน้ั พื้นฐาน (O – NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ของโรงเรียน 25
ในสังกดั สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 กบั คะแนนเฉลีย่
ระดับประเทศ
3 แสดงผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ
ขน้ั พน้ื ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา 2562 กับคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563 ของนักเรยี น 27
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนในสงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
เลย เขต 2
4 แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน
(O–NET) ปีการศึกษา 2562 กับคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ 28
ข้ันพ้ื นฐาน (O–NET) ปี การศึกษา 2 563 ของนั กเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
5 แสดงผลการเปรียบเทียบผลทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O–NET)
ปกี ารศกึ ษา 2561 ถงึ ปกี ารศึกษา 2563 ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี น 29
ในสังกดั สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
6 เปรียบเทยี บผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา
2561 ถึง ปีการศึกษา 2563 ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนในสงั กดั 30
สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคญั
O-NET (Ordinary National Educational Test) คือ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน เป็นการทดสอบ เพ่ือวัดความรู้และความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 และชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ประเมนิ ตามมาตรฐานการเรยี นรใู้ นหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใน 4 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ขู องแต่ละช่วงช้นั (ประถมศึกษา
ปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไท ย
คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยมีวัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ทดสอบความรู้
และความคดิ ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เพอื่ นา
ผลการทดสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการจบการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือนาผลการทดสอบไปใชใ้ นการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของ
โรงเรยี น เพื่อนาผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนกั เรยี นระดบั ชาติ และเพื่อนาผล
การทดสอบไปใชใ้ นวัตถุประสงค์อ่ืน ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้
กาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้ได้ ข้อมูลสารสนเทศ ที่แสดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตาม
ตัวชวี้ ัดเพอ่ื ให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน
ซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการ
ประเมินเป็นข้อมลู และสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้าและความสาเรจ็ ทางการเรียนของผเู้ รยี น
ตลอดจนข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และคุณภาพการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่ง และเพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องนาไปใชใ้ นการพฒั นาการศกึ ษา
ในปีการศึกษา 2563 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง นโยบาย
ดาเนินการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ลงวนั ท่ี 25 ธันวาคม 2563 ให้ผู้เรยี น
ระดับ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถานศึกษาในกากับของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เขา้ รบั การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ตามความสมคั ร
ใจ โดยถือให้เป็นสิทธิส่วนตัวโดยเฉพาะนักเรียน ต้ังแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป และ สถาบัน
ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้มีมติคณะกรรมการสถาบันทดสอบทางการศึกษา
แหง่ ชาติ ในการประชมุ คร้งั ที่ 1/2564 เมอ่ื วันท่ี 15 มกราคม 2564 ให้สถาบันทดสอบทางการศึกษา
2
แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ดาเนินการจัดการทดสอบ O-NET ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และ
ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้มอบหมายให้สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ทาหนา้ ที่เป็นศนู ย์สอบ จดั การทดสอบความรู้ทางการศึกษาของชาติ
ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไท ย คณิตศาสตร์ วิท ยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) ในฐานะศูนย์สอบ (O–NET : Ordinary National Educational Test) ในระดั บ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ทาหน้าท่ีบริหารการจัดสอบให้เป็นตามนโยบาย
และแนวปฏิบตั ิตามทีส่ ถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (สทศ.) กาหนด โดยมีสนามสอบ โรงเรียน
และผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายที่เห็นความสาคัญของการสอบและให้ความร่วมมือ อย่างดยี ง่ิ สานักงานเขตพ้นื ที่
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 จึงได้จัดทารายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET :
Ordinary National Educational Test) ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 และระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
ปีการศึกษา 2563 สาหรับเป็นข้อมูลสารสนเทศของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต 2 ตอ่ ไป
1.2 วัตถปุ ระสงค์
1.2.1 เพื่ อศึกษ าผลการท ด สอบ ท างการศึ กษ าระดับ ชาติ ขั้น พ้ื นฐาน (O–NET)
ปีการศกึ ษา 2563 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสงั กัดสานักงาน
เขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
1.2.2 เพื่อเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา
2563 จานวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของ
โรงเรยี นในสงั กดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
1.2.3. เพ่ือจดั กลุ่มผลการสอบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2563 จานวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้น
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ของโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
1.2.4. เพือ่ นาผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรยี น
1.3 กลุ่มเปำ้ หมำย
1.3.1 นักเรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 ตามความสมัครใจ จานวน 1,216
คน จานวน 113 โรงเรียน
3
1.3.2 นักเรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจ จานวน 447
คน จานวน 39 โรงเรียน
1.4 ขอบขำ่ ยของกำรศกึ ษำ
การดาเนินการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2563 ของสานกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 ในคร้ังน้ี มีขอบข่ายการศึกษา ดงั น้ี
1.4.1 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2563 สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ดาเนินการจัดสอบ ตามความสมัครใจ ในวันที่ 13
มีนาคม 2564 จานวน 4 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ)
1.4.2 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2563 ของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ดาเนินการจัดสอบ ตามความสมัครใจ ในวนั ท่ี
13 – 14 มนี าคม 2564 จานวน 4 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาองั กฤษ)
1.5 ประโยชนท์ คี่ ำดว่ำจะได้รบั
1.5.1 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีขอ้ มูลผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 เพอื่ จะไดน้ าผลการประเมินไปใช้ประกอบ
การพจิ ารณาในการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรยี นและคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา
1.5.2 สถานศกึ ษาในสังกัด และหนว่ ยงานทางการศึกษาทเี่ กย่ี วขอ้ งไดข้ ้อมลู สารสนเทศ
เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผลในช้นั เรียนให้สอดคล้องกับแนวทางการวดั ผล
และประเมินของข้อสอบ O-NET
1.5.3 ไดข้ อ้ มูลสารสนเทศยอ้ นกลบั สาหรบั ใชใ้ นกระบวนการตัดสินใจและการวางแผน
และกาหนด ทิศทางในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นทง้ั ในระดับเขตพื้นทีแ่ ละสถานศกึ ษา
1.5.4 ได้ข้อมูลพื้นฐาน เปรียบเทียบความก้าวหน้าของการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
รายงานการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (Ordinary National Education Test
: O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ในคร้ังน้ี ได้ศึกษา
ค้นคว้าแนวคิด ทฤษฎีจากเอกสาร งานวิจัยตลอดจน บทความทางการศึกษาเพ่ือกาหนดเป็นกรอบการ
ดาเนนิ งานนาเสนอในประเดน็ ต่างๆ ตามลาดบั ดังนี้
2.1 แนวคิดเก่ยี วกบั การวดั และประเมินผลทางการศึกษา
2.2 แนวคิดการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
2.3 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
2.4 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ระดับศนู ย์สอบ
2.5 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตริ ะดับสนามสอบ
2.6 การบรหิ ารการจัดสอบของศูนยส์ อบ
2.1 แนวคิดเกยี่ วกับการวัดและประเมินผลทางการศกึ ษา
2.1.1 แนวคิดเก่ียวกับการวดั และประเมนิ ผลทางการศกึ ษา
ความหมายของการวัดและประเมนิ ผลทางการศึกษา
การประเมินผลทางการศึกษานั้น ในระยะแรกของวิทยาการประเมินของประเทศไทย
ใช้คาว่าประเมนิ ผล ทีม่ าจากคาว่า Evaluation นอกจากน้นั การประเมินในปจั จุบนั มีการใช้คาอืน่ ๆ เช่น คาว่า
Assessment หรอื Appraisal อาจมคี วามแตกต่างกันซ่ึงอย่างไรกต็ ามการวดั และประเมินผลทางการศกึ ษาน้ัน
เป็ นกระบวนการท่ี มี ระบบแบบแผนเพื่ อท่ี จะตั ดสิ นใจเกี่ ยวกั บผลสั มฤทธิ์ ข อ งนั ก เรี ยน ว่ าเป็ น ไป ต า ม
จุดมงุ่ หมายมากน้อยเพียงใด การวดั และประเมนิ ผลจะบอกท้งั ปรมิ าณและคุณภาพร่วมด้วย การตัดสนิ ใจ
ทางคุณค่าของพฤติกรรมต่างๆ ใน 2 ความหมาย คอื การลงขอ้ สรปุ ตีราคาพฤติกรรมของนักเรียน ในแง่
ปริมาณโดยใช้การตัดสินใจ และเปน็ การตีราคาพฤติกรรมของนักเรียนในแงค่ ณุ ภาพโดยการเกบ็ รวบรวม
ขอ้ มูลหลักฐานดว้ ยวธิ ีอื่นๆ ท่ีไม่ใชว่ ัดด้วยเครอื่ งมือวัดเชิงปริมาณและใชก้ ารตัดสินใจเชงิ คุณภาพ ซึ่งท่กี ลา่ วน้ี
เรียกวา่ Evaluation คอื การพจิ ารณา ตรวจสอบคณุ คา่ ของสิ่งทป่ี ระเมิน (วาสนา ประวาลพฤกษ,์ 2544:16)
จากข้อเสนอในการประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามแนวของการปฏิรปู การศึกษาตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษา
แห่งชาติพุทธศกั ราช 2542 จากรายงานการวจิ ัยของ ศิริชยั กาญจนวาสี (2543:7- 8) กลา่ วว่า การวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ถอื ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการเรยี นการสอนท่ีครผู ู้สอนจะตอ้ งกระทาอย่างตอ่ เน่ือง
ทั้งก่อนเรยี น ระหว่างเรยี น และหลงั เสร็จส้นิ การเรยี นการสอน โดยจะตอ้ งครอบคลมุ ท้ังด้านความรู้ ทักษะ
ลักษณะนิสัย และคุณธรรม โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญและต้องตอบสนองต่อเป้าหมาย
การเรียนรู้ระดับบุคคลสถานศึกษา ชุมชนและประเทศ รวมท้ังมีความเป็นสากลระดับนานาชาติ ซ่ึงการ
5
ประเมินลกั ษณะนจ้ี ะเป็นลักษณะการประเมิน ทเี่ รียกวา่ Assessment แตส่ าหรับการประเมนิ บุคลากร
ท่ีไม่เกี่ยวกับการให้การศกึ ษาและเป็นการประเมินท่ีเน้นคณุ ภาพการปฏิบตั ิงานเป็นสาคัญมีเป้าหมายเพื่อ
การตรวจสอบใหร้ างวลั หรอื ปรับปรุงแก้ไขการปฏบิ ตั ิงานน้นั เรยี กว่า Appraisal
ดังนั้น การวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียนในคร้ังน้ี จึงเป็นการประเมินในลักษณะ
Evaluation ซึ่งเป็นกระบวนการท่ีชี้ให้เห็นว่าการจัดการศึกษาได้บรรลุจุดมุ่งหมายท่ีระบุไว้ในหลักสูตรและ
การสอนหรือไม่ จุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่สาคญั คือความต้องการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์
ซงึ่ หมายถงึ การเปลยี่ นพฤติกรรมของนักเรียนให้เป็นไปในทางพงึ ปรารถนา การประเมินผลจึงเป็นกระบวนการ
ท่ีกาหนดว่ามีการเปลี่ยนพฤตกิ รรมเกดิ ขนึ้ เพียงใด ซงึ่ จุดมงุ่ หมายสาคญั ของการประเมนิ สรปุ ได้ คือเพ่ือตดั สิน
วา่ เปา้ หมายของการศึกษาท่ีได้กาหนดไว้ในรูปของจดุ มงุ่ หมายเชงิ พฤติกรรมนน้ั ประสบความสาเรจ็ หรอื ไม่
ส่วนใดท่ีประสบความสาเร็จเก็บไว้ ส่วนใดที่ไมป่ ระสบความสาเร็จให้ทาการปรบั ปรุงแก้ไขหรือตัดทิ้ง และ
นอกจากน้ี มจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือประเมินความกา้ วหนา้ ทางการศกึ ษา ในอันท่จี ะช่วยให้เข้าใจปัญหา และความ
ตอ้ งการทางการศึกษาได้ และเพ่ือใช้ข้อมูลนั้นเป็นแนวทางในการท่ีจะปรับปรงุ นโยบายทางการศกึ ษาทค่ี น
สว่ นใหญ่เหน็ ด้วยได้
2.1.2 หลกั ของการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
การท่ีจะทาให้การวัดและประเมินผลทางการศึกษาเป็นไปอย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับจิตวทิ ยาการเรยี นรูน้ ้ัน ได้มีผู้เสนอแนะไวห้ ลายประการ ซ่ึงควรแก่การยึดเปน็ หลักในการ
ปฏิบัติ ได้แก่ ต้องทาการวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมาย เพราะการวัดและประเมินผลการศึกษาเป็น
กระบวนการตรวจสอบวา่ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทีไ่ ด้จัดใหก้ ับผ้เู รยี นน้นั ผ้เู รยี นสามารถบรรลุ
ตามจุดมุ่งหมายมากน้อยเพียงใด ดงั น้ันการวัดและการประเมินผลแต่ละครงั้ จึงตอ้ งมีจุดมุ่งหมายทแ่ี นน่ อน
ในการวัด และในการสอนกต็ ้องยดึ หลกั สตู รเปน็ หลักในการวิเคราะหห์ ลักสูตร แล้วจึงตง้ั จดุ มงุ่ หมาย และวัด
ให้ตรงกับจุดมุ่งหมาย หากการวัดแต่ละครั้งไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายที่จะวัดผลของการวัดก็จะไม่มีความหมาย
แต่ก่อใหเ้ กิดความผดิ พลาดในการนาผลการวัดไปใช้ ความผิดพลาดในการวดั ไม่ตรงกับจดุ มุ่งหมาย ได้แก่
การไม่ศกึ ษาหรือนิยามคุณลักษณะท่ีตอ้ งการจะวัดให้ชัดเจน บางครง้ั ผู้วดั ไม่เข้าใจสิ่งทีจ่ ะวัดให้แจ่มแจ้ง
ชัดเจนเพียงพอ หรือเข้าใจในสง่ิ ท่วี ดั ผิดทาให้วัดได้ไม่ตรงกับจดุ มุ่งหมายทผ่ี ้วู ัดตอ้ งการจะวัด ขอ้ มูลทไี่ ด้
จากการวดั ไม่สามารถแปลความหมายไดอ้ ย่างมน่ั ใจ ดังน้ันเพื่อใหก้ ารวัดตรงกับจุดมุ่งหมายท่จี ะวดั และ
เป็นรูปธรรม ผู้วัดควรนิยามหรือให้ความหมายคุณลักษณะท่ีจะวัดให้ชัดเจนก่อน อีกทั้งใช้เคร่ืองมือไม่
สอดคล้องกับสง่ิ ท่ีตอ้ งการจะวดั เน่ืองจากเครื่องมือที่ใชใ้ นการวัดมีหลายชนิด เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต
แบบสอบถาม เปน็ ตน้ ซง่ึ เครอื่ งมือแต่ละชนดิ มลี ักษณะและคณุ สมบัตกิ ับการวัดคุณลักษณะท่ีต่างกันออกไป
หากเลือกใช้เครื่องมอื ไม่เหมาะสมกบั คุณลักษณะท่ีตอ้ งการจะวัด ข้อมูลจากผลการวดั ย่อมมคี วามเช่อื ถอื
ได้น้อยอันจะก่อให้เกิดความคลาดเคล่ือนในการวัดและประเมินผลตามไปด้วย นอกจากน้ีหากวัดได้
ไม่ครบถว้ น ในทางการศึกษาคุณลกั ษณะหน่งึ ๆ อาจมีองค์ประกอบหลายอยา่ งการวดั ผลจงึ จาเปน็ ตอ้ งทาให้
ครอบคลุมทุกส่วนของคุณลักษณะน้ันๆ หากวัดเพียงบางส่วนหรือด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้านแต่ไม่
6
ครอบคลุม ยอ่ มทาให้ผลการวัดน้ันคลาดเคลือ่ นและการประเมินผลกค็ ลาดเคลื่อนตามไปดว้ ย ดงั นนั้ เพอ่ื ใหก้ าร
วัดผลสมบูรณ์มากท่ีสุดควรใช้เครื่องมอื หลายชนิดชว่ ยด้วยเพราะไม่มีเครอ่ื งมือชนิดใดที่วัดผลไดค้ รบถว้ น
และหากเลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะวัดไม่เหมาะสม การวัดเลอื กกลุ่มตัวอย่างในท่ีน้ีหมายถึง กลมุ่ ตัวอย่าง
ของเนือ้ หา และพฤติกรรมท่ีต้องการจะวัด หากเลือกตัวอย่างของเนอื้ หาและพฤตกิ รรมที่ไม่เหมาะสม
เชน่ เลือกเอารายละเอยี ดปลีกย่อยมากเกินไปแทนทีจ่ ะใชส้ าระหลักขององคป์ ระกอบนน้ั ๆ ผลการวดั ท่ีได้
ยอ่ มไมถ่ กู ตอ้ งตามจุดมุง่ หมายท่จี ะวัดและการแปลความหมายของผลการประเมนิ ยอ่ มขาดความเชอื่ ถือ
และอีกประเด็นที่ทาให้การประเมินได้ข้อมูลที่มีคุณค่าคือการใช้เคร่ืองมือที่มีคุณภาพแม้ว่าเราจะ
มีจดุ ประสงค์ในการวดั ท่ีชดั เจน เลือกเครื่องมือได้สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์แลว้ ก็ตาม แต่หากเคร่อื งมือขาด
คณุ ภาพ ผลการวัดก็ขาดคุณภาพตามไปด้วย และเมื่อนาผลการวดั ไปประเมนิ ผล ผลการประเมินย่อมมีโอกาส
ผดิ พลาดได้ ดงั น้ันเพอื่ ให้ผลของการวดั มคี วามเชอ่ื ถอื ไดจ้ งึ ควรเลอื กเครื่องมอื ทีม่ คี ุณภาพ และคานึงถึงความ
ยตุ ธิ รรม ความยตุ ิธรรมเปน็ คุณธรรมที่สาคญั ประการหน่งึ ของผทู้ ี่ทาหน้าที่ประเมินผล เป็นสิ่งท่ีครูต้อง
คานึงถึงทุกครง้ั ที่ทาการวดั และประเมนิ ผลการศึกษากล่าวคือ จะต้องวัดและประเมินผลดว้ ยใจเป็นกลาง
ไม่ลาเอียงหรอื อคติ ตัดสินตามหลักวิชา เช่น การตรวจสอบข้อสอบโดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน จัดกระทา ให้ผู้
ถกู วัดอยภู่ ายใต้สถานการณ์เดยี วกนั ตัดสินการวดั โดยใชห้ ลักเกณฑ์เดยี วกันเป็นต้น หากการดาเนนิ การข้ันใด
ขัน้ หน่ึงขาดความยตุ ธิ รรมแล้วก็ย่อมส่งผลให้การวดั ผลและประเมินผลขาดความเชื่อถือตามไปด้วย สาหรับ
การแปลผลใหถ้ กู ต้อง การวัดและประเมนิ ผลการศึกษามเี ปา้ หมายเพ่อื นาผลไปใชอ้ ธิบายหรือเปรยี บเทยี บกนั
ในคุณลักษณะน้ันๆ ดังนั้น การแปลผลท่ีได้จะต้องพิจารณาให้รอบคอบก่อนที่จะลงสรุปโดยคานึง
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการแปลความหมายเปน็ สาคัญ พจิ ารณาตามหลกั ตรรกวทิ ยา ความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์
ของการประเมินในคร้ังนัน้ ว่าเป็นแบบอิงเกณฑ์หรอื อิงกลุ่ม นอกจากนั้นครจู าเปน็ ตอ้ งมีความร้ใู นมาตราวัด
และสถิติทน่ี ามาใช้ดว้ ย
ดังนนั้ เมอื่ ได้ผลจากการประเมินแลว้ ควรใช้ผลของการวัดและการประเมินใหค้ มุ้ คา่ การวัด
และประเมินผลแต่ละครัง้ เป็นงานทีต่ ้องลงทุนท้ังในด้านพลังความคิดกาลังกาย เวลา และงบประมาณ
เพ่อื ใหส้ ามารถวัดผลตามหลกั วตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี งั้ ไว้ หากผลการวดั ทคี่ รูทานามาเพียงตัดสนิ ไดต้ กใหผ้ เู้ รยี น
เท่าน้นั นับวา่ เป็นการลงทุนท่ไี ม่คมุ้ ค่า เพราะผลของการวัดและประเมนิ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์อยา่ ง
อนื่ ไดอ้ ีก เช่น ใช้สาหรับวินิจฉัยข้อบกพร่องในการเรียนรู้ของผู้เรยี น เพอื่ ปรบั ปรุง และพัฒนาการเรียนรู้
ของผเู้ รยี น เป็นขอ้ มลู สาหรบั การปรบั ปรงุ และพฒั นาการสอนของครู เป็นขอ้ มลู สาหรับแนะแนวผูเ้ รียน
และผู้ปกครองและเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความดคี วามชอบของครู หรือปรบั ปรุงการบริหารงาน
ในโรงเรียนเป็นต้น (จติ ติมาภรณ์ สีหะวงษ,์ 2549)
2.1.3 จุดมงุ่ หมายของการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
กล่าวไดว้ ่าการวดั และประเมินผลเกย่ี วข้องกบั กระบวนการเรยี นการสอนตลอด เวลาซึ่ง
จดุ มุ่งหมายของการประเมนิ นน้ั ไมใ่ ชเ่ ฉพาะการนาผลการวัดไปตดั สนิ การได้-ตก หรือใครควรจะได้เกรด
อะไรเท่านั้น แตค่ วรนาผลการประเมินนัน้ ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ต่อการศึกษาในหลายๆ ลกั ษณะ อาทิ
7
- การวัดและประเมนิ ผลเพ่ือคน้ และพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัด
และประเมินผลเพอื่ ดูว่านักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจเร่ืองใด ตอนใด แล้วครพู ยายามสอนให้นักเรยี น
เกดิ ความรู้ มีความเจริญงอกงามตามศกั ยภาพของตน จุดมุ่งหมายขอ้ นสี้ าคัญมาก หรืออาจกล่าวได้ว่า
เป็นปรัชญา การวัดผลการศึกษา
- การวดั และประเมินผลเพ่ือจัดตาแหนง่ (Placement) การประเมินผลแบบนี้เพ่ือเปรียบเทียบ
ตนเองกับคนอืน่ ๆ โดยอาศัยกลมุ่ เป็นเกณฑ์ว่าใครเด่น ดอ้ ย ใครได้อันดบั ที่ 1 ใครสอบได้ ตก หรือใคร
ควรไดเ้ กรดอะไร เปน็ ตน้ การประเมนิ ผลวิธีน้เี หมาะสาหรบั การตดั สนิ ผลการเรียนแบบองิ กลุม่ หรอื การ
คัดเลือกคนเขา้ ทางาน
- การวัดและประเมินผลเพ่ือวินจิ ฉัย (Diagnostic) เป็นการประเมินผลที่มีจุดมงุ่ หมาย
เพื่อหาความบกพร่องของนักเรยี นว่าวชิ าท่ีเรียนน้ัน มจี ุดบกพร่องตอนใด เพ่อื ที่จะไดน้ าไปปรับปรุงแกไ้ ข
ซ่อมเสริมส่วนที่ขาดหายไปให้ดียิ่งข้ึน ซ่ึงในกระบวนการเรียนการสอน เรียกว่า การวัดผลย่อย
(Formative Measurement)
- การวัดและประเมนิ ผลเพื่อเปรยี บเทยี บ (Assessment) เปน็ การประเมินผลเพ่ือเปรยี บเทยี บ
ตนเองหรอื เพื่อดูความงอกงามของเด็กแต่ละคนในช่วงเวลาที่ต่างกัน ว่าเจริญงอกงามเพิ่มขึ้นกว่าเดิม
เพยี งใด เชน่ การเปรียบเทียบผลก่อนเรยี น (Pre-Test) และหลังเรยี น (Post-Test)
- การวัดและประเมินผลเพื่อพยากรณ์ (Prediction) เป็นการประเมินผลเพ่ือทานาย
อนาคตตอ่ ไปวา่ จะเป็นอย่างไรนน้ั คอื เม่ือนักเรยี นคนใดคนหนึ่งสอบแล้วสามารถรู้อนาคตไดเ้ ลยว่า ถา้ การเรียน
ของนักเรียนอยู่ในลักษณะน้ีต่อไปแล้วการเรียนจะประสบผลสาเร็จหรือไม่ ซึ่งสามารถนาไปใช้ในเร่ือง
การแนะแนวการศึกษาวา่ นักเรียน ควรเรียนสาขาใด หรอื อาชีพใดจึงจะเรียนไดส้ าเรจ็ แบบทดสอบทใี่ ช้
วัดจุดมุ่งหมายข้อน้ี ได้แก่ แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) แบบทดสอบวัดเชาว์ปัญญา
(Intelligence Test) เปน็ ต้น
- การวัดและประเมินผลเพ่ือประเมินผล (Evaluation) เป็นการนาผลท่ีได้จากการวัดไป
เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ทีก่ าหนดไวเ้ พื่อตัดสนิ สรุปให้คุณค่าของการศึกษาหลกั สูตรหรือ เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ใน
การวัดผลว่า เหมาะสมหรอื ไม่ และควรปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งไร
จะอยา่ งไรก็ตาม การวดั และการประเมินผลแตล่ ะคร้งั อาจกาหนดจุดมุ่งหมายในการ
ประเมนิ ผลไว้หลายขอ้ ท้ังนีข้ ้นึ อยู่กบั ความต้องการของผู้ดาเนนิ การนน่ั เอง
2.1.4 ประโยชน์ของการวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษา
การวัดและการประเมินผลทางการศึกษา มีประโยชน์ต่อกระบวนการเรียนการสอน
เป็นอย่างยิ่ง เพราะวา่ เปน็ เครื่องมอื อย่างหนึ่งในการตัดสนิ ใจของครู ผบู้ ริหารและนกั การศกึ ษา ซ่ึงพอจะสรปุ
ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆ ดังนี้ (อนันต์ ศรโี สภา, 2535)
8
- ประโยชนต์ อ่ ครู ช่วยให้ทราบเกย่ี วกบั พฤติกรรมเบอ้ื งตน้ ของนกั เรยี น ครูกจ็ ะว่านกั เรยี น
มีความรพู้ ื้นฐานพรอ้ มทจ่ี ะเรยี นในบทเรยี นตอ่ ไปหรือไม่ ถา้ หากวา่ นักเรียนคนใดยังไม่พรอ้ มครู กจ็ ะหาทาง
สอนซ่อมเสรมิ นอกจากนั้นยังช่วยใหค้ รปู รบั ปรุงเทคนิคการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพอีกดว้ ย
- ประโยชนต์ ่อนักเรียนชว่ ยใหน้ กั เรยี นรวู้ ่าตนเองเก่งหรืออ่อนวชิ าใด ความสามารถของตน
อยูใ่ นระดับใด เพ่อื ทจ่ี ะได้ปรงั ปรุงตนเอง ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องทางการเรยี นของตนให้ดีย่ิงข้นึ
- ประโยชนต์ ่อการแนะแนว ชว่ ยให้แนะแนวการเลือกวชิ าเรียน การศกึ ษาต่อการเลอื ก
ประกอบอาชพี ของนักเรยี น ใหส้ อดคล้องเหมาะสมกับความรู้ความสามารถและบุคลกิ ภาพตลอดจนชว่ ย
ให้สามารถแก้ปญั หาทางจิตวทิ ยา อารมณ์ สังคมและบคุ ลกิ ภาพต่างๆ ของนกั เรยี น
- ประโยชน์ต่อการบริหาร ช่วยในการวางแผนการเรยี นการสอน ตลอดจนการบริหาร
โรงเรียน ช่วยให้ทราบว่าปีต่อไปจะวางแผนงานโรงเรียนอย่างไร เช่น การจัดครูเข้าสอน การส่งเสริมเด็ก
ที่เรียนดี การปรับปรุงรายวิชาของโรงเรียนให้ดีขึ้น เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วยังมีประโยชน์ต่อการ
คัดเลอื กบคุ คลเข้าทางานให้ตาแหน่งต่างๆ ตามความเหมาะสม
- ประโยชน์ต่อการวจิ ยั ชว่ ยวนิ ิจฉยั ข้อบกพร่องในการบรหิ ารงานของโรงเรียนการสอนของครู
และขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรียน นอกจากนน้ั ยงั นาไปสู่การวิจยั การทดลองตา่ งๆ อันจะเป็นประโยชนต์ ่อการศกึ ษา
- ประโยชน์ตอ่ การปกครองช่วยใหท้ ราบวา่ เด็กในปกครองของตนนน้ั มีความเจริญงอกงาม
เป็นอยา่ งไร เพอ่ื เตรียมการสนบั สนนุ ในการเรียนต่อตลอดจนเลอื กอาชีพของเด็ก
และนอกจากนี้ แอนเดอร์สันและบอล (Anderson and Ball อ้างถึงใน นิศา ชูโต, 2538 :
12-13) ไดก้ ลา่ วถึงประโยชนข์ องการประเมนิ ไวด้ ังนี้
- ชว่ ยในการตดั สนิ ใจกอ่ นเร่มิ ดาเนินงาน ค้นหาความต้องการทดสอบแนวความคิดด้าน
เทคนิค และแหลง่ ทนุ และความเปน็ ไปได้ในการดาเนินงาน
- ชว่ ยสาหรบั ตัดสนิ ใจว่าควรจะขยาย ดาเนนิ การต่อ หรอื ยุตกิ ารดาเนินงาน
- ช่วยในการตดั สนิ ใจเกยี่ วกับการปรบั ปรุง และเปลย่ี นแปลงการดาเนนิ งานในแงม่ มุ ใด
หรือจุดใดจุดหน่ึงในช่วงระยะเวลาท่ีกาลังดาเนินงานอยู่ ในส่วนที่เกี่ยวโยงกับวัตถุประสงค์ บุคลากร
หรือระบบการใหบ้ ริการ
- เพื่อเป็นประจักษ์พยานและเป็นเคร่ืองมือในการหาการสนับสนุนเกี่ยวกับโครงการ
ด้านสาธารณชน การเมอื ง การเงิน และด้านวชิ าชพี
- เพื่อช่วยส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ และความรพู้ ้ืนฐานในกระบวนการ พัฒนาสังคม
ในดา้ นวิทยาการทางสังคมวทิ ยา จิตวทิ ยา และอ่ืนๆ นอกเหนอื ไปจากการให้ความรขู้ อ้ เท็จจรงิ และความ
เข้าใจเฉพาะทีเ่ กีย่ วกบั การดาเนินงาน
9
2.2 แนวคดิ การประเมินผลการจดั การเรียนการสอน
การวัดและประเมินผลการเรยี นรใู้ นปจั จบุ ัน ยึดหลักการกระจายอานาจให้โรงเรยี น/สถานศึกษา
ดังน้ันสถานศึกษาจาต้องกาหนด ระเบียบ/แนวปฏิบัติเพื่อการวัดและประเมินของตนเอง โดยอาศัย
"หลักการ/ขอ้ กาหนดสาคญั บางประการ" ที่ส่วนกลางกาหนดให้ เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกนั ทวั่ ประเทศ
แต่ท้ังน้ีไม่มีการออกระเบียบการวัดและประเมินผลโดยตรงไปจากส่วนกลาง (กระทรวง ศึกษาธิการ)
เพอ่ื ใหโ้ รงเรียน/สถานศึกษาใช้มาตรฐานการเรยี นร้ทู กี่ าหนดในหลักสตู รแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ ป็นทง้ั
เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนและเป็นหลักเทียบเคียงเพ่ือการประเมิน นอกจากนี้การประเมินมุ่งเน้นการ
ปรบั ปรุงพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความกา้ วหน้าในการเรยี นรู้เป็นประเด็นหลกั และยงั มุ่งให้ผูเ้ รียนได้พัฒนาเต็ม
ตามศักยภาพ รวมท้ังยังได้กาหนดให้มีการเทียบโอนผลการเรียนในระหวา่ งระบบการจดั การศึกษาต่างๆ
(การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2542) เพื่อเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่ผูเ้ รียน (บญุ ชู ชลัษเฐยี ร, 2549)
แนวทางการประเมนิ ผลการเรยี นของโรงเรยี น/สถานศกึ ษาเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบใน การประเมนิ ผล
การเรียนรู้ของผู้เรยี น โรงเรยี น/สถานศึกษาจาเปน็ ต้องวางระบบงานดา้ นการประเมินผลกาหนดรปู แบบ
การวัดและประเมินผลของตนเองด้วยกระบวนการให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมเพ่ือเป็นมาตรฐานในการ
ปฏิบัติของบคุ คลากรทกุ คน ท่เี กี่ยวขอ้ งกระบวนการน้ีนาไปส่กู ารสร้างความม่ันใจ การยอมรบั เก่ียวกับ
การดาเนินงานรวมท้งั คุณภาพของผลการประเมินทไ่ี ด้
หลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานในปัจจุบันเป็นหลักสตู รอิงมาตรฐาน ดงั นน้ั มาตรฐานการเรยี นรู้
ทีก่ าหนดในหลักสูตรในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรูจ้ งึ นามาใช้ เปน็ หลกั ในการจดั การเรียนรู้ เปน็ หลักในการ
เทียบเคียงสาหรับประเมิน และเป็นตัวกลางบอกให้รู้ความก้าวหน้าพัฒนาการของผู้เรียนการรายงานผลการ
ประเมินจึงควรจัดทาในรูปแบบของการรายงานความก้าวหน้าในการเรียนรู้และระดับสัมฤทธิ์ผลของ
ผู้เรียนในลักษณะเป็นคาอธิบายเชิงคุณภาพ ท่ีเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ซ่ึงจะทาให้รู้ว่าผู้เรียน มี
ความกา้ วหนา้ ในการเรียนรูห้ รอื มีความสาเรจ็ เพยี งใด รู้ส่งิ ใดทาอะไรได้ขอ้ มูลผลการประเมนิ ท่ีไดจ้ ะต้อง
นามาใชอ้ ธบิ ายภาพผลสัมฤทธ์ิท่ีเกดิ แก่ผ้เู รียน ไดอ้ ย่างถูกต้องน่าเชอื่ ถือ
ดงั น้ันการประเมินจาต้องใช้เครื่องมือ และวธิ ีการเกบ็ รวบรวม ข้อมูล วธิ ีการหลากหลาย อาทิ การ
ประเมนิ ทักษะการปฏบิ ัติ โครงงาน แฟ้มผลงาน แบบฝกึ หัด ด้วยการสังเกต สัมภาษณ์ ตรวจผลงาน ฯลฯ
นอกเหนือจากการใชแ้ บบทดสอบข้อเขียน ท่ีใช้กนั อย่างกว้างขวา้ งขณะน้ี เพ่ือให้ผู้เรยี นท่ีอาจใช้วธิ ีการ
เรยี นรู้ และวิธีแสดงออกซ่ึงความสามารถซง่ึ แตกต่างกนั ไดม้ ีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถในเรือ่ งน้ันๆ
ได้ตามศักยภาพของตน ส่งผลให้สามารถประเมินความรู้ ความสามารถของผู้เรยี นได้แม่นยา และครอบคลุม
ผลสมั ฤทธ์ิทีเ่ กิดขน้ึ ทุกดา้ น ซึ่งข้อกาหนดการวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรใหม่นัน้ คอื ภาระ
รับผิดชอบด้านการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสูตรทจี่ าเปน็ ต้องดาเนินการประกอบ ด้วยการวัด
และประเมนิ ระดับชน้ั เรยี น ระดับสถานศกึ ษาและระดบั ชาติระดบั ช้นั เรียนมจี ดุ ม่งุ หมายเพือ่ ดคู วามกา้ วหน้า
10
ด้านความรู้ ทักษะ พัฒนาการและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียนรายบุคคล ผลที่ได้จะเป็นประโยชน์
ต่อการแก้ปัญหาในการเรียนช่วยเหลือผู้เรียนหรือส่งเสริมผู้เรียน ระดับสถานศึกษาน้ัน มีจุดมุ่งหมาย
เพ่ือสรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียนว่ามีผลสัมฤทธิ์ระดับใด เป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่ เม่ือสิ้นภาคเรียน/
ปีการศกึ ษา/จบชว่ งนั้น เพ่อื การตดั สินผลการเรยี นรายวชิ าการ เลื่อนช่วงช้ันหรือใหก้ ารรบั รองส่วนระดับชาติ
การประเมนิ คณุ ภาพระดบั ชาติ มจี ุดมุ่งหมายให้เปน็ กระบวนการทสี่ ร้างความมั่นใจดา้ นคุณภาพการศึกษา
ทงั้ นี้เพราะข้อมลู ที่ได้มา คือ ตวั บ่งชค้ี ณุ ภาพการศกึ ษาของชาตใิ นภาพรวมดังนน้ั ขอ้ มลู จะนาไปใช้วางแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา ในระดับพ้ืนท่ีและระดับสถานศึกษารวมท้ังใช้ประกอบการตัดสินใจในด้าน
นโยบายจงึ กาหนดใหเ้ ป็นหน้าทีข่ องสถานศึกษาพงึ จะตอ้ งจัดให้ผเู้ รียนในชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ชัน้ ประถม
ศกึ ษาปีที่ 6 มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เขา้ รับการประเมนิ ขอ้ มลู จากการประเมนิ ระดับชาตินไี้ ม่เพียง
เป็นประโยชน์แก่การพฒั นาคุณภาพการศึกษาในภาพรวมของประเทศดงั กลา่ วขา้ งตน้ แตย่ ังเป็นประโยชน์
ต่อผู้เรียนโดยตรงอีกดว้ ยโดยเฉพาะช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ผลการประเมินของผู้เรียนในชั้นน้ีจะนาไปใช้
เปน็ องค์ประกอบหนงึ่ ในการพจิ ารณารับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา
เกณฑ์การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรยี นให้ผูเ้ รียนผ่านช่วงช้ันหนึ่งๆและจบหลักสูตรการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน ประกอบด้วยผลการเรียนตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม ผลการประเมิน การอา่ น การคิดวิเคราะห์
การเขียนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด ผลการประเมนิ ท่ีไดไ้ ม่ว่าจะเปน็ การประเมนิ ในระดบั ใด ลว้ นเปน็ ขอ้ มลู ท่มี ีค่าตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษาทั้งสิน้ ดังน้ันเพื่อให้ไดผ้ ลการประเมินท่ีมคี ุณค่าต่อการพัฒนาอย่างแท้จรงิ ผ้เู กยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายพึงได้
ยอมรับแนวคิดวัฒนธรรมการทางานที่ถือว่าการประเมินเป็นกระบวนการพัฒนาไปสู่ส่ิงที่ดีกว่าเมื่อ
ยอมรบั แลว้ ย่อมง่ายในการปฏิบัติผู้บริหารสถานศึกษาพึงส่งเสรมิ ให้ผู้สอนทาหน้าท่ีหลกั ในการดาเนิน
กิจกรรมการประเมินร่วมกับผ้เู กย่ี วข้องอ่นื และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง เชน่ ผู้เรยี น ผปู้ กครอง ชุมชน
อย่างใกล้ชดิ ทง้ั การใหข้ ้อมูลเพอื่ การประเมินการเป็นผูร้ ว่ มประเมิน และใช้ขอ้ มูลการประเมินอย่างค้มุ ค่า
สาหรับตัวผู้เรียนเองต้องมีหน้าท่ีและจาเป็นต้องแสดงออกซ่ึงความรู้ ความสามารถอย่างเต็มที่ เพ่ือให้
ผลการประเมินสะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงของตนการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรใหม่ ที่แม้มี
กรอบความคิดรูปแบบและบรบิ ททเ่ี ปลีย่ นแปลงไปแต่ก็เชื่อว่ารปู แบบและวิธีการประเมนิ ที่ไดก้ ลา่ วมาน้ี จะ
เป็นเคร่ืองมือหน่ึงท่ีช่วยเหลือผู้ปฏบิ ัติ การประเมนิ และผูใ้ ช้ผลการประเมิน ให้ปฏบิ ัติภาระรบั ผิดชอบงานของ
ตนไดผ้ ลเปน็ อยา่ งดี
2.3 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จัดทามาตรฐานการทดสอบ
ทางการศึกษาแห่งชาติเพื่อใหด้ าเนนิ งานเก่ียวกับการบริหารการทดสอบ การจัดระบบวิธีการทดสอบ
บคุ ลากรที่เก่ยี วข้องกบั การทดสอบ การพฒั นาเครอ่ื งมอื วัดและประเมินผล การรายงานผลและการนา
11
ผลไปใชม้ ีมาตรฐานเป็นที่ยอมรบั ทั้งในระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาตจิ ึงจาเป็นตอ้ งกาหนดมาตรฐานการ
ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขึ้น โดยมีคณะอนุกรรมการยกร่างการกาหนดมาตรฐานการทดสอบ
ทางการศึกษาทาหน้าท่ีกาหนดขอบเขตและรายละเอียดของมาตรฐานแต่ละด้าน เพื่อให้ครอบคลุม
โครงสรา้ งและการดาเนินงานของสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) และสามารถ
นาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิเพอ่ื ใหเ้ กิดผลเป็นรปู ธรรมได้ โดยมาตรฐานที่ไดม้ ีการจัดทาขน้ึ ประกอบดว้ ยมาตรฐาน
5 ด้าน ไดแ้ ก่
2.3.1 มาตรฐานการบริหารการทดสอบ เป็นมาตรฐานเพ่ือการประกันคุณภาพวา่ ระบบการ
บริหารการทดสอบมีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้จริง มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ใน
ระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ
2.3.2 มาตรฐานบคุ ลากรดา้ นการทดสอบ เปน็ มาตรฐานเพ่อื การประกันคณุ ภาพวา่ บคุ ลากรท่ี
เก่ยี วข้องกับการทดสอบมีคุณภาพ คณุ สมบัตแิ ละหนา้ ท่เี ทียบตามมาตรฐานสากล
2.3.3 มาตรฐานการพัฒนาแบบทดสอบ เปน็ มาตรฐานเพื่อการประกนั คณุ ภาพว่าแบบทดสอบ
ทใี่ ช้ในการวดั และประเมินมีการพฒั นาอยา่ งมีระบบ มขี ัน้ ตอนการดาเนนิ การท่ีเป็นมาตรฐาน เชอ่ื ถอื ไดม้ ี
สารสนเทศเชงิ ประจักษ์และเป็นแบบทดสอบท่ีมีคณุ ภาพดา้ นความตรง ความเที่ยง และมีความยตุ ิธรรม
2.3.4 มาตรฐานการพิมพ์การรับ/ส่ง การตรวจ และการประมวลผล เป็นมาตรฐานเพ่ือการ
ประกันคุณภาพว่าระบบการพิมพ์แบบทดสอบและกระดาษคาตอบ มีการควบคุมและกากับ
การดาเนินงานอย่างมีขั้นตอนท่ีชัดเจน มีมาตรการด้านความปลอดภัย และมีการเก็บรักษาความลับ
อย่างรัดกุม มีกระบวนการตรวจให้คะแนนที่ถูกต้อง มีระบบชัดเจนและสามารถตรวจสอบความ
ผิดพลาดได้และมีการรายงานผลด้วยคะแนนท่ี มีความหมาย และมีการแปลคะแนนอย่างเหมาะสม
เทยี บเคียงกับผลการทดสอบแตล่ ะครั้ง/ปี
2.3.5 มาตรฐานการรายงานผล และการนาผลไปใช้เป็นมาตรฐานเพ่ือการประกันคุณภาพ
ว่าการรายงานผลและการนาผลไปใช้มีความถูกตอ้ ง เหมาะสม และเป็นธรรม
2.4 มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ระดับศนู ย์สอบ
2.4.1 กากับให้ผู้ที่เก่ียวข้องปฏิบัติตามคู่มือการจัดสอบ O-NET สาหรับสนามสอบและ
กรรมการกลาง และค่มู ือการจดั สอบ O-NET สาหรบั กรรมการคุมสอบอย่างเคร่งครัด
2.4.2 แตง่ ตง้ั คณะทางานระดับศูนย์สอบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ เพื่อกากบั ดแู ล
การบริหารการจดั สอบให้เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยและมปี ระสิทธภิ าพ
2.4.3 จัดสนามสอบขนาดใหญ่ประกอบด้วยหลายโรงเรียน ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ใช้
หลกั การหน่งึ กลมุ่ เครือข่ายโรงเรยี น (กลมุ่ คณุ ภาพ กลมุ่ ประสิทธภิ าพ กลมุ่ โรงเรียน) เปน็ หนึง่ สนามสอบ
ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หนึ่งกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนหรือหนึ่งอาเภอเป็นหนึ่งสนามสอบ หากมีความ
12
จาเปน็ อยา่ งอื่นให้อยใู่ นดุลยพนิ จิ ของประธานศูนยส์ อบ แต่ต้องคานงึ ถงึ ความโปรง่ ใสและยุตธิ รรมในการ
สอบ
2.4.4 แต่งต้ังคณะกรรมการระดับสนามสอบ ประกอบด้วย ตาแหนง่ หัวหน้าสนามสอบเป็น
ผอู้ านวยการโรงเรียนหรือผ้บู รหิ ารท่ศี นู ย์สอบไดพ้ จิ ารณาว่าเป็นบคุ ลากรทม่ี ีความรู้ความสามารถในการ
บรหิ ารการทดสอบกรรมการกลางและกรรมการคมุ สอบ ซง่ึ เป็นครูจากต่างกลมุ่ เครอื ข่ายโรงเรียนทเี่ ป็น
สนามสอบท้ังชุดโดยใช้วิธีการหมุนไขว้กัน ยกเว้นเจ้าหน้าท่ีประสานงานระดับสนามสอบ เจ้าหน้าที่
ประชาสัมพันธเ์ จ้าหน้าท่พี ยาบาลซึ่งเป็นครูอาจารยโ์ รงเรียนที่เปน็ สนามสอบ
2.4.5 รบั กล่องแบบทดสอบและกระดาษคาตอบจาก สทศ.และนาไปจัดเก็บรักษาไว้ในห้อง
ม่นั คงหรอื สถานที่ท่ีปลอดภัยและเปน็ ความลบั กอ่ นกระจายใหส้ นามสอบในตอนเชา้ วันสอบ หากสนาม
สอบใดไม่สามารถดาเนินการได้ในตอนเช้าวันสอบขอให้ศูนย์สอบจัดศูนย์สอบย่อยประจาอาเภอ และ
ต้องมรี ะบบการเกบ็ รักษาให้ปลอดภัย
2.4.6 แต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบไปประจาทุกสนามสอบ สนามสอบละ 2 คน เพื่อกากับดูแล
การจัดสอบให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติในคู่มือฯ และเพื่อให้เกิดความยุติธรรม โปร่งใสและเป็นไปตาม
มาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
2.4.7 กากับให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้รับกล่องบรรจุแบบทดสอบและกล่องบรรจุ
กระดาษคาตอบจากศนู ยส์ อบ เพือ่ ส่งใหส้ นามสอบในตอนเชา้ วนั สอบ
2.4.8 กากับให้ตัวแทนศูนย์สอบประจาสนามสอบ นากล่องบรรจุซองกระดาษคาตอบกลับ
และเอกสารการจดั สอบ สง่ มอบใหศ้ ูนย์สอบหลังจากเสร็จส้นิ การสอบในแต่ละวัน
2.4.9 ศูนยส์ อบตอ้ งจดั เก็บรกั ษากลอ่ งกระดาษคาตอบและเอกสารการจัดสอบ (เชน่ สทศ.5 ,
สทศ.6) ในหอ้ งที่ปลอดภยั ก่อนสง่ มอบใหส้ ทศ.
2.4.10 สทศ. อนุญาตใหศ้ ูนย์สอบ/สนามสอบ ดาเนินการทาลายแบบทดสอบภายใน 30 วัน
หลงั สทศ.ประกาศผลสอบ
2.5 มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตริ ะดับสนามสอบ
2.5.1 ปฏิบัติตามคู่มือการจัดสอบ O-NET สาหรับสนามสอบและกรรมการกลาง และคู่มือ
การจดั สอบO-NET สาหรบั กรรมการคมุ สอบอย่างเครง่ ครัด
2.5.2 ปฏิบัตติ ามประกาศของ สทศ.และระเบยี บการเขา้ ห้องสอบอยา่ งเคร่งครัด
2.5.3 เตรียมความพร้อมก่อนการสอบ เก่ียวกับสถานท่ีสอบ ห้องสอบ และจัดให้มีการ
ประชาสมั พันธ์กอ่ นการสอบ
2.5.4 ตัวแทนศนู ย์สอบประจาสนามสอบ ทาหน้าที่รับ-ส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ
กับศนู ยส์ อบในเชา้ วันสอบ ตามวนั และเวลาท่ีศูนยส์ อบนัดหมายและจัดเกบ็ รกั ษาใหป้ ลอดภยั
13
2.5.5 หวั หนา้ สนามสอบเปดิ กลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบกอ่ นเวลาสอบไมเ่ กิน 1 ชัว่ โมงตามตาราง
สอบต่อหน้าตวั แทนศนู ยส์ อบหรอื ผู้ทศ่ี นู ย์สอบมอบหมาย แล้วบันทึกรายละเอียดในเอกสารใหค้ รบถ้วน
2.5.6 กรรมการกลางต้องแจกแบบทดสอบและกระดาษคาตอบให้ตรงตามตารางสอบ ห้าม
ไม่ให้กรรมการคุมสอบนาแบบทดสอบท่ียงั ไม่ถึงเวลาสอบไปเก็บไว้เพื่อรอการสอบ
2.5.7 ก่อนกรรมการคุมสอบเปิดซองแบบทดสอบต้องมีการตรวจสอบความเรียบร้อยและมี
ตวั แทนผู้เข้าสอบ 2 คน ลงชอื่ รบั รองในใบเซน็ ชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2)
2.5.8 หลังเสร็จส้นิ การสอบของแต่ละวิชา กรรมการคุมสอบตอ้ งตรวจนับกระดาษคาตอบให้
ครบถว้ นตามจานวนผู้เข้าสอบ และนาสง่ กรรมการกลางในทนั ที
2.5.9 กรรมการกลางต้องตรวจนับจานวนกระดาษคาตอบให้ถูกต้องอีกคร้ัง แล้วบรรจุลงใน
ซองกระดาษคาตอบปดิ ผนึกซองกระดาษคาตอบให้เรียบร้อย แลว้ จึงมอบให้ตัวแทนศูนย์สอบทาหนา้ ที่
นาสติ๊กเกอร์แบบทาลายตวั เองปดิ ทบั ท่ีปากซองกระดาษคาตอบ
2.5.10 ห้ามบุคคลอื่นที่ไม่ใชก่ รรมการคมุ สอบประจาหอ้ งสอบเขา้ มาภายในห้องสอบระหว่าง
ที่มีการสอบ
2.5.11 หัวหน้าสนามสอบและกรรมการกลางเดนิ ตรวจความเรยี บรอ้ ยระหวา่ งการสอบ
2.5.12 หวั หนา้ สนามสอบและกรรมการกลางบรรจซุ องกระดาษคาตอบลงกลอ่ งปรบั ขนาด
(กล่องสาหรับบรรจุซองกระดาษคาตอบกลับ สทศ.) และปิดผนกึ ให้เรียบร้อย แล้วนาส่งศนู ย์สอบหลัง
เสร็จส้ินการสอบในแต่ละวัน
2.5.13 หัวหน้าสนามสอบ ต้องกากับ ติดตามและตรวจสอบการจัดสอบให้เป็นไปด้วยความ
เรียบรอ้ ยตามคู่มอื การจดั สอบฯ ให้มีความโปร่งใส ยตุ ธิ รรมและดาเนินการตามนโยบายของ สทศ.
2.6 การบรหิ ารการจัดสอบของศูนยส์ อบ
14
2.6.1 หน้าที่หลกั ของศนู ยส์ อบ
(1) ประสานงานกับ สทศ. ดาเนินการตามนโยบายและแนวปฏิบัติของ สทศ.
โดยเฉพาะการดาเนินงานตามมาตรฐานการบริหารการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ด้านมาตรฐาน
การบรหิ ารการทดสอบและบคุ ลากรด้านการทดสอบ
(2) กากับและตดิ ตามให้โรงเรียนในความรบั ผดิ ชอบของศูนยส์ อบดาเนินการสง่ ขอ้ มลู
โรงเรียนรายช่ือนกั เรยี นให้ครบถว้ นและถกู ต้อง เป็นไปตามกาหนดการและแนวปฏิบัติท่ี สทศ. กาหนด
(3) กาหนดสนามสอบโดยเลอื กโรงเรยี นในความรับผดิ ชอบของศนู ยส์ อบ และจดั หอ้ ง
สอบในแต่ละสนามสอบใหค้ รบถว้ น ผา่ นระบบ O-NET ภายในเวลาทก่ี าหนด
(4) จัดประชุมช้ีแจงคณะทางานระดับศูนย์สอบ และคณะทางานระดับสนามสอบ
เพอื่ ใหท้ ราบข้ันตอนการดาเนนิ การสอบ
(5) พิจารณาอนุมัติในกรณีมีผ้เู ข้าสอบกรณพี ิเศษทไ่ี มม่ ีเลขทีน่ ั่งสอบ โดยตรวจสอบ
ว่านักเรยี นเปน็ ผมู้ สี ทิ ธิส์ อบและแจง้ สนามสอบทราบในวันสอบ
(6) แต่งตั้งตัวแทนศนู ยส์ อบและสง่ ไปปฏบิ ัติหน้าทีป่ ระจาสนามสอบ
(7) แต่งตัง้ คณะทางานระดับศนู ยส์ อบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ
(8) ควบคมุ กากับให้การดาเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบเป็นไปด้วย
ความเรียบรอ้ ยและมีประสทิ ธิภาพ
(9) แก้ปัญหาในการดาเนินการจัดสอบของศนู ยส์ อบและสนามสอบ
(10) บรหิ ารคา่ ใช้จ่ายในการดาเนินการจดั สอบ จากเงนิ จัดสรรท่ไี ด้รบั จาก สทศ.
(11) รายงานสรุปผลการดาเนินการจัดสอบ และสรุปค่าใช้จา่ ยในการจัดสอบ ผ่าน
ระบบบริหารการจัดสอบ ภายใน 60 วันหลังเสร็จส้ินการสอบ และดาเนินการคืนเงินจัดสรรคงเหลือ
ภายใน 60 วนั หลังเสรจ็ สนิ้ การสอบ
2.6.2 บทบาทหนา้ ท่ีของคณะทางานระดับศูนย์สอบ
1. ประธานศนู ย์สอบ
(1) ดาเนินการตามนโยบายที่สทศ.กาหนด โดยบริหารการทดสอบ O-NET ช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 6 และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ
ด้านมาตรฐานการบริหารการทดสอบ และด้านมาตรฐานบคุ ลากรด้านการทดสอบ
(2) แตง่ ต้งั คณะทางานระดับศนู ยส์ อบ และคณะทางานระดบั สนามสอบ
(3) ควบคุม กากับ ติดตามให้การดาเนินการบริหารการจัดสอบ O-NET ระดับ
ศนู ย์สอบและสนามสอบเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย
(4) พิจารณาอนุมตั ิการเบกิ จ่ายเงินจดั สรร ในการดาเนินการบริหารการทดสอบ
O-NET ให้อยู่ภายใต้บัญชีแนบท้ายของ ข้อบังคับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การ
มหาชน) ทั้งนี้ หากการส่ังจ่ายเงินหรือการอนุมัติการเบิกจ่ายเงินจาเป็นต้องมีการดาเนินการ
15
นอกเหนอื จากที่กาหนดไวใ้ นบญั ชีแนบท้ายดงั กลา่ ว หรือท่กี าหนดไว้แลว้ แตไ่ มส่ ามารถปฏิบัติไดใ้ หอ้ ยู่ใน
ดุลยพินิจของประธานประจาศูนย์สอบ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากประธานประจาศูนย์สอบ โดย
คานงึ ถึงความจาเป็นเหมาะสม
(5) พิจารณาตรวจสอบ สงั่ การ ติดตามกรณีทเ่ี กดิ ปญั หาในการบรหิ ารการจัดสอบ
ทง้ั ระดบั ศูนย์สอบและระดับสนามสอบ
2. คณะทางานประสานงานการจัดสอบและจดั ทาฐานข้อมูล
(1) ประสานงานการจดั สอบในดา้ นตา่ งๆ ระหวา่ ง สทศ. ศนู ย์สอบและโรงเรียน
(2) ดาเนินการปรับปรุงข้อมูลศูนย์สอบ และข้อมูลโรงเรียนในระบบ O-NET
ให้เป็นปัจจบุ นั
(3) ประสานงานกับ สทศ. เรือ่ งการเพิ่มข้อมูลโรงเรียนท่ีมีการต้ังใหม่เข้าระบบ
O-NET
(4) กากับ ติดตามใหโ้ รงเรยี นส่งรายชอ่ื นักเรียนท่ีมสี ทิ ธิ์สอบ ภายในวนั ท่ี 31 ส.ค.
2563 และดแู ลประสานงานเรอื่ งการนาสง่ ขอ้ มูลนกั เรียนที่มสี ิทธสิ์ อบในกรณีตา่ งๆ
(5) ดาเนนิ การจดั สนามสอบ ห้องสอบ ในระบบ O-NET ให้แล้วเสร็จภายในวนั ที่
30 ก.ย. 2563
(6) จดั หาคณะกรรมการระดบั สนามสอบและจัดทาคาสั่งคณะทางานชุดตา่ งๆ ใน
ระดบั ศนู ยส์ อบ ระดับสนามสอบและตัวแทนศูนย์สอบ
(7) เตรียมจัดการประชุมชี้แจงคณะกรรมการท้ังระดับศูนย์สอบและระดบั สนาม
สอบ
(8) ตอบข้อซกั ถามและบริหารการจดั สอบให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย
(9) จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานการดาเนินการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน(O-NET) ระดบั ศูนย์สอบ (O-NET6) ผา่ นระบบบรหิ ารการจดั สอบ ภายในช่วงเวลา
ทส่ี ทศ. กาหนด
3. คณะทางานรบั -ส่ง เก็บรักษาแบบทดสอบ กระดาษคาตอบ และอปุ กรณก์ ารสอบ
(1) ประสานงานเร่ืองการรับกล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคาตอบจาก
สทศ.
(2) จัดเตรยี มห้องม่ันคงหรือสถานที่ท่ีมีความเหมาะสม เพ่ือใช้ในการเก็บกล่อง
แบบทดสอบและกระดาษคาตอบ กอ่ นทจี่ ะมกี ารส่งมอบให้กับสนามสอบ
(3) ตรวจนับแบบทดสอบ กระดาษคาตอบและเอกสารประกอบการสอบให้
ถูกตอ้ ง และเก็บรกั ษาใหป้ ลอดภัย
(4) จัดเจ้าหน้าท่ีเพื่อดูแลรักษาและควบคุมแบบทดสอบและกระดาษคาตอบที่
เก็บรักษาไว้ทีศ่ ูนยส์ อบ
16
(5) ควบคมุ ดแู ล กากบั การขนส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบจากศูนยส์ อบ
– สนามสอบ
(6) หลังเสร็จสิ้นการสอบประสานงานกับสนามสอบเร่ืองการรั บกล่อง
กระดาษคาตอบจากสนามสอบ
(7) ประสานงานเร่ืองการส่งกล่องกระดาษคาตอบและเอกสารการจดั สอบ (สทศ.
5, สทศ.6) ให้สทศ.
4. คณะทางานการเงิน
(1) พิจารณาเบิกจ่ายค่าตอบแทน ค่าดาเนินการต่างๆ ทั้งระดับศูนย์สอบและ
สนามสอบ ตามบัญชีแนบท้าย 3 อัตราค่าใช้จ่ายในการดาเนนิ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น
พ้นื ฐาน (O-NET)
(2) จัดส่งใบเสรจ็ รบั เงินใหก้ บั สทศ. หลังจากท่ไี ด้รบั เงินจัดสรรในแตล่ ะงวดเปน็ ท่ี
เรียบรอ้ ย
(3) จัดทารายงานสรุปค่าใช้จ่ายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน
ระดับศนู ย์สอบ (O-NET 9) ผา่ นระบบบรหิ ารการจดั สอบ ภายในชว่ งเวลาทีส่ ทศ. กาหนด
(4) กรณีมีเงินจดสรรคงเหลือจากการบริหารการจัดสอบ ศูนย์สอบต้องนาเงิน
ส่งคนื สทศ. ภายในชว่ งเวลาที่กาหนด
5. ตัวแทนศูนย์สอบ
ตัวแทนศูนยส์ อบ ให้ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งจากบุคลากรภายในศูนยส์ อบ ครู
ต่างเครอื ขา่ ยหรอื จากหน่วยงานอ่ืนๆทม่ี คี ุณสมบตั เิ หมาะสม (ทงั้ ดา้ นคุณวฒุ แิ ละวยั วฒุ มิ ีความรับผดิ ชอบ
ตอ่ งานทไี่ ด้รับมอบหมาย มคี วามซอ่ื สัตยแ์ ละเป็นผู้นาที่ด)ี จานวนตัวแทนศูนยส์ อบให้ใช้อตั รา 2 คนต่อ
สนามสอบ โดยมีหนา้ ท่ี ดังนี้
(1) รับ-สง่ กลอ่ งแบบทดสอบและกลอ่ งกระดาษคาตอบระหวา่ งศูนย์สอบกบั สนาม
สอบ
(2) กากับการเปิดกล่องแบบทดสอบให้ตรงตามตารางสอบและเวลาที่กาหนด
ร่วมกับหวั หนา้ สนามสอบและกรรมการกลาง
(3) เม่ือกรรมการกลางตรวจนับกระดาษคาตอบครบถ้วนและบรรจุใส่ซองพร้อม
ทง้ั ปิดผนึกซองกระดาษคาตอบเป็นที่เรยี บรอ้ ยแลว้ ให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้ที่ทาหน้าท่ีปดิ สต๊ิกเกอร์
แบบทาลายตวั เองท่ีปากซองกระดาษคาตอบ พรอ้ มท้ังลงช่อื กากับทหี่ น้าซองกระดาษคาตอบ
(4) กากับ ดูแลการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตาม
มาตรฐานการทดสอบ
17
(5) กากบั การบรรจุซองกระดาษคาตอบลงกลอ่ งทนั ทีหลงั เสร็จสิ้นการสอบแต่ละ
วชิ า และปิดผนกึ กล่องกระดาษคาตอบกลับด้วยเทปกาวของ สทศ. พรอ้ มทงั้ ให้ตวั แทนศูนย์สอบลงชือ่ ที่
ใบปะหนา้ กลอ่ งบรรจุซองกระดาษคาตอบกลับ สทศ.
(6) นากลอ่ งบรรจุซองกระดาษคาตอบกลับทป่ี ิดผนกึ เปน็ ที่เรียบรอ้ ยแล้วส่งศูนย์
สอบหลังจากเสรจ็ สิ้นการสอบในแตล่ ะวนั หา้ มทิ้งกล่องบรรจซุ องกระดาษคาตอบไว้ท่ีสนามสอบ
(7) รายงานการจัดสอบของสนามสอบให้ศนู ย์สอบทราบตามเอกสารรายงานการ
ปฏิบตั ิงานของตัวแทนศูนย์สอบ
6. โครงสร้างการบรหิ ารการทดสอบ O-NET ช้นั ป.6 และ ม.3 ระดบั สนามสอบ
6.1 การแตง่ ตัง้ บุคลากรระดับสนามสอบ
ศนู ย์สอบตอ้ งแต่งตัง้ คณะกรรมการระดบั สนามสอบ ตาแหน่งหัวหน้าสนามสอบ
เปน็ ประธานศูนยเ์ ครือข่าย/ผู้อานวยการโรงเรยี นหรอื ผู้แทนหรือผ้ทู ี่ศูนย์สอบพิจารณาแต่งต้ังตามความ
เหมาะสม ตาแหน่งกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบให้ใช้สลับกลุ่มกัน (อาจสลับระหว่างกลุ่ม
เครอื ขา่ ยกลมุ่ สนามสอบหรือกลุ่มโรงเรยี น) กรรมการคุมสอบตอ้ งมาจากต่างโรงเรียนและจะตอ้ งไม่คุม
สอบนักเรียนตนเอง โดยบุคลากรทุกตาแหน่งในสนามสอบ จะต้องเป็นบุคคลที่ได้รับการแต่งต้ังจาก
ประธานศูนย์สอบ การดาเนินการ ณ สนามสอบผู้ที่มีอานาจตัดสินใจ คือ หัวหน้าสนามสอบ การ
ตัดสินใจอยู่ภายใต้ระเบียบ ข้อปฏิบัติและข้อกาหนดท่ี สทศ.กาหนดและเป็นไปด้วยความถูกต้อง
เหมาะสมและเป็นธรรม ซง่ึ การบริหารจดั การ หัวหน้าสนามสอบสามารถพิจารณาร่วมกับตัวแทนศูนย์
สอบ หรอื กรณที ก่ี ารพจิ ารณาไมส่ ามารถตัดสินหรือดาเนินการได้ในระดบั สนามสอบ ขอให้สนามสอบได้
ประสานงานไปทศี่ นู ยส์ อบเพือ่ ร่วมกนั ดาเนินการ
6.2 บุคลากรประจาสนามสอบ ประกอบด้วย
(1) หัวหน้าสนามสอบ หัวหน้าสนามสอบเป็นประธานศูนย์เครือข่าย/
ผ้อู านวยการโรงเรยี นหรือผแู้ ทนหรอื ผทู้ ่ศี นู ย์สอบพิจารณาแตง่ ต้ังตามความเหมาะสม
(2) กรรมการกลาง อัตรา 1 คน : 3 ห้องสอบ (หากไม่ถึง 3 ห้องสอบและมี
ความจาเปน็ อาจแตง่ ตง้ั กรรมการกลางได้ 1 คน)
(3) กรรมการคมุ สอบ อตั รา 2 คน : 1 หอ้ งสอบ (กรรมการคมุ สอบในแต่ละห้อง
สอบจะต้องมาจากต่างโรงเรียนกัน และกรรมการคุมสอบไม่คุมสอบนักเรียนตนเอง) และให้แต่งต้ัง
กรรมการคมุ สอบสารองอตั รา 1 คน/10 หอ้ งสอบ
(4) เจ้าหน้าที่ประสานงานประจาสนามสอบ เป็นครูอาจารย์โรงเรียนท่ีเป็น
สนามสอบ ทาหน้าที่เป็นผู้ประสานงานเรื่องอาคารสถานที่ และอานวยความสะดวกในด้านต่างๆกับ
บุคลากรภายในสนามสอบ โดยไมต่ ้องรบั ผดิ ชอบเก่ียวกับแบบทดสอบ กระดาษคาตอบและการบริหาร
การทดสอบ
18
(5) เจ้าหน้าท่ีประชาสัมพันธ์เป็นครอู าจารย์โรงเรียนที่เป็นสนามสอบ เพื่อทา
หน้าที่ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการสอบ ข้อปฏิบัติในการสอบและเร่ืองประชาสัมพันธ์ต่างๆ ที่
เก่ียวขอ้ งกับการสอบ
(6) เจ้าหน้าที่พยาบาล เป็นครูอาจารย์โรงเรียนที่เป็นสนามสอบดแู ล รักษาและ
บรรเทาอาการเจ็บปวดหรือบาดเจบ็ ของผ้เู ขา้ สอบภายในสนามสอบ
(7) นักการ ภารโรง อัตรา 1 คน : 5 ห้องสอบ (ข้ันต่าให้สนามสอบสามารถจัด
นกั การ ภารโรง ได้ 1 คนตอ่ สนามสอบ)
(8) เจ้าหน้าทอี่ น่ื ๆ เช่น เจา้ หนา้ ที่ตารวจ เจา้ หน้าทร่ี ักษาความปลอดภยั ในสนาม
สอบทม่ี ีความเสย่ี งสามารถพจิ ารณาแต่งต้งั เจา้ หน้าทเี่ พ่ิมเติม เพ่ือดูแลความเรยี บร้อยในสนามสอบให้อยู่
ในความเรยี บร้อยและดาเนนิ การสอบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ
6.3 คุณสมบตั ิของกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ
(1) ตาแหน่งกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ ต้องเป็นข้าราชการครูหรือ
บคุ ลากรทางการศึกษา ระดบั 3 ข้นึ ไปหรอื เทยี บเท่า หรอื พนักงานประจาตง้ั แต่ระดบั ปริญญาตรขี ้ึนไป
(2) เปน็ บคุ ลากรตา่ งโรงเรยี น/ตา่ งกลุ่มเครือขา่ ย/ต่างอาเภอ สลับไขว้กนั
(3) ไม่มีผลประโยชนท์ ับซ้อน (conflict of interest)
(4) มคี วามรับผิดชอบ
(5) ตรงตอ่ เวลา
(6) เกบ็ รักษาความลบั ไดเ้ ปน็ อย่างดี
(7) ปฏบิ ตั ิตามระเบียบและขอ้ กาหนดที่สทศ.กาหนดอยา่ งเคร่งครัด
(8) มคี วามละเอียด ถี่ถว้ นและใหค้ วามสาคัญกบั เอกสารทเกีย่ วขอ้ ง
6.4 หน้าทหี่ ลักของสนามสอบ
ก่อนการสอบ
(1) ประสานงานกับศูนย์สอบ และดาเนินการตามนโยบายและแนวปฏิบัติ
ของสทศ.อย่างเคร่งครดั
(2) เสนอชื่อคณะกรรมการระดับสนามสอบ ให้ศูนย์สอบพิจารณาแต่งต้ัง
อนุมัติ
(3) เตรยี มความพร้อมก่อนการจัดสอบในส่วนของสถานท่ีสอบ ติดประกาศ
รายช่อื ผู้เขา้ สอบ รวมทง้ั มีการประชาสมั พันธก์ ารสอบใหผ้ ูเ้ ขา้ สอบได้รบั ทราบข้อมลู ในวนั สอบ
(4) ขออนุมัติจากศูนยส์ อบในกรณีมีผ้เู ข้าสอบกรณพี เิ ศษที่ไมม่ ีเลขท่ีน่ังสอบ
(walk in) ซึ่งนักเรียนท่ีwalk in อาจเกิดจากโรงเรยี นส่งรายชื่อเพิ่มเติมภายหลังจากประกาศเลขที่นั่ง
สอบ หรอื ยา้ ยเขา้ สถานศกึ ษามาภายหลังระหวา่ งการสอบ
19
(5) ดาเนินการจัดสอบภายในสนามสอบให้มีประสิทธิภาพ มีความยตุ ิธรรม
โปร่งใสและเปน็ ไปตามแนวปฏบิ ัตใิ นค่มู ือการจัดการทดสอบ
(6) ตรวจนับจานวนกระดาษคาตอบของผู้เข้าสอบและนาส่งสทศ.ให้
ครบถ้วน เพื่อรักษาผลประโยชน์ใหก้ บั ผเู้ ข้าสอบ
หลงั การสอบ
(7) เก็บรักษาแบบทดสอบให้ครบถ้วนตามจานวนที่ระบุไว้หน้าซอง
แบบทดสอบ (แบบทดสอบถอื เปน็ เอกสารลับทางราชการและเปน็ สมบัติของ สทศ.) เม่อื ดาเนนิ การสอบ
เสร็จสิน้ แล้ว ขอให้สนามสอบหรือศนู ยส์ อบ เก็บรกั ษาแบบทดสอบไว้จนกระทั่ง สทศ.ประกาศผลสอบ
จงึ อนุญาตใหท้ าลายแบบทดสอบได้
(8) รายงานค่าสถิติการสอบผ่านทาง www.niets.or.th หลังการสอบเสร็จ
สน้ิ ในแต่ละวิชา
(9) ประสานงานกบั ศูนยส์ อบในการสรุปผลการดาเนินการจัดสอบ O-NET
ระดบั สนามสอบ (O-NET5) ผา่ นระบบบรหิ ารการจดั สอบ และการเบิกจ่ายคา่ ตอบแทนคณะกรรมการ
ปฏิบัติงานระดับสนามสอบ (O-NET8) รวมทั้งการสง่ มอบเอกสารการจัดสอบและหลกั ฐานทางการเงิน
ใหศ้ นู ย์สอบเก็บรักษาไวห้ รอื นาส่ง สทศ.ตอ่ ไป
บทท่ี 3
วธิ ีดำเนินกำร
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (Ordinary National Education Test :
O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 ของสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 ในครัง้ นี้
มขี ้ันตอนวธิ ีดาเนินการ ไดแ้ ก่
3.1 กล่มุ เปา้ หมายของการศกึ ษา
3.2 เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา
3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3.1 กลุ่มเปำ้ หมำยของกำรศึกษำ
กล่มุ เปา้ หมายของการศึกษาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน ปีการศกึ ษา 2563
ของสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ประกอบดว้ ย
นักเรยี นระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 ตามความสมคั รใจ จานวน 1,216
คน จานวน 113 โรงเรียน และนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 ตามความสมัครใจ
จานวน 447 คน จานวน 39 โรงเรียน
3.2 เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นกำรศกึ ษำ
เคร่ืองมือที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2563 ของสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 คร้ังนี้เป็นแบบทดสอบมาตรฐานของสถาบันทดสอบ
ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จานวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา ต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยลักษณะของ
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET: Ordinary National Educational Test) ปี
การศึกษา 2563 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามมาตรฐานการเรียนรู้หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 เป็นแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (Multiple
Choice) 4 ตัวเลือก ปรนัยแบบจับค่คู าตอบ และแบบอัตนยั ตามลักษณะของแบบทดสอบ ซง่ึ มีหลากหลาย
ประเภท โดยเฉพาะวชิ าภาษาไทย ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เป็นแบบปรนัยและอตั นัย
21
3.3 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
เพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน ปีการศึกษา
2563 ครั้งน้ี ดาเนินการตามมาตรการการจัดสอบที่ถูกต้องของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
(องค์การมหาชน) และสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มมี าตรฐานและไดข้ ้อมลู ที่มี
คณุ ภาพจงึ ไดด้ าเนนิ การตามขัน้ ตอน ดังน้ี
3.3.1 กลุม่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา เสนอรายช่ือกรรมการกากับห้องสอบ ของแตล่ ะสนามสอบ
(1 กลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษา ต่อ 1 สนามสอบ ) มีหัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลาง ผู้ประสานงาน
ประจาสนามสอบ เจา้ หน้าที่ประชาสมั พนั ธ์ และตัวแทนศูนย์สอบ เพือ่ ประสานงานการจดั สอบให้มคี ณุ ภาพ
และกรรมการคุมสอบจาก ครูประจาการ 2 คน ต่อ 1 ห้องสอบ โดยให้สลับครูคุมสอบต่างโรงเรียน
ท้ัง 2 คน
3.3.2 สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 แตง่ ตั้งคณะกรรมการ และจัดประชมุ
ชี้แจงแนวปฏิบัตแิ ละอานาจหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการกากบั หอ้ งสอบ โดยดาเนินการสอบตามตารางสอบ
และวิธกี ารตามค่มู อื ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการปฏิบตั ิของผกู้ ากับการสอบ
พ.ศ.2548 ในระหว่างวันท่ี 9 – 10 มีนาคม 2564 ณ อาคารรวมใจ ชั้น 2 สานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
3.3.3 ดาเนินการจดั สอบพรอ้ มกันทั้งเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยคณะศึกษานิเทศก์ ผู้อานวยการกลุ่ม
งานต่างๆ ในสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา และรองผู้อานวย การสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
เลย เขต 2 กากับ ติดตาม การดาเนินการจัดสอบของแต่ละสนามสอบ
3.3.4 คณะกรรมการประมวลผล วเิ คราะห์ และสรุปผลการทดสอบตามวตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา
ดังน้ี
1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2563
นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ของโรงเรยี นในสงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาเลย เขต 2
2) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O–NET) การทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมัธยม
ศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรยี นในสังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
3) จัดกลุ่มผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) การทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2563 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมัธยม
ศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ที่สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กาหนด เพ่ือนาผลการ
สอบไปใช้ในการปรับปรุงคณุ ภาพการเรยี นการสอนของโรงเรยี น โดย มีเกณฑ์ ดังนี้
22
กลุ่มดีมาก (Group A) หมายความวา่ คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดบั ประเทศทุกกลุม่ สาระ
การเรยี นรู้ จานวน 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่ กลุม่ สาระ
การเรียนรู้วชิ าภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และภาษา ตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
กลมุ่ ดี (Group B) หมายความวา่ คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดบั ประเทศ 2-3 กลุม่ สาระ
การเรยี นรู้
กลุม่ พอใช้ (Group C) หมายความวา่ คะแนนเฉล่ยี สงู กวา่ ระดบั ประเทศ 1 กล่มุ สาระ
การเรยี นรู้
กลุ่มปรับปรงุ (Group D) หมายความว่าคะแนนเฉลยี่ ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ต่ากว่าระดับประเทศ
3.4 กำรวิเครำะห์ขอ้ มลู และสถติ ิทีใ่ ชใ้ นกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ครงั้ นี้หาคา่ สถิตพิ ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ ใชก้ ารแจงนบั ความถี่แลว้ คานวณหา คา่ รอ้ ยละ
(Percentage, ค่าเฉลี่ย ( X ) โดยมสี ถติ ิทใี่ ชเ้ พื่อหาคา่ ตา่ งๆ ดงั น้ี
3.4.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณติ (mean) โดยคานวณจากสูตร (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545: 102)
X X
N
เมอ่ื X แทน คา่ เฉล่ียของคะแนน
X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
N แทน จานวนคนท้ังหมด
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ผลการทดสอบระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O – NET) ปีการศึกษา 2563
นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ของโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 และเพื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET)
จานวน 4 กลมุ่ สาระการเรียนรขู้ องนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ของโรงเรยี น
ในสงั กัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 โดยมีกล่มุ เป้าหมาย คือ นักเรยี นระดบั
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2563 ตามความสมคั รใจ จานวน 1,216 คน จานวน 113 โรงเรยี น
และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจ จานวน 447 คน จานวน 39
โรงเรียน สาหรบั ผลการศกึ ษาของการรายงานผลการทดสอบระดับชาติข้นั พน้ื ฐานผศู้ ึกษามรี ายละเอยี ดของ
ผลการศกึ ษาดังนี้
4.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 นกั เรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาเลย เขต 2
4.2 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O–NET) การทดสอบทาง
การศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน ปกี ารศกึ ษา 2563 ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และชั้นมัธยม ศึกษาปี
ที่ 3 ของโรงเรียนในสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
4.3 จัดกลุ่มผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O–NET) การทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2563 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑท์ ี่สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กาหนด โดย มเี กณฑ์ ดงั น้ี
กลุ่มดีมาก (Group A) หมายความวา่ คะแนนเฉลย่ี สงู กวา่ ระดบั ประเทศทุกวิชา
(4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษา ต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
กลมุ่ ดี (Group B) หมายความวา่ คะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดบั ประเทศ 2-3 กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้
กลมุ่ พอใช้ (Group C) หมายความวา่ คะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดับประเทศ 1 กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้
กลมุ่ ปรับปรุง (Group D) หมายความว่าคะแนนเฉลีย่ ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้
ต่ากวา่ ระดับประเทศ
24
4.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O – NET) ปีการศึกษา 2563 นักเรยี น
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2
ตารางที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O – NET) ปกี ารศึกษา 2563
นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ของโรงเรยี น ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาเลย เขต 2
วชิ า/ประเภท ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ียรวม
คะแนนเฉลย่ี ระดับเขต 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
พนื้ ที่
คะแนนเฉลย่ี 56.20 29.99 38.78 43.55 42.13
ระดับประเทศ
ผลต่าง -6.13 -5.13 -4.06 -11.37 -6.67
แปลผล ต่ากว่า ตา่ กวา่ ตา่ กว่า ตา่ กว่า ต่ากวา่
จากตารางที่ 1 พบวา่ คะแนนเฉลย่ี ของผลการทดสอบทางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (O–NET)
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 ในภาพรวมมีคะแนนเฉลีย่ 35.46 ต่ากว่าคะแนนเฉล่ียรวมใน
ระดับประเทศ (ระดับประเทศมีคะแนนเฉล่ีย 42.13) เม่ือพิจารณาตาม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีผลการ
ทดสอบดงั น้ี ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ย 50.07 คณติ ศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ีย 24.86 วทิ ยาศาสตร์ มีคะแนน
เฉลี่ย 34.72 และภาษาองั กฤษ มีคะแนนเฉลย่ี 32.18 โดยทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้มี
ค่าคะแนนเฉล่ียตา่ กวา่ ค่าคะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ แสดงไดด้ ัง แผนภมู ทิ ี่ 1
แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน
(O – NET) ปกี ารศึกษา 2563 นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ของโรงเรยี นในสงั กัด
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 กับคะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ
25
ตารางที่ 2 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O – NET) ปกี ารศกึ ษา 2563
นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรยี นในสงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา
เลย เขต 2
วิชา/ประเภท ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ียรวม
คะแนนเฉลี่ยระดับเขต 46.10 19.87 26.89 26.39 29.81
พนื้ ที่
54.29 25.46 29.89 34.38 36.01
คะแนนเฉล่ีย
ระดบั ประเทศ -8.19 -5.59 -3.00 -7.99 -6.20
ต่ากวา่
ผลต่าง ต่ากวา่ ต่ากว่า ต่ากวา่ ตา่ กวา่
แปลผล
จากตารางที่ 2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (O–NET)
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 ในภาพรวม มีค่าคะแนนเฉลย่ี 29.81 ต่ากว่าคะแนนเฉลยี่ รวมใน
ระดับประเทศ (ระดับประเทศมีคะแนนเฉลี่ย 36.01) เม่ือพิจารณาตาม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีผลการ
ทดสอบดังน้ี ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ย 46.10 คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ีย 19.87 วทิ ยาศาสตร์ มีคะแนน
เฉลย่ี 26.89 และภาษาองั กฤษ มีคะแนนเฉลยี่ 26.39โดยทุก กลุ่มสาระการเรยี นรู้มีค่าคะแนนเฉล่ยี ต่ากว่า
คา่ คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ แสดงได้ดงั แผนภมู ทิ ่ี 2
แผนภูมิท่ี 2 แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน
(O – NET) ปีการศึกษา 2563 นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ของโรงเรยี นในสังกดั
สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 กับคะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ
26
4.2 ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O – NET) ของนักเรยี น
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 ปีการศกึ ษา 2562 กบั ปีการศึกษา 2563
ตารางท่ี 3 แสดงผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน
(O–NET) ปีการศกึ ษา 2562 กับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563 ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6
โรงเรยี นในสงั กดั สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
วชิ า/ปีการศกึ ษา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลย่ี รวม
43.68 26.90 30.66 26.73 31.99
ปีการศกึ ษา
2562 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
ปกี ารศกึ ษา +6.39 -2.04 +4.06 +5.45 +3.46
2563 เพิม่ ขึ้น ลดลง เพ่ิมข้นึ เพ่ิมข้ึน เพิม่ ข้นึ
ผลตา่ ง
แปลผล
จากตารางท่ี 3 พบว่า คะแนนเฉลยี่ ของผลการทดสอบทางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2563 นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ในภาพรวม มคี ะแนนเฉลยี่ 35.46 โดยมีคะแนนเฉลยี่
เพม่ิ ขึ้น 3.46 จากปกี ารศกึ ษา 2562 ซง่ึ มคี ะแนนเฉลย่ี 31.99 เมือ่ พจิ ารณาในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้
พบว่า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยมคี ะแนนเฉลย่ี เพ่มิ ขนึ้ 6.39 วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลยี่ เพม่ิ ขึ้น
4.06 ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ยเพม่ิ ขนึ้ 5.45 และคณิตศาสตร์ มคี ะแนนเฉลยี่
ลดลง 2.04 จากปีการศกึ ษา 2562 แสดงได้ดงั แผนภมู ทิ ี่ 3
27
แผนภมู ทิ ี่ 3 แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน
(O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2562 กบั คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563 ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
โรงเรยี นในสงั กดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
ตารางท่ี 4 ผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน
(O–NET) ปกี ารศึกษา 2562 กบั คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2563 ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
โรงเรียนในสงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
วิชา/ปกี ารศกึ ษา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ียรวม
ปกี ารศกึ ษา 49.83 20.72 28.28 27.70 31.63
2562
46.10 19.87 26.89 26.39 29.81
ปกี ารศึกษา
2563 -3.73 -0.85 -1.39 -1.31 -1.82
ผลตา่ ง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง
แปลผล
จากตารางที่ 4 พบวา่ คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (O–NET)
ปีการศึกษา 2563 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในภาพรวม มีคะแนนเฉล่ีย 29.81 โดยมีคะแนนเฉล่ีย
ลดลง 1.82 จากปีการศึกษา 2562 ซ่ึงมีคะแนนเฉล่ีย 31.63 เม่ือพิจารณาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
พบวา่ ทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ มคี ะแนนเฉลย่ี ลดลง จากปีการศกึ ษา 2562 แสดงได้ดัง แผนภูมทิ ่ี 4
28
แผนภมู ิที่ 4 แสดงผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน
(O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2562 กบั คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
โรงเรยี นในสงั กดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
ตารางท่ี 5 เปรยี บเทยี บผลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา
2561 ถึง ปีการศกึ ษา 2563 ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียน ในสังกดั สานกั งาน
เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
วิชา/ปีการศึกษา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ียรวม
ปีการศกึ ษา 49.24 29.96 35.52 29.85 36.14
2561
43.68 26.90 30.66 26.73 31.99
ปกี ารศึกษา 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
2562
ปกี ารศกึ ษา
2563
จากตารางที่ 5 พบวา่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 เมื่อทาการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบในภาพรวม ยอ้ นหลังจานวน 3
ปี ผลปรากฏว่ามีคะแนนเฉล่ยี ในภาพรวมในปกี ารศึกษา 2562 ลดลงจากปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา
29
2563 เพ่ิมข้ึนจากปีการศึกษา 2562 เม่ือจาแนกเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์และภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉล่ีย ปีการศึกษา 2562 ลดลงจาก
ปีการศึกษา 2561 ในปีการศึกษา 2563 เพ่ิมข้ึนจากปีการศึกษา 2562 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ มีระดบั คะแนนเฉลีย่ ลดลงทุกปีการศึกษา แสดงไดด้ งั แผนภูมทิ ี่ 5
แผนภูมทิ ี่ 5 แสดงผลการเปรียบเทียบผลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา
2561 ถึง ปกี ารศกึ ษา 2563 ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นในสงั กดั
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
ตารางท่ี 6 เปรียบเทียบผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O–NET) ปกี ารศึกษา
2561 ถงึ ปีการศึกษา 2563 ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนในสงั กัดสานักงาน
เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
วิชา/ปกี ารศึกษา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลี่ยรวม
ปีการศกึ ษา
2561 48.09 24.30 32.52 25.57 32.62
ปีการศกึ ษา
2562 49.83 20.72 28.28 27.70 31.63
ปกี ารศึกษา 46.10 19.87 26.89 26.39 29.81
2563
จากตารางที่ 6 พบว่า ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
30
ประถมศึกษาเลย เขต 2 เมื่อทาการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบในภาพรวม ยอ้ นหลงั จานวน 3
ปี ผลปรากฏวา่ มรี ะดบั คะแนนเฉล่ียในภาพรวมแนวโนม้ ลดลงทุกปกี ารศึกษา เมือ่ จาแนกเปน็ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีคะแนนเฉลี่ย
ปีการศึกษา 2562 เพ่ิมขึ้นจากปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ยลดลงจากปีการศึกษา
2562 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียลดลงทกุ ปกี ารศกึ ษา แสดงได้ดัง
แผนภูมทิ ี่ 6
แผนภูมทิ ี่ 6 เปรียบเทยี บผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา
2561 ถงึ ปกี ารศกึ ษา 2563 ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนในสงั กัดสานักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
4.3 จัดกลุ่มผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2563 ของ
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 และชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ตามเกณฑท์ ่ีสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 กาหนด โดย มเี กณฑ์ ดงั นี้
กล่มุ ดมี าก (Group A) หมายความว่าคะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ ระดับประเทศทุกกล่มุ สาระ
การเรยี นรู้ จานวน 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่ กลมุ่ สาระ
การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
กลมุ่ ดี (Group B) หมายความวา่ คะแนนเฉลีย่ สงู กว่าระดบั ประเทศ 2-3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
กลมุ่ พอใช้ (Group C) หมายความวา่ คะแนนเฉล่ียสูงกวา่ ระดบั ประเทศ 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้
กลุ่มปรับปรงุ (Group D) หมายความว่าคะแนนเฉลย่ี ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ต่ากว่าระดบั ประเทศ
31
ตารางท่ี 7 ผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563
กลุม่ ดมี าก (Group A) ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นในสงั กัดสานักงาน
เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
ท่ี ช่ือโรงเรยี น จานวนผู้ ภาษาไทย
เข้าสอบ คณิตศาสต ์ร
ิวทยาศาสต ์ร
ภาษา ัองกฤษ
รวม 4 ิวชา
คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ 495,250 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
คะแนนเฉล่ยี ระดับเขตพื้นท่ี 1,216 เฉลย่ี เฉล่ีย เฉลย่ี เฉลย่ี เฉล่ยี
1 บา้ นโนนสว่าง 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
2 ไทยรฐั วิทยา 49 (บ้าน 8 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
7 72.28 55.63 52.06 65.63 61.40
วงเวียน) 66.93 30.71 49.28 57.5 51.11
3 บ้านหว้ ยไผใ่ ต้ 3
4 บา้ นซามว่ ง 5 56.67 43.33 44.73 48.33 48.27
60.3 37 39.74 55.5 48.14
จากตารางท่ี 7 พบวา่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 กลมุ่ ดมี าก (Group A) ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนในสงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉลย่ี สูงกว่าระดับประเทศทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน
4 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ บา้ นโนนสวา่ ง ไทยรฐั วทิ ยา 49 (บ้านวงเวยี น) บ้านหว้ ยไผใ่ ต้ และบา้ นซามว่ ง
32
ตารางที่ 8 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563
กลมุ่ ดี (Group B) ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนในสงั กดั สานักงาน
เขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
ภาษาไทย
คณิตศาสต ์ร
ิวทยาศาสต ์ร
ภาษา ัองกฤษ
รวม 4 ิวชา
ที่ ชือ่ โรงเรยี น จานวนผู้
เข้าสอบ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ
คะแนนเฉล่ยี ระดับเขตพ้นื ที่ เฉลีย่ เฉลยี่ เฉลีย่ เฉลย่ี เฉลี่ย
1 บา้ นผาสามยอด 495,250 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
2 บา้ นหว้ ยเป้าเหนือ 1,216 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
3 บา้ นนาแก
4 บ้านไร่ศรีอบุ ล 11 74.36 28.64 43.56 65.23 52.95
5 บ้านโคกมน 1 73 40 45.6 40 49.65
6 บา้ นวังเลาหัวฝาย 9 67.5 28.33 45.86 48.61 47.58
7 บ้านซาบุ่น 8 68.59 22.5 41.6 45 44.42
8 ชุมชนวังสะพุง 4 59.94 40 42.56 34.38 44.22
9 บ้านห้วยกาบเปลือย 20 56.4 36 41.55 41 43.74
10 บ้านหนองตมู 7 65.04 24.29 41.77 42.86 43.49
11 ชุมชนบ้านผานกเคา้ 24 56.4 28.33 41.33 45.21 42.82
12 บา้ นศรีอุบลพฒั นา 8 65.41 31.25 44.54 30 42.80
13 บา้ นหมากแขง้ กกกอก 5 57.4 33 45.32 35 42.68
14 บ้านท่าชา้ งคลอ้ งหนองอเี ป้ยี 12 61.92 27.08 41.98 39.38 42.59
15 บ้านโนนสมบรู ณ์โปร่งสุวรรณ 3 65 31.67 38.37 33.33 42.09
6 57.13 22.5 42.31 40 40.49
12 62.46 27.08 40.29 32.08 40.48
8 66.94 26.25 37.27 36.56 41.76
33
ตารางที่ 8 ผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563
กลุ่มดี (Group B) ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสงั กัดสานักงาน
เขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 (ตอ่ )
ท่ี ช่ือโรงเรยี น จานวนผู้ ภาษาไทย
เข้าสอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉลีย่ ระดับเขตพ้นื ที่ 495,250 ภาษา ัองกฤษ
16 บา้ นไรพ่ วย มิตรภาพท่ี 1,216 รวม 4 ิวชา
11
18 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
17 บ้านหนองหมากแก้ว เฉลย่ี เฉล่ยี เฉลย่ี เฉลีย่ เฉล่ีย
18 บ้านโคกสวา่ งปา่ ไม้งาม 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
19 บา้ นซานกจบิ 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
20 บา้ นน้าทบ 62.07 22.73 37.11 37.5 39.85
21 บา้ นห้วยเด่อื นอ้ ย
2 61 25 41.8 30 39.45
3 65.25 21.67 40.28 29.17 39.09
4 41.81 35 38.93 37.5 38.31
6 48.71 35 41.88 23.75 37.34
1 56.5 43.65 30 33.79
5
จากตารางท่ี 8 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 กลุ่มดี (Group B) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดับประเทศ 2-3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้
จานวน 21 โรงเรยี น ได้แก่ บ้านผาสามยอด (อ.ภูกระดึง) บ้านหว้ ยเปา้ เหนือ บ้านนาแก บ้านไรศ่ รีอบุ ล
บา้ นโคกมน บ้านวงั เลาหัวฝาย บ้านซาบ่นุ ชุมชนวังสะพุง บ้านห้วยกาบเปลือย บา้ นหนองตูม ชุมชนบ้าน
ผานกเค้า บ้านศรีอุบลพัฒนา บ้านหมากแขง้ กกกอก บ้านท่าช้างคล้องหนองอีเปี้ย บ้านโนนสมบูรณ์โปร่ง
สวุ รรณ บา้ นไรพ่ วย มิตรภาพที่ 18 บา้ นหนองหมากแกว้ บ้านโคกสว่างป่าไม้งาม บ้านซานกจิบ บา้ นน้าทบ
และบา้ นหว้ ยเดื่อน้อย
34
ตารางท่ี 9 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563
กลุม่ พอใช้ (Group C) ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสงั กัดสานกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
ที่ ชือ่ โรงเรียน จานวนผู้ ภาษาไทย
เขา้ สอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉล่ียระดับเขตพน้ื ท่ี 495,250 ภาษา ัองกฤษ
1 บ้านดงนอ้ ย 1,216 รวม 4 ิวชา
2 บ้านวังมว่ ง
3 บา้ นไร่สขุ สันต์ 9 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
4 บา้ นผาหวาย 7 เฉลยี่ เฉลยี่ เฉลยี่ เฉล่ยี เฉล่ยี
5 โคกสง่า 4 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
6 บา้ นวงั ยาง 8 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
7 เจยี รวนนทอ์ ทุ ิศ 4 9 52.81 25.56 40.01 42.78 40.29
8 บ้านห้วยสเี สียด 4 52.75 26.43 41.96 40 40.29
9 บ้านห้วยเด่ือเหนือ 4 56.56 28.75 36.24 36.88 39.61
10 บา้ นปา่ บง 6 49.31 25.63 42.64 38.44 39.01
11 บ้านห้วยยาง 2 58.5 22.22 38.18 36.11 38.75
12 บ้านพวยเดง้ สนั ตสิ ุข 5 57.88 27.5 31.81 36.88 38.52
13 บ้านซากกคอ้ 11 54.81 26.25 33.39 39.38 38.46
14 บา้ นปากปวน 14 56.54 27.5 37.24 32.5 38.45
15 บ้านกุดโงง้ วังเด่อื 13 57.63 25 39.25 31.25 38.28
16 บ้านโคกผกั หวาน 33 66.15 20 38.74 28 38.22
17 บ้านนาโก 5 50.18 26.82 41.02 33.41 37.86
1 57.32 27.14 34.63 32.14 37.81
12 55.12 29.23 35.74 30.77 37.72
56.36 26.06 38.23 28.64 37.32
60.05 28 31.9 29 37.24
55.5 20 44.3 27.5 36.83
59.21 23.33 31.38 32.5 36.61
35
ตารางที่ 9 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563
กลุม่ พอใช้ (Group C) ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นในสงั กดั สานกั งาน
เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 (ต่อ)
ท่ี ชือ่ โรงเรียน จานวนผู้ ภาษาไทย
เข้าสอบ คณิตศาสต ์ร
ิวทยาศาสต ์ร
ภาษา ัองกฤษ
รวม 4 ิวชา
คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 495,250 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
คะแนนเฉลยี่ ระดบั เขตพืน้ ที่ 1,216 เฉลี่ย เฉลีย่ เฉลีย่ เฉลยี่ เฉล่ีย
18 บา้ นหว้ ยสม้ ใต้ 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
19 บา้ นตาดข่า 2 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
20 บ้านหว้ ยผกุ 6 60.5 20 37.03 27.5 36.26
21 บ้านกดุ ลันน้อยครี ี 1 58 21.67 26.28 35 35.24
22 บา้ นผาสะนา 6 43.75 20 48.75 22.5 33.75
23 บ้านกกซอ้ 3 43.54 30.83 31.11 26.67 33.04
24 ผานาง-ผาเก้งิ 5 46.5 30 29.32 25 32.71
25 บ้านซาไคร้ 4 48.58 30 26.06 26 32.66
2 39.81 35 34.99 18.13 31.98
24.63 30 33.55 33.75 30.48
จากตารางที่ 9 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 กลุ่มพอใช้ (Group C) ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 25
โรงเรียน ได้แก่ บา้ นดงนอ้ ย บ้านวังมว่ ง บ้านไรส่ ุขสนั ต์ บ้านผาหวาย โคกสง่า บา้ นวงั ยาง เจียรวนนท์อุทิศ 4
บ้านห้วยสีเสียด บ้านห้วยเด่ือเหนือ บ้านป่าบง บ้านห้วยยาง บ้านพวยเด้งสันติสุข บ้านซากกค้อ บ้านปากป
วน
บ้านกุดโงง้ วังเดอื่ บ้านโคกผกั หวาน บ้านนาโก บ้านห้วยสม้ ใต้ บา้ นตาดข่า บ้านห้วยผุก บ้านกุดลันนอ้ ยครี ี
บ้านผาสะนา บ้านกกซอ้ ผานาง-ผาเกิ้ง และบา้ นซาไคร้
36
ตารางที่ 10 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563
กลมุ่ ปรบั ปรงุ (Group D) ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรียนในสงั กัดสานักงาน
เขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
ท่ี ช่ือโรงเรียน ภาษาไทย
คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉลย่ี ระดบั เขตพ้ืนท่ี ภาษา ัองกฤษ
1 บ้านกกบก รวม 4 ิวชา
2 โนนสวา่ งโสกนกไก่นา จานวนผู้
3 ชมุ ชนบา้ นทรายขาว เข้าสอบ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
4 บา้ นเอราวณั เฉลีย่ เฉลี่ย เฉลีย่ เฉลีย่
5 บ้านหว้ ยสม้ เฉล่ีย 29.99 38.78 43.55 42.13
6 บ้านผาขาว 495,250 56.2 24.86 34.72 32.18 35.46
7 บ้านหนองปาดฟาน 1,216 50.07 25.71 36.08 39.29 38.63
8 บ้านเหล่าใหญ่ 25.77 37.83 35.77 37.00
9 บา้ นโนนปอแดง 7 53.43 25 36.95 30.45 36.86
10 บ้านโนนกกขา่ 13 48.63 26.4 38.18 31.94 36.21
11 บา้ นวงั ไหโนนสมบรู ณ์ 11 55.03 23.13 35.13 35.16 36.20
12 บา้ นวงั แท่น 93 48.33 28.33 31.02 36.94 36.11
13 บ้านนาแปน 16 51.36 23 33.53 35 36.05
14 บ้านนาววั โพนงาม 9 48.14 25 29.01 36.25 35.83
15 เจียรวนนท์อทุ ิศ 3 5 52.65 25.81 32.94 33.38 35.79
16 บา้ นอมุ่ 6 53.04 23.33 31.36 40.97 35.71
17 บ้านวังกกเดือ่ 37 51.04 24.17 35.87 33.33 35.60
18 ชุมชนหนองหิน 18 47.17 26.88 37.66 29.84 35.30
6 49.04 21 33.03 30.5 34.78
16 46.81 25.63 37.34 30.31 34.74
10 54.6 21.67 32.22 31.9 34.54
8 45.69 24.62 34.23 32.12 34.48
21 52.38 25.63 37.38 25.31 34.41
13 46.94 23.67 35.1 29.18 34.22
16 49.31
49 48.91
37
ตารางที่ 10 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศกึ ษา 2563
กล่มุ ปรับปรุง (Group D) ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นในสงั กัดสานกั งาน
เขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 (ต่อ)
ท่ี ชื่อโรงเรียน จานวนผู้ ภาษาไทย
เขา้ สอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดบั เขตพนื้ ท่ี 495,250 ภาษา ัองกฤษ
19 บา้ นนาอเี ลศิ 1,216 รวม 4 ิวชา
20 บา้ นห้วยเด่อื โคกสว่าง 2
21 บา้ นหนองบัว 4 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
22 บ้านขอนแกน่ 15 เฉล่ีย เฉลยี่ เฉล่ีย เฉล่ีย เฉล่ีย
23 บ้านพองหนบี 15 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
24 บ้านผาสามยอด 4 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
5 49.63 17.5 25.95 42.5 33.90
(เอราวัณ) 48.19 26.25 27.69 33.13 33.82
25 อนบุ าลชมุ ชนภกู ระดึง 73 52.92 23.67 34.44 24.17 33.80
26 บ้านปวนพุ 11 51.72 22.67 34.77 24.67 33.46
27 บา้ นกกเกล้ียง 49.06 18.75 33.06 31.25 33.03
28 บ้านโนนปา่ ซาง 1 47.15 27 30.38 27.5 33.01
29 บ้านหนองนอ 19
30 บา้ นโนนสวรรค์ 9 46.36 23.08 31.54 30.99 32.99
31 บ้านวังสะพงุ 25 45.64 25.45 31.58 28.86 32.88
32 บา้ นผาน้อย 31 47.75 28.45 32.80
33 บา้ นซาพรา้ ว 3 47.25 20 33.94 35 32.76
2 48.22 18.68 32.07 31.18 32.71
46.61 21.67 31.64 28.89 32.69
47.36 24 28.23 28.5 32.27
22.42 25.52 31.05 32.17
46.5 23.33 31.65 33.33 31.88
44.63 27.5 23.75
38
ตารางที่ 10 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2563
กลุม่ ปรบั ปรงุ (Group D) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นในสงั กดั สานักงาน
เขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2 (ต่อ)
ที่ ช่ือโรงเรยี น จานวนผู้ ภาษาไทย
เข้าสอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉล่ียระดับเขตพ้ืนท่ี 495,250 ภาษา ัองกฤษ
34 บ้านหว้ ยไผ่ 1,216 รวม 4 ิวชา
35 บ้านนามลู ตุ่น
36 บ้านหว้ ยไคร้ 9 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
37 บา้ นเพิ่ม 5 เฉล่ีย เฉลี่ย เฉล่ยี เฉลี่ย เฉล่ีย
38 บ้านโคกหนองแห้ว 11 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
39 บา้ นโปง่ ศรีโทน 24 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
40 บ้านซาไฮ 10 43.44 22.22 32.84 28.61 31.78
41 บา้ นเลยวงั ไสย์ 11 42.05 18 38.22 28 31.57
42 บ้านบงึ สวรรค์ 5 47.61 23.18 29.01 25.68 31.37
43 บ้านห้วยหมาก 11 45.57 23.54 30.11 26.25 31.37
44 บา้ นนาดอกไม้ 5 48.15 23 30.51 23.75 31.35
9 48.89 19.55 32.05 24.55 31.26
มติ รภาพท่ี 120 31 48.3 22 28.23 26.5 31.26
45 บา้ นหนองขาม 42.22 22.27 28.88 31.59 31.24
46 บา้ นอเี ลิศ 4 43.15 21 30.38 30 31.13
47 บา้ นนาอา่ งคา 21 43.58 19.44 32.84 28.61 31.12
48 บ้านโคกขม้นิ 16 40.25 22.74 34.04 27.42 31.11
49 ชุมชนบ้านหนองคนั 11
32 47.38 21.25 33.23 21.25 30.78
45.85 18.81 28.24 29.4 30.58
44.47 19.69 30.65 26.56 30.34
38.43 27.27 32.5 21.36 29.89
38.52 21.88 31.01 27.27 29.67
39
50 บา้ นแก่งหนิ กกสะทอน 10 40.33 24.5 28.22 25.5 29.64
44.44 22.5 27.53 23.75 29.56
51 บา้ นผาฆอ้ ง 4
ตารางที่ 10 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563
กลุ่มปรบั ปรงุ (Group D) ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรียนในสงั กัดสานักงาน
เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 (ตอ่ )
ท่ี ชอื่ โรงเรยี น จานวนผู้ ภาษาไทย
เขา้ สอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉล่ยี ระดบั เขตพ้นื ที่ 495,250 ภาษา ัองกฤษ
52 บา้ นโนน 1,216 รวม 4 ิวชา
53 บ้านห้วยปา่ น
54 บ้านเหวอ่ ฟากห้วย 2 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
8 เฉลีย่ เฉล่ีย เฉลี่ย เฉลี่ย เฉลี่ย
กดุ ตอเรอื 2 56.2 29.99 38.78 43.55 42.13
55 เลยตาดโนนพฒั นา 50.07 24.86 34.72 32.18 35.46
56 บ้านโนนภทู อง 9 52.63 20 16.78 28.75 29.54
57 บา้ นน้าจนั ทร์ 9 46.53 20.63 25.39 24.06 29.15
58 บา้ นโพนทอง 1 48.13 12.5 30.08 25 28.93
59 บา้ นทงุ่ ใหญ่ 5
60 บา้ นน้าค้อ 8 37.1 22.22 28.62 26.94 28.72
61 บ้านโคกแฝก 2 28.72 20.56 30.31 27.5 26.77
62 บา้ นแสนสุข 1 45.25 25.95 30 26.55
63 วงั นา้ พุ 2 23.8 5 27.34 29 26.54
1 36.03 26 22.95 28.44 26.39
30.38 18.13 32.58 22.5 26.37
36.5 20 22.8 27.5 25.45
28.88 15 23.73 23.75 25.34
39.75 25 24.65 22.5 24.23
10
จากตารางที่ 10 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา
2563 กลมุ่ ปรับปรุง (Group D) ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรยี นในสงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มคี ะแนนเฉลย่ี ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่ากวา่ ระดับประเทศ จานวน 63
40
โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านกกบก โนนสว่างโสกนกไก่นา ชุมชนบ้านทรายขาว บ้านเอราวัณ บ้านห้วยส้ม
บา้ นผาขาว บา้ นหนองปาดฟาน บา้ นเหล่าใหญ่ บา้ นโนนปอแดง บ้านโนนกกขา่ บ้านวงั ไหโนนสมบรู ณ์
บ้านวังแท่น บา้ นนาแปน บ้านนาวัวโพนงาม เจียรวนนท์อุทิศ 3 บ้านอุ่ม บ้านวงั กกเด่ือ ชุมชนหนองหนิ บ้าน
นาอเี ลิศ บา้ นหว้ ยเดอ่ื โคกสว่าง บ้านหนองบัว บา้ นขอนแก่น บา้ นพองหนบี บา้ นผาสามยอด (เอราวณั )
อนบุ าลชุมชนภกู ระดงึ บา้ นปวนพุ บ้านกกเกลีย้ ง บา้ นโนนปา่ ซาง บ้านหนองนอ บา้ นโนนสวรรค์ บ้านวงั สะพงุ
บ้านผาน้อย บ้านซาพร้าว บ้านห้วยไผ่ บ้านนามูลตุ่น บ้านห้วยไคร้ บ้านเพ่ิม บ้านโคกหนองแห้ว บ้านโป่งศรี
โทน บ้านซาไฮ บ้านเลยวงั ไสย์ บา้ นบึงสวรรค์ บา้ นหว้ ยหมาก บ้านนาดอกไม้ มิตรภาพท่ี 120 บ้านหนองขาม
บ้านอีเลศิ บ้านนาอา่ งคา บา้ นโคกขม้ิน ชมุ ชนบ้านหนองคัน บ้านแกง่ หินกกสะทอน บ้านผาฆ้อง บ้านโนน
บา้ นห้วยปา่ น บ้านเหวอ่ ฟากหว้ ยกุดตอเรือ เลยตาดโนนพฒั นา บ้านโนนภูทอง บา้ นน้าจันทร์ บา้ นโพนทอง
บา้ นทงุ่ ใหญ่ บ้านน้าคอ้ บา้ นโคกแฝก บา้ นแสนสขุ และบ้านวงั นา้ พุ
ตารางที่ 11 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563
กลุ่มดี (Group B) ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนในสังกัดสานกั งาน
เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
ท่ี ชือ่ โรงเรียน จานวนผู้ ภาษาไทย
เขา้ สอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนที่ 357,051 ภาษา ัองกฤษ
1 บ้านนาอ่างคา 447 รวม 4 ิวชา
2 บา้ นปวนพุ 52.19
3 เจยี รวนนท์อทุ ศิ 4 62.29 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
4 บ้านเพิ่ม 59.50 เฉลีย่ เฉล่ยี เฉล่ีย เฉลย่ี เฉลีย่
5 บ้านกกซอ้ 43.75 54.29 25.46 29.89 34.38 36.01
6 บ้านวังเลาหัวฝาย 63.75 46.1 19.87 26.89 26.39 29.81
7 เจียรวนนทอ์ ุทศิ 3 21 43.13 22.00 35.00 38.08 52.19
8 บ้านโคกมน 2 33.33 18.00 32.97 36.65 62.29
9 โคกสงา่ 7 27.50 23.20 34.32 36.13 59.50
3 27.50 32.00 40.80 36.01 43.75
27.50 16.00 27.60 33.71 63.75
58.51 27.74 21.14 26.46 33.46
44.38 28.75 18.00 39.90 32.76
58.04 26.43 19.43 26.71 32.65
55.83 28.33 18.67 24.67 31.87
10 บ้านโนนสวรรค์ 41
20 54.31 27.38 17.20 25.31 31.05
จากตารางที่ 11 พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา
2563 กล่มุ ดี (Group B) ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
ประถมศึกษาเลย เขต 2 มคี ะแนนเฉล่ียสงู กว่าระดบั ประเทศ 2-3 กล่มุ สาระการเรียนรู้ จานวน 10 โรงเรยี น
ได้แก่ โรงเรียนบ้านนาอา่ งคา บา้ นปวนพุ เจียรวนนท์อุทิศ 4 บ้านเพมิ่ บา้ นกกซ้อ บ้านวงั เลาหัวฝาย
เจียรวนนท์อทุ ิศ 3 บา้ นโคกมน โคกสง่า และบ้านโนนสวรรค์
ตารางท่ี 12 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2563
กลุม่ ปรบั ปรุง (Group D) ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนในสังกัดสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2
ท่ี ชื่อโรงเรยี น จานวนผู้ ภาษาไทย
เข้าสอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพน้ื ท่ี 357,051 ภาษา ัองกฤษ
1 บา้ นโปง่ ศรีโทน 447 รวม 4 ิวชา
2 บา้ นวังสะพุง 55.13
3 บา้ นนาโก 53.05 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
4 บา้ นโนนปอแดง 51.00 เฉล่ีย เฉล่ยี เฉลี่ย เฉลยี่ เฉล่ีย
5 บ้านวงั กกเด่ือ 52.88 54.29 25.46 29.89 34.38 36.01
6 บ้านนาแก 45.63 46.1 19.87 26.89 26.39 29.81
7 บ้านวงั ไหโนนสมบรู ณ์ 48.21 25.25 21.60 26.18 32.04 55.13
8 บา้ นหว้ ยสม้ 48.91 26.25 20.75 27.74 31.95 53.05
9 บ้านปากปวน 47.65 28.88 19.60 27.04 31.63 51.00
10 เลยตาดโนนพฒั นา 44.61 26.63 19.00 27.81 31.58 52.88
11 บ้านโนนป่าซาง 50.75 28.25 18.40 31.88 31.04 45.63
43.20 26.43 24.57 24.37 30.90 48.21
30.63 16.50 26.48 30.63 48.91
26.32 19.53 28.02 30.38 47.65
26.97 21.47 26.56 29.90 44.61
31.00 14.40 21.12 29.32 50.75
31.09 18.75 23.36 29.10 43.20
42
12 บ้านนาวัวโพนงาม 46.46 26.46 19.00 24.25 29.04 46.46
13 บ้านนาดอกไม้ 44.71 27.06 20.00 24.21 28.99 44.71
มิตรภาพที่ 120
ตารางที่ 12 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O–NET) ปกี ารศกึ ษา 2563
กลุ่มปรบั ปรงุ (Group D) ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกดั สานกั งาน
เขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 (ตอ่ )
ท่ี ชอ่ื โรงเรียน จานวนผู้ ภาษาไทย
เข้าสอบ คณิตศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ิวทยาศาสต ์ร
คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นท่ี 357,051 ภาษา ัองกฤษ
14 บ้านขอนแกน่ โนน 447 รวม 4 ิวชา
35.00
สวรรค์ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
15 บ้านอเี ลศิ 40.16 เฉลี่ย เฉลีย่ เฉลีย่ เฉลีย่ เฉลย่ี
16 อนบุ าลชมุ ชนภูกระดึง 37.72 54.29 25.46 29.89 34.38 36.01
17 บา้ นโคกขมิ้น 36.25 46.1 19.87 26.89 26.39 29.81
18 บา้ นดงน้อย 32.50 30.00 26.00 23.00 28.50 35.00
25.47 21.00 25.50 28.03 40.16
25.59 20.50 26.52 27.58 37.72
26.56 16.50 24.65 25.99 36.25
26.25 12.00 29.60 25.09 32.50
จากตารางที่ 12 พบวา่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ปี
การศึกษา 2563 กลมุ่ พอใช้ (Group C) ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นในสงั กัดสานกั งานเขต
พนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉล่ยี สงู กวา่ ระดบั ประเทศ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน
18 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนบา้ นโปง่ ศรีโทน บ้านวังสะพุง บา้ นนาโก บา้ นโนนปอแดง บา้ นวงั กกเดือ่
บา้ นนาแก บ้านวังไหโนนสมบรู ณ์ บ้านห้วยสม้ บ้านปากปวน เลยตาดโนนพฒั นา บา้ นโนนป่าซาง
บ้านนาววั โพนงาม บ้านนาดอกไม้ มิตรภาพท่ี 120 บ้านขอนแกน่ บา้ นอเี ลศิ อนุบาลชมุ ชนภกู ระดึง
บา้ นโคกขมิน้ และบ้านดงน้อย
43
ตารางท่ี 13 ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O–NET) ปีการศึกษา 2563
กลมุ่ ปรบั ปรุง (Group D) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นในสงั กดั สานกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 2
ท่ี ชื่อโรงเรยี น จานวนผู้ ภาษาไทย
เข้าสอบ คณิตศาสต ์ร
ิวทยาศาสต ์ร
ภาษา ัองกฤษ
รวม 4 ิวชา
คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ 357,051 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
คะแนนเฉลี่ยระดบั เขตพ้นื ที่ 447 เฉล่ีย เฉลย่ี เฉลย่ี เฉลี่ย เฉล่ีย
1 บ้านหว้ ยสม้ ใต้ 4 54.29 25.46 29.89 34.38 36.01
2 บา้ นไร่พวยมติ รภาพ 46.1 19.87 26.89 26.39 29.81
6 50.31 27.50 18.00 33.65 32.37
ที่ 18 5
3 บ้านหนองบัว 5 51.04 23.75 20.00 29.87 31.16
4 บ้านนามูลตุ่น 29 49.50 22.00 22.40 24.80 29.68
5 ชุมชนหนองหนิ 8 46.00 24.50 20.00 26.10 29.15
6 บ้านนาแปน 4 44.48 22.76 20.28 28.12 28.91
7 บา้ นตาดข่า 3 47.81 24.06 17.00 26.73 28.90
8 บา้ นหว้ ยไคร้ 22 39.38 24.38 22.00 28.50 28.56
9 ชมุ ชนบ้านหนองคนั 5 46.25 21.67 22.67 20.73 27.83
10 บา้ นเลยวงั ไสย์ 1 37.73 22.05 19.09 27.84 26.67
11 บ้านผาสามยอด 29.00 21.50 22.40 27.16 25.02
43.75 17.50 16.00 16.60 23.46
จากตารางที่ 13 พบว่า ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET)
44
ปีการศึกษา 2563 กลุ่มปรบั ปรุง (Group D) ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกดั สานกั งาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต 2 มีคะแนนเฉลีย่ ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ต่ากว่าระดับประเทศ
จานวน 11 โรงเรยี น ได้แก่ บา้ นหว้ ยส้มใต้ บ้านไรพ่ วยมิตรภาพท่ี 18 บ้านหนองบวั บา้ นนามูลตุ่น
ชุมชนหนองหิน บ้านนาแปน บ้านตาดข่า บ้านห้วยไคร้ ชุมชนบ้านหนองคัน บ้านเลยวังไสย์
และบา้ นผาสามยอด