The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ำกระชายเพื่อจำหน่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supattar Noisomwong, 2022-05-19 04:43:23

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ำกระชายเพื่อจำหน่าย

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ำกระชายเพื่อจำหน่าย

การศึกษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลติ นา้ กระชายเพ่ือจ้าหน่าย

นางสาวกรกมล ลายโตะ๊ รหัสประจา้ ตัว 62202011101
นางสาวภรภทั ร พมุ่ ดารา รหัสประจ้าตวั 62202011125

ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี
สาขาวิชา การบัญชี สาขางาน การบัญชี หอ้ ง 1

ครทู ี่ปรึกษา
นางสาวกรรตั น์ ค้าดา

วทิ ยาลยั เทคนิคพิจิตร อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั พิจติ ร
สา้ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

สารบญั หน้า

บทคดั ย่อ ข
กิตตกิ รรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ
1. บทนา 1
2
1.1 ความเป็นมาและความสาคญั 2
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน 2
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.4 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 3
2. เอกสารงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง 8
2.1 หลกั การแนวคิดเกย่ี วกับต้นทุน 9
2.2 หลกั การแนวคิดเกี่ยวกบั ผลตอบแทน 11
2.3 งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง
2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา 12
3. วธิ ีการดาเนนิ การศกึ ษา 12
3.1 กลุ่มเปา้ หมายที่ใช้ในการศกึ ษา 12
3.2 เครื่องมือท่ใี ช้ในการศึกษา 13
3.3 วธิ ีการดาเนนิ การศึกษา 13
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 13
3.5 การวิเคราะหข์ ้อมลู
3.6 สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู

สารบัญ (ต่อ)

4. ผลการศึกษาคน้ ควา้ หน้า
4.1 ขอ้ มลู ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ นา้ กระชาย
4.2 ข้อมลู สภาพท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 14
4.3 ข้อมูลปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อพฤติกรรมการบริโภคน้ากระชาย 19
4.4 ข้อมูลเกี่ยวกับการผลติ น้ากระชาย 21
22
5. สรุปการศึกษา การอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศกึ ษา 23
5.2 อภปิ รายผลการศึกษา 24
5.3 ข้อเสนอแนะ 24
25
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 27

ภาคผนวก ก เครื่องมือท่ใี ช้ในการศึกษาแบบสอบถามความคิดเห็นเก่ยี วกับ 31
ปจั จัยทีม่ ีผลต่อการบริโภคน้ากระชายเพ่ือจา้ หนา่ ย
37
ภาคผนวก ข แบบเสนอหวั ข้อและเค้าโครง โครงงานการศึกษาตน้ ทุนและ
ผลตอบแทนในการผลิตน้ากระชายเพ่ือจา้ หน่าย 44
59
ภาคผนวก ค แสดงภาพการลงพืน้ ที่การเก็บข้อมูล ความคิดเห็นเกี่ยวกับ 64
ปจั จัยท่มี ผี ลตอ่ พฤติกรรมการผลิตนา้ กระชาย

ภาคผนวก ง บญั ชี การศกึ ษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ
น้ากระชายเพ่ือจ้าหนา่ ย

ภาคผนวก จ แสดงภาพการพบครูผ้สู อนและครูทป่ี รึกษาโครงงาน
ประวตั ิผ้จู ดั ทา้ โครงงาน

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หนา้

4.1.1 แสดงการแบ่งประเภทตน้ ทุนทที่ ้าการศกึ ษา 14

4.1.2 แสดงต้นทุนค่าวตั ถดุ ิบในการผลติ น้ากระชาย 15

4.1.3 แสดงตน้ ทนุ ค่าแรงงานในการผลติ นา้ กระชาย 15

4.1.4 แสดงตน้ ทุนค่าน้าประปาและคา่ แกส๊ หงุ ตม้ ท่ใี ชใ้ นการผลิตนา้ กระชาย 16

4.1.5 แสดงขอ้ มลู สนิ ทรพั ย์และคา่ เส่ือมราคาอปุ กรณ์ 16

4.1.6 แสดงข้อมลู ตน้ ทุนคา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ 17

4.1.7 แสดงข้อมูลตน้ ทุนในการผลิตน้ากระชาย 17

4.1.8 แสดงข้อมูลต้นทุนราคาขายของนา้ กระชาย 18

4.1.9 แสดงกา้ ไรข้นั ตน้ จากการผลติ น้ากระชาย 18

4.1.10 แสดงก้าไรขน้ั ต้นจากการผลิตนา้ กระชายตอ่ ขวด 19

4.2.1 แสดงจา้ นวนและค่ารอ้ ยละของสถานภาพทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 19

4.2.2 แสดงจา้ นวนและคา่ รอ้ ยละของสถานภาพทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม 20

4.2.3 แสดงจา้ นวนและคา่ ร้อยละของอายผุ ตู้ อบแบบสอบถาม 20

4.2.4 แสดงจา้ นวนและคา่ ร้อยละของอาชีพผ้ตู อบแบบสอบถาม 20

4.3 แสดงค่าเฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานความคิดเห็นบรโิ ภคเก่ยี วกับปจั จัยที่

มีผลต่อการบริโภคนา้ กระชาย 21

4.4 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การผลิตนา้ กระชาย 22

สารบัญภาพ หนา้
28
ภาพที่ 29
1. ภาพการส่งเว็บไซต์ใหน้ ักศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์ 38
2. ภาพการสง่ เวบ็ ไซต์ให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์ 38
3. วตั ถุดบิ ที่ใช้ในการผลิตนา้ กระชาย 39
4. อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการผลิตน้ากระชาย 39
5. ล้างกระชายใหส้ ะอาดแล้วนา้ มาห่นั เปน็ ชิน้ 40
6. ล้างขิงใหส้ ะอาดแลว้ นา้ มาหัน่ เปน็ ช้ิน 40
7. น้ากระชายและขงิ ใสล่ งในเครอื่ งปนั่ 41
8. น้าน้าเปลา่ มาต้มใหส้ ุก 41
9. เทน้าต้มสุกลงในเครอ่ื งปนั่ 42
10. นา้ กระชายและขงิ ปนั่ ให้ละเอยี ด 42
11. พอละเอียดแลว้ จงึ กรองฟองออก 43
12. เทน้าผง้ึ และเกลือลงในน้ากระชายท่ีกรองแลว้ 43
13. เทน้ามะนาวลงไปแล้วคนใหเ้ ข้ากัน 44
14. ตักนา้ กระชายใส่ขวดแล้วปดิ ฝาขวด 44
15. ภาพการจา้ หน่ายสนิ ค้า 60
16. ภาพการจา้ หนา่ ยสินค้า 60
17. ภาพพบครูวชิ าโครงงาน วนั ท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2565 61
18. ภาพพบครวู ชิ าโครงงาน วนั ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 61
19. ภาพพบครูที่ปรึกษาโครงงาน วนั ท่ี 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 62
20. ภาพพบครูที่ปรึกษาโครงงาน วันท่ี 4 กุมภาพนั ธ์ 2565 62
21. ภาพพบครูวชิ าโครงงาน วนั ท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ 2565 63
22. ภาพพบครวู ชิ าโครงงาน วนั ที่ 20 กุมภาพนั ธ์ 2565 63
23. ภาพพบครูที่ปรึกษาโครงงาน วนั ท่ี 16 กุมภาพนั ธ์ 2565
24. ภาพพบครูที่ปรึกษาโครงงาน วนั ท่ี 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

บทท่ี 1

บทนา

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ

น้ากระชายมีความส้าคัญทางโภชนาการเป็นอย่างมาก นิยมบริโภคอย่างกว้างขวาง
ทุกเพศทุกวัย นอกจากจะน้ามาเป็นเครื่องด่ืมแล้วยังมีการน้ามาแปรรูปได้หลากหลายอย่าง เช่น
การน้าน้ากระชายมาท้าในรูปแบบการแช่แข็ง น้าสมุนไพร น้ากระชายใบเตยน้าผ้ึง น้ากระชาย
น้าผ้ึงมะนาว การท้ายาต้ม สารสกัดของกระชายสามารถออกฤทธ์ิในการต้านไวรัสชาร์สในระยะ
หลังจากการติดเชื้อ ยับยั้งการท้างานของเช้ือเอดส์ ต้านไวรัสไข้เลือดออก ยังช่วยบ้ารุงร่างกาย
ดีต่อสุขภาพบ้ารุงก้าลังเสริมสมรรถภาพทางเพศ บ้าบัดโรคนกเขาไม่ขันหรือโรคอีดี (เหง้าใต้ดิน)
ปรบั สมดลุ ของฮอรโ์ มนต่าง ๆ ในรา่ งกาย ดื่มง่ายดื่มเมื่อไหร่ก็ได้ ดังน้ันเคร่ืองด่ืมสมุนไพรน้ี มีคน
สนใจเป็นจ้านวนมาก ในสถานการณ์โควิด – 19 กระชายช่วยเรื่องการแบ่งตัวของเชื้อไวรัสโควิด – 19
คงปฎิเสธไมไ่ ด้ว่าการแพร่กระจายนนั้ เร็ว และเปน็ วงกวา้ งความหวังท่ีจะลดการติดเช้ือกค็ ือวัคซีนและ
ยารกั ษาโรค ที่จะสามารถหยุดยั้ง ลดจ้านวนผู้ติดเช้ือ COVID – 19 ท้าให้น้ากระชายติดอันดับความ
นิยมในช่วงนี้ส่วนผสมมีน้อยหลัก ๆ ก็คือ 1.กระชายเหลือง 2.น้าผึ้ง 3.น้ามะนาว 4.เกลือ
5.น้าเปล่า 6.น้าตาลทรายแดง ซ่ึงไม่ยากต่อการหาวัตถุดิบที่บ้านเรามี ท้าง่ายข้ันตอนไม่ยุ่งยาก
และสามารถดดั แปลงท้าขายเพอ่ื เปน็ การสร้างรายรบั เสรมิ ได้อีกด้วย

ในปัจจบุ ันจะเห็นไดว้ า่ คนไทยสนใจสมุนไพรทบ่ี า้ นเรามี หันมาบริโภคน้ากระชายเกือบทุก
ชว่ งเวลา สามารถหาซอื้ ได้ตามตลาดหรือร้านขายของทว่ั ไป นา้ กระชายสามารถรับประทานได้ทุกวัย
แต่ไม่ควรด่ืมต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพราะกระชายมีฤทธิ์ร้อนและราคาค่อนข้างสูงในการจ้าหน่าย
ควรเก็บไว้ไม่เกิน 1 อาทิตย์ เพราะจะท้าให้ความซ่าและความหอมของน้ากระชายลดลงจาก
จุดเริ่มต้นน้ที างคณะผจู้ ัดท้าไดม้ ีความสนใจในการศกึ ษาเก่ียวกับเร่ืองน้ากระชาย จึงท้าให้เกิดแนวคิด
ทีจ่ ะศึกษาต้นทนุ การทา้ น้ากระชายในราคาทเี่ หมาะสมและมีคุณภาพ เพือ่ ใหผ้ คู้ นเข้าถงึ ไดง้ า่ ยมากข้นึ

จากขอ้ ความขา้ งต้นที่กล่าวมานั้นคณะผู้จัดท้ามีความสนใจและมองเห็นช่องทางธุรกิจท่ีจะ
ท้าเรื่องการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการท้าน้ากระชาย เพ่ือตอบสนองความต้องการของ
ผู้บริโภค ดังนั้นในการศึกษาคร้ังน้ีจึงมุ่งเน้นท่ีจะศึกษาต้นทุนและผลตอบแทน เพื่อน้าข้อมูลท่ีได้มา
พจิ ารณาเปรียบเทยี บต้นทนุ ในการจ่ายซอ้ื และนา้ มาผลิตเป็นรายไดเ้ สรมิ ต่อไปในอนาคต

2

2.1 จดุ ประสงค์ของโครงงาน

2.1.1 เพ่ือศึกษาตน้ ทุนและผลตอบแทนในการท้าน้ากระชาย
2.1.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผ้บู ริโภคท่ีมตี ่อการบริโภคน้ากระชาย
2.1.3 เพือ่ ให้มปี ระสบการณ์และนา้ มาประกอบอาชีพเป็นรายได้เสรมิ

3.1 ขอบเขตของการศกึ ษา

3.1.1 ด้านตวั แปร
-

3.1.2 ด้านเน้ือหา
การวจิ ัยครงั้ นเ้ี ป็นการศึกษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ น้ากระชาย ดงั น้ี
1) ศึกษาตน้ ทุนการผลติ น้ากระชาย ต้งั แต่ข้นั ตอนการเตรยี มการท้าไปจนถึง

ขั้นตอนการจ้าหน่าย และวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งตน้ ทุนในการผลติ น้ากระชาย
2) ศึกษาผลตอบแทนที่ไดร้ ับจากการลงทนุ ในการผลิตนา้ กระชาย

3.1.3 ด้านเวลา
พฤศจกิ ายน 2564 – กมุ ภาพนั ธ์ 2565

1.4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

ต้นทุน หมายถึง ต้นทุนท้ังส้ินที่ใช้ในการซื้ออุปกรณ์และน้ากระชาย เพ่ือแปรรูปเปน็
น้ากระชายที่พรอ้ มจา้ หนา่ ย

ผลตอบแทน หมายถงึ อตั ราก้าไรตอ่ ทนุ อตั ราก้าไรตอ่ ยอดขาย อัตราผลตอบแทนจาก
เงินลงทนุ และอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์

บทท่ี 2

เอกสารงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง

การศึกษาในคร้ังนี้ เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ากระชายเพ่ือ
จา้ หน่ายผ้จู ัดทา้ โครงงานได้ศกึ ษา หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยทเี่ กีย่ วข้องดังนี้

2.1 หลงั การแนวคดิ เก่ียวกับตน้ ทนุ
2.2 หลกั การแนวคดิ เก่ยี วกบั ผลตอบแทน
2.3 งานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง
2.4 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา

2.1 หลักการแนวคิดเกีย่ วกบั ต้นทุน

ต้นทุน (Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรทีองค์กรใช้ประโยชน์เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ตามท่ีได้ก้าหนดไว้ เช่น ต้นทุนของวัตถุดิบและแรงงานที่เกิดขึ้นเพื่อผลิตสินค้าหรือ
บริการ และเม่ือต้นทุนได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจแล้ว ต้นทุนส่วนนั้นจะเปลี่ยนสภาพไปตาม
คา่ ใชจ้ า่ ย (Expense) ซงึ่ จะน้าไปหักจากรายไดใ้ นแตล่ ะ่ งวดบญั ชี

ต้นทุนการผลิต คือ ต้นท่ีท้าให้ได้สินค้าส้าเร็จรูปใด ๆ ประกอบด้วย วัตถุดิบทางตรง
ที่เบิกใช้ในการตลาด แรงงานทางตรงท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตและค่าใช้จ่ายในการผลิต
เมื่อทง้ั 3 สว่ นประกอบ ได้เขา้ สู่ขั้นตอนต่าง ๆ ของการผลิตก็จะถูกแปรสภาพเป็นสินค้าสั่งผลิตรูป
ตอ่ ไป

4

การจ้าแนกประเภทตน้ ทนุ แบ่งออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่
2.1.1 การจา้ แนกต้นทุนตามระยะเวลา
2.1.2 การจา้ แนกตน้ ทุนตามลักษณะการด้าเนินงาน
2.1.3 การจ้าแนกต้นทุนตามส่วนประกอบของผลติ ภณั ฑ์
2.1.4 การจ้าแนกต้นทุนตามปรมิ าณกิจกรรม
2.1.5 การจ้าแนกตน้ ทนุ เพื่อการควบคมุ และวัดผลการปฏบิ ัตงิ าน
2.1.6 การจา้ แนกตน้ ทนุ เพ่ือการตดั สินใจ
ซ่ึงมีรายละเอยี ดของการจ้าแนกตน้ ทุนแตล่ ะประเภท ดงั ตอ่ ไปนี้

2.1.1 การจ้าแนกต้นทนุ ตามระยะเวลา

เป็นการพิจารณาต้นทุนในการจัดหาสินทรัพย์และบริการต่าง ๆ ซ่ึงจะต้องสัมพันธ์
กบั ระยะเวลาในการด้าเนนิ ธรุ กิจของกิจการ โดยสามารถแบง่ ต้นทุนออกได้เป็น 3 ประเภท คอื

1) ต้นทนุ ที่เกิดขึน้ ในอดตี (Historical cost) คอื ต้นทุนที่เกิดขึ้นเม่ือได้มาซ่ึงสินทรัพย์
หรอื บรกิ ารตา่ ง ๆ และกิจการได้จ่ายชา้ ระเงินสด สินทรัพย์อื่นใดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดปกติจะ
ใช้ต้นทนุ ประเภทนีใ้ นการบันทกึ บญั ชปี ระกอบกบั การจัดท้างบการเงิน แต่ไม่นิยมน้าไปใช้ประกอบการ
ตัดสินใจปัญหาหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอนาคตเนื่องจากสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจมีการ
เปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา

2) ต้นทุนทดแทนหรือต้นทุนเปลี่ยนแทน (Replacement Cost) คือต้นทุนที่จ่าย
ไปเพื่อใช้ในการจัดหาสินทรัพย์มาเปลี่ยนแทนหรือทดแทนสินทรัพย์เดิม ซึ่งสินทรัพย์ที่จัดหามา
องมีลักษณะคล้ายคลึงกับสินทรัพย์เดิม เพื่อน้ามาเปรียบเทียบต้นทุนประกอบการตัดสินใจในการ
เลือกทางเลือกต่าง ๆ ว่าควรเปล่ียนแทนหรือปรับปรุงสินทรัพย์ที่มีอยู่เดิมหรือควรซื้อสินทรัพย์เพื่อ
ทดแทนสินทรัพย์เดิม โดยเปรียบเทียบจากราคาตลาดของสินทรัพย์นั้น ๆ

3) ต้นทุนในอนาคต (Future Cost) คือต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตเมื่อ
กิจการต้องตัดสินใจเลือกโครงงานใดโครงงานหนึ่งในอนาคต ซึ่งกิจการต้องพยากรณ์ต้นทุนที่
กิจการคาดว่าจะเกิดขึ้นเพื่อใช้ในการตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงงานจัดแนวโน้มของต้นทุนจริง
ในอดีตหรือจากระบบงบประมาณของกิจการ

5

2.1.2 การจ้าแนกตามลักษณะการด้าเนินงาน

เป็นการพิจารณาต้นทุนท่ีเกิดจากการด้าเนินงานหรือปฏิบัติงานของธุรกิจ ซึ่งแบ่ง
ได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้

1) ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Cost) คือต้นทุนที่เกิดขึ้นท้ังหมดกระบวนการ
ผลิต เพื่อแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้า ซึ่งปกติต้นทุนการผลิตจะเกิดขึ้นในธุรกิจผลิตสินค้าเท่านั้น
เช่น วัตถุดิบทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต เป็นต้น

2) ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิต (Nonmanufacturing Cost) คือต้นทุนอื่น ๆ
ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า ซึ่งจ้าแนกต้นทุน โดยพิจารณาตามหน้าที่หรือลักษณะของการ
ปฏิบัติ ดังนี้

2.1) ต้นทุนในการจัดซื้อหรือจัดหาสินค้า (Merchandise Cost) เป็นต้นทุนใน
การจัดหาสินค้า เช่น ค่าขนส่งเข้า เป็นต้น

2.2) ต้นทุนทางการตลาด (Marketing Cost) เป็นต้นทุนที่เกิดจากการส่งเสริม
การขาย หรือแนะน้าผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาด เช่น ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

2.3) ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายในการบริหาร (Administrative Cost of Expense)
เป็นต้นทุนจากการบริหารงานโดยรวม เช่น เงินเดือนฝ่ายบริหาร ค่าใช้จ่ายแผนกบัญชี เป็นต้น

2.4) ต้นทุนทางการเงิน (Financing Cost) คือต้นทุนจากการจัดหาเงินทุนมา
ด้าเนินงาน เช่น ดอกเบ้ีย ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ เป็นต้น

2.5) ต้นทุนในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Research and Development Cost)
เป็นต้นทุนจากการวิจัยหาสินค้าใหม่ ๆ หรือพัฒนาสินค้าที่มีอยู่ให้ทันสมัยจากเดิม เพื่อตอบสนอง
ความต้องการทางตลาดลูกค้า เช่น เงินเดือนนักวิจัยและผู้เชียวชาญ เป็นต้น

2.1.3 การจ้าแนกต้นทุนตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์

เป็นการจ้าแนกต้นทุนของผลิตภัณฑ์นั้นๆ ที่กิจการได้ท้าการผลิตเพื่อให้ได้มาซึ่ง
สินค้าต่างๆ สามารถจา้ แนกได้ 3 ส่วน ได้แก่

1) วัตถุดิบทางตรง (Direct Material) คือวัตถุดิบส่วนส้าคัญที่ใช้ในการผลิตสินค้า
หรือบริการ สามารถค้านวณได้ง่ายว่าสินค้า หน่วยต้องใช้วัตถุดิบเท่าใด เช่น ไม้ที่ใช้ท้า เฟอร์นิเจอร์
ผ้าที่ใช้ในการตัดชุด เป็นต้น

2) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor) ค่าแรงงานที่เกิดขึ้นเพื่อเปลี่ยนสภาพ
วัตถุดิบ ให้เป็นสินค้าส้าเร็จรูป หรือเป็นค่าแรงที่ผลิตสินค้าโดยตรง สามารถค้านวณต้นทุนค่าแรงท่ี
ใช้ใน การผลิตได้โดยง่าย เช่น ค่าแรงของพนักงานตัดเย็บเสื้อผ้า แรงพนักงานควบคุมเครื่องจักร
ภายในโรงงาน เป็นต้น

6

3) ค่าใช้จ่ายในการผลิตหรือค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead) คือต้นทุน
ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการสนับสนุนการผลิตสินค้าหรือบริการที่ไม่เกี่ยวข้องกับวัตถุดิบทางตรงและ
ค่าแรงทางตรง และไม่เก่ียวข้องกับส่วนของส้านักงาน ดังนี้

วัตถุทางตรงและค่าแรงงานทางตรง เป็นส่วนประกอบหลักที่น้าไปคิดเข้ากับตัว
สินค้าโดยตรงตรง ผลรวมของต้นทุนวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรงจัดเป็นต้นทุนขั้นต้น
(Prime Costs) และผลรวมของค่าแรงทางตรงกับค่าใช้จ่ายในการผลิต จัดเป็นต้นทุนแปรสภาพหรือ
ต้นทุนเปลี่ยนสภาพ (Conversion Cost) ซึ่งหมายถึงต้นทุนที่ใช้ใน การเปลี่ยนสภาพวัตถุดิบให้เป็น
สินค้าส้าเร็จรูป

2.1.4 การจ้าแนกต้นทุนปริมาณกิจกรรม

เป็นการวิเคราะห์พฤติกรรมต้นทุนว่าผันแปรตามปริมาณกิจกรรมที่ปรับสูงขึ้นหรือ
ลดลงหรือไม่ เช่น หน่วยสินค้าที่ผลิต จ้านวนชั่วโมงแรงงานจ้านวนชั่วโมงเครื่องจักร เป็นต้น ซึ่ง
สามารถจ่าแบกต้นทุนประเภทน้ีได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่

1) ต้นทุนผันแปร คือ ต้นทุนที่เปลี่ยนแปรไปตามสัดส่วนของระดับกิจกรรมหรือ
ปริมาณการผลิต ในขณะที่ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยลงที่ไม่ปริมาณกิจกรรมจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงซึ่งท้า
ให้ค้านวณหาต้นทุนได้โดยง่าย และทราบว่าต้นทุนดังกล่าวเป็นต้นทุนของแผนกใด

2) ต้นทุนคงที่ คือต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับของกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นหรือ
ลดลง แต่ต้นทุนต่อหน่วยจะลดลงเมื่อปริมาณกิจกรรมเพิ่มขึ้น และจะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณกิจกรรม
ลดลง เช่น เงินเดือนผู้จัดการโรงงาน ค่าเช่าโรงงาน เป็นต้น

3) ต้นทุนกึ่งผันแปร คือต้นทุนที่มีลักษณะส่วนหนึ่งเป็นต้นทุนคง อีกส่วนหนึ่ง เป็น
ต้นทุนผันแปรไปตามระดับของกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ค่าบริการรายเดือนซ่อมบ้ารุง เดือน
ละ 500 บาท ต้นทุนผันแปรข้ึนอยู่กับปริมาณท่ีเพ่ิมข้ึนจากเดิม

4) ต้นทุนกึ่งคงที่ คือต้นทุนที่ใช้ในช่วงระดับกิจกรรมหนึ่ง เมื่อกิจกรรมเปลี่ยนไป
อีกระดับหนึ่ง ต้นทุนก็จะผันแปรตามไปด้วย และจะคงที่ตลอดช่วงกิจกรรมใหม่จนกว่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงระดับกิจกรรม เช่น หัวหน้างาน 1 คน ควบคุมงานได้ 10 คน แต่ถ้าต้องการเพิ่ม
คนงานเป็น 20 คน ต้องจ้างหัวหน้างานเพิ่ม คน ต้นทุนคงที่จากเดิม คน ก็จะเพิ่มขึ้นเป็น 2 คน
จนกว่าจะมีการเปล่ียนแปลง

7

2.1.5 การจ้าแนกต้นทุนเพ่ือควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน

เป็นการควบคุมต้นทุนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ เป็นหน้าที่ส้าคัญของ
ผู้บริหาร ซึ่งก้าหนดหน่วยงานที่ต้องการจะควบคุมต้นทุนแล้ววางแผนการควบคุม ตลอดจนการลง
มือปฏิบัติ และวัดผลการปฏิบัติควบคุมดังกล่าวว่าเป็นไปตามที่วางไว้หรือไม่ ซึ่งในการควบคุมต้นทุน
น้ัน สามารถจ้าแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังน้ี

1) ต้นทุนที่ควบคุมได้ คือต้นทุนที่ผู้จัดการหรือหัวหน้างานสามารถสั่งการหรือ
ควบคุมได้ เช่น ค่าล่วงเวลา ค่าวัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น

2) ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ คือต้นทุนที่ผู้จัดการหรือหัวหน้างาน ไม่สามารถควบคุม
ได้ เพราะอยู่ในอ้านาจการตัดสินใจของผู้บริหารหรือได้รับปันส่วนมาจากส่วนกลางไม่สามารถ
หลีกเล่ียงได้ เช่น ค่าเสื่อมราคาโรงงาน ค่าสาธารณูปโภค เป็นต้น

2.1.6 การจา้ แนกค้าทุนเพ่ือการตัดสินใจ

ต้นทุนประเภทน้ีสามารถแยกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ดังนี้
1) ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ คือต้นทุนที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจ
ของผู้บริหารเพื่อใช้ในการประเมินทางเลือก ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการเปรียบเทียบต้นทุนในอดีตหรือ
การพยากรณ์โดยอาศัยเทคนิคทางสถิติ ซ่ึงสามารถจ้าแนกประเภทได้ดังนี้

1.1 ต้นทุนส่วนต่าง คือต้นทุนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการ
ปฏิบัติเดิมให้เป็นวิธีการปฏิบัติใหม่ เช่น ก้าลังการผลิต 100 หน่วย ต้นทุนต่อหน่วย 2 บาท ถ้าเพิ่ม
กา้ ลังการผลิตเป็น 150 หน่วย ต้นทุนต่อหน่วยเป็น 1.80 บาท ทา้ ให้เกิดต้นทุนส่วนต่าง ที่ลดลงจาก
เดิมเม่ือเปรียบเทียบกับกา้ ลังการผลิตเดิมอยู่ 0.20 บาท

1.2 ต้นทุนที่เส่ียงใต้ คือต้นทุนท่ีสามารถประหยัดได้จากการติดสินใจเลือก เช่น
การยุบสาขาท่ีได้กา้ ไรน้อยหรือขาดทุน จะช่วยลดต้นทุนได้ลงจากเดิม

1.3 ต้นทุนค่าเสียโอกาส ที ผลตอบแทนที่กิจการได้รับจากการตัดสินใจเลือก
ทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง แต่กิจการต้องเสียผลตอบแทนจากทางเลือกที่ไม่ได้เลือก เช่น มีเงินอยู่
10,000 บาท ถ้าฝากเงินจะได้ดอกเบ้ีย 200 บาทต่อปี แต่ถ้าปล่อยเงินกู้จะได้ดอกเบี้ย 500 บาทต่อ
ปี ซ่ึงถ้าเลือกปล่อยเงินกู้จะทา้ ให้เสียโอกาสได้รับดอกเบ้ียเงินฝากเงินเป็นจา้ นวนเงิน 200 บาท

8

2.1.7 ต้นทุนท่ีไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ คือต้นทุนท่ีไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง กับการ
ตัดสินใจ ไม่ว่าผู้บริหารจะเลือกทางใดก็ตาม ซ่ึงสามารถจ้าแนกได้ดังน้ี

1) ต้นทุนจม คือต้นทุนที่เกิดขึ้นในอดีตไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ เช่น
เครื่องจักรมาในราคา 20,000 บาท เป็นเวลา 2 ปี ไม่ว่ากิจการจะขายหรือไม่ขาย ต้นทุน ดังกล่าว
เกิดขึ้นแล้วจากการซ้ือเครื่องจักร

2) ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือต้นทุนที่ยังคงมีอยู่ไม่ว่ากิจการจะเปลี่ยนแปลงไป
จากเดิมหรือไม่ เช่น ค่าทรัพย์สินของโรงงาน เป็นต้น

2.2 หลักการแนวคิดเก่ียวกับผลตอบแทน

การวิเคราะห์การลงทุนเก่ียวกับผลตอบแทนจากการลงทุนของโครงงานใด ๆ โดยเป็น
การเปรียบเทียบผลตอบแทนและต้นทุนของโครงงานนั้น ๆ ซึ่งผลตอบแทนซึ่งผลตอบแทนและ
ต้นทุนของโครงงาน จะเกิดขึ้นในระยะเวลาต่างๆ กันตลอดอายุของโครงงาน ดังนั้นจึง
จ้าเป็นต้องมีการปรับค่าของเวลา โครงงานเพื่อให้ได้มาซึ่งผลตอบแทนที่ได้รับ และต้นทุนที่เสีย
ไปในช่วงระยะเวลาที่ต่างกันให้เป็น เวลาปัจจุบันก่อนแล้วจึงท้าการ เปรียบเทียบกันได้อย่าง
ถูกต้องแน่นอนชัดเจนมากย่ิงข้ึน (เสถียรศรี บุญเรือง 2542) การวิเคราะห์ทางด้านการเงินเป็น
วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายหรือเงินลงทุนและผลตอบแทน หรือผลก้าไรทางการเงินของรายงานโครงงาน
เพ่ือวิเคราะห์โครงงาน ที่จัดท้าขึ้นนั้นมีความคุ้มค่า กับการลงทุนหรือไม่ โดยทั่วไปแล้วแบ่งการ
วิเคราะห์เป็น 2 ประเภท คือ 1) วิธีการวิเคราะห์โดยไม่มีการคิดลด (Undiscounted
Approach) คือการวัดค่าของ ต้นทุนและผลตอบแทนจากโครงงาน โดยไม่ค้านึงถึงว่าเงินที่ได้มา
หรือใช้ไปในแต่ละช่วงเวลาที่ ต่างกัน เช่น เงินสดที่ได้รับในปีที่ จ้านวน หนึ่งกับเงินจ้านวน
เดียวกันนี้ที่จะได้รับในปีที่ 5 จะถือว่ามีมูลค่าเท่ากัน การวิเคราะห์นี้ เช่น การหาระยะเวลาคืน
ทุน (Playback Period) ซึ่งเป็น การค้านวณนับจากจุดเร่ิมต้นของโครงงาน จะใช้เวลาเท่าไหร่จึง
จะมีกระแสเงินสดรับสุทธิจาก โครงงานรวมกันเท่ากับมูลค่าในการลงทุน (Total Capital
Investment) 2) วิธีการวิเคราะห์โดยมีการคิดลด (Discounted Approach) วิธีการวิเคราะห์
โดยมีการ คิดลดเป็นวิธีการวัดค่าของผลตอบแทนหรือต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนจากโครงงาน
โดยค้านึงถึง ค่าเสียโอกาสผ่านวิธีการคิดลด (Discounted Method) ซึ่งวิธีที่นิยมใช้ ได้แก่
มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราตอบแทนภายในจากการลงทุน (IRR) วัตถุประสงค์ของการ
วิเคราะห์ทางการเงิน โดยทั่วไปการวิเคราะห์การเงินมีวัตถุประสงค์ 4 ประการดังนี้ 1) เพื่อ
ประเมินความเป็นไปได้ทางการเงิน วัตถุประสงค์ส้าคัญของการวิเคราะห์ ทางการเงิน คือการ
ประเมินความสามารถในทางโครงงานนั้น คือโครงงานนั้นสามารถก่อให้เกิดที่คุ้มค่ากับค่าใช้จ่าย
ต่าง ๆ และผลอัตราตอบแทนที่ดี การประเมินส่วนนี้จะต้องมีการประมาณต้นทุนและ

9

ผลตอบแทนทั้งสิ้น เพื่อศึกษาผลตอบแทนสุทธิของโครงงาน 2) เพื่อประเมินแรงจูงใจในการ
วิเคราะห์ทางการเงินจะมีความส้าคัญต่อการประเมิน แรงจูงใจที่มีต่อเจ้าของโครงงานและผู้มี
ส่วนร่วมกับโครงงาน หรือถ้าเป็นโครงงานรัฐวิสาหกิจหรือ ที่รัฐบาลให้การสนับสนุน ก็พิจารณา
ว่าผลตอบแทนที่ได้รับจะเพียงพอต่อการเลี้ยงตัวเอง และบรรลุวัตถุประสงค์การเงินตามท่ี
ต้องการหรือไม่ 3) เพื่อจัดให้มีแผนการเงินที่ดีเพ่ือให้โครงงานมีก้าไรและผลตอบแทนท่ีดีก็จะต้อง
มี แผนการเงินที่ดีด้วย โดยเฉพาะการวางแผนจัดหาเงินทุน เพื่อให้ได้มาซึ่งเงินลงทุนในจ้านวน
และใน เวลาตามที่ต้องการ โดยเสียค่าใช้จ่ายต่้าที่สุดรวมทั้งเพื่อให้ข้อเสนอแนะถึงวิธีการ
ปรับปรุงความ เป็นไปได้ทางการเงินของโครงงาน โดยเฉพาะความเหมาะสมของอัตราค่าบริการ
ราคาปริมาณ การผลิตที่คุ้มทน 4) เพื่อประเมินขีดความสามารถในการบริหารการเงิน ส้าหรับ
งานลงทุนขนาดใหญ่ ที่มีการบริหารการเงินที่สลับซับซ้อนก็จ้าเป็นต้องพิจารณ าถึงระบบการ
จัดการด้านการเงิน และความสามารถของผู้ท่ีจะบริหารเงินด้วยในการน้ีอาจจะมีการพิจารณาว่า
ควรจะมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงองค์กรจัดการอย่างไร ควรจัดให้มีระบบควบคุมและการ
ตรวจสอบการเงินอย่างไร รวมทั้งการฝึกอบรมทักษะเฉพาะอย่างไร เพื่อให้โครงงานเดินหน้าไป
ตามวัตถุประสงค์ที่ก้าหนดไว้

2.3 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง

ทดสอบความเป็นพิษต่อการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง โดยใช้น้าคั้นจากเหง้ากระชาย
สด น้ามาทดสอบด้วยวิธีไมโครนิวเคลียสไมโครนิวเคลียส (MN) มีลักษณะเป็นก้อนกลมที่มีเส้น
ผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-2 um มีขอบเขตชัดเจน และเรียบ เป็นตัวบ่งชี้การเกิดความ
เสียหายต่อโครโมโซม การทดสอบไมโครนิวเคลียสเป็นการศึกษาในเซลล์ polychromatic
erythrocytes (PCE) ซึ่งเป็นเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ยังไม่เจริญเต็มที่ และ normochromatic
erythrocytes (NCE) ซึ่งเป็นเม็ดเลือดแดงที่สมบูรณ์กว่า ทดสอบในหนูขาวเพศผู้สายพันธ์ุ
วิสตาร์ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม โดยท่ีกลุ่มควบคุมจะได้รับน้ากล่ัน 1 ml ต่อวัน และกลุ่มทดลอง
ได้รับน้ากระชายคั้นขนาด 60,120 หรือ 600 mg/kg ต่อวัน เป็นระยะเวลา 30 วัน แล้วเก็บ
ตัวอย่างเลือด และเซลล์ไขกระดูกไปทดสอบ ประเมินความเป็นพิษจากค่าอัตราส่วน PCE
ต่อจ้านวนเม็ดเลือดแดงทั้งหมด (total erythrocytes) ผลการทดสอบความเป็นพิษของ
น้ากระชายคั้นต่อเซลล์ PCE และ NCE ในไขกระดูก พบว่าหนูขาวที่ได้รับน้ากระชายคั้นทุก
กลุ่มมีจ้านวน PCE MNPCE และ NCE ไม่มีความแตกต่างกับกลุ่มควบคุม แต่มีจา้ นวน MNNCE
และ MNNCE/NCE มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสา้ คัญ (P<0.05) อย่างไรก็ตามค่าอัตราส่วน
ของ PCE ต่อ total erythrocytes (PCE/ total erythrocytes ratio) ที่ใช้บ่งชี้ความเป็น
พิษของสารต่อเซลล์กลับไม่พบความแตกต่างจากกลุ่มควบคุม อีกทั้งการทดสอบความเป็นพิษ

10

ของ น้ากระชายคั้นในเซลล์เม็ดเลือดแดงในเลือด พบว่า PCE MNPCE reticulocyte ไม่มี
ความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญ และพบว่ามีจานวนไมโครนิวเคลียสของเซลล์เม็ดเลือดแดงใน
เลือดลดลง เมื่อเทียบกับจ้านวนไมโครนิวเคลียสในเซลล์เม็ดเลือดแดงในไขกระดูก ทั้งนี้อาจ
เนื่องมาจากเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีไมโครนิวเคลียสเหล่านี้ถูกก้าจัดโดยการท้าหน้าที่ของม้าม
การศึกษานี้ยังพบว่ามีไมโครนิวเคลียสอยู่ใน reticulocyte ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไมโครนิวเคลียสที่
รูปร่างกลม ที่มีขนาดใหญ่ หรือมีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เส้ียว อาจเน่ืองมาจากม้ามไม่สามารถ
ก้าจัดเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีไมโครนิวเคลียสขนาดใหญ่เหล่านี้ได้ และที่คงพบเซลล์ PCE
ในเลือดก็ยังอยู่ในช่วงเกณฑ์ปกติที่สามารถพบได้ประมาณร้อยละ 2 ผลจากการศึกษาสรุปได้ว่า
นา้ กระชายคั้นไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์เม็ดเลือดแดงในไขกระดูก และในเลือดของหนู
ขาวเมื่อทดสอบด้วยวิธีไมโครนิวเคลียส แม้จะให้หนูในขนาดความเข้มข้นสูงถึง 600 mg/kg
ต่อเนื่องกัน 30 วัน จึงใช้เป็นพืชสมุนไพรที่รับประทานสดในสภาวะปกติได้อย่างปลอดภัย
(U-pathi and Sudwan 2013 : 191)

ศึกษาความเป็นพิษของสารบริสุทธิ์ 2 ชนิด ได้แก่ สารพิโนเซมบริน และสารพิโนส
โตรบิน (5-hydroxy-7-methoxy flavanone) ซึ่งเป็นสารในกลุ่มฟลาวาโนนที่ได้มาจากเหง้า
กระชายทดสอบในหนูขาวโดยให้สารพิโนเซมบริน และสารพิโนสโตรบิน แก่หนูขาวเพศผู้สาย
พันธุ์วิสตาร์ ในขนาดความเข้มข้น 500 mg/kg ผลการศึกษาพบว่าสารทั้งสองชนิดไม่ก่อให้เกิด
การตายในหนู และจากการวิเคราะห์ความเป็นพิษต่ออวัยวะส้าคัญ ได้แก่ ปอด ตับ ม้าม
หัวใจ ไต อัณฑะ ต่อมไทมัส และค่าทางชีวเคมีของเลือด ได้แก่ aspartate aminotransferase
(AST) alanine aminotransferase (ALT) alkaline phosphatase (ALP) ปริมาณโปรตีนรวม
อัตราส่วนของ albumin กับ globulin ปริมาณยูเรีย ตลอดจนน้าหนักตัวของหนู ไม่พบความ
ผิดปกติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (Charoensin et al 2553 : 29-40)

จากการทดสอบฤทธิ์ท้าลายสารพันธุกรรม หรือการก่อกลายพันธุ์ด้วยการให้สาร
พิโนเซมบริน และพิโนสโตรบินซึ่งเป็นสารในกลุ่มฟลาวาโนน ที่ได้ม าจากเหง้ากระชาย
ในขนาด 1,10 หรือ 100 mg/kg แก่หนูขาวเป็นระยะเวลา 7 วัน พบว่าสารทั้งสองชนิด
ไม่เหนี่ยวน้าให้เกิดการแตกหักของโครโมโซม และไม่มีผลต่อดัชนีการแบ่งตัวของเซลล์ตับ
(mitotic index) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าสารพิโนเซมบริน และพิโนสโตรบินไม่มีความเป็นพิษใน
หนูขาว และไม่มีความเป็นพิษต่อสารพันธุกรรมในเซลล์ตับหนูขาวในช่วงความเข้มข้น
1-100 mg/kg (Charoensin et al 2553 :29-40)

11

2.4 กรอบแนวคดิ ในการจัดทาโครงงาน
แนวคิดต้นทุน

ตน้ ทนุ ตามสว่ นประกอบของการผลติ นา้ กระชาย
1. คา่ วัตถดุ บิ
ตน้ ทุน 2. คา่ แรงงาน
3. ค่าใชจ้ า่ ยในการผลิต

ผลตอบแทน กา้ ไร (ขาดทุน) จากการผลิตน้ากระชาย
รายได้จากการขาย
หกั ต้นทุนในการผลติ น้ากระชาย
ก้าไรขน้ั ตน้

การวิเคราะห์
ตน้ ทนุ และผลตอบแทน

โครงสรา้ งตน้ ทนุ การผลิตนา้ กระชาย อัตราผลตอบแทน
1. อนั ตราก้าไรขน้ั ต้นต่อตน้ ทนุ
2. อนั ตรากา้ ไรข้นั ตน้ ต่อยอดขาย

ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการลงทนุ

บทท่ี 3

วิธีดำเนินกำรศึกษำ

การศึกษาดาเนินการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิต
น้ากระชายเพ่ือจาหนา่ ยของนกั เรียน นักศึกษา แผนกวชิ าการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร ผู้จัดทา
โครงงานไดด้ าเนนิ การตามลาดับข้นั ตอน ดังนี้

3.1 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศกึ ษา
3.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศึกษา
3.3 วธิ กี ารดาเนนิ การศึกษา
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล
3.6 สถติ ิท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู

3.1 กลุ่มเป้ำหมำยที่ใชใ้ นกำรศกึ ษำ
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศกึ ษาโครงงานการผลิตน้ากระชายเพ่ือจาหน่าย ได้แก่ นักเรียน

นักศึกษา แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร จานวน 26 คน กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดย
เลือกจากนกั เรียน นกั ศกึ ษา ทีส่ นใจนา้ กระชาย

3.2 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นกำรศกึ ษำ
เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับปัจจัยที่มีผลต่อ

พฤติกรรมการบรโิ ภคนา้ กระชายของผู้บริโภค

3.3 วธิ ีกำรดำเนินกำรศกึ ษำ
ผู้จัดทาโครงงาน ได้ดาเนินการศึกษาตามข้ันตอนต่าง ๆ ซึ่งมีรายละเอียดการสร้าง

แบบสอบถามข้อมูลเก่ียวกับการลงทุนการผลิตน้ากระชายของนักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการ
บญั ชี วิทยาลยั เทคนคิ พิจติ ร ดาเนนิ การดงั น้ี

13

3.3.1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎีจากเอกสาร ตารา สืบค้นข้อมูลและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ
การศึกษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนเพอ่ื สร้างและพัฒนาแบบสอบถาม โดยแบง่ เปน็ 3 ตอน

ตอนที่ 1 สอบถามสถานภาพและข้อมลู ทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 สอบถามขอ้ มลู เก่ยี วกบั การผลิตน้ากระชาย
ตอนท่ี 3 สอบถามข้อมูลเกย่ี วกับตน้ ทนุ และผลตอบแทนของการผลติ นา้ กระชาย
3.3.2 นาร่างแบบสอบถามเสนอตอ่ ครทู ่ีปรึกษาโครงงาน เพอื่ ขอคาปรึกษาและตรวจสอบ
คาถามเพอ่ื ใหไ้ ด้แบบสอบถามและแบบสมั ภาษณท์ ี่ถกู ต้องเหมาะสม
3.3.3 นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้วเสนอตอ่ ครทู ป่ี รกึ ษาโครงงานอีกคร้ังก่อนนาไปใช้ใน
การเก็บรวบรวมข้อมลู

3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

ผ้จู ดั ทาโครงงานได้ดาเนนิ การเก็บข้อมลู โดยการดาเนินการตามข้ันตอน ดงั นี้
3.4.1 นาแบบสอบถามไปเก็บข้อมลู จากนักเรยี น นกั ศกึ ษา แผนกวชิ าการบญั ชี วิทยาลัย
เทคนคิ พจิ ิตร ซึ่งเป็นกลุ่มเปา้ หมายที่ใชใ้ นการศึกษา
3.4.2 นาเสนอข้อมูลทไ่ี ดม้ าวเิ คราะห์

3.5 กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู

ได้ดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามลาดบั ดงั นี้
3.5.1 การวิเคราะหม์ ูลเชิงปริมาณ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลมาทาการประมวลผล
3.5.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ในการวิเคราะห์เน้ือหาประกอบด้วย 4 ข้ันตอน
ได้แก่ การตีข้อมูล (Interpretation) การเปรียบเทียบข้อมูล (Constant Comparison) การ
สงั เคราะห์ขอ้ มลู (Data Synthesis) และการสรปุ ผล (Generalization)

3.6 สถติ ิทใี่ ชใ้ นกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูล

การวิเคราะห์ข้อมูลผู้รายงานไดใ้ ชส้ ถติ ิวเิ คราะห์ข้อมลู ตา่ ง ๆ ดังนี้
3.6.1 คา่ ความถี่ (Frequency)
3.6.2 ค่ารอ้ ยละ (Percentage)
3.6.2 หาคา่ เฉลยี่ (Mean)

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

การด้าเนินการคร้ังนี้ เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ากระชายเพื่อ
จ้าหน่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม ผู้ศึกษาน้าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตามล้าดบั ดังนี้

4.1 ข้อมูลเกย่ี วกับต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ น้ากระชาย
4.2 ข้อมูลสถานะภาพทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
4.3 ขอ้ มูลปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ พฤติกรรมการบริโภคน้ากระชาย
4.4 ขอ้ มลู เก่ียวกบั การผลิตน้ากระชาย

4.1 ข้อมูลเกย่ี วกับต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตนา้ กระชาย

4.1.1 ขอ้ มลู เกีย่ วกับต้นทุนในการผลติ น้ากระชาย

การศกึ ษาคร้ังน้ีผู้ศึกษาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากการผลิตน้ากระชาย โดยต้นทุนใน
การผลิตน้ากระชายแบ่งตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย ค่าแรงงาน ค่าวัตถุดิบ
และค่าใช้จ่ายในการผลติ แสดงในตารางที่ 4.1.1 - 4.1.7

ตารางที่ 4.1.1 แสดงการแบ่งประเภทต้นทุนทีท่ า้ การศึกษา

คา่ วัตถดุ ิบ คา่ แรงงาน ค่าใช้จา่ ยในการผลติ
1. กระชายสด 1. คา่ แรงงานตนเอง 1. คา่ บรรจุภัณฑ์
2. ขงิ สด 2. คา่ น้า
3. น้าตาลทราย 3. ค่าเสอื่ มราคาอปุ กรณ์
4. น้าเปล่า
5. มะนาว
6. น้าผึ้ง
7. เกลือป่น

15

ตารางที่ 4.1.2 แสดงตน้ ทนุ คา่ วตั ถุดิบในการผลิตน้ากระชาย (จ้านวนการผลติ 80 ขวด)

ผลติ ภัณฑ์ วัตถดุ บิ จา้ นวน (หนว่ ย) ราคา (บาท)
น้ากระชาย 1. กระชายสด 500 กรัม 50.00
2. ขงิ สด 50 กรัม 10.00
3. น้าตาลทราย 1 กโิ ลกรมั 23.00
4. น้าเปล่า 3 ลิตร 30.00
5. นา้ มะนาว 1,000 มิลลิลิตร 46.00
6. น้าผ้งึ 770 กรัม 185.00
7. เกลอื ปน่ 15 กรัม 10.00
รวม 354.00
ต้นทนุ เฉลี่ยตอ่ ขวด 4.42

จากตารางที่ 4.1.2 แสดงต้นทุนค่าวัตถุดิบในการผลิตน้ากระชาย (ส้าหรับน้ากระชาย
80 ขวด) พบวา่ อนั ดับแรกคอื นา้ ผึ้ง 770 กรมั ราคา 185 บาท ในราคา 23 บาท รองลงมา
คือกระชายสด จ้านวน 500 กรัม ในราคา 50 บาท น้ามะนาว 1,000 มิลลิลิตร ในราคา
46 บาท ขิงสด จ้านวน 50 กรัม ราคา 10 บาท น้าเปล่า 3 ลิตร ในราคา 30 บาท น้าตาล
ทรายจ้านวน 1 กโิ ลกรมั ในราคา 23 บาท เกลือป่น 15 กรัม ในราคา 10 บาท รวมเป็นเงิน
400 บาท จงึ ท้าให้มีต้นทนุ เฉลยี่ 4.42 บาทตอ่ ขวด

ตาราง 4.1.3 แสดงต้นทุนค่าแรงงานในการผลติ น้ากระชาย (จา้ นวนการผลิต 80 ขวด)

ลา้ ดับที่ รายการ จา้ นวน (บาท/วนั )
1. ค่าแรงงานตนเอง 600.00
ค่าแรงงานเฉล่ยี ต่อแก้ว 7.50

ตารางงานที่ 4.1.3 พบว่าการวิเคราะห์ต้นทุนค่าแรงงานในการผลิตน้ากระชายเฉล่ีย
ต่อขวด 7.50 บาท คดิ เป็นคา่ แรงงานต่อการผลิต 3 คร้งั เปน็ เงนิ 600 บาท

16

ตารางที่ 4.1.4 แสดงต้นทุนค่าแก๊สหุงต้มและค่าน้าประปาท่ีใช้ในการผลิตน้ากระชาย
(จา้ นวนการผลิต 80 ขวด)

รายการ ระยะเวลา จ้านวน ราคาตอ่ หน่วย จา้ นวน (บาท)
100.00 100.00
คา่ แกส๊ หงุ ต้ม 1 เดอื น - 10.00
1.00 110.00
คา่ นา้ ประปา 1 เดือน 10 หน่วย
1.37
รวมตน้ ทุนค่าแก๊สหงุ ต้มและน้าประปา

คา่ แก๊สหงุ ต้มและน้าประปาต้นทุนเฉลย่ี ตอ่ ขวด

จากตารางท่ี 4.1.4 แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลค่าแก๊สหุงต้มและค่าน้าประปาที่ใช้ในการ
ผลิตน้ากระชาย พบว่าอันดับแรกคือ ค่าแก๊สหุงต้มคิดเป็น 100 บาท และมีค่าน้าประปาคิดเป็น
10 หน่วย คิดราคาเป็น 10 บาท จึงท้าใหม้ ีค่าแกส๊ หุงต้มและค่าน้าประปามีตน้ ทนุ เฉล่ียแล้ว 1.37
บาทต่อขวด

ตารางท่ี 4.1.5 แสดงข้อมูลสินทรัพย์และค่าเส่ือมราคาอุปกรณ์ (จ้านวนการผลิต 80
ขวด)

รายการ อายุ (ปี) ราคา (บาท) ค่าเส่อื มราคา (บาท)
อปุ กรณ์ 1 200.00 16.66
ค่าเส่อื มราคาต่อขวด 0.20

จากตารางท่ี 4.1.5 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลสินทรัพย์และค่าเสื่อมราคา อุปกรณ์มี
ราคา 200 บาท ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ 16.66 บาท จึงท้าให้ค่าเส่ือมราคาอุปกรณ์มีต้นทุนเฉล่ีย
แลว้ 0.20 บาทต่อขวด

17

ตารางท่ี 4.1.6 แสดงขอ้ มูลตน้ ทุนคา่ ใช้จ่ายในการผลติ

ที่ รายการ ตน้ ทุนเฉล่ยี ต่อแก้ว รอ้ ยละ

1 ค่านา้ ประปา 1.37 22.87

2 ค่าบรรจภุ ณั ฑ์ 4.42 73.78

3 คา่ เส่ือมราคาอปุ กรณ์ 0.20 3.33

ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ รวม 5.99 99.98

จากตารางท่ี 4.1.6 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู ต้นทนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการผลิต พบว่าอันดับ
แรก คือ คา่ บรรจภุ ณั ฑ์ 4.42 บาท คิดเป็นร้อยละ 73.78 รองลงมาคือคา่ น้าประปา 1.37 บาท
คิดเป็นร้อยละ 22.87 และค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ 0.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.33 จึงท้าให้มี
ตน้ ทนุ ในการผลิตเฉลีย่ 5.99 บาทต่อขวด

ตารางที่ 4.1.7 แสดงขอ้ มูลต้นทุนในการผลติ น้ากระชาย

ท่ี รายการ ตน้ ทนุ เฉลย่ี ตอ่ ขวด ร้อยละ

1 ค่าวัตถุดิบ 4.42 24.67

2 ค่าแรงงาน 7.50 41.87

3 ค่าใช้จา่ ยในการผลิต 5.99 33.44

ตน้ ทุนในการผลิต 17.91 99.98

จากตารางท่ี 4.1.7 แสดงผลวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนในการผลิตน้ากระชาย พบว่าอันดับ
แรกคือ ค่าแรงงาน 7.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 41.87 รองลงมาคือ ค่าใช้จ่ายในการผลิต 5.99
บาท คดิ เป็นร้อยละ 33.44 และค่าวัตถุดิบ 4.42 บาท คิดเป็นร้อยละ 24.67 จึงท้าให้มีต้นทุน
ในการผลิตเฉลยี่ 17.91 บาท ตอ่ ขวด

18

4.1.2 ขอ้ มลู เกีย่ วกับผลตอบแทนในการผลติ น้ากระชาย

การศึกษาผลตอบแทนในการผลิตน้ากระชาย ผู้ศึกษาได้ท้าการศึกษาจากการขายก้าไร
ขั้นต้น อตั รากา้ ไรตอ่ ทุน และอตั ราก้าไรต่อยอดขาย ดังแสดงในตาราง 4.1.8 - 4.1.10

ตารางท่ี 4.1.8 แสดงตน้ ทนุ ราคาขายต่อขวดของน้ากระชาย

ช่อื ผลิตภัณฑ์ ราคาขายต่อขวด (บาท)
น้ากระชาย 20.00

จากตารางที่ 4.1.8 แสดงต้นทุนของราคาขายต่อขวด พบว่าน้ากระชายมีราคาขาย
20.00 บาท ต่อขวด

ตารางที่ 4.1.9 แสดงกา้ ไรข้ันตน้ จากการผลิตน้ากระชาย

รายการ 4.42 จา้ นวน (บาท)
รายไดจ้ ากการขายน้ากระชาย 7.50 20.00
หกั ตน้ ทุนขาย 5.99
17.91
ค่าวัตถดุ บิ 2.09
ค่าแรงงาน
ค่าใช้จา่ ยในการผลติ
กา้ ไรขนั้ ต้น

จากตารางท่ี 4.1.9 แสดงผลการวิเคราะห์ก้าไรขั้นต้น พบว่ามีรายได้จากการผลิตน้า
กระชาย 20 บาท ต่อขวด มีต้นทุนขาย อันดับแรกคือ ค่าแรงงาน 7.50 บาท รองลงมาคือ
คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ 5.99 บาท และค่าวัตถุดบิ 4.42 บาท จึงท้าให้มีก้าไรขั้นต้น 2.09 บาทต่อ
ขวด

19

ตารางท่ี 4.1.10 แสดงการค้านวณหาอตั ราผลตอบแทนจากการผลิตนา้ กระชาย

อตั ราส่วน สตู รคา้ นวณ แทนคา่ ผลการคา้ นวณ
อัตราก้าไรต่อทุน ก้าไรข้ันต้น 2.09 x 100 11.66%
ต้นทนุ 17.91
อัตรากา้ ไรต่อยอดขาย กา้ ไรข้นั ตน้ 2.09 x 100 5.45%
ราคาขาย 20.00

จากตารางที่ 4.1.10 แสดงผลการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนจากการผลิตน้ากระชาย
เฉลย่ี ตอ่ แกว้ พบว่ามอี ัตราก้าไรต่อทนุ 11.66% และมอี ัตรากา้ ไรตอ่ ยอดขาย 5.45%

4.2 ข้อมูลสภาพทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

การศึกษาคร้ังน้ี ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่สนใจน้ากระชายก้าหนดกลุ่ม
ตัวอย่างโดยเลือกจากนักเรียน นักศึกษาที่สนใจน้ากระชาย จ้านวน 27 คน ซึ่งผู้ศึกษาได้น้ามา
วิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามเก่ียวกับเพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ ดังแสดงใน
ตารางที่ 4.2.1 – 4.2.4

ตารางท่ี 4.2.1 แสดงจ้านวนและคา่ ร้อยละของสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

รายการ จ้านวน ร้อยละ
ปวช. 23 71.10
ปวส. 4 14.80
รวม 27 100.00

จากตารางท่ี 4.2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดอยู่ในระดับชั้น ปวช. จ้านวน
23 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 71.10 และปวส. จ้านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 14.80 รวมทั้งปวช.และ
ปวส.คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00

20

ตารางท่ี 4.2.2 แสดงจา้ นวนและค่ารอ้ ยละของสถานภาพท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

รายการ จา้ นวน ร้อยละ
ชาย 4 14.80
หญงิ 23 85.20
รวม 27 100.00

จากตารางท่ี 4.2.2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเพศชาย จ้านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ
14.80 เป็นเพศหญงิ จ้านวน 23 คนคดิ เปน็ ร้อยละ 85.20 รวมท้ังเพศชายและเพศหญิง คิดเป็น
ร้อยละ 100.00

จากตารางท่ี 4.2.3 แสดงจ้านวนและคา่ ร้อยละอายขุ องผู้ตอบแบบสอบถาม

รายการ จ้านวน ร้อยละ
ต่า้ กว่า 15 ปี 1 3.70
15-20 25 92.60
20 ปีขนึ้ ไป 1 3.70
รวม 27
100.00

จากตารางท่ี 4.2.3 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 15-20 ปี จา้ นวน 25 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 97.60 อายุ 20 ปีขึ้นไป 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.70 และอายุต่้ากว่า 15 ปี 1 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 3.70 รวมท้งั หมด 27 คนคดิ เป็นร้อยละ 100.00

ตารางท่ี 4.2.4 แสดงจา้ นวนค่ารอ้ ยละอาชีพของผตู้ อบแบบสอบถาม

รายการ จา้ นวน รอ้ ยละ
นักเรียน/นกั ศกึ ษา 27 100.00
ครูและบุคลากร 0
รวม 27 0.00
100.00

จากตารางท่ี 4.2.4 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามทัง้ หมดคือ นกั เรยี น - นักศึกษา จ้านวน
27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00

21

4.3 ข้อมูลปัจจัยท่ีมีต่อพฤติกรรมการบริโภคน้ากระชาย

ผลการวิเคราะห์ระดับความเห็นของผู้บริโภค ที่เก่ียวกับปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมของ
ผ้บู รโิ ภคนา้ กระชาย ดงั แสดงในตารางท่ี 4.3

ตารางท่ี 4.3 แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นผู้บริโภคเก่ียวกับ
ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการบริโภคน้ากระชาย

รายการ ผลการวเิ คราะห์ ระดับ
ความคิดเห็น
ปัจจัยด้านผลิตภณั ฑ์ ̅ S.D
1. รสชาติของน้ากระชาย 5.43 0.54 มาก
2. คุณภาพของวัตถุดิบ 4.63 0.48 มากท่ีสดุ
3. ความสะอาดของผลิตภัณฑ์ 4.70 0.60 มากทีส่ ุด
4. ขนาดและรูปแบบของผลิตภณั ฑ์ 4.81 0.47 มากทส่ี ดุ
ปจั จัยด้านราคา 4.67 0.61 มากที่สดุ
1. ราคาเหมาะสมกบั คุณภาพ 4.48 0.69
4.48 0.69 มาก
และปรมิ าณ มาก
ปจั จยั ด้านบคุ คลและส่งเสริมการขาย 4.38 0.68
1. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ 4.33 0.77 มาก
2. ความนา่ เชอ่ื ถอื ในการช้าระเงิน 4.37 0.78 มาก
3. อธั ยาศัยการใหบ้ ริการของผ้ขู าย 4.44 0.74 มาก
4.56 0.64 มาก
รวม มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 4.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นว่าปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม
การบริโภคน้ากระชาย ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ปัจจัยด้านราคา
( ̅ = 5.48,S.D – 0.69) รองลงมาคือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (̅ = 5.43,S.D = 0.54) และปัจจัย
ดา้ นบคุ คลและสง่ เสรมิ การขาย (̅ = 4.50,S.D = 0.65)

22

4.4 ข้อมูลเกยี่ วกับการผลิตนา้ กระชาย

ตารางท่ี 4.4 แสดงข้อมลู เกี่ยวกับการผลิตน้ากระชาย

รายการ ขอ้ มูล
วธิ ีการจา้ หน่าย
ปริมาณการท้าตอ่ เดือน ขายปลีก
จา้ นวนคนท้า 80
2

ตารางที่ 4.4 แสดงข้อมูลเก่ียวกับการผลิตน้ากระชาย พบว่า วิธีการจ้าหน่าย
น้ากระชาย คือ วิธีขายปลีก ปริมาณการผลิตน้ากระชายต่อเดือน 80 ขวด และคนผลิตน้า
กระชายจ้านวน 2 คน

บทท่ี 5

สรุปการศึกษา การอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

การด้าเนินการศึกษาคร้ังนี้ เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ากระชาย
เพื่อจา้ หนา่ ย มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้

1. เพื่อศึกษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลิตน้ากระชาย
2. เพือ่ ศกึ ษาคา่ ใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการผลติ น้ากระชาย
3. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของผ้ผู ลติ ทม่ี ตี ่อการผลิตน้ากระชาย
กลุ่มเป้าหมายเพ่ือใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการบัญชี
วิทยาลัยเทคนคิ พิจิตร จา้ นวน 26 คน ไดม้ าโดยเลอื กแบบเจาะจง
เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการศึกษา ไดแ้ กแ่ บบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อการบริโภคน้ากระชาย
และแบบบนั ทกึ ตน้ ทุนจากการผลติ นา้ กระชาย
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ด้าเนินการ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง
โดยน้าแบบสอบถามที่สร้างเสร็จแล้วไปท้าการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง จากกลุม่ ตวั อย่างจ้านวน
26 คน รวบรวมแบบสอบถามท่ีได้มาจากการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพื้นฐานการแจกแจง
ความถแ่ี ละค่าร้อยละ และใชผ้ ลตอบแทนโดยใชอ้ ัตราส่วนทางการเงนิ

5.1 สรุปผลการศึกษา

จากการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ากระชาย
เพอื่ จา้ หนา่ ย

5.1.1 ตน้ ทุนการผลติ นา้ กระชายเฉลี่ยตอ่ ขวด
จากผลการศึกษาพบว่า ในการผลิตน้ากระชายต่อขวด ต้นทุนรวมเฉลี่ย

17.91 บาทต่อขวด ประกอบด้วย ค่าแรงงาน เฉลี่ย 7.50 บาทต่อขวด รองลงมาคือ ค่าใช้จ่าย
ในการผลิต เฉล่ีย 5.99 บาทตอ่ ขวด และค่าวตั ถุดิบ เฉลี่ย 4.42 บาทตอ่ ขวด

5.1.2 สถานภาพและข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นนักเรียน – นักศึกษาระดับชั้น

ปวช. จ้านวน 23 คน คิดเปน็ ร้อยละ 71.10 และ ปวส. จ้านวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.80

24

5.1.3 ปจั จัยทมี่ ีผลต่อพฤติกรรมการบรโิ ภคนา้ กระชาย
จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นว่าปัจจัยท่ีมีผลต่อการ

บริโภคน้ากระชาย ที่มีค่าเฉล่ีย 3 ระดับ คือ 1. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ 2. ปัจจัยด้านราคา 3. ปัจจัย
ด้านบุคคลและสง่ เสริมการขาย

5.2 อภิปรายผลของการศกึ ษา

จากการสรุปผลการศกึ ษา มีประเด็นสา้ คญั ท่ีควรนา้ มาอภิปรายผล ดังน้ี

5.2.1 ต้นทุนการผลิตน้ากระชายประกอบไปด้วย 3 ส่วนส้าคัญ ได้แก่ ค่าแรงงานคิด
เป็นรอ้ ยละ 41.87 รองลงมาคือ ค่าใช้จ่ายในการผลติ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.44 และค่าวัตถุดิบคิดเป็น
รอ้ ยละ 24.67 เหน็ ไดว้ า่ ในการผลติ นา้ กระชายมีสัดส่วนของ ค่าแรงงานมากท่ีสดุ

5.2.2 การศึกษาความคิดเห็นและพฤติกรรมการบริโภคน้ากระชายของผู้บริโภค
ทุกปัจจัยมีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคในการเลือกซื้อน้ากระชาย ทั้งปัจจัยด้านการผลิตภัณฑ์
ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านบุคคลและส่งเสริมการขาย ดังนั้นในการตัดสินใจประกอบกิจการ
ผลติ ภณั ฑน์ ้ากระชาย ใหค้ วามสา้ คญั ทกุ ปจั จยั ซงึ มผี ลต่อกา้ ไรและคแู่ ข่งขนั ได้

5.3 ขอ้ เสนอแนะ

5.3.1 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครง้ั นี้
ในการผลิตน้ากระชายมีต้นทุนในการผลิตท่ีต่้ากว่าตามท้องตลาดจึงควรพิจารณา

หาแนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิตเพื่อในการผลิตเพื่อให้ได้น้ากระชายที่มีคุณค่า
และตน้ ทนุ ต้า่

5.3.2 ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาครัง้ ต่อไป
ควรศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบผลิตภัณฑ์ เพ่ือเพิ่มปริมาณการ

ผลิตคร้ังต่อไปและเพิ่มยอดขายให้สูงขึ้น เช่น ปรับรสชาติให้ดีขึ้น และท้าน้ากระชายอื่นที่ต่างจาก
เดิม และนา้ มาเปรยี บเทียบต้นทุนของผลติ ภณั ฑ์เดิม

25

บรรณานุกรม

U-pathi and Sudwan ทดสอบความเปน็ พษิ ต่อการสร้างเซลลเ์ มด็ เลือดแดง
[ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:www.thai-remedy.com/,[สบื คน้ เมื่อ 8 ธนั วาคม 2564]
Charoensin ศึกษาความเป็นพษิ ของสารบริสทุ ธิ์นา้ กระชาย
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:www.thai-remedy.com/,[สบื ค้นเมื่อ 8 ธนั วาคม 2564]

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา
แบบสอบถามความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั ปจั จัยทม่ี ตี อ่ การทา้ น้ากระชายเพ่อื จ้าหน่าย

28

แบบสอบถามฉบบั นจี้ ดั ทาขน้ึ โดย นักศึกษากลุ่มโครงงานการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการทา
น้ากระชายเพ่ือจาหน่าย มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตขึ้นว่ามี
ข้อผดิ พลาดท่บี กพร่องประการใด

ทำสแกน CR-CODE ทำงด้ำนบนเพ่อื เขำ้ สเู่ วบ็ ไซตต์ อบแบบสอบถำม
หรอื เข้ำไปในเวบ็ ไซต์ https://shorturl.asia/81JDr

29
ภำพที่ 2 ภาพการสง่ เวบ็ ไซต์ใหน้ ักศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์
ภำพที่ 3 ภาพการส่งเวบ็ ไซต์ใหน้ กั ศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์

15/2/65 19:50 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำกระชายเพื่อจำหน่าย

แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำกระชายเพื่อจำหน่าย

*จำเป็ น

ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบคำถาม

คำชี้แจง : โปรดให้รายละเอียดเกี่ยวข้องกับตัวท่านโดยเลือกข้อความตามความเป็ นจริง

1 ระดับชั้น *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.)
อื่นๆ:

2 เพศ *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ชาย
หญิง

3 อาชีพ *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

นักเรียน - นักศึกษา
ครูและบุคลากร
อื่นๆ:

https://docs.google.com/forms/d/15bmXsX4xuUrNSczYqophBSSlnvdElJitsquTqRTi7JM/edit 1/3

15/2/65 19:50 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำกระชายเพื่อจำหน่าย

4 อายุ *

ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ต่ำกว่า 15 ปี
15 - 20 ปี
20 - 30 ปี
30 ปี ขึ้น

ตอนที่ 2 การประเมินความพึง คำชี้แจง : เลือกระดับความพึงพอใจตามความเป็ นจริงเกณฑ์ระดับการ
พอใจ ประเมิน

5 - พอใจมากที่สุด

4 - พอใจมาก

3 - พอใจปานกลาง

2 - พอใจน้อย

1 - พอใจน้อยที่สุด


5 ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ *

ทำเครื่องหมายแถวละหนึ่งช่องเท่านั้น
12345

รสชาติของน้ำสมุนไพร
คุณภาพของวัตถุดิบ
ความสะอาดของผลิตภัณฑ์
ขนาดและรูปแบบของผลิตภัณฑ์

6 ปัจจัยด้านราคา *

ทำเครื่องหมายแถวละหนึ่งช่องเท่านั้น
12345

ราคาเหมาะกับคุณภาพและปริมาณ

https://docs.google.com/forms/d/15bmXsX4xuUrNSczYqophBSSlnvdElJitsquTqRTi7JM/edit 2/3

15/2/65 19:50 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำกระชายเพื่อจำหน่าย

7 ปัจจัยด้านบุคคลและส่งเสริมการขาย *

ทำเครื่องหมายแถวละหนึ่งช่องเท่านั้น 5
1234

การโฆษณาประชาสัมพันธ์

ความน่าเชื่อถือในการชำระเงิน

อัธยาศัยและการให้บริการของผู้ขาย

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
8 ข้อเสนอแนะ

เนื้อหานี้มิได้ถูกสร้างขึ้นหรือรับรองโดย Google

 ฟอร์ม

https://docs.google.com/forms/d/15bmXsX4xuUrNSczYqophBSSlnvdElJitsquTqRTi7JM/edit 3/3

ประทบั เวลา ระดบั ช้ัน เพศ อาชพี อายุ ปจจยั ดา นผลติ ภัณฑ [รสชาติขปจอจงนัยด้ําสามนนุผไลพติ รภ]ณั ฑ [คุณภาพปขจ อจงัยวดัตา ถนดุ ผบิ ล]ิตภัณฑ [ความสะปอจาจดยั ขดอา งนผผลลิติตภภัณณั ฑฑ] [ขนาดแปลจะรจปูัยแดบา นบขราอคงาผล[ริตาภคณั าเฑห]มาะกปับจคจณุ ยั ดภาานพบแคุ ลคะปลรแมิลาะณสง ]เสรมิ กปารจ ขจายั ยดา [กนาบรคุ โคฆลษแณละาสปง รเะสชราิมสกมั ปาพรจขนัจายัธย]ดา [คนวบาุคมคนลา แเลชะอ่ื สถงือเสในรมิ กกาขารรชอ ขาํเสารนยะเอง[แอินนัธ]ยะาศยั และการใหบ ริการของผขู าย]
รบั จา งลอกการบาน ตา่ํ กวา 15 ป 55555555
15/12/2021, 16:27:36 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวชช.)าย นักเรยี น - นักศึกษา 15 - 20 ป 55554555
นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 5 5 5 5 5 5 5 5 รสชาติดี
3/1/2022, 19:23:15 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชห.)ญิง นักเรยี น - นักศึกษา 15 - 20 ป 44545455
นกั เรียน - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 43443444
3/1/2022, 19:24:02 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวชห.)ญงิ นักเรยี น - นักศึกษา 15 - 20 ป 55554445
นกั เรียน - นักศึกษา 15 - 20 ป 4 5 5 5 5 5 5 5-
44564.8097 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวชห.)ญิง นกั เรียน - นักศกึ ษา 15 - 20 ป 55554333
นักเรียน - นักศึกษา 15 - 20 ป 55555555
3/1/2022, 19:29:25 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ขั้นสงู ห(ปญวิงส.) นักเรียน - นักศกึ ษา 15 - 20 ป 55553233
นกั เรียน - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 55555554
3/1/2022, 19:29:32 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวชห.)ญงิ นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 55555555
คนธรรมดา 15 - 20 ป 4 4 5 4 4 4 4 4 ไมม ีคาํ ตอบ
3/1/2022, 19:29:50 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวชห.)ญงิ นกั เรยี น - นักศกึ ษา 15 - 20 ป 55555555
นักเรียน - นักศึกษา 15 - 20 ป 45554434
3/1/2022, 19:30:48 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวชห.)ญงิ นกั เรยี น - นกั ศึกษา 15 - 20 ป 55545555
นกั เรยี น - นักศึกษา 15 - 20 ป 44444433
3/1/2022, 19:30:53 มธั ยมศกึ ษาปที่6 ชาย นกั เรียน - นักศึกษา 20 - 30 ป 43333333
นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 55555444
3/1/2022, 19:31:21 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวชห.)ญิง นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 55555555
นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 45555444
3/1/2022, 19:32:45 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชช.)าย นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 54435545
นกั เรียน - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 55555455
3/1/2022, 19:49:48 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพขน้ั สูงห(ปญวงิ ส.) นักเรยี น - นักศกึ ษา 15 - 20 ป 45555445
นักเรียน - นักศกึ ษา 15 - 20 ป 55555555
3/1/2022, 20:00:24 ไมไ ดเรียน หญิง นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 15 - 20 ป 45554454
นักเรียน - นักศกึ ษา 15 - 20 ป 5 5 5 5 4 5 5 5 กินแลว สดชื่นมากคะ
3/1/2022, 20:01:11 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวชห.)ญงิ

3/1/2022, 20:02:43 มัธยมศึกษาปท ่ี6 หญิง

3/1/2022, 20:14:21 ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวชห.)ญงิ

3/1/2022, 20:19:41 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ขน้ั สูงห(ปญวิงส.)

3/1/2022, 20:20:56 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ขั้นสูงช(ปายวส.)

3/1/2022, 20:24:54 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชห.)ญงิ

3/1/2022, 21:14:35 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชห.)ญงิ

3/1/2022, 21:20:34 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชห.)ญิง

4/1/2022, 6:04:20 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชห.)ญงิ

4/1/2022, 9:04:43 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวชห.)ญงิ

5/1/2022, 9:31:47 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชห.)ญิง

5/1/2022, 9:32:35 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชห.)ญิง

5/1/2022, 9:37:59 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวชห.)ญงิ

5/1/2022, 10:23:21 ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวชห.)ญิง

ภาคผนวก ข

แบบนาเสนอหัวขอ้ และเค้าโครง
โครงงานการศึกษาตน้ ทุนและผลตอบแทนในการทานากระชายเพื่อจาหนา่ ย

32

แบบเสนอโครงงาน

1. ชอ่ื โครงงาน (ภาษาไทย) การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ น้ากระชายเพ่ือจ้าหน่าย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Cost and return study on producing Krachai juice for sale

2. ประเภทของโครงงาน
 สิง่ ประดษิ ฐ์/นวตั กรรม
 ศกึ ษาทฤษฎีและหลักการ
 ศกึ ษาคน้ ควา้ ทดลอง
 สา้ รวจรวบรวมขอ้ มลู

3. รายชื่อผจู้ ัดทาโครงงาน ลายโต๊ะ รหสั นกั ศึกษา 62202011101
3.1 นางสาวกรกมล พมุ่ ดารา รหสั นักศกึ ษา 62202011125
3.2 นางสาวภรภทั ร

4. ครูท่ีปรกึ ษาโครงงาน
นางสาวกรรัตน์ ค้าดา

5. ความสาคัญของโครงงาน/หลักการและเหตุผล
น้ากระชายมีความส้าคัญทางโภชนาการเป็นอย่างมาก นิยมบริโภคอย่างกว้างขวาง ทุกเพศทุกวัย

นอกจากจะน้ามาเป็นเครื่องดม่ื แลว้ ยังมีการน้ามาแปรรปู ได้หลากหลายอย่าง เช่น การน้าน้ากระชายมาท้าใน
รูปแบบการแช่แข็ง น้าสมุนไพร น้ากระชายใบเตยน้าผ้ึง น้ากระชายน้าผ้ึงมะนาว การท้ายาต้ม สารสกัด
ของกระชายสามารถออกฤทธิ์ในการต้านไวรัสชาร์สในระยะหลังจากการติดเช้ือ ยับย้ังการท้างานของเช้ือ
เอดส์ ต้านไวรัสไข้เลือดออก ยังช่วยบ้ารุงร่างกาย ดีต่อสุขภาพบ้ารุงก้าลังเสริมสมรรถภาพทางเพศ บ้าบัด
โรคนกเขาไม่ขันหรือโรคอีดี (เหง้าใต้ดิน) ปรับสมดุลของฮอร์โมนต่าง ๆ ในร่างกาย ดื่มง่ายดื่มเม่ือไหร่ก็ได้
ดังน้ันเครื่องดื่มสมุนไพรน้ี มีคนสนใจเป็นจ้านวนมาก ในสถานการณ์โควิด – 19 กระชายช่วยเรื่องการ
แบ่งตวั ของเชอื้ ไวรัสโควดิ – 19 คงปฎิเสธไม่ได้ว่าการแพร่กระจายน้ันเร็ว และเป็นวงกว้างความหวังที่จะลด
การติดเชื้อก็คือวัคซีนและยารักษาโรค ท่ีจะสามารถหยุดยั้ง ลดจ้านวนผู้ติดเชื้อ COVID – 19 ท้าให้น้า
กระชายติดอันดับความนิยมในช่วงน้ีส่วนผสมมีน้อยหลัก ๆ ก็คือ 1.กระชายเหลือง 2.น้าผึ้ง 3.น้ามะนาว

33

4.เกลือ 5.นา้ เปล่า 6.น้าตาลทรายแดง ซ่งึ ไมย่ ากต่อการหาวัตถุดิบท่ีบ้านเรามี ท้าง่ายข้ันตอนไม่ยุ่งยากและ
สามารถดดั แปลงท้าขายเพ่อื เปน็ การสร้างรายรบั เสรมิ ได้อกี ด้วย

ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าคนไทยสนใจสมุนไพรท่ีบ้านเรามี หันมาบริโภคน้ากระชายเกือบทุกช่วงเวลา
สามารถหาซ้ือได้ตามตลาดหรือร้านขายของทั่วไป น้ากระชายสามารถรับประทานได้ทุกวัยแต่ไม่ควรดื่ม
ต่อเน่ืองเป็นเวลานาน เพราะกระชายมีฤทธิ์ร้อนและราคาค่อนข้างสูงในการจ้าหน่าย ควรเก็บไว้ไม่เกิน
1อาทิตย์ เพราะจะท้าให้ความซ่าและความหอมของน้ากระชายลดลง จากจุดเริ่มต้นน้ีทางคณะผู้จัดท้าได้มี
ความสนใจในการศึกษาเก่ียวกับเร่ืองน้ากระชาย จึงท้าให้เกิดแนวคิดที่จะศึกษาต้นทุนการท้าน้ากระชายใน
ราคาท่เี หมาะสมและมคี ณุ ภาพ เพือ่ ใหผ้ คู้ นเข้าถงึ ได้งา่ ยมากขึ้น

จากข้อความข้างต้นท่ีกล่าวมาน้ันคณะผู้จัดท้ามีความสนใจและมองเห็นช่องทางธุรกิจท่ีจะท้าเร่ือง
การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการท้าน้ากระชาย เพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ดังนั้นใน
การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเน้นท่ีจะศึกษาต้นทุนและผลตอบแทน เพ่ือน้าข้อมูลที่ได้มาพิจารณาเปรียบเทียบต้นทุน
ในการจ่ายซอ้ื และนา้ มาผลิตเปน็ รายได้เสริมต่อไปในอนาคต

6. วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน
6.1 เพื่อศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการท้าน้ากระชาย
6.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคทม่ี ีต่อการบรโิ ภคน้ากระชาย
6.3 เพื่อให้มีประสบการณแ์ ละน้ามาประกอบอาชีพเป็นรายได้เสริม

7. ขอบเขตของโครงงาน
7.1 ดา้ นตวั แปร
-

7.2 ด้านเนือ้ หา
การวจิ ยั ครัง้ น้ีเป็นการศกึ ษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลติ น้ากระชาย ดงั นี้
7.2.1 ศึกษาต้นทุนการผลิตน้ากระชาย ตัง้ แต่ขั้นตอนการเตรยี ม การทา้ ไปจนถงึ
ข้นั ตอนการจ้าหน่าย และวเิ คราะห์โครงสร้างต้นทุนในการผลติ น้ากระชาย
7.2.2 ศึกษาผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทนุ ผลิตน้ากระชาย

7.3 ดา้ นเวลา
พฤศจกิ ายน 2564 - กมุ ภาพนั ธ์ 2565

7.4 แบบร่าง (ถ้ามี)
-

34

8. วิธกี ารดาเนนิ งาน

กจิ กรรม/ขัน้ ตอน ระยะเวลาดาเนินงาน (สปั ดาห์ท่ี)
ดาเนินงาน
หมายเหตุ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ข้ันเตรียมการ
เสนอหัวข้อโครงงาน
และจดั ท้าแบบเสนอ
ขออนุมัตโิ ครงงาน
ศกึ ษาข้อมูลขัน้ ตอน
การผลติ
ขน้ั ด้าเนนิ การ
ทา้ การผลิตนา้
กระชายเพื่อจ้าหน่าย
ท้าการจา้ หน่าย
นา้ กระชายให้แกก่ ลุ่ม
นกั ศกึ ษาทส่ี นใจ
ขัน้ สรปุ และประเมนิ ผล
สรุปผลการ
ด้าเนินงาน
จดั ท้ารายงานเพื่อ
นา้ เสนอครูผสู้ อนและ
ครูทป่ี รึกษาโครงงาน

35

9. รายการวสั ดุและแหลง่ ที่มาของงบประมาณในการดาเนินโครงงาน

9.1 รายการวสั ดุ จานวน ราคาหนว่ ยละ จานวนเงนิ หมายเหตุ
ท่ี รายการ 2 ชดุ 344 บาท 688 บาท
1 วตั ถุดบิ ในการผลิตนา้ กระชาย 1 ชดุ 500 บาท 500 บาท
2 อุปกรณ์ในการผลติ นา้ กระชาย 2 เล่ม 400 บาท 800 บาท
3 ค่าเอกสารรปู เลม่ 1,988 บาท

รวมทั้งสิ้น

9.2 แหลง่ ท่ีมาของงบประมาณ
ทุนส่วนตัวนกั เรยี น

10. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับจากการทาโครงงาน
10.1 ท้าใหท้ ราบต้นทุนในการผลิตนา้ กระชาย
10.2 ท้าให้ทราบถงึ ผลกา้ ไรขาดทุน
10.3 เพือ่ ให้ทราบถึงความพึงพอใจของผู้บรโิ ภคทม่ี ีต่อการบริโภคน้ากระชาย

11. การติดตามและประเมนิ ผลโครงงาน
เครื่องมือท่ีใชใ้ นการติดตามประเมินผลโครงงาน ได้แก่ แบบสอบถาม

36

ลงช่ือ....................................................ผู้เสนอโครงงาน
(นางสาวภรภทั ร พุ่มดารา)

ลงชอ่ื ..................................................ครูประจ้าวิชา ลงช่ือ............................................ครทู ่ีปรึกษาโครงงาน

(นางสาวอรวลญั ช์ นอ้ ยสมวงษ์) (นางสาวกรรตั น์ ค้าดา)

ความคิดเหน็ ........................................................... ความคดิ เห็น.............................................................

ลงชื่อ............................................หวั หน้าแผนกวชิ า ลงช่ือ...........................................รองผู้อ้านวยการ
(นางสาวมณฑกาญจน์ ทศแกว้ ) (นายอิศรา อยยู่ ่ิง)

.............../................................/.................

การพจิ ารณาของผ้อู ้านวยการ/ลงนาม
 อนุมตั ิ  ไมอ่ นมุ ัติ

ลงชื่อ........................................................ผ้อู า้ นวยการ
(นายชยั ณรงค์ คชั มาตย)์

.............../................................/................

ภาคผนวก ค

แสดงภาพการลงพน้ื ท่ีการเกบ็ ขอ้ มูลความคิดเห็นเก่ยี วกบั ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ พฤตกิ รรม
การผลติ นา้ กระชาย

38

นำ้ กระชำย

ภำพที่ 1 วสั ดุทใ่ี ช้ในการทา้ น้ากระชาย

ภำพที่ 2 อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการทา้ นา้ กระชาย

39
ภำพท่ี 3 ล้างกระชายให้สะอาดแล้วน้ามาหัน่ เป็นชิน

ภำพท่ี 4 ลา้ งขงิ ใหส้ ะอาดแล้วน้ามาหัน่ เป็นชิน

40
ภำพท่ี 5 น้ากระชายและขิงใสล่ งในเครื่องปั่น

ภำพที่ 6 น้าน้าเปล่ามาต้มให้สุก

41
ภำพที่ 7 เทน้าตม้ สกุ ลงในเครื่องป่ัน
ภำพท่ี 8 น้ากระชายและขิงปน่ั ให้ละเอยี ด

42
ภำพท่ี 9 พอละเอยี ดแล้วจึงกรองนา้ ฟองออก
ภำพที่ 10 เทน้าผงึ และเกลือลงในนา้ กระชายท่ีกรองแลว้


Click to View FlipBook Version