The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watcharaporn, 2021-06-26 07:10:14

คู่มือนักเรียน64

คู่มือนักเรียน64

ตารางเกณฑ์การเพิม่ คะแนนความประพฤติ

ลำดบั ที่ ลกั ษณะพฤติกรรม เพม่ิ คะแนน
10
1 เก็บสงิ่ ของหรือเงนิ ส่งคนื เจา้ ของ 5

2 เปน็ ตวั แทนของโรงเรยี นเขา้ ร่วมแขง่ ขนั กจิ กรรมตา่ งๆ ภายนอกโรงเรยี น (ราย 10
15
กิจกรรม) 15
10
3 ได้รับรางวลั อนั ดบั ท่ี 1-3 ในการแข่งขนั กิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรยี น 15
10
4 ไดร้ บั รางวลั อันดบั ท่ี 1-3 ในการแข่งขนั กจิ กรรมต่างๆ ภายนอกโรงเรียน 5
20
5 ไดร้ ับการคัดเลอื กใหป้ ฏบิ ตั หิ น้าท่ี หวั หน้าช้นั เรยี นของแตล่ ะปีการศึกษา 15
10
6 ไดร้ บั การคัดเลอื กใหป้ ฏิบตั หิ นา้ ท่ี รองหวั หน้าช้ันเรยี นของแตล่ ะปกี ารศกึ ษา 10
10
7 ไดร้ บั การคดั เลอื กใหป้ ฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ประธานคณะสี 10
20
8 ได้รับการคัดเลือกใหป้ ฏิบตั ิหน้าที่ รองประธานคณะสี ตามที่คณะ
กรรมการฯ
9 ไดร้ บั การคดั เลือกใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี คณะกรรมการฝา่ ยตา่ งๆ ในคณะสี เหน็ สมควร

10 ได้รบั การคัดเลือกใหป้ ฏิบัติหน้าท่ี ประธานคณะกรรมการนกั เรียน

11 ได้รับการคัดเลอื กใหป้ ฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี รองประธานคณะกรรมการนักเรยี น

12 ไดร้ ับการคดั เลอื กใหป้ ฏิบตั ิหน้าที่ คณะกรรมการนกั เรียนฝ่ายต่างๆ

13 ให้ขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น

14 อุทิศตน เสียสละ ช่วยงานของโรงเรยี น/ครู จนเป็นทย่ี อมรบั (มจี ติ สาธารณะ)

15 ไดร้ บั การยกย่องชมเชยจากชุมชน

16 สร้างชื่อเสียงทด่ี ดี ้านตา่ งๆ ใหก้ บั โรงเรยี น เป็นท่ียอมรบั และศรัทธาจากสังคม

17 อน่ื ๆ ตามทคี่ ณะกรรมการวนิ ัยและความประพฤตินักเรียนพจิ ารณา

12. เกณฑ์การให้คะแนนความดคี วามชอบ ครทู ุกคนมสี ิทธิเ์ สนอเพมิ่ คะแนนใหน้ ักเรยี นที่มี

ความประพฤตดิ ีได้ตามเกณฑก์ ำหนดตามตารางการเพ่ิมคะแนนความประพฤติ และนักเรยี นผู้นั้นจะไดค้ ะแนน
เมอื่ คณะกรรมการวนิ ยั และความประพฤตินักเรยี นเห็นชอบ และจะตอ้ งมหี ลกั ฐานชัดเจนหรอื มผี ู้รบั รองทเ่ี ช่อื ถือ
ไดป้ ระกอบเสนอขอเพ่ิมคะแนนนกั เรยี น ไมส่ ามารถนำไปหกั ลา้ งคะแนนท่ถี กู ตดั แต่ใหน้ ำไปเปน็ เหตุผลในการขอ

ลดโทษไดต้ ามสมควรแก่กรณี
13. นกั เรยี นที่ไดค้ ะแนนความดี-ความชอบตัง้ แต่ 25 คะแนนขนึ้ ไป และไมเ่ คยถูกตดั คะแนน

ความประพฤตใิ นปกี ารศกึ ษานนั้ ทางโรงเรยี นจะมอบเกยี รตบิ ตั รแก่นักเรยี นผ้นู ้ันในวันเชิดชเู กียรติ

14. ให้รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารงานบคุ คลและคณะกรรมการวนิ ัยและความประพฤติ
นกั เรยี นเป็นผู้รกั ษาแนวปฏบิ ตั ิตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ 1๗ พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นางสาววมิ ลนาถ บัวแกว้ )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นสตรวี ดั ระฆงั

_93

ข้อปฏบิ ัตขิ องนกั เรียนโรงเรยี นสตรวี ัดระฆัง
--------------------------------------

ขอ้ ปฏบิ ัตติ ัง้ แตเ่ ข้าโรงเรียน – เลกิ เรียน
๑. นักเรียนทุกคนต้องไม่หลีกเล่ียงการเข้าแถวเคารพธงชาติ เมื่อได้ยินเสียงเพลงชาติให้ยืนตรงไม่วา่

จะอยู่ท่ใี ดก็ตาม
๒. นักเรียนทุกคนต้องเข้าช้ันเรยี นให้ตรงเวลา ถา้ เขา้ หอ้ งเรยี นหลังจากทำการสอนไปแลว้ ๑๕ นาที ให้

ถือวา่ ขาดเรยี นในวิชานน้ั
๓. นกั เรยี นตอ้ งมกี ริ ยิ าวาจาสภุ าพเรยี บรอ้ ยและแตง่ กายใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรียนโดยคำนึงถงึ

ศีลธรรม วัฒนธรรม และประเพณที ด่ี ขี องไทย ทง้ั อยู่ในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น
๔. นักเรียนต้องเข้าใจใช้สิทธิและหน้าที่ของตน ต้องเคารพใช้สิทธิและหน้าที่ของผู้อื่นความสุจริต

ขยนั หมน่ั เพยี รในการศกึ ษาหาความรู้
๕. ช่วยกันประหยัดสิ่งสาธารณูปโภค เช่น น้ำ ไฟ เพื่อฝึกนิสัยอันดีงามและปฏิบัติตนตามนโยบาย

โรงเรยี นและรฐั บาล
๖. ชว่ ยกันรกั ษาสภาพอนั ดีงามของโรงเรยี นในเรือ่ งความสะอาดของอาคารสถานทีค่ วามรม่ ร่นื ของพันธุ์

ไม้ เพอื่ ความสวยงาม ความร่มเย็นและแก้ภาวะมลพษิ
๗. นักเรียนทุกคนตอ้ งช่วยกนั รกั ษาความสะอาดของห้องเรียน บริเวณโรงเรยี นก่อนจะเรยี นแต่ละวิชา

ตอ้ งชว่ ยกนั ดูแลความสะอาดเรยี บร้อยของโตะ๊ เกา้ อ้ีให้เปน็ ระเบยี บและสะอาดตลอดเวลา ต้องช่วยกนั ดูแลความ
สะอาดเรียบร้อย ของโต๊ะ เก้าอี้ให้เป็นระเบียบและสะอาดอยู่ตลอดเวลา เมื่อเรียนเสร็จแล้วให้สำรวจดู
ความเรียบร้อยอีกครั้งหนึง่ นักเรียนทกุ คนต้องรับประทานอาหาร เครื่องดื่มและของขบเค้ียวเฉพาะในบริเวณ
โรงอาหารเท่านน้ั ไมน่ ำอาหารไปรบั ประทานในห้องเรียน

๘. เมื่อไม่มีการเรียนการสอน จะต้องไม่ทำการใดๆ อันเป็นการรบกวนห้องใกล้เคียงหรือห้องที่กำลัง
เรยี นอยู่

๙. นักเรียนต้องรักษาความสามัคคีของหมูค่ ณะ ไม่ก่อทะเลาะวิวาท ระหว่างนักเรียนรุ่นเดียวกันและ
นักเรยี นต่างร่นุ ไม่วา่ กรณีใดๆ

๑๐. นกั เรียนต้องช่วยกันรักษาชื่อเสยี ง เกียรติคุณของโรงเรยี น และร่วมมอื กนั สรา้ งชื่อเสยี งมาสโู่ รงเรยี น
๑๑. ถ้าไม่มีความจำเปน็ ใดๆนักเรยี นไม่ควรให้ผู้ปกครองมาตดิ ต่อภายในชั่วโมงทีเ่ รียนถ้าผู้ปกครองมี
ความจำเป็นต้องพบ หรือมารับตัว ต้องแจ้งให้กลุ่มบริหารงานบุคคลทราบ เพื่อจะได้แจ้งนักเรียนมาพบ และ
ผปู้ กครองทมี่ ารบั นน้ั ตอ้ งเป็นผู้ทม่ี ีลายเซ็นในใบมอบตัว
๑๒. นักเรียนจะนำบุคคลภายนอกเข้ามาในสถานศึกษาไม่ได้ ยกเว้นมาติดต่อราชการ แม้กระท่ังศิษย์
เก่าและไม่นำขนึ้ ไปบนอาคารเรยี นควรพบปะกนั ในห้องประชาสัมพนั ธ์ ท้งั นีเ้ พื่อปอ้ งกนั การเสียหายทีจ่ ะเกิดขึ้น
๑๓. นักเรียนตอ้ งปฏบิ ตั ติ นใหเ้ ป็นผู้มศี ลี ธรรม ไม่เห็นแก่ตวั ไม่ลักขโมยของของผู้อื่น เมอื่ เกบ็ ของทผี่ ู้อ่ืน
ทำตกหรอื ลมื ไวไ้ ด้ ต้องนำส่งครู เพอื่ ประกาศหาเจา้ ของตอ่ ไป
๑๔. นักเรียนต้องไม่หลบหลกี การเรยี น ถ้ามีความจำเป็น เช่น เข้าห้องพยาบาลให้แจ้งใหค้ รูที่ปรึกษา
และครูประจำวิชาทราบ

_94

๑๕. นักเรียนต้องช่วยกันรักษาทรัพย์สินของโรงเรียน ช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องเรียนและ
บริเวณโรงเรยี นไม่ขดี เขยี นขอ้ ความใดๆลงบนโตะ๊ เรยี น ประตู และหน้าตา่ ง ไม่ทำลายทรพั ยส์ นิ ของโรงเรยี น

๑๖. ผูท้ ่ตี ้องการออกนอกบรเิ วณโรงเรียนในช่วั โมงแรกของการเรียน โรงเรียนจะไมอ่ นุญาตถ้านกั เรยี นมี
ความประสงค์จะออกไปทำธุระใดก็ตาม ให้เร่มิ เดนิ ทางจากทีบ่ า้ นไปสถานท่ีนัน้ เลยเม่อื เสรจ็ จึงกลับมาโรงเรียน
โดยผู้ปกครองมา ส่งการขออนุญาตออกจากโรงเรียน ก่อนเวลาเลิกเรียนปกติ ต้องมีผู้ปกครองมารับ (บิดา
มารดา หรอื ผู้ที่มามอบตัว)

๑๗. นักเรียนต้องไม่จัดกิจกรรมใดๆ ที่ไม่ได้รับอนุญาตจากทางโรงเรียน เช่น การจัดทัศนศึกษา การ
จัดทำแหวนรุ่น และการหารายได้ต่างๆ ทั้งโดยทางลับและทางเปิดเผยถ้าจะกระทำต้องผ่านกลุ่มบริหารงาน
บคุ คล

๑๘. นกั เรียนจะตอ้ งมีบตั รประจำตวั นักเรยี นทกุ คน

บตั รประจำตัวนกั เรียน
บัตรประจำตัวนักเรียน เป็นเครื่องแสดงถึงศักดิ์ศรีและสิทธิ์ในการเป็นนักเรียนที่ถูกต้อง ตาม
พระราชบัญญตั คิ วบคมุ นกั เรยี น พทุ ธศักราช ๒๔๘๑ ซึง่ นกั เรยี นมีสิทธทิ ่จี ะนำไปใช้ประกอบการแสดงสิทธ์ิกับ
ทางราชการ หรือหน่อยงานอ่ืนๆ ตลอดเวลาที่นกั เรียนยังคงศึกษาอยู่ในโรงเรียนแหง่ น้ี ฉะนั้น โรงเรียนจึง
กำหนดให้นักเรียนทกุ คนมบี ัตรประจำตวั ซึ่งการขอบัตรน้ไี ด้ระบใุ นคำช้แี จงแนวปฏิบัติตามระเบียบโรงเรียน
บตั รประจำตัวทุกบัตรจะหมดสภาพและนำไปใชไ้ มไ่ ดท้ นั ทถี า้ บัตรมลี กั ษณะดงั นี้
- มีรอยขดู ลบ ขดี และฆา่ ตวั อกั ษรหรอื ตวั เลขทปี่ ระกอบข้นึ เปน็ ขอ้ ความในบัตร
- รปู ถ่ายหรือขอ้ ความเลอะเลือนจนไมส่ ามารถศกึ ษาหารายละเอยี ดไดช้ ดั เจน
- บตั รหมดอายุ
- เมื่อลาออก ให้ออก ต้องคืนบัตรด้วย เพราะฉะนั้นนักเรียนทุกคนจึงจำเป็นต้องรักษาบัตรประจำตัว
นักเรียนของตนไวใ้ หด้ ที สี่ ุด
แนวปฏิบตั ิในการขอรบั บตั รประจำตวั นักเรยี น
๑. กรอกใบคำร้องขอมบี ัตรประจำตัวนักเรียนใหช้ ดั เจน ทส่ี ำนกั งานบรหิ ารงานบคุ คล
๒. ถา่ ยรปู ตามนดั หมาย
๓. ชำระคา่ ทำบัตรตามท่ีโรงเรยี นกำหนด
๔. รบั บตั รภายในกำหนดเวลานัดหมายทส่ี ำนกั งานบริหารงานบุคคล

_95

กล่มุ บริหารทวั่ ไป

๑. งานสารบรรณและธุรการ
หน้าที่ ๑. วางแผนการดำเนินงานดา้ นธรุ การ

๒. จดั หาอปุ กรณ์ และสิง่ อำนวยความสะดวกในการปฏิบตั ิงาน
๓. ลงทะเบยี นรับ ส่ง หนงั สือราชการ และเอกสารอื่น ๆ ผา่ นระบบ Internet (e-office)
๔. โตต้ อบหนงั สอื ราชการ และเอกสารอื่น ๆ
๕. เก็บรักษาและทำลายหนงั สือราชการ และเอกสารอนื่ ๆ
๖. จัดบรกิ ารเกยี่ วกับเอกสาร หลกั ฐานทางราชการ
๗. ประเมนิ ผลและรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตอ่ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
๘. จดบันทึกรายงานการประชมุ ใหญ่ของข้าราชการครู (กรรมการหมายเลข ๓ หรอื ๔)
๙. ปฏบิ ัตงิ านอื่น ๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย

๒. งานประชาสัมพันธ์
หน้าท่ี ๑. วางแผนการดำเนินงานประชาสมั พันธ์

๒. จดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งอำนวยความสะดวกในการปฏบิ ัติงานดา้ นประชาสัมพันธ์
๓. รบั แจง้ ขา่ วสารประชาสัมพันธใ์ หบ้ ุคลากร และผเู้ ก่ียวขอ้ งได้รบั ทราบ
๔. จดั ทำป้ายประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรมของโรงเรียนผ่านสอ่ื ทห่ี ลากหลาย เชน่ เวป็ ไซต์ ไลน์ ยูทูป เป็นต้น
๕. จัดทำหนงั สอื วารสาร เอกสารประชาสมั พนั ธ์ ตลอดจนขา่ วสารอ่นื ๆ
๖. จดั ทำปา้ ยตอ้ นรับผูม้ าติดตอ่ ประสานงาน เย่ียมชมโรงเรยี น และผมู้ าประชุม
๗. ประเมินผลและรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านต่อผบู้ รหิ ารโรงเรียน
๘. ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย

๓. งานอาคารสถานที่
หน้าท่ี ๑. วางแผนการดำเนินงานอาคารสถานท่ี ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของโรงเรยี นและปฏิบตั ติ ามแผนที่

กำหนดไว้
๒. กำหนดบุคลากรรับผิดชอบในการควบคมุ ดูแล บำรุงรักษา อาคารสถานทีใ่ หส้ วยงามและปลอดภัย
๓. กำหนดระเบยี บ แนวปฏิบัติในการใช้สถานท่ี และควบคมุ ดูแลใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบทก่ี ำหนดไว้
๔. ปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ี และสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นใหเ้ อ้อื ตอ่ บรรยากาศการจัดการเรียนรู้
๕. จดั หาโต๊ะ เกา้ อี้ และครูใหเ้ พียงพอ จดั สถานท่พี ักผอ่ นและทำกจิ กรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสม
๖. ประสานงานและอำนวยความสะดวกในการจัดสถานท่ี จดั กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนและ

ใหบ้ รกิ ารแก่บคุ คล และองคก์ รภายนอก

_96

๗. ประเมนิ ผลและรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตอ่ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
๘. ปฏิบตั ิงานอื่น ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย
๔. งานบรหิ ารพนกั งานบรกิ ารความสะอาด
หน้าที่ ๑. วางแผนการดำเนนิ งานบรหิ ารพนักงานบริการความสะอาด
๒. กำหนดมาตรฐานความสะอาด และช่วงเวลาในการทำความสะอาดพ้นื ท่ีตา่ งๆ ของโรงเรียน
๓. กำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านของพนกั งานบรกิ ารความสะอาดภายในโรงเรียนใหม้ ี

ประสทิ ธิภาพอยเู่ สมอ
๔. ประเมนิ ผลและรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านต่อผบู้ รหิ ารโรงเรียน
๕. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืน ๆ ตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย

5. งานโสตทศั นศึกษา
หน้าที่ ๑. วางแผนการดำเนินงานโสตทัศนศกึ ษา

๒. จัดทำทะเบียนวสั ดุ ครุภัณฑ์ ของงานโสตทัศนศึกษาใหเ้ ป็นปัจจุบัน
๓. จดั หาโสตทัศนูปกรณท์ จี่ ำเป็นสำหรบั สถานศึกษาใหเ้ พียงพอ
๔. จดั ระเบียบการใช้ การบำรงุ รกั ษา การซ่อมแซมเพ่อื ใหเ้ กดิ ความคงทนถาวรและปลอดภยั

ในการใช้งาน
๕. บันทึกเสียง ถ่ายภาพ วีดโี อเทป เพอื่ การประชาสัมพันธ์และแสดงผลงาน
๖. สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรในโรงเรียนได้ใช้โสตทัศนปู กรณใ์ ห้เกดิ ประโยชนต์ ่อการเรยี นการสอนให้มากทส่ี ุด
๗. จัดทำบนั ทกึ ขอ้ มลู และสถติ ิการใช้โสตทัศนูปกรณ์
๘. ประเมินผลและรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านต่อผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
๙. ปฏบิ ตั ิงานอนื่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

๖. งานโภชนาการ
หน้าที่ ๑. วางแผนการดำเนนิ งานโภชนาการ

๒. ควบคุมการประกอบอาหารของร้านค้าใหเ้ ป็นไปตามหลกั โภชนาการ ตรวจสอบคณุ ภาพอาหาร
และควบคมุ ความสะอาดในการปรงุ อาหาร

๓. ควบคุมและตรวจสอบการชำระลา้ งภาชนะ การกำจดั มลู ฝอย การทำความสะอาดโรงอาหาร
และบรเิ วณทนี่ ั่งรบั ประทานอาหารของนกั เรียน

๔. ให้ความร้เู กี่ยวกบั โภชนาการแกบ่ คุ ลากรในสถานศึกษาและผจู้ ำหนา่ ยอาหาร
๕. ประสานงานกบั อนามัยโรงเรียน ตรวจสขุ ภาพ ผปู้ ระกอบอาหาร และผู้จำหน่ายอาหาร
๖. ใหบ้ รกิ ารอาหารและเครอื่ งดม่ื แกบ่ คุ ลากรของโรงเรยี นในโอกาสทีม่ ีกจิ กรรมพเิ ศษต่าง ๆ
๗. จดบันทึกข้อมูลการใชไ้ ฟฟ้า และนำ้ ประปา ของร้านค้าในโรงอาหาร นำสง่ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ
๘. ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบตั งิ านตอ่ ผู้อำนวยการโรงเรยี น
๙. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

_97

๗. งานอนามยั โรงเรียน
หน้าท่ี ๑. วางแผนการดำเนนิ งานอนามยั โรงเรียน

๒. จดั หายาและเวชภณั ฑเ์ พือ่ การรกั ษาพยาบาลเบ้อื งต้น รวมทงั้ จดั หา และจดั เตรยี มเครื่องมือ
อปุ กรณ์การปฐมพยาบาลให้พรอ้ มใช้

๓. ทำบตั รสขุ ภาพและติดตามผลการรกั ษาอาการเป็นราย ๆ
๔. ประสานงานการตรวจสขุ ภาพนกั เรียน ครู บคุ ลากรของโรงเรียน
๕. ใหค้ ำปรึกษาปญั หาสขุ ภาพอนามัยแก่ครู นักเรียน และบคุ ลากรอ่ืน ๆ
๖. จดั ทำสถติ ิการใชย้ า และการรบั บรกิ ารต่าง ๆ ของครู นกั เรยี น และบคุ ลากรอื่น ๆ
๗. ประสานงานการบรจิ าคโลหิต
๘. เผยแพรแ่ ละให้ความรเู้ กยี่ วกบั โรคระบาดและการดูแลสขุ ภาพ
๙. ใหบ้ รกิ ารแก่นกั เรยี นและบุคลากรในสถานศึกษา เมอ่ื ได้รบั อบุ ัตเิ หตุ ให้ได้รบั สทิ ธปิ ระโยชนต์ าม

โครงการประกนั อบุ ัตเิ หตุ
๑๐. จดั ทำฐานขอ้ มลู รายละเอยี ดของนักเรยี นดา้ นสุขภาพ (นำ้ หนกั /สว่ นสงู /กล่มุ เลอื ด)
๑๑. ประเมนิ ผลและรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตอ่ ผู้อำนวยการโรงเรยี น
๑๒. ปฏบิ ัตงิ านอื่น ๆ ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

๘. งานสวัสดกิ าร
หนา้ ที่ ๑. ดูแลและบรหิ ารงานสวสั ดกิ ารใหด้ ำเนินไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย โปร่งใส ตรวจสอบได้

๒. เป็นทปี่ รกึ ษา ใหค้ ำแนะนำการดำเนนิ งานของสวสั ดกิ ารโรงเรียนและสวสั ดิการรา้ นคา้
๓. กำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การดำเนนิ งานของสวสั ดกิ ารโรงเรียนและสวสั ดกิ ารรา้ นคา้
๔. จัดหารายได้ ของชำรว่ ย ของทร่ี ะลึก และของรางวลั เพมิ่ ขวัญกำลงั ใจแกค่ รูและบุคลากรใน

สถานศึกษาตามโอกาสตา่ ง ๆ
๕. จดั ทำบญั ชีรายรบั -รายจา่ ย การเบกิ จา่ ยเงนิ สวัสดิการโรงเรยี นใหเ้ ปน็ ปจั จุบัน
๖. ติดตอ่ ร้านเสอ้ื จำหนา่ ยชดุ พละ กระเปา๋ โบว์ สมดุ และชดุ นกั เรียน
๗. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

๙. งานยานพาหนะ
หนา้ ที่ ๑. วางแผนการดำเนินงานยานพาหนะและบรกิ ารสาธารณะ

๒. จัดซ่อมแซมและตรวจสภาพยานพาหนะ พรอ้ มท่ีจะใช้งานไดด้ ี
๓. ควบคมุ ดูแลการใช้รถยนตร์ าชการและการเบิกจา่ ยน้ำมนั
๔. ควบคุม ดแู ล บำรงุ รกั ษา และจัดทำบัญชรี ายการซอ่ มพสั ดุ ตามระเบียบว่าดว้ ยการพสั ดุ
๕. ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง การขออนุมตั ิใช้รถยนต์ราชการ ตลอดจนรับผิดชอบการจัดยานพาหนะ

บริการแกบ่ คุ ลากรตามลำดับความจำเปน็

_98

๖. จัดทำเอกสารเพอ่ื เบกิ จา่ ยเงินคา่ ตอบแทนใหพ้ นกั งานขับรถ ในกรณีทำงานลว่ งเวลา
๗. ติดตอ่ ประสานงานการต่อทะเบยี นรถยนต์ และทำประกนั ภยั ยานพาหนะทกุ คันของโรงเรยี น
๘. จดั ระเบียบการจอดรถตามสถานทที่ ่ีกำหนด
๙. ประเมินผลและรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านต่อผอู้ ำนวยการโรงเรียน
๑๐. ปฏบิ ตั งิ านอืน่ ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

๑๐. งานสงิ่ แวดลอ้ ม
หน้าที่ ๑. แผนงาน โครงการสตรวี ดั ระฆงั รวมพลงั อนุรกั ษ์พลงั งานและสง่ิ แวดล้อม และคณะกรรมการ

ดำเนนิ งาน ผู้รับผิดชอบเพื่อนำนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ
๒. ร่วมกำหนดมาตรการการอนุรักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อมในโรงเรียนรวมทงั้ ประสานการจดั ซ้ือจดั

จา้ งท่เี ป็นมติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อม
๓. ประสานความรว่ มมอื และสง่ เสรมิ ให้มกี ารกำหนดหลกั สตู ร และบรู ณาการการเรยี นการสอนด้าน

การอนุรักษพ์ ลงั งาน ในโครงการสตรวี ัดระฆงั รวมพลงั อนุรักษ์พลงั งานและสง่ิ แวดล้อม
ในแตล่ ะระดบั ชนั้
๔. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการดา้ นอนรุ กั ษพ์ ลงั งานและสิ่งแวดลอ้ มทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ในหลักสตู ร (ในรปู แบบแผนการจดั การเรียนร)ู้
๕. รว่ มมือจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ หลกั สูตรที่เกยี่ วกบั การอนรุ กั ษ์พลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ ม
๖. สง่ เสรมิ และให้ความร่วมมอื จัดกจิ กรรมส่งเสริมด้านการใชน้ ้ำใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุดและมกี ารจดั การ
น้ำท้งิ ในโรงเรยี น
๗. ส่งเสรมิ และให้ความรว่ มมือจดั กจิ กรรมส่งเสริมดา้ นการจัดการของเสยี และเลอื กใช้สิ่งทเี่ ป็นมิตรต่อ
การอนุรักษ์พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม
๘. ส่งเสรมิ และใหค้ วามร่วมมือจดั กจิ กรรมส่งเสริมด้านการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๙. สง่ เสรมิ และใหค้ วามร่วมมือจดั กจิ กรรมสง่ เสริมดา้ นการใชพ้ ลงั งานทดแทน
๑๐. จัดทำกำหนดการวดั ผลประเมินผลให้เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการ
๑๑. ตดิ ตามการประเมนิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ หลกั สตู รทเ่ี ก่ยี วกบั การอนรุ ักษพ์ ลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม
ระดบั ชัน้
๑๒. ประเมนิ และรายงานผลการปฏบิ ัติงานต่อผู้อำนวยการโรงเรียน
๑๓. ปฏิบัติงานอ่ืนๆตามที่ได้รบั มอบหมาย

๑๑. งานสมั พนั ธช์ มุ ชน _99
หน้าที่ ๑. วางแผนการดำเนินงานสมั พนั ธช์ มุ ชน

๒. จดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งอำนวยความสะดวกในการปฏบิ ัติงานด้านสมั พันธ์ชมุ ชน
๓. รับแจง้ ข่าวสารประชาสมั พันธใ์ หบ้ คุ ลากร และผู้เกย่ี วข้องได้รบั ทราบ
๔. จดั กจิ กรรมรว่ มกับวดั ชมุ ชน และหนว้ ยงานราชการใกล้เคยี ง
๕. มสี ว่ นร่วมในการพฒั นาชมุ ชน และรว่ มกจิ กรรมวันสำคญั ทางศาสนาและวันสำคัญอื่นๆ

๖. สรา้ งความสมั พนั ธท์ ี่ดีกบั ชุมชนและองคก์ รต่างๆ
๗. ประเมินและรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานต่อผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
๘. ปฏิบตั งิ านอ่นื ๆตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

๑๒. งานประสานงานองคก์ รเครอื ขา่ ยสนับสนนุ โรงเรียน
๑๒.๑ งานประสานงานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

หนา้ ที่ ๑. รวบรวมประมวลกฎหมาย ระเบยี บ แนวปฏิบัตทิ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
๒. จัดประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
๓. สนบั สนนุ อปุ กรณ์ สง่ิ อำนวยความสะดวกให้แกค่ ณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
๔. ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ๆตามที่ไดร้ บั มอบหมาย
๑๒.๒ งานประสานงานสมาคมผปู้ กครองและครูโรงเรยี นสตรีวัดระฆัง

หนา้ ที่ ๑. รวบรวมประมาลกฎหมาย ระเบียบ แนวปฏบิ ัติท่ีเกย่ี วข้องกบั สมาคมผปู้ กครอง
๒. จัดเตรยี มการประชมุ คณะกรรมการสมาคมผปู้ กครอง
๓. สนบั สนนุ อปุ กรณ์ ส่งิ อำนวยความสะดวกใหแ้ ก่คณะกรรมการสมาคมฯ
๔. ปฏิบัติงานอน่ื ๆตามที่ได้รบั มอบหมาย
๑๒.๓ งานประสานงานสมาคมศิษยเ์ กา่ สตรวี ัดระฆัง

หนา้ ที่ ๑. รวบรวมประมาลกฎหมาย ระเบียบ แนวปฏิบัตทิ ่ีเกีย่ วข้องกบั สตรีวัดระฆงั สมาคม
๒. จัดเตรยี มการประชุมคณะกรรมการสตรีวัดระฆังสมาคม
๓. สนบั สนนุ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกใหแ้ ก่คณะกรรมการสมาคมฯ
๔. ปฏิบัตงิ านอน่ื ๆตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๑๒.๔ งานประสานงานมลู นิธิโรงเรียนสตรวี ัดระฆงั

หน้าท่ี ๑. รวบรวมประมาลกฎหมาย ระเบียบ แนวปฏบิ ัตทิ ี่เกีย่ วขอ้ งกบั มลู นธิ ิโรงเรียนสตรวี ัดระฆัง
๒. จดั เตรียมการประชุมคณะกรรมการมลู นธิ โิ รงเรยี นสตรวี ดั ระฆงั
๓. สนับสนุนอุปกรณ์ สงิ่ อำนวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการมลู นิธิฯ
๔. ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

๑๓. งานแผนงานและพสั ดุกลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป
หน้าท่ี ๑. จัดทำแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม โดยการรวบรวมรายการของแต่ละงาน การจัดซือ้ จัดจา้ ง จดั ทำ

แผนปฏิบัติงานและงบประมาณในโครงการและกจิ กรรมของกลุม่ บรหิ ารทั่วไป
๒. ดำเนินการจัดซอ้ื วสั ดุ อปุ กรณ์ ในการซ่อมแซม บำรุงรกั ษา อาคารสถานที่ในโรงเรียน
๓. ดำเนินการจดั จ้างในการซอ่ มแซม บำรงุ รกั ษา อาคารสถานทีใ่ นโรงเรยี น
๔. ทำทะเบียนเบกิ จ่าย วัสดุ ในการซอ่ มแซม บำรงุ รกั ษา อาคารสถานที่ในโรงเรยี น

_100

ประกาศโรงเรยี นสตรีวัดระฆัง

เรอื่ ง มาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศกึ ษาของโรงเรียนสตรวี ัดระฆงั

เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้มาติดต่อราชการ ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

เหตุร้าย อุบัติภัย ภัยพิบัติ สิ่งที่เป็นอันตราย ทั้งต่อจิตใจ ชีวิต ทรัพย์สินและรักษาทรัพย์สินของทางราชการ

โรงเรียนสตรวี ัดระฆังจึงกำหนดมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ในสถานศึกษาของโรงเรยี นสตรีวัดระฆัง ดงั นี้

หมวดท่ี ๑ ห้องเรียน

๑. เวลาเปิด - ปดิ หอ้ งเรยี น อนุญาตใหเ้ ปดิ ใชเ้ ฉพาะวันทำการของโรงเรยี นเทา่ น้นั โดยกำหนดให้

เจา้ หนา้ ท่ี เปิดเวลา ๐๗.๐๐ น. และปิดเวลา ๑๗.๐๐ น. (ยกเว้นมีการทำเรื่องขอใชส้ ถานท่ีเปน็ รายกรณ)ี

๒. เปดิ - ปดิ ประตูหอ้ งเรียนด้วยความระมดั ระวัง

๓. จัดโตะ๊ เก้าอ้ี และดูแลความสะอาดเรยี บรอ้ ยห้องเรยี นใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อมใช้งานก่อนออกจาก

ห้องเรยี นทุกครง้ั

๔. เครอื่ งปรบั อากาศ เปดิ อุณหภูมิไมน่ อ้ ยกว่า ๒๕ องศาเซลเชยี สและอนุญาตใหเ้ ปดิ ไดต้ ง้ั แต่เวลา

๐๘.๒๐ - ๑๖.๐๐ น.

๕. ปิดไฟสอ่ งสวา่ ง เครอ่ื งปรบั อากาศ ทุกคร้ังกอ่ นออกจากหอ้ ง

๖. ในการใช้อปุ กรณ์โสตทัศนศึกษา ใหศ้ กึ ษาคมู่ อื การใชอ้ ปุ กรณภ์ ายในหอ้ งเรียนอย่างละเอียด

เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกันการเสยี หายจากการใชง้ านไม่ถกู วธิ ี

๗. นกั เรยี นทุกคนมีหน้าทีใ่ นการชว่ ยกันดแู ลรกั ษาอุปกรณโ์ สตทศั นศกึ ษาและอปุ กรณ์เครอื่ งใชต้ ่างๆ ใน

ห้องเรยี นหากพบอปุ กรณ์ใดชำรุดหรืออยู่ในสภาพไมพ่ รอ้ มใช้งาน ใหแ้ จง้ ซอ่ มตามแบบฟอร์มทหี่ ้องบริหารทว่ั ไป

๘. หา้ มนำอาหาร เครือ่ งด่ืม และขนมขบเคยี้ วข้ึนมารับประทานบนอาคารเรียน

๙. ไม่อนุญาตให้ชาร์จแบตเตอรี่โทรศพั ทม์ ือถือและแบตเตอรส่ี ำรอง ตลอดจนนำเคร่อื งใช้ไฟฟา้ สว่ นตัว

อน่ื ๆ เช่นท่ียดื ผม ไดร์เปา่ ผม มาใช้ในห้องเรยี น

๑๐. การทำลายทรพั ย์สนิ ของทางราชการ และกระทำใดๆ ท่ีกอ่ ให้เกดิ ความเสียหาย ตอ้ งชดใชค้ วาม

เสยี หายตามความเสียหายทเ่ี กดิ ข้ึน

๑๑.หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นร้มู อบหมายผรู้ บั ผดิ ชอบดูแลการเปดิ ปดิ ห้องแหลง่ เรยี นรู้ของกลุ่มสาระฯ

๑๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทีไ่ ดร้ ับมอบหมายให้ปฏิบตั ิหนา้ ที่เวรประจำวนั ดูแลความเรยี บร้อย

บนอาคารเรียนมหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบและดูแลปดิ เปดิ ห้องเรียนในแตล่ ะวันโดยเคร่งครดั

๑๓. การใช้ห้องเรียนนอกเหนือกว่านี้ให้บันทึกขออนุญาตใช้ห้องล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน

ตามแบบฟอร์มทีห่ ้องบริหารทวั่ ไป

หมายเหตุ * หอ้ งแหลง่ เรียนรขู้ องกลุ่มสาระฯ ประกอบด้วย

๑. กลมุ่ สาระฯ คณติ ศาสตร์ ห้อง ๑๓๑๕

๒. กลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ห้อง ๑๒๐๔

๓. กลุม่ สาระฯ ภาษาไทย ห้อง ๑๒๐๕

_101

๔. กลุ่มสาระฯ สงั คมศึกษา ห้อง ๑๓๑๗

๕. กลมุ่ สาระฯ ภาษาต่างประเทศ ห้อง ๑๔๑๕

๖. กลมุ่ สาระฯ ศิลปะ ห้อง ๑๔๑๗

๗. กลมุ่ สาระฯ การงานอาชีพฯ ห้อง ๑๒๐๖

๘. กลมุ่ สาระฯ สุขศกึ ษาและพลศึกษา หอ้ ง ๑๒๐๗

๙. งานกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน หอ้ ง ๑๒๑๖

หมวดที่ ๒ ห้องสำนกั งานและห้องพักครกู ลุ่มสาระฯ

๑. เวลาเปิด – ปิดหอ้ งสำนกั งานและหอ้ งพกั ครูกล่มุ สาระฯกำหนดให้เจา้ หนา้ ท่ีเปิดห้องเวลา

๐๖.๓๐ น. และปดิ หอ้ งเวลา ๑๘.๐๐ น.

๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ คน ต้องช่วยกนั ปฏิบตั ิ ๕ส ในหอ้ งอยา่ งเครง่ ครัด

๓. เครื่องปรบั อากาศ เปิดอณุ หภมู ิไม่น้อยกวา่ ๒๕ องศาเซลเชียล และอนญุ าตใหเ้ ปดิ ไดต้ ง้ั แต่เวลา

๐๘.๐๐ น. และปดิ ก่อนออกจากห้องไม่นอ้ ยกว่า ๒๐ นาที

๔. ชว่ ยกนั ดแู ลอปุ กรณเ์ ครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ตา่ งๆในหอ้ งสำนกั งานและห้องพักครกู ล่มุ สาระฯหากพบว่า

อุปกรณ์ใดชำรดุ หรอื อยใู่ นสภาพไมพ่ ร้อมใชง้ าน โปรดแจ้งซ่อมได้ตามแบบฟอรม์ หอ้ งกลมุ่ บรหิ ารท่ัวไป

๕. เปดิ - ปดิ ประตดู ้วยความระมดั ระวัง

๖. ปดิ ไฟ เคร่ืองปรบั อากาศและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในหอ้ งทุกครั้งกอ่ นปิดห้องสำนกั งานและ

ห้องพักครูกลมุ่ สาระฯ

๗. หวั หนา้ กลุ่มสาระฯและหัวหน้าหอ้ งสำนกั งานเป็นผ้มู หี นา้ ท่รี ับผดิ ชอบโดยตรงในการดูแลความ

เรยี บรอ้ ยภายในห้อง

๘. การใช้หอ้ งสำนกั งานและหอ้ งพักครกู ลุ่มสาระฯนอกเหนือจากนใี้ หอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของหวั หน้า

กลมุ่ สาระฯและหวั หนา้ ห้องสำนกั งาน

หมวดท่ี ๓ โรงอาหาร

๑. เวลาเปดิ - ปดิ อนุญาตใหใ้ ชโ้ รงอาหารเฉพาะวนั ทำการของโรงเรยี นเท่านนั้

๒. กำหนดเวลารับประทานอาหาร

เช้า เวลา ๐๖.๓๐ - ๐๗.๔๐ น.

กลางวนั ม.๑ - ๒ เวลา ๑๐.๕๐ - ๑๑.๔๐ น.

ม.๓ - ๔ เวลา ๑๑.๔๐ - ๑๒.๓๐ น.

ม.๕ - ๖ เวลา ๑๒.๓๐ - ๑๓.๒๐ น.

เยน็ เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.

๓. ตอ้ งเข้าแถวซื้ออาหารใหเ้ ปน็ ระเบยี บทกุ ครั้ง การจำหน่ายอาหารให้แก่นกั เรยี นท่ไี ม่เข้าแถวถือวา่ มี

ความผิด (ทั้ง ผูค้ ้าและผู้ซือ้ )

๔. รับประทานอาหารในพนื้ ท่ีทีโ่ รงเรยี นกำหนดเท่านนั้

๕. หลังจากรับประทานอาหารเสร็จให้สง่ ภาชนะคนื ในบริเวณที่จดั เตรยี มไว้ และแยกเก็บเศษอาหาร

หรือขยะลงถงั แยกใหเ้ รยี บร้อย

๖. ห้ามบคุ คลภายนอกนำอาหารหรอื ส่งิ บริโภคมาจำหนา่ ยในโรงเรียน

๗. ไมเ่ ลน่ และสง่ เสยี งดังบรเิ วณโรงอาหาร

_102

๘. ชว่ ยกนั รกั ษาความสอาดภายในบรเิ วณโรงอาหารและพนื้ ทรี่ บั ประทานอาหารทีโ่ รงเรียนกำหนด
๙. ใชโ้ รงอาหารเพ่ือทำกจิ กรรมใดๆ ให้คำนงึ ถึงความสะอาด ปลอดภยั และความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย
เป็นหลัก และหลังจากทำกจิ กรรมเสรจ็ แล้วตอ้ งจดั โตะ๊ เก้าอีแ้ ละความสะอาด ใหเ้ รียบร้อยอยใู่ นสภาพพร้อมใช้
งานทุกครัง้
๑๐. ไมอ่ นุญาตใหช้ ารจ์ แบตเตอรี่โทรศพั ท์มือถอื หรอื แบตเตอรี่สำรองและเครือ่ งใช้ไฟฟ้าส่วนตัวใดๆ
ในโรงอาหารและพนื้ ท่รี บั ประทานอาหารท่โี รงเรยี นกำหนด
๑๑.การใช้โรงอาหารนอกเหนอื จากน้ีใหบ้ นั ทกึ ขออนญุ าตใช้โรงอาหารลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย ๓ วนั ตาม
แบบฟอร์มที่ห้องกลุ่มบริหารทวั่ ไป
หมวดท่ี ๔ บริเวณอืน่ ๆ รอบโรงเรยี น
๑. การเปิด - ปิดประตูโรงเรียน กำหนดใหเ้ ปิดเฉพาะวันทำการของโรงเรยี นเทา่ น้ัน
เปดิ เวลา ๐๖.๐๐ น. และปิดเวลา ๑๘.๐๐ น.
๒. หลงั จากเวลา ๑๖.๔๐ น. นกั เรียนสามารถใช้พ้ืนท่บี รเิ วณศาลาไทย ห้องโถง สนามในพ้นื ท่ีริมแม่น้ำ
เจา้ พระยา ในการทำกิจกรรมใดๆ ไดโ้ ดยท่ไี ม่ต้องมคี รหู รอื ผู้ปกครองดูแลไมเ่ กินเวลา ๑๘.๐๐ น.
๓. ในการใช้พื้นที่ต่างๆ ทำกิจกรรมนอกเหนือจากนี้ให้บันทึกขออนุญาตจากผู้อำนวยการโรงเรียน
ลว่ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ วันทำการ ตามแบบฟอรม์ ทห่ี ้องกลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป
๔. การอยู่เวร นอกจากตรวจความเรียบรอ้ ยภายในบริเวณโรงเรยี นตามความเหมาะสมแล้ว กำหนดให้
เวรกลางวัน ปฏิบัติหน้าท่ปี ระจำทหี่ อ้ งประชาสมั พนั ธ์ และเวรรักษาความปลอดภยั ในช่วงกลางคืนปฏิบัติหน้าท่ี
เวรกลางคืนเท่านัน้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

เบอรโ์ ทรศัพท์กรณเี กิดเหตุฉุกเฉิน (นางสาววมิ ลนาถ บัวแกว้ )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสตรีวัดระฆงั
นางสาววิมลนาถ บวั แก้ว
ผู้อำนวยการโรงเรนี น
นายเกยี รตเิ กรียงไกร บญุ ทน โทร ๐๙๑ - ๘๑๙ - ๓๔๙๒
รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป
สถานตี ำรวจนครบาลบางกอกนอ้ ย โทร ๐๘๓ - ๙๕๑ - ๕๔๕๓
๐๒ - ๔๑๑ - ๓๐๓๕ - ๘
แจง้ เหตุด่วน ๑๙๑
แจง้ ไฟไหม้ - ดับเพลงิ ๑๙๙
เหตดุ ว่ นทางนำ้ ๑๑๙๙
๑๖๖๙
แพทยฉ์ ุกเฉิน ๑๕๕๔
กชู้ ีพ ๑๑๓๐
การไฟฟ้านครหลวง ๑๗๘๔

กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

_103




Click to View FlipBook Version